The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by nepjune.1414, 2021-09-17 00:55:58

การใช้ภาษาไทยในงานอาชีพ

บทเรยี นมอดลู

เรอ่ื ง การใชภ้ าษาไทยในงานอาชพี

วชิ า ภาษาไทยเพอ่ื อาชพี

รหัสวิชา 20000-1102 หลกั สตู รประกาศนยี บัตรวชิ าชีพ พ.ศ. 2562
ระดบั ประกาศนียบตั รวิชาชพี สาขาวชิ า พืชศาสตร์ สัตวศาสตร์ ช่างเกษตร

ภาคเรียนที่ 2 ปีการศกึ ษา 2564

จัดทำโดย
นางทกั ษอร เกดิ มงคล

แผนกวชิ าสามัญสัมพนั ธ์ วิทยาลยั เกษตรและเทคโนโลยกี ระบ่ี
สำนักงานคณะกรรมการการอาชวี ศึกษา กระทรวงศกึ ษาธิการ

คำนำ

แผนการจัดการเรียนรู้ วิชา วิชาภาษาไทยเพื่ออาชีพ รหัสวิชา 20000-1102 จัดทำขึ้นตามหลักสูตร
ประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง พุทธศักราช 2562 ของสำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา
กระทรวงศึกษาธิการ บทเรียนมอดูลหน่วยการเรียนรู้นี้ ผู้เรียบเรียงได้จดั ทำโดยมุ่งเน้นฐานสมรรถนะและการ
เรียนรู้แบบบูรณาการของเศรษฐกิจพอเพียง เพื่อใช้เป็นแนวทางการสอนในรายวิชาเพื่อพัฒนาผู้เรียนเป็น
สำคัญ มีแบบทดสอบและกิจกรรมการฝึกทักษะที่เหมาะสมกับผู้เรียน การจัดกจิ กรรมการเรยี นการสอนโดยยึด
ผู้เรียนเป็นสำคัญ โดยมีความมุ่งหวังที่จะให้เกิดประสิทธิผลแก่ผู้เรียนและเกิดประสิทธิภาพต่อการเรียนการ
สอนมากยิง่ ขึน้ ไปด้วย ผู้เรยี บเรียงขอขอบคุณผทู้ ี่สร้างแหล่งความรูแ้ ละผทู้ ่ีมสี ่วนเกีย่ วข้องทุกท่าน และหวงั เป็น
อย่างยิ่งว่าแผนการจัดการเรียนรู้เล่มนี้คงจะเป็นประโยชน์ต่อผู้ที่สนใจทั่วไป หากพบข้อบกพร่องหรือมี
ข้อเสนอแนะประการใด โปรดแจ้งผเู้ รยี บเรยี งทราบดว้ ยเพ่อื จะไดป้ รับปรุงในคร้งั ต่อไป

ผเู้ รียบเรยี ง
นางทกั ษอร เกิดมงคล

คำแนะการใช้บทเรยี นมอดูล

บทเรยี นมอดลู (Instructional Module)

บทเรียนโมดูลหรือหน่วยการเรียน จัดเป็นกลุ่มประสบการณ์ที่จัดขึ้นเพื่อให้ผู้เรียนได้มีโอกาสแสดงพฤติกรรม
ตามที่ระบุไว้ในจุดมุ่งหมาย โมดูลอาจจะอยู่ในรูปแบบที่แตกต่างกันออกไป เช่น สไลด์ ภาพ การทดลอง
หนงั สอื หรอื เอกสาร ซง่ึ ข้นึ อยู่กับวัตถุประสงคข์ องแต่ละสาขาวิชา

บทเรียนโมดลู เปน็ สือ่ การเรียนชนิดหน่ึงทม่ี ุ่งพฒั นาให้ผเู้ รยี นไดเ้ กดิ ความรตู้ ามความต้องการ

โดยที่บทเรียนนั้นจะต้องมีการกำหนดวัตถุประสงค์เอาไว้อย่างแน่นอน มีกิจกรรมต่าง ๆ ให้ผู้เรียนเลือกตาม
ความถนัดและความสามารถของแต่ละคน มีการประเมินผลก่อนและหลังเรียน มีการทดสอบย่อยในทุก ๆ
หน่วยของโมดูล และการเรียนซ่อมเสริมด้วยกระบวนการเรียนการสอนจะเน้นที่ตัวผู้เรียนเป็นสำคัญมากกว่า
ผสู้ อน
คุณสมบัติที่สำคญั ของบทเรียนโมดูล

1. โปรแกรมทั้งหมดถูกขยายเป็นส่วน ๆ เพื่อไม่ให้เกิดความซ้ำซ้อน และสามารถมองเห็นโครงร่ าง
ทงั้ หมดของโปรแกรม

2. ยึดตวั ผ้เู รยี นเป็นศนู ย์กลางในการจัดระบบการเรียนการสอน
3. มจี ดุ ประสงค์ในการเรยี นท่ชี ัดเจน
4. เน้นการเรียนด้วยตนเอง
5. ใช้วิธกี ารสอนแบบตา่ ง ๆ ไวห้ ลายอย่าง
6. เน้นการนำเอาวธิ ีระบบ (System Approach) เข้ามาใชใ้ นการสร้าง
องคป์ ระกอบของบทเรียนโมดูล
1. หลกั การและเหตผุ ล (Prospectus)
2. จุดประสงค์เชิงพฤติกรรม (Behavioral Objectives)
3. การประเมนิ ผลก่อนเรยี น (Pre-Assessment)
4. กิจกรรมการเรียน (Enabling Activities)
5. การประเมนิ ผลหลงั เรยี น (Post-Assessment)

แบบแผนของบทเรียนโมดลู
ช่อื เร่ือง (A Title Page)
ขน้ั ตอนของกระบวนการเรียน (The Body of the Description)
มลี ำดบั ขนั้ ดังนี้

1. หลักการและเหตุผล
2. จดุ ประสงค์
3. ความรพู้ น้ื ฐาน
4. การประเมนิ ผลก่อนเรยี น
5. กจิ กรรมการเรยี น
6. การประเมินผลหลงั เรียน
7. การเรียนซอ่ มเสรมิ
8. ภาคผนวก (Appendix)

ข้ันตอนในการสร้างบทเรียนโมดูล
1. การวางแผน
2. การสรา้ ง
3. การทดสอบตน้ แบบ
4. ประเมินผลบทเรยี น

ประโยชน์ของบทเรียนโมดูล
เป็นบทเรยี นสำเร็จรปู เปน็ กระบวนการเรียนการสอนท่มี รี ะเบยี บแบบแผนและรวมการสอนหลาย ๆ

อยา่ งเอาไวด้ ้วยกนั ช่วยให้ผูเ้ รียนได้ทราบถึงความสามารถและความก้าวหน้าของตนทุกระยะ ชว่ ยลดภาระของ
ครูในการสอนข้อเทจ็ จริงตา่ ง ๆ

ข้ันตอนการสรา้ งและใช้บทเรยี นโมดลู

การจัดการเรียนรูแ้ บบใชโ้ มดูลมีขน้ั ตอนสำคญั ดังต่อไปน้ี

1. ข้นั เตรยี มการ

ผู้สอนศกึ ษาปญั หา ความต้องการและความสนใจของผเู้ รยี น เพ่ือเลือกสรา้ งบทเรียนโมดูลข้ึนมา ซ่ึงบุญชม
ศรสี ะอาด ( 2541 : 92 – 93 ) กล่าวไวโ้ ดยสรปุ ดังน้ี

- กำหนดเรอื่ งทจ่ี ะสร้างบทเรียน ควรตัดสนิ ใจว่าควรสร้างบทเรยี นเรอ่ื งใด ควรเลือกเรื่องที่ตนมคี วาม
ถนดั ความสนใจและความรอบรู้เร่ืองนน้ั ๆ

- กำหนดหลักการและเหตผุ ล เปน็ การอธิบายถึงเบ้ืองหลังความเปน็ มาของบทเรียน ความสำคญั ของ
บทเรยี น ขอบเขตของเน้ือหาการเรียนและความสัมพันธก์ ับเรอื่ งอื่น ๆ

- กำหนดจุดประสงค์ การกำหนดจุดประสงค์ของบทเรยี นจะเป็นแนวในการเขยี นเน้ือหาสาระการเรียน
ตลอดจนกิจกรรมและส่ือตา่ ง ๆ ของโมดลู การกำหนดจดุ ประสงค์เชงิ พฤติกรรมจงึ เป็นการกำหนด
เป้าหมายปลายทางทีต่ อ้ งการให้เกดิ ขึ้นกับผู้เรียนทสี่ ามารถวัดได้ และกำหนดเกณฑท์ ใี่ ช้สำหรบั
พิจารณาผ้เู รียนว่าบรรลุผลการเรยี นในระดบั ท่นี า่ พอใจหรือยัง

- สำรวจสือ่ และแหลง่ การเรยี นรู้ ผู้สรา้ งโมดูลจะต้องศึกษาค้นคว้าตำรา เอกสาร โสตทศั นูปกรณ์ตา่ ง
ๆ เพือ่ นำข้อมลู เหล่านน้ั มากำหนดกจิ กรรมและส่อื การเรียนไดอ้ ยา่ งเหมาะสม

- วเิ คราะหภ์ ารกิจ เปน็ การวิเคราะหว์ า่ บทเรียนนนั้ ๆ จะตอ้ งอาศัยความรพู้ น้ื ฐานและความสามารถใด
มาก่อนบ้าง ระหวา่ งเรยี นจะต้องเรียนร้เู ร่อื งอะไรบ้างจุดประสงคแ์ ต่ละข้อจะตอ้ งใชก้ จิ กรรมใดบ้าง
และกจิ กรรมเหลา่ นัน้ ควรมลี ักษณะใด

- สร้างเครอ่ื งมอื ประเมินผล เปน็ การสร้างเครื่องมือประเมินผลกอ่ นเรียนและหลังเรียน โดยวัดทง้ั สว่ น
ท่ีเป็นความรแู้ ละสมรรถภาพพน้ื ฐานท่ีจำเป็นต่อการเรียน รวมท้งั ความร้แู ละสมรรถภาพพืน้ ฐานท่ี
ครอบคลุมจุดประสงคข์ องบทเรียน

- ปรับปรุงบทเรยี น นำบทเรียนทีส่ รา้ งเสร็จแล้วไปใหผ้ เู้ ชี่ยวชาญด้านตา่ งๆ พจิ ารณาตรวจสอบ แลว้
นำมาปรับปรงุ แก้ไขตามข้อเสนอแนะของผู้เชี่ยวชาญ

- ทดลองใช้ นำบทเรยี นท่ปี รบั ปรงุ แล้วมาทดลองใชเ้ พ่ือหาประสทิ ธภิ าพและความเท่ียงตรงของ
เครอื่ งมอื ตามลำดับดังนี้

- ทดลองใชก้ ับกลุม่ ย่อย เพื่อทดลองหาประสิทธิภาพของบทเรยี น และทำการปรับปรงุ แก้ไข
ขอ้ บกพร่องต่าง ๆ

- ทดลองใชใ้ นห้องเรยี น เพอ่ื ทดลองหาความเทย่ี งตรงในการทำหน้าทเ่ี ป็นบทเรียน และปรับปรงุ แก้ไข
เป็นครั้งสดุ ทา้ ย

- พมิ พ์ฉบับจรงิ นำบทเรียนท่ีปรบั ปรุงครงั้ สุดท้ายแลว้ ไปพิมพ์เพอื่ จัดใสแ่ ฟ้มปกแข็ง หรอื จัดเปน็ ชดุ
เอกสารเพอื่ นำไปใชต้ ่อไป

2. ขน้ั การเรยี นรู้

การนำโมดูลไปใชใ้ นการจดั การเรียนรคู้ วรดำเนนิ การดงั นี้

- ประเมินผลก่อนเรียน โดยอาจใช้เปน็ แบบทดสอบชนดิ ตา่ ง ๆ เพือ่ ทดสอบความรู้ ความสามารถ
และสมรรถภาพพ้ืนฐานของผู้เรยี น

- แนะนำการใชบ้ ทเรียน ผสู้ อนแนะนำข้นั ตอน การใช้ส่ือการเรยี นรู้ทีก่ ำหนดไว้ตลอดจน
รายละเอยี ดต่าง ๆ ในโมดูล

- ทำกิจกรรมตามบทเรียน ให้ผเู้ รียนไดศ้ ึกษาเรียนรแู้ ละทำกจิ กรรมด้วยตนเองตามขั้นตอนต่าง ๆ

ในใบงานหรอื บตั รคำสั่งท่ีกำหนดไวใ้ นบทเรยี น

3. ข้ันสรุป

3.1 ประเมินผลหลังเรยี น ให้ผูเ้ รียนทำแบบทดสอบหลงั เรียนจบในแต่ละโมดลู แล้ว

3.2 สรปุ สาระสำคัญ ผู้สอนและผเู้ รียนสรปุ สาระของบทเรียนร่วมกัน

3.3 ตรวจสอบและประเมินผลงานผู้สอนและผูเ้ รยี นตรวจสอบและประเมนิ ผลงานรว่ มกัน

เรียนซ่อมเสรมิ

3.4 ผู้สอนและผเู้ รียนวางแผนการเรยี นซ่อมเสรมิ ในกรณีทีผ่ ลการประเมินหลังเรียนยังไม่เป็นทนี่ า่
พอใจ

การใชภ้ าษาไทยในงานอาชีพ

การใช้ภาษาไทยในงานอาชีพ เป็นเครื่องมือในการติดต่อสื่อสารที่มีความจำเป็นอย่างยิ่ง การที่จะ
ส่อื สารให้เกิดความเขา้ ใจตรงกันในงานอาชีพ ต้องอาศัยความรู้ความเข้าใจ และฝกึ ฝนทกั ษะการสื่อสาร ดังน้ัน
จงึ ควรมีความรูพ้ ืน้ ฐานเกี่ยวกบั การส่อื สารเพ่อื ชว่ ยใหก้ ารสื่อสารแตล่ ะครง้ั สมั ฤทธผ์ิ ล
จดุ ประสงค์การเรียนรู้

4.1 ดา้ นความรู้
4.1.1 อธิบายพลังของภาษาไทยได้
4.1.2 อธบิ ายภูมิปัญญาทางภาษาไทยได้

4.2 ดา้ นทกั ษะ
ใชภ้ าษาในการสอ่ื สารไดอ้ ย่างเหมาะสม

4.3 ด้านคุณลักษณะทพี่ งึ ประสงค์
4.3.1 กลา้ แสดงความคิดเหน็ อย่างมีเหตุผล (เหตุผล)
4.3.2 ทำงานที่ได้รับมอบหมายอย่างต่อเนอ่ื งไม่โกงเวลา

การประเมินผลหลังเรียน
นักเรียนทไี่ ดค้ ะแนนรอ้ ยละ 80 ขึ้นไป ถือวา่ ผ่านการประเมนิ

การเรยี นซ่อมเสริม
ถ้านักเรียนไม่ผ่านเกณฑ์ที่ระบุไว้ ให้นักเรียนได้ศึกษาตามจุดประสงค์ที่ไม่ผ่านแล้วทำแบบทดสอบ
ภาคความร้หู ลังเรียนให้ผา่ นเกณฑท์ ี่กำหนดไว้ ใหเ้ รยี นซอ่ มเสริม ดังน้ี
1.ใหน้ ักเรยี นใชเ้ วลามากกว่าเดิม
2.ครอู ธบิ ายเพม่ิ เตมิ

ขอบข่ายเนื้อหา
1. พลังของภาษาไทย
2. ภูมปิ ญั ญาทางภาษาไทย
3. ระดบั ของภาษาท่ใี ช้ในการสอื่ สาร

สาระสำคญั
ภาษา คือ เครื่องมือที่มนุษย์ใช้สื่อสารกัน ซึ่งอาจเป็นถ้อยคำที่ใช้พูดหรือเขียน เพื่อสื่อความหมาย
เฉพาะของกลุ่มชนน้นั ๆ เมื่อ พ.ศ. ๑๘๒๖ พ่อขนุ รามคำแหงมหาราชทรงประดิษฐ์อักษรไทยขนึ้ ทำให้คนไทยมี
อักษรไทยเป็นเอกลักษณ์ของตนเองตั้งแต่นั้นมา และได้มีการเปลี่ยนแปลงลักษณะของภาษาไทยหลายครั้ง
ตั้งแต่อดีต แสดงให้เห็นถึงความรุ่งเร่ืองทางวัฒนธรรมและพลังของภาษาไทยยังเป็นสิ่งผลักดันให้เกิดความ
รุง่ เรืองในดา้ นตางๆ ดังนี้

๑. แสดงความเป็นเอกลักษณ์ของชาติไทย การมภี าษาใชเ้ ปน็ ของตนเองแสดงความเปน็ เอกลักษณ์
ของชาตินั้นได้เป็นอย่างดี ดังนั้นภาษาไทยจึงเป็นเอกลักษณ์ของชาติไทย แสดงให้เห็นถึงวัฒนธรรมความเป็น
ไทยประการหนึง่

๒. ใช้ติดต่อสื่อสารระหว่างกัน คนไทยใช้ภาษาไทยเพื่อทำความเข้าใจกัน เพื่อถ่ายทอดความรู้
ความคดิ หรืออารมณ์ตา่ งๆ เพ่ือให้เกิดความเข้าใจท่ีตรงกนั ในดา้ นการฟัง การพดู การอา่ น และการเขียน

๓. ใช้ถ่ายทอดวัฒนธรรมต่างๆ ของไทย ชาติไทยเป็นชาติที่มีวัฒนธรรมอันเก่าแก่มาช้านาน
วัฒนธรรมไทยแขนงต่างๆ ล้วนมีคุณค่ายิ่ง ฐานสำคัญที่แสดงว่าคนไทยใช้ภาษาไทยถ่ายทอดประเพณี
วัฒนธรรม นอกจากนีย้ งั ปรากฏในศลิ าจารึกต่างๆ ในประเทศไทย ท่ีรู้จักกันคอื ศิลาจารึกหลักที่ ๑ ของพ่อขุน
รามคำแหงมหาราช

๔. ใช้เป็นเครื่องมือในการศึกษา ทุกคนใช้ภาษาไทยทั้งที่บ้านและสถาบันการศึกษาโดยเฉพาะ
สถาบนั การศกึ ษานั้น นกั เรียน นิสิต ผเู้ รยี นจะตอ้ งเรียนสรรพวทิ ยาการตา่ งๆ โดยใช้ภาษาไทย

๕. ภาษาไทยใช้เป็นเครื่องมือในการประกอบอาชีพทุกสาขาวิชาชีพ เพราะต้องใช้ภาษาไทยเป็ น
เครื่องมือสื่อสาร นอกจากนั้นผูท้ ี่มีความรู้ความสามารถทางภาษาโดยเฉพาะก็ยังอาจประกอบอาชีพท่ีใช้ภาษา
โดยตรงได้

นักเรยี นมาทำแบบทดสอบก่อนเรียนกันก่อนนะคะ

บทเรียนโมดูลชุดท่ี 1

หน่วยการเรียนรู้ท่ี 1 การใชภ้ าษาไทยในงานอาชีพ

คำสัง่ : จงเลอื กคำตอบทถ่ี กู ตอ้ งท่ีสดุ เพียงคำตอบเดียว
1. ขอ้ ใดใหค้ วามหมายคำวา่ “ภาษา” ได้ ดีท่ีสุด

ก. แสดงถึงภมู ปิ ญั ญาของมนุษย์
ข. สามารถใช้สือ่ สารไดท้ งั้ กบั มนษุ ย์และสตั ว์ทุกชนดิ
ค. เป็นเครอ่ื งมือสำคัญของมนุษย์ เพ่อื ใช้ในการติดตอ่ สื่อสารระหว่างกนั ภายในสังคม
ง. เปน็ เครื่องมอื แสดงความสามารถของมนุษย์
2. เพราะเหตใุ ดภาษาไทยจงึ แสดงความเป็นเอกลักษณ์ของชาติไทย
ก. เพราะคนในประเทศไทยใชภ้ าษาไทยในการส่ือสาร
ข. เพราะภาษาไทยได้รบั ความนยิ มในประเทศไทย
ค. เพราะชาติไทยใชภ้ าษาเปน็ ภาษาราชการ
ง. เพราะภาษาไทยเปน็ ภาษาประจำชาตไิ ทย
3. ขอ้ ใด ไมใ่ ช่ พลังของภาษาไทย
ก. แสดงเอกลักษณค์ วามเปน็ ไทย
ข. ใชต้ ดิ ตอ่ สอื่ สารระหวา่ งประเทศ
ค. ใช้ถ่ายทอดศลิ ปวัฒนธรรม
ง. ใช้เปน็ ข้อมูลในการค้นควา้
4. ข้อใดเปน็ ลกั ษณะของภาษาไทยท่ถี ูกต้อง
ก. มีความหมายคงทีไ่ ม่เปลย่ี นแปลงตามกาลเวลา
ข. มีวธิ ขี ยายประโยคใหย้ าวออกไปไดไ้ ม่รู้จบ
ค. มคี วามหมายนัยตรงเพยี งประการเดยี ว
ง. ไมเ่ สียงวรรณยกุ ต์

5. บคุ คลในขอ้ ใดต่อไปนีม้ ีความสำคัญกับอักษรไทยมากที่สดุ
ก. สมเด็จกรมพระยาดำรงราชานภุ าพ
ข. สนุ ทรภู่
ค. พอ่ ขนุ รามคำแหงมหาราช
ง. พระบาทสมเดจ็ พระพทุ ธเลศิ หล้านภาลยั

6. คำในข้อใด มาจากภาษาจนี
ก. กะลา
ข. เก้าอ้ี
ค. ปรศิ นา
ง. เมตร

7. ข้อใด หมายถงึ การหาประโยชน์ใสต่ นโดยขดู รดี ผู้อ่นื
ก. รัดเลอื ดกบั ปู
ข. ทำนาบนหลังคน
ค. ไมไ่ ด้เบ้ยี เอาขา้ ว
ง. ไม่ไดเ้ บี้ยออกข้าว

8. ข้อใด ไมใ่ ช่ ภูมิปัญญาไทย
ก. นยิ มกนิ กระเทียมเพอ่ื ลดความดันโลหติ
ข. วเิ ศษใส่ผ้าขาวม้าเมอื่ อยู่บ้าน
ค. สมชาตขิ ดู ตน้ ไม้เพ่อื ขอหวย
ง. วภิ าทำกลว้ ยอบแห้งเกบ็ ไว้กนิ

9. ขอ้ ใดเป็นภูมิปัญญาในภาษาไทย
ก. กนกวลียม้ิ แยม้ แจ่มใสอยตู่ ลอดเวลา
ข. กำชยั พดู โดยใชส้ ำนวนโวหารเสมอ
ค. กรยกมือไหว้ผู้อาวธุ โสกวา่ ตน
ง. กรวราพูดภาษาไทยปนภาษาอังกฤษเม่ือจำเปน็

10.ขอ้ ใด แตกต่าง จากขอ้ อ่นื
ก. ไก่แก่แม่ปลาชอ่ น
ข. ง่อยเปลี้ยเสยี ขา

ค. ผลาหมากรากไม้
ง. โง่เงา่ เตา่ ตุ่น

เฉลยแบบทดสอบก่อนเรียน

1.ค 2.ง 3.ง 4.ข 5.ค
6.ข 7.ข 8.ง 9.ข 10.ง

ใบความรู้ที่1 เร่ือง พลังของภาษา
ภาษาเป็นสิ่งที่มนุษย์สร้างขึ้นเพื่อใช้สื่อสารระหว่างมนุษยด์ ้วยกัน ภาษาเริ่มจากการเปล่งเสียง กลาย
มาเป็นภาษาพูด ต่อมามนุษย์จึงรู้จักขีดเขียนอักขระขึ้นเป็นคำเพื่อแทนเสียงพูด จึงเกิดเป็นภาษาเขียนข้ึน
ภาษามีการเปลี่ยนแปลงอยู่ตลอด ขึ้นอยู่กับการใช้งานของผู้คนในสังคมที่เปลี่ยนไป ในมิติหนึ่งมนุษย์เป็นผู้
กำหนดและใชง้ านภาษา แตใ่ นอีกมิติหนึ่งภาษาก็มีพลงั หรืออิทธิพลต่อสังคมมนุษย์เช่นกนั การใช้งานภาษาทำ
ให้ระบบความคิดของมนุษย์มีโครงสร้างอย่างที่เป็นอยู่ ภาษาทรงอิทธิพลต่อวิถีชีวิต ซึ่งได้พัฒนามาเป็น
วฒั นธรรมและประเพณี

ธรรมชาตขิ องภาษา
ภาษาคอื การส่อื สารระหวา่ งสิ่งมชี วี ิต ไมว่ า่ คนหรอื สตั ว์ เม่อื รวมกนั เป็นกลุ่ม ย่อมมีการสอื่ สารระหว่าง

กัน เพื่อแลกเปลี่ยนข้อมูลความรู้ เช่นการเรียนการสอน เพื่อบ่งบอกความรู้สึก เช่นการโอบกอด เพื่อให้
สัญญาณ เช่นการบินวนของฝูงผึ้ง อาจอยู่ในรูปใดก็ได้ ไม่ว่าจะเป็น วัจนภาษาหรืออวัจนภาษา (ภาษาที่ไม่ใช้
ถ้อยคำ) อาจอยู่ในรูปของเสียงคือการพูด หรืออยู่ในรูปของถ้อยคำในการขีดเขียน ซึ่งมนุษย์น่าจะเป็นสัตว์
ประเภทเดียวทีส่ ามารถประดิษฐค์ ำเพือ่ แทนเสียงพูดได้

1. ภาษาใช้เสียงส่อื ความหมาย
1.1 เสียงสัมพันธ์กับความหมาย เลียนเสียงธรรมชาติ เดาความหมายได้ เช่น แมว ตุ๊กแก

รถตกุ๊ ตุก๊
1.2 เสยี งไมส่ มั พันธ์กบั ความหมาย คนกำหนดความหมายขน้ึ เช่น บ้าน ลิง มด

2. ภาษาประกอบด้วยหน่วยเล็กซึ่งประกอบกันเป็นหน่วยใหญ่ขึ้น คือ เสียง --> คำ --> กลุ่มคำหรือ
ประโยค --> เรื่องราว สามารถขยายไดเ้ รือ่ ยๆ ไม่จำกดั

3. ภาษามกี ารเปล่ยี นแปลง
ภาษาเปลี่ยนแปลงเนื่องจากการพูดในชีวิตประจำวัน (กลืนเสียง/กร่อนเสียง) อิทธิพลของภาษาอื่น (ยื มคำ/
เลียนแบบสำนวนหรือประโยค) การเปลี่ยนแปลงของสิ่งแวดล้อมและเทคโนโลยีต่างๆ ทำให้เกิดสิ่งใหม่ข้ึน
ส่งผลใหค้ ำเกา่ ที่เคยใช้ถูกแทนที่ดว้ ยคำใหม่ และการเลยี นภาษาของเด็ก

4. ภาษามลี กั ษณะเฉพาะทต่ี ่างและเหมือนกนั
4.1 ลักษณะเฉพาะท่ตี ่างกันของแต่ละภาษา ไดแ้ ก่ เสยี ง ชนดิ ของคำ และไวยากรณ์
4.2 ลักษณะเฉพาะที่เหมือนกันในแต่ละภาษา เช่น เสียงสื่อความหมาย มีวิธีสร้างคำ

หลากหลาย มีสำนวนสุภาษิต มีคำชนิดต่างๆ ขยายประโยคได้เรื่อยๆ มีวิธีแสดงความคิดคล้ายกัน และมีการ
เปลย่ี นแปลง

พลงั ของภาษา
การส่อื สารของมนษุ ยส์ ร้างและพัฒนาภาษาขน้ึ มา และในทางกลับกัน ภาษาก็ไดช้ ่วยก่อร่างวธิ คี ิด วธิ ีเขา้ ใจโลก
แกม่ นษุ ย์ ก่อให้เกิดวถิ ีที่เรยี กว่า “วฒั นธรรม” หรอื “อารยธรรม” ขน้ึ มาในสังคมมนษุ ยโ์ ลก รปู แบบที่แตกต่าง
กันของภาษาแต่ละภาษาในโลก ก่อเกิดวิถีชีวิตและวัฒนธรรมที่แตกต่างกันออกไป อาจสรุปพลังหรืออิทธิพล
ของภาษาได้ดังน้ี

1. ภาษาช่วยธำรงสงั คม ภาษาใช้กำหนดแนวทางปฏบิ ัติให้สังคมธำรงอยู่ได้
2. ภาษาแสดงความเป็นปจั เจกบุคคล การใชส้ ำนวนภาษาของแต่ละคนแสดงถึงลักษณะเฉพาะตน
3. ภาษาช่วยให้มนษุ ย์พัฒนา ภาษาถ่ายทอดความรแู้ ละพฒั นาความคิด ใหเ้ กิดสง่ิ ใหมๆ่
4. ภาษาชว่ ยกำหนดเหตุการณท์ ่จี ะเกดิ ขึ้นในอนาคต
5. ภาษาช่วยจรรโลงใจ เช่น บทเพลง นทิ าน นยิ าย คำอวยพร

ลักษณะของภาษาไทย
ลักษณะที่ควรสังเกตบางประการในภาษาไทย และอักษรไทย คือ เครื่องหมายที่ใช้แทนเสียงใน

ภาษาไทย ประกอบด้วย พยญั ชนะ สระ และวรรณยกุ ต์

1. พยญั ชนะ มี 44 รปู 21 เสยี ง หน้าทีข่ องพยญั ชนะคือ เปน็ พยญั ชนะตน้ และตัวสะกด พยัญชนะต้น
มี 21 เสยี ง ดังนี้

เสียงพยญั ชนะ รูปพยญั ชนะ
1ก ก
2 ค ขฃคฅฆ
3ง ง
4จ จ
5 ช ชฌฉ
6 ซ ซศษส
7 ด ดฎ
8 ต ตฏ
9 ท ฐฑฒถทธ
10น น ณ
11บ บ
12ป ป
13พ พ ภ ผ

14ฟ ฟ ฝ

15ม ม

16ย ย

17ร ร

18ล ล ฬ

19ว ว

20ฮ ฮ ห

21อ อ

2. สระ มี 21 รปู 32 เสียง เสยี งสระแบง่ ได้ดังน้ี
(ก) สระแท้ หรือเสียงแทม้ ี 24 เสียง

- เปน็ สระเด่ยี ว 18 เสียง สระเดีย่ ว เปน็ เสยี งสระท่เี กิดจากกล่องเสียง ไม่ได้ไปประสมกับเสยี งสระอน่ื ใด มี
18 เสยี ง คอื อะ อา อิ อี อึ อือ อุ อู เอะ เอ แอะ แอ โอะ โอ เอาะ ออ เออะ เออ

- เป็นสระประสม 6 เสยี ง สระประสม เป็นเสียงที่เกดิ จากการประสมของสระเดี่ยว 2 เสยี ง ประสมกันเปน็
เสยี งใหม่ เดมิ มี 6 เสียง คือ เอยี ะ เอยี เอือะ เอือ อัวะ อวั
แตใ่ นปัจจบุ นั ไม่นิยมนบั สระประสมเสยี งสั้น เพราะไมม่ ีการใชง้ านจรงิ ทำใหบ้ างตำรานับสระประสมเพียง 3
เสียง โดย
สระเอยี ะ มาจาก อี+อะ
สระเอยี มาจาก อ+ี อา
สระเอือะ มาจาก อือ+อะ
สระเอือ มาจาก ออื +อา
สระอวั มาจาก อ+ู อะ
สระอวั มาจาก อ+ู อา
เราลองแยกเสยี งเองได้ ประสมเสยี งเองได้ จากการออกเสยี งสระ 2 เสยี ง คอื อี+อา ซ้ำๆ จากช้าไปเร็ว ก็จะได้
เสยี งสระเอียชดั เจน
(ข) สระเกิน 8 เสียง (ปจั จุบนั บางตำราไมน่ บั สระเกนิ เหล่านเ้ี ป็นสระ แต่ถือเป็นพยางค์แทน ดังนั้น บ้างกว็ า่
สระมี 24 เสยี ง บา้ งก็วา่ สระมี 32 เสียง)
นอกจากสระแท้ 18 เสียง และสระประสม 6 เสียงแลว้ ยงั มีสระอีกพวกทไ่ี ม่เข้าพวกกบั สระแท้และสระประสม
เราเรยี กว่า สระเกนิ โดยสระเกนิ เกิดจากเสียงสระแท้ ประสมกบั พยัญชนะตวั สะกด ออกมาเปน็ เสยี งสระ
ได้แก่
สระอำ เกิดจากเสียง อะ+ม
สระไอไม้มลาย เกดิ จากเสียง อะ+
สระใอไม้มว้ น เกิดจากเสียง อะ+ย เช่นกนั

สระเอา เกิดจากเสยี ง อะ+ว
ฤ เกิดจาก พยญั ชนะ ร+สระอึ
ฤา เกดิ จาก พยัญชนะ ร+สระอือ
ฦ เกิดจาก พยัญชนะ ล+สระอึ
ฦา เกิดจากพยัญชนะ ล+สระออื
3. เสยี งวรรณยุกต์ หรือเสยี งดนตรี มี 5 เสียง
ภาษาไทยเป็นภาษาเสียงดนตรี เพราะเรามวี รรณยุกต์ใช้ เรามวี รรณยุกต์ 4 รปู แตม่ ี 5 เสียง ซ่งึ ใกล้เคียงกับ
ระดบั เสยี งโน้ตดนตรี คือ โด เร มี ฟา ซอล ลา ที ทั้ง 7 เสยี ง
การมวี รรณยกุ ต์ใช้ ทำให้เรามีคำเพ่ิมได้มากมาย โดยไม่ต้องคดิ คำศัพท์ท่ียาวเกินไป วรรณยกุ ต์ท่ีเปล่ียนไปทำ
ใหค้ ำมีระดบั เสียงเปลยี่ นไป ความหมายก็เปลีย่ นไปตามเสียงวรรณยุกต์ด้วย เช่น จอ จอ่ จ้อ จ๊อ จ๋อ

พยางค์และคำ
เสยี งท่เี ราเปล่งออกมา 1 ครง้ั นบั เป็น 1 พยางค์ ไมว่ า่ เสียงนน้ั จะมีความหมาย หรือไม่มีความหมาย ก็นับเป็น
1 พยางค์ เชน่ ออกเสียงวา่ “อ”ุ น่นั คือ 1 พยางค์ ถ้าออกเสยี ง “อุ อุ อุ” นน่ั คือ 3 พยางค์ เปน็ ตน้
พยางค์ 1 พยางค์ ประกอบด้วยองค์ 3 คือ พยัญชนะตน้ สระ และวรรณยุกต์ เช่น “อา” ประกอบด้วย
พยญั ชนะต้น อ + สระอา + เสียงวรรณยกุ ต์สามัญ
พยางค์เป็นสว่ นประกอบย่อยของคำ คำบางคำประกอบด้วยพยางค์เดยี ว คำบางคำมีหลายพยางค์ เชน่
รตั นโกสนิ ทร์ (รัด-ตะ-นะ-โก-สิน) มี 5 พยางค์
อุตุนิยมวทิ ยา (อุ-ตุ-นิ-ยม-วิด-ทะ-ยา) มี 7 พยางค์ เป็นต้น

“คำ” คือ “พยางค”์ ท่มี ีความหมาย
1. ความหมายเฉพาะของคำ จำแนกได้เปน็ 2 ชนิด

- ความหมายตามตัว (ความหมายนยั ตรง) คือความหมายท่ปี รากฏในพจนานกุ รม ซึ่งผู้ใชภ้ าษาเข้าใจ
ตรงกนั

- ความหมายเชงิ อุปมา (ความหมายนยั ประหวดั ) คือความหมายท่ีก่อใหเ้ กดิ ความรูส้ ึกหรือการแปล
ความหมายต่างๆ กนั ไป
2. ความหมายเทยี บเคียงคำอื่น อาจนำถ้อยคำมาเทียบเคียงกนั ได้ในแง่ต่างๆ ดังน้ี

- คำทม่ี คี วามหมายเหมือนกนั หรอื คำไวพจน์ เช่น “สรุ ยิ า-พระอาทติ ย์-ทิพากร”
- คำท่มี ีความหมายแคบกว้างตา่ งกนั หรือ คำทม่ี ีความหมายครอบคลมุ รวมความหมายของอกี คำหนง่ึ ไว้
เชน่ “สัตวป์ ีก” (ความหมายกวา้ ง) “ไก่” “เป็ด” “ห่าน” “นก” (ความหมายแคบ)
- คำที่มคี วามหมายตรงกันขา้ ม เช่น “สงู -ตำ่ ” “ดำ-ขาว” “ยาว-ส้นั ”
- คำทีม่ ีความหมายคล้ายกัน เชน่ “ดี-เลิศ” “แนบ-ชดิ ”

การเปลี่ยนแปลงของภาษาไทยปัจจุบัน
สาเหตขุ องความเปล่ียนแปลง
1. การเปลย่ี นแปลงของสง่ิ แวดลอ้ มทางกายภาพ
เมอ่ื โลกเปลีย่ นไป เกดิ การพัฒนาในทุกๆ ด้าน ก็จะต้องมีคำศพั ท์ใหมข่ ้นึ มาใช้เรียกสิง่ ทเี่ กิดขึน้ ใหมเ่ หลา่ นี้ เช่น
โทรศพั ท์ไรส้ าย พืชตัดต่อพนั ธุกรรม
สิง่ ทเ่ี คยมีอยู่เดมิ เมอ่ื เลกิ ใช้แล้ว ก็อาจทำใหค้ ำท่ีใชเ้ รยี กสิ่งนนั้ สูญไปจากภาษาด้วย การไมไ่ ดใ้ ช้ทำใหค้ นรนุ่ ใหม่
ก็อาจไมร่ คู้ วามหมาย หรือเขา้ ใจความหมายผิดไปได้ ตัวอย่างคำทีเ่ กดิ ขน้ึ ใหม่เพราะความเปล่ียนแปลงของ
สิ่งแวดล้อมมีอยมู่ าก เช่น รถไฟ ไฟฟ้า ไฟฉาย ไม้ขีดไฟ ตู้เย็น พัดลม ทีเ่ ข่ียบหุ ร่ี น้ำแข็ง เครอื่ งดื่ม เตารีด ตู้
นิรภยั เตาอบ
บางคำสรา้ งขึ้นใหมเ่ พอื่ ใหท้ ันกับความกา้ วหนา้ ทางวชิ าการ เช่น ปัญญาประดิษฐ์ (AI), ความเปน็ จรงิ เสมือน
(VR), พันธุวิศวกรรม คำเหลา่ นีม้ กั เรียกกนั วา่ ศพั ทบ์ ัญญัติ โดยศพั ทบ์ ญั ญัติบางคำนนั้ เป็นคำประสม
2. ความเปลยี่ นแปลงของสิ่งแวดลอ้ มทางสังคม
ส่ือมวลชน และกลุ่มวยั รนุ่ มักสรา้ งคำหรอื สำนวนใหม่ขน้ึ มาใช้ เพื่อให้เกดิ ความแปลกใหม่ ทำให้ภาษาของตน
นา่ สนใจ เชน่ งานเข้า, ตัวแม่ คำที่สร้างขนึ้ ใช้เฉพาะพวกเฉพาะกลุ่มเพอ่ื ใหเ้ กิดความแปลกใหม่เชน่ นี้ เรียกกัน
วา่ “คำแสลง” คำแสลงส่วนใหญใ่ ชก้ นั ในชว่ งเวลาสนั้ ๆ
การพดู จากันในชวี ติ ประจำวันก็อาจทำใหถ้ ้อยคำในภาษาเปลย่ี นไปได้ ถ้าผู้พดู ไม่พยายามพดู ให้ชัดเจน เสียง
ของคำก็อาจจะเปลยี่ นไป นานๆ เข้าคำท่ีเปล่ียนไปก็ติดอยู่ในภาษา ส่วนคำเก่าที่ถกู ต้องอาจจะค่อยๆ สูญไป
หรือใช้ในความหมายท่ีต่างออกไปแทน

ใบงาน พลงั ของภาษา
กิจกรรมท่1ี คำชแ้ี จง ให้นักเรียนเขียนตอบต่อไปน้ี

1.วจั นภาษา คอื ........................................................................................................................................
............................................................................................................................. ....................................
.................................................................................................................................................................
............................................................... ..................................................................................................
2.อวจั นภาษา คือ.....................................................................................................................................
................................................................................................ .................................................................
............................................................................................................................. ....................................
......................................................................................................................................................... ........
3.อวัจนภาษา ที่ใช้ประกอบการพดู มีอะไรบ้าง ยกตัวอย่าง อยา่ งน้อย 5 ตัวอย่าง
.................................................................................................................................................................
...................................................................................................... ...........................................................
............................................................................................................................. ....................................
.................................................................................................................................................................
............................................................................................................................. ....................................
4.พลังหรืออทิ ธพิ ลของภาษา……………………………………………………………………………………………………….
............................................................................................................................. ....................................
.................................................................................................................................................................
............................................................................................................................. ....................................
............................................................................................................................. ....................................
.................................................................................................................................................................

ทำแบบทดสอบก่อนเรียน SCAN QR CODE

ใบความรู้ที่ 2 เรื่องภูมปิ ัญญาทางภาษาไทย

ภูมิปัญญาทางภาษา หมายถึง ความฉลาดของบรรพบรุ ษุ ท่ีต้องการถ่ายทอดความรู้ ความคิด ประสบการณ์
ไวใ้ นภาษาและวรรณกรรมต่าง ๆ โดยมีจุดมุ่งหมายเพอ่ื ตอ้ งการสัง่ สอนใหข้ ้อคดิ คติเตอื นใจและใช้เปน็ แนวทาง
ในการดำเนินชวี ิตอย่างมคี วามสุขในสังคม
ลักษณะของภมู ปิ ัญญาทางภาษา ภมู ิปญั ญาไทยในภาษาแสดงความงดงามของภาษาในเรอื่ งต่าง ๆ ดงั ต่อไปน้ี
1. ศิลปะการใชถ้ ้อยคำ มลี ักษณะตา่ ง ๆ เช่น

– ความสามารถในการสร้างคำ ภาษาไทยมีการคิดสร้างคำขึ้นใช้มากมาย เช่น คำซ้ำ คำซ้อน คำ
ประสม การเลียนเสยี งธรรมชาติหรอื ส่งิ ตา่ ง ๆ เปน็ ตน้

– ความหลากหลายในถอ้ ยคำ สามารถเลอื กใช้ได้หลายคำโดยไม่ซำ้ กันซ่งึ คนไทยมแี นวคิด
ในการนำคำท่ีคิดขนึ้ มากมายนัน้ มาจบั กลุ่มใหม่ เรียกชือ่ ว่า คำพ้อง

– การสัมผสั คล้องจอง คนไทยนยิ มรอ้ ยเรยี งคำใหส้ มั ผัสคลอ้ งจองกนั เพื่อจะได้จำงา่ ย
– การเปลยี่ นแปลงคำ การยืมคำภาษาอนื่ มาใช้ในภาษาไทยจะเปล่ยี นแปลงใหส้ ะดวกในการเขียนและ
การออกเสยี ง
– การพลิกแพลงคำ คำภาษาต่างประเทศบางคำออกเสียงยากจึงพลิกแพลงเพ่ือใหส้ ะดวกในการออก
เสียง
– การเรียงคำ เพื่อให้ดูดีมีความไพเราะ การเรียบเรียงคำให้โดดเด่นน่าสนใจในรูปของคำขวัญ คำคม
คำพังเพย สำนวน สุภาษติ เป็นต้น
– การผวนคำ เป็นการนำคำมาสับที่สับเสียงเพื่อให้เกิดความหมายใหม่ หรืออาจไม่มีความหมายเลย
แต่แสดงถงึ ความมอี ารมณข์ ันและความสนุกสนานของคนไทยในการสรา้ งสรรค์คำใหม่เทา่ นัน้
2. ลักษณะเด่นทางภาษา ภาษาไทยมลี กั ษณะทแ่ี ตกต่างจากภาษาอนื่ หลายเร่อื งดังนี้
– ภาษาไทยมีวรรณยุกต์ ทำให้คำคำเดยี วสามารถเปลยี่ นวรรณยกุ ต์เพ่ือเปลย่ี นความหมายได้

– ภาษาไทยมีลักษณนาม เพื่อบอกลักษณะของคำ ซึ่งเป็นความสามารถของคนไทยที่ช่างคิดประดิษฐ์
ถอ้ ยคำขน้ึ มาใช้

– ภาษาไทยมีระดับ ทั้งที่เป็นพิธีการ ทางการ กึ่งทางการและไม่เป็นทางการ ต้องใช้ให้ถู กต้อง
เหมาะสมกับกาลเทศะ
3. ภูมิปัญญาไทยในบทประพันธ์ ซึ่งแสดงถึงภูมิปัญญาไทยอันยอดเยี่ยมในการใช้ถ้อยคำ นอกจากกวีจะ
เลือกสรรถ้อยคำที่มีความไพเราะลึกซึ้งกินใจแล้วยังได้สอดแทรกความรู้ ความเชื่อ ขนบธรรมเนียมประเพณี
วฒั นธรรมและสภาพการดำเนินชีวติ ไวด้ ว้ ย

(แหลง่ ขอ้ มลู : http://kroobannok.com/board_view.php?b_id=23569&bcat_id=16)

ลักษณะของวรรณกรรมพน้ื บ้าน
1.เปน็ มรดกทางวัฒนธรรมที่เลา่ สืบทอดกันมาแบบปากตอ่ ปาก
2.เป็นแหล่งขอ้ มลู ที่บันทึกขนบธรรมเนยี มประเพณีของคนในท้องถิน่
3.ไมป่ รากฏนามผูแ้ ต่งที่ชดั เจน
4.ใชภ้ าษาถิน่
5.ใช้ตวั อักษรทอ้ งถิ่น
6.ใช้ฉนั ทลกั ษณ์ท้องถน่ิ
7.เนื้อเรื่องมีจุดมุ่งหมายเพื่อสนองความต้องการของคนในท้องถิ่นบางประการ เช่น ให้ความบันเทิง

เพอื่ อธบิ ายสิ่งท่ีคนสมัยน้ันไมเ่ ขา้ ใจ และเพอ่ื สอนจริยธรรมและพฤตกิ รรมใหค้ นในทอ้ งถิ่น

ประเภทของภูมปิ ญั ญาทางภาษา
1. เพลงพนื้ บา้ น หรอื เพลงชาวบา้ น มี 5 ประเภท ได้แก่

1.1 เพลงกลอ่ มเด็ก ใช้รอ้ งเพอื่ กลอ่ มเดก็ ให้นอนหลับงา่ ย ไม่โยเย
1.2 เพลงปลอบเด็ก เป็นเพลงที่ผู้ใหญ่ร้องเล่นกับเด็กเพื่อปลอบหรือหยอกเด็กเป็นเพลงสั้นๆใช้คำ
งา่ ยๆ มกั เลียนเสยี งธรรมชาติ เพ่อื เรยี กร้องความสนใจของเด็ก หรืออาจมีการแสดงประกอบเพื่อให้เด็กได้รู้จัก
ใช้อวัยวะแขนขา เช่น เพลงต้งั ไข่ เพลงโยกเยก เป็นตน้
1.3 เพลงร้องเล่น คือเพลงที่เด็กร้องเล่นกับเพื่อนๆ อาจจะล้อเลียนหรือเพื่อความสนุกสนาน เช่น
เพลงหวั ลา้ น เพลงผมเปยี
1.4 เพลงประกอบการละเล่นของเด็ก คือเพลงที่ร้องประกอบการละเล่นของเด็ก เช่น เพลงรีๆ
ขา้ วสาร เพลงมอญซ่อนผ้า
1.5 เพลงปฏิพากย์ หมายถึง เพลงที่ร้องโต้ตอบกันระหว่างผู้ชายกับผู้หญิง โดยใช้ปฏิภาณไหวพรบิ
หรอื ทเ่ี รยี กว่า “ร้องแก”้ นัน่ เอง เชน่ เพลงเกยี่ วข้าว เพลงฉอ่ ย

ใบความร้ทู ี่ 3 เรื่อง ระดบั ของภาษาที่ใช้ในการสื่อสาร
ระดับของภาษา หมายถึง ความลดหลั่นของถ้อยคำและการเรียบเรียงถ้อยคำที่ใช้โดยพิจารณาตาม
โอกาส หรือ กาลเทศะ ความสัมพันธ์ ระหว่างบุคคลที่เป็นผู้สื่อสาร และ ตามเนื้อหาที่สื่อสารการศึกษาเรื่อง
ระดับของภาษาเป็นสิ่งสำคัญเพราะทำให้บุคคลแต่ละกลุ่มเข้าใจภาษาของกันและกัน ไม่เกิดปัญหาด้านการ
สื่อสาร และความสมั พนั ธ์ ระหว่างบคุ คล รวมท้ังยงั ทำให้ผศู้ กึ ษาได้เขา้ ใจถงึ ลกั ษณะเฉพาะและวิวฒั นาการของ
ภาษาไทยอีกด้วยการศึกษาเรื่องระดับภาษาอาจพิจารณาได้หลายวิธีตามหลักเกณฑ์ต่างๆ เช่น พิจารณาตาม
ฐานะของบุคคล ตามเนื้อหา และตามกาลเทศะที่สื่อสารในที่นี้จะกล่าวถึงการพิจารณาระดับภาษา ตาม
กาลเทศะ / โอกาส ในการใช้ภาษา เพื่อให้ผู้ใช้ภาษาสามารถเลือกใช้ภาษา ในสถานการณ์ ต่างๆ ได้อย่าง
เหมาะสม
1.ภาษาแบบเป็นทางการ ภาษาที่ใช้อยา่ งเป็นทางการมลี ักษณะเปน็ พธิ กี าร ถกู ต้องตามแบบแผนของ
ภาษาเขยี น แบง่ ออกเปน็
(1.1) ภาษาระดับพิธีการ เป็นภาษาที่สมบูรณ์แบบ รูปประโยคถูกต้องตามหลักไวยากรณ์ มีความ
ประณีต งดงาม อาจใช้ประโยคที่ซับซ้อนและใช้คำระดับสูง ภาษาระดับนี้จะใช้ในโอกาส สำคัญ ๆ เช่น งาน
ราชพธิ ี วรรณกรรมชั้นสงู เป็นตน้
(1.2) ภาษาระดับมาตรฐานราชการ หรือ อาจเรียกว่า ภาษาทางการ / ภาษาราชการ เป็นภาษาที่
สมบูรณ์แบบ รูปประโยคถูกต้องตามหลักไวยากรณ์ เน้นความชัดเจน ตรงประเด็นเป็นสำคัญ ใช้ในโอกาส
สำคัญ ที่เป็นทางการ เช่นหนังสือราชการวิทยานิพนธ์ รายงานทางวิชาการ การกล่าวปราศรัย การกล่าวเปิด
งานสำคญั ๆ เป็นตน้
2. ภาษาแบบไม่เป็นทางการ ภาษาที่ไม่เคร่งครัดตามแบบแผน มักใช้ในการสื่อสารทั่วไปใน
ชวี ิตประจำวนั หรอื โอกาสทวั่ ๆ ไปทไ่ี ม่เปน็ ทางการ แบ่งเปน็
(2.1) ภาษาระดับกึ่งทางการ เป็นภาษาที่ยังคงความสภุ าพแต่ไม่เครง่ ครดั แบบภาษาทางการบางครงั้
อาจใช้ภาษาระดับสนทนามาปนอยู่ด้วย มันใช้ในการติดต่อธุรกิจการงาน หรือใช้สื่อสารกับบุคคลที่ไม่คุ้นเคย
หรือ มีคุณวุฒิ และ วัยวุฒิสูงกว่า หรือการบรรยาย การประชุมต่างๆ รวมทั้งใช้ในงานเขียนที่ไม่เป็นทางการ
เพ่ือใหง้ านเขียนนัน้ ดูไมเ่ ครียดจนเกนิ ไป เชน่ สารคดี บทวจิ ารณ์ เกย่ี วกบั บนั เทงิ คดีตา่ งๆ เป็นตน้
(2.2) ภาษาระดับสนทนา เป็นภาษาที่ใช้สนทนาโต้ตอบกับบุคคลที่รู้จักในสถานทหรือเวลาที่ไม่เป็น
การส่วนตัว หรือสนทนากับบคุ คลท่ียังไม่ค้นุ เคย รวมทง้ั ใชเ้ จรจาซือ้ ขายทั่วไป และการประชุมท่ีไม่เป็นทางการ
ภาษาที่ใช้มักมีรูปประโยคง่ายๆ ที่สามารถเข้าใจทันที แต่ยังคงความสุภาพ เช่น ภาษาที่ใช้ในการรายงานข่าว
โทรทัศน์ การเจรจาในเชิงธุระทัว่ ไป เป็นต้น

(2.3) ภาษาระดับกันเองหรือภาษาปาก เป็นภาษาพูดที่ใช้สนทนากับบุคคลที่สนิทคุ้นเคยมักใช้
สถานทีส่ ่วนตวั หรือ ในโอกาสที่ต้องการความสนกุ สนานคร้ืนเครง หรือ การทะเลาะววิ าท ภาษาทีใ่ ช้เป็นภาษา
พูดที่ไม่เคร่งครัด อาจมีคำตัด คำสแลง คำต่ำ คำหยาบปะปน โดยทั่วไปไม่นิยมใช้ในภาษาเขียน ยกเว้นงาน
เขียนประเภท เช่น เรื่องสั้น นวนิยาย ภาษาข่าวหนังสือพิมพ์ การเขียนบทละคร ฯลฯการใช้ภาษาผิดระดับ
ย่อมก่อให้เกิดอุปสรรคในการสื่อสาร ผู้รับสารอาจเห็นว่าผู้ส่งสารไม่รู้จักกาลเทศะขาดความจริงใจ เสแสร้ง
การแบ่งภาษาออกเป็นระดับต่างๆ นั้นมิได้แบ่งกันอย่างเด็ดขาด ภาษาระดับหนึ่งอาจเหลื่อมล้ำกับภาษาอีก
ระดับหนึ่ง หรือใช้ปะปนกันได้ การพิจารณาระดับภาษาระดับภาษาอาจต้องพิจารณาจากข้อความโดยรวมใน
การสอื่ สารนั้น

ภาษาพดู -ภาษาเขยี น
การศึกษาระดับภาษาอาจพิจารณาในด้านรูปแบบของการสื่อสารสามารถแบ่งภาษาเป็น ๒ กลุ่มใหญ่ๆคือ
ภาษาพูด และภาษาเขียน

1. ภาษาพดู หมายถงึ ภาษาท่มี กั ใช้สอ่ื สารทางวาจาในชีวิตประจำวัน หรืออาจใช้งานเขยี นท่ี
ไม่เป็นทางการ เช่นบทความวิจารณข์ า่ ว ข่าวบันเทงิ ขา่ วกฬี า หรอื ในวรรณกรรมประเภทต่าง ๆ
* ภาษาพดู สามารถเลอื กใช้ถ้อยคำไดห้ ลายระดับข้ึนกบั โอกาสที่พดู และฐานะชองบุคคลท่ี

สอื่ สารดว้ ยแต่จะไม่เคร่งครัดมากนัก
* ระดับภาษาทจ่ี ดั เปน็ ภาษาพดู ได้แก่ ระดบั สนทนา ภาษาระดับกันเอง
2. ภาษาเขยี น หมายถึง ภาษาทเ่ี ปน็ ลายลกั ษณ์อักษรเพือ่ บนั ทกึ ไว้เป็นหลักฐาน สามารถนำมา
อ้างอิงได้ภาษาเขียนที่ใช้ในงานเอกสารที่เป็นทางการจะใช้ภาษาที่เป็นมาตรฐาน (ภาษาทางการ)ยึด
หลักการใช้ภาษาที่ถูกต้อง อ่านเข้าใจง่าย และไม่นำภาษาพูดมาปะปนผู้เขียนควรขัดเกลาถ้อยคำสำนวนให้
ถูกตอ้ งชดั เจนและสมบรู ณ์
* ระดบั ภาษาท่ีจดั เปน็ ภาษาเขยี น ไดแ้ ก่ ภาษาระดบั พธิ ีการ ระดบั มาตรฐานราชการ
* ภาษาระดับกึ่งทางการ อาจจัดเป็นภาษาเขียนที่ไม่เคร่งครัดนัก หรือจัดเป็นภาษาที่ ค่อนข้างเป็น
ทางการหรอื ใช้ในโอกาสสำคัญ

หลกั การใชภ้ าษาท่ีถกู ตอ้ ง
ภาษาใช้ในการสอื่ สารท่ีเป็นทางการควรใชภ้ าษาเขียนในระดับทางการ โดยต้องหลีกเลีย่ งการใช้ภาษา

พูด และต้องคำนึงถึงความถูกตอ้ งเรือ่ งความหมาย และแบบแผนการใชภ้ าษาทั้งในด้านการใช้คำและประโยค
เน้นความถกู ต้อง กระชับ ชัดเจน ตรงประเดน็

1. การใช้คำ การใชค้ ำตอ้ งพจิ ารณาใหถ้ ูกต้องตามหลักไวยากรณ์ ความหมาย และระดบั ของคำนน้ั ๆ
2.การใช้ประโยค การใช้ประโยชน์ต้องพิจารณาให้ประโยคที่ใช้นั้นถูกต้อง กะทัดรัด ชัดเจน และ
สละสลวย และลำดับคำในประโยคถูกต้อง

แบบทดสอบหลังเรียน

คำสง่ั : จงเลือกคำตอบทถี่ กู ตอ้ งท่ีสดุ เพียงคำตอบเดียว
1.ข้อใดใหค้ วามหมายคำว่า “ภาษา” ได้ ดที ่สี ุด

ก แสดงถงึ ภมู ปิ ัญญาของมนุษย์
ข. สามารถใชส้ อื่ สารไดท้ ัง้ กับมนุษยแ์ ละสัตวท์ ุกชนดิ
ค. เป็นเครื่องมอื สำคญั ของมนุษย์ เพ่อื ใช้ในการตดิ ตอ่ สอ่ื สารระหว่างกันภายในสงั คม
ง. เปน็ เครอื่ งมือแสดงความสามารถของมนุษย์
2.เพราะเหตุใดภาษาไทยจงึ แสดงความเปน็ เอกลกั ษณ์ของชาติไทย
ก. เพราะคนในประเทศไทยใชภ้ าษาไทยในการส่อื สาร
ข. เพราะภาษาไทยได้รับความนิยมในประเทศไทย
ค. เพราะชาติไทยใช้ภาษาเปน็ ภาษาราชการ
ง. เพราะภาษาไทยเป็นภาษาประจำชาติไทย
3.ขอ้ ใด ไมใ่ ช่ พลงั ของภาษาไทย
ก. แสดงเอกลักษณ์ความเป็นไทย
ข. ใชต้ ิดต่อส่ือสารระหวา่ งประเทศ
ค. ใชถ้ ่ายทอดศลิ ปวฒั นธรรม
จ. ใช้เปน็ ข้อมลู ในการค้นควา้
4.ขอ้ ใดเป็นลกั ษณะของภาษาไทยทถ่ี ูกตอ้ ง
ก. มีความหมายคงทไี่ มเ่ ปลีย่ นแปลงตามกาลเวลา
ข. มวี ธิ ขี ยายประโยคให้ยาวออกไปไดไ้ ม่รจู้ บ
ค. มคี วามหมายนยั ตรงเพียงประการเดียว
ง. ไม่เสียงวรรณยุกต์
5.บคุ คลในข้อใดต่อไปนม้ี คี วามสำคญั กบั อักษรไทยมากทส่ี ุด
ก. สมเด็จกรมพระยาดำรงราชานุภาพ
ข. สุนทรภู่
ค. พ่อขุนรามคำแหงมหาราช
ง. พระบาทสมเด็จพระพุทธเลศิ หล้านภาลัย

6.คำในขอ้ ใด มาจากภาษาจนี
ก. กะลา
ข. เก้าอี้
ค. ปริศนา
ง. เมตร

7.ขอ้ ใด หมายถงึ การหาประโยชน์ใสต่ นโดยขดู รดี ผอู้ น่ื
ก. รัดเลอื ดกบั ปู
ข. ทำนาบนหลงั คน
ค. ไมไ่ ด้เบ้ยี เอาข้าว
ง. ไมไ่ ด้เบี้ยออกขา้ ว

8.ข้อใด ไม่ใช่ ภูมิปญั ญาไทย
ก. นยิ มกนิ กระเทียมเพื่อลดความดันโลหิต
ข. วเิ ศษใสผ่ า้ ขาวม้าเมื่ออยู่บ้าน
ค. สมชาติขดู ต้นไม้เพอื่ ขอหวย
ง. วภิ าทำกล้วยอบแหง้ เกบ็ ไว้กิน

9.ข้อใดเปน็ ภูมปิ ญั ญาในภาษาไทย
ก. กนกวลียม้ิ แยม้ แจม่ ใสอยู่ตลอดเวลา
ข. กำชยั พดู โดยใช้สำนวนโวหารเสมอ
ค. กรยกมือไหว้ผู้อาวธุ โสกว่าตน
ง. กรวราพดู ภาษาไทยปนภาษาองั กฤษเม่ือจำเป็น

10.ข้อใด แตกตา่ ง จากขอ้ อน่ื
ก. ไกแ่ กแ่ มป่ ลาช่อน
ข. ง่อยเปล้ียเสยี ขา
ค. ผลาหมากรากไม้
ง. โงเ่ งา่ เตา่ ตนุ่

เฉลยแบบทดสอบหลังเรียน

1.ค 2.ง 3.ง 4.ข 5.ค
6.ข 7.ข 8.ง 9.ข 10.ง


Click to View FlipBook Version