The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

เวียดนาม ลวดลายการผสมผสานความงาม
โดย จุรีรัตน์ โยธะคง
สาขาวิจัยศิลปะและวัฒนธรรม คณะศิลปกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search

บทความ - เวียดนาม ลวดลายการผสมผสานความงาม

เวียดนาม ลวดลายการผสมผสานความงาม
โดย จุรีรัตน์ โยธะคง
สาขาวิจัยศิลปะและวัฒนธรรม คณะศิลปกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น

บทความโดย : นางจุรีรตั น์ โยธะคง รหสั 587220008-0

นกั ศึกษาบณั ฑิตศึกษา ระดบั ปริญญาเอก สาขาวิจยั ศลิ ปะและวฒั นธรรม
มหาวิทยาลยั ขอนแก่น

ลวดลาย การผสมผสานของความงาม-ผลิตภณั ฑ์ = ของทร่ี ะลึก

เวียดนาม เปน็ อกี หนึง่ ประเทศในประชาคมอาเซียนทม่ี ีการเจรญิ เตบิ โตทางเศรษฐกจิ อยา่ งรวดเร็ว

มเี มืองหลวงหลายเมืองในเวยี ดนามทเี่ ปน็ เมืองเก่าแกอ่ ายุนับพนั ปี เป็นเมืองหลวงทมี่ ีศิลปะวฒั นธรรมท่ีมเี สนห่ ์
และเป็นแหล่งท่องเท่ียวท่ีมชี ่ือเสยี งแห่งหนึ่งของเอเชยี

ของทร่ี ะลกึ ท่นี ่ีนบั วา่ มีของให้เลอื กกนั อยา่ งหลากหลาย ทั้งกาแฟหลากชนดิ ของใช้ของชารว่ ย

อย่างพวงกุญแจ ตวั การ์ตูนแม่เหล็กในชุดประจาชาติ ชดุ งานไม้แกะสลกั ตุ๊กตาชดุ ประจาชาติสาหรบั ตงั้ โชว์
ของใช้เครื่องแตง่ ตัว กระเปา๋ รองเทา้ เส้ือผา้ หรอื สินคา้ พืน้ เมอื งอื่น ๆ อีกมากมาย

ลวดลาย | 1การผสมผสานของความงาม-ผลติ ภณั ฑ=์ ของทร่ี ะลกึ

ประวตั ิความเป็นมาของการออกแบบลวดลาย
การออกแบบลวดลายมีประวัตคิ วามเปน็ มาทย่ี าวนาน พร้อมๆกับวิวัฒนาการของมนุษยม์ าตั้งแต่

ยคุ ก่อนประวัติศาสตร์มาตั้งแต่ยุคก่อนประวตั ศิ าสตร์ การต่อสแู้ กง่ แยง่ ชว่ งชิงพื้นท่ีในการดารงชีวติ การล่าสัตว์
เพื่อหาอาหารประทังชีพ ตลอดจนความหวาดกลวั ในสิ่งลี้ลับเหนอื ธรรมชาติ ทาให้เกิดการค้นหาส่งิ ยึดเหน่ียวที่
จะสรา้ งขวัญและกาลงั ใจใหเ้ ข้มแขง็ พรอ้ มท่ีจะเผชิญกบั ส่งิ ต่างๆ เหลา่ น้ีได้ จึงกอ่ ใหเ้ กดิ การสร้างสรรค์ผลงาน
ศิลปะตา่ งๆขึ้นมาก่อนที่มนุษยจ์ ะมพี ัฒนาการจนสามารถสรา้ งผลงานศิลปะได้หลากหลายข้ึนนนั้ เชือ่ กนั วา่ การ
สรา้ งลวดลายบนร่างกาย ใบหนา้ ของมนษุ ยน์ น้ั เปน็ จดุ เริ่มต้นของการออกแบบลวดลายก่อนทจ่ี ะนาไปใช้พืน้ ผวิ
ของวัสดุอนื่ ภายหลงั เพราะความต้องการในการกระต้นุ จติ ใจใหฮ้ ึกเหมิ สรา้ งความน่ากลัวและนา่ เกรงขาม เป็น
ยทุ ธวธิ หี น่ึงที่จะลดทอนขวัญกาลังใจของคู่ต่อสู่ ในปจั จุบนั กย็ ังมชี นเผ่าพื้นเมอื งบางกลุ่มในเอเชยี อาฟรกิ า
ออสเตรเลีย อเมรกิ า และอนิ เดีย ออกแบบลวดลายบนรา่ งกายเพื่อใช้ในพธิ กี รรมตามความเช่ืออยู่ หลังจากน้ัน
จึงเกดิ การขูดขีดเสน้ สายต่างๆลงบนอาวธุ และเครื่องมอื เครือ่ งใชต้ ่างๆ จนเกิดการออกแบบลวดลายเขียนสีบน
ผนังถา้ และเพงิ ผา จากการขุดค้นพบผลงานต่างๆ ของมนษุ ยก์ อ่ นประวัติศาสตรท์ ว่ั โลก บ่งบอกใหร้ ถู้ งึ
ความสามารถในการคิดคน้ สรา้ งสรรค์ผลงานศลิ ปะต่างๆ ข้นึ มาปลกุ ปลอบจติ ใจ การขีดเขียนสีหรอื การทา
ลวดลายบนพนื้ หนิ จะถูกเรียกโดยรวมวา่ ศิลปะถา้ (Cave art) หรอื ศิลปะบนหนิ (Rock art)

ศลิ ปะถ้า เริม่ มกี ารศึกษากันอยา่ งจงิ จงั เมอื่ มกี ารค้นพบภาพเขียนสีรปู ววั ไบซนั (Bison) โดยนัก
โบราณคดสี มคั รเลน่ ที่ถา้ อลั ตามิรา ในประเทศสเปนราว พ.ศ. 2422 ซึ่งเปน็ ภาพเขียนสีในยคุ หินเกา่ ตอน
ปลาย อายุประมาณ 10,000 ปมี าแล้ว จากนน้ั มาการค้นหาภาพสขี องมนษุ ย์โบราณจงึ ได้แพรก่ ระจายทวั่ โลก
ราว 30 ปี ตอ่ มาใน พ.ศ. 2454 จงึ มีการค้นพบภาพเขยี นสีเปน็ ครัง้ แรกในประเทศไทย ท่ีแหลง่ ภาพเขยี นสเี ขา
เขียน ในอา่ วพังงา แต่ทมี่ กั จะไดร้ ับการกล่าวถึงกันมาก เพราะเปน็ แหลง่ เขียนสีทใี่ หญท่ สี่ ุด มีชือ่ เสียงมากทสี่ ุด

ลวดลาย | 2การผสมผสานของความงาม-ผลติ ภณั ฑ=์ ของที่ระลกึ

ในประเทศไทย คือ ท่ีผาแตม้ จงั หวดั อบุ ลราชธานี ซึ่งถูกค้นพบในปี พ.ศ. 2524 และเปน็ ศลิ ปะถา้ แห่งแรกใน
ประเทศที่ไดร้ บั การข้ึนทะเบยี นอย่างเปน็ ทางการในราชกจิ จานเุ บกษา

ในภาคเหนอื ไดม้ ีการคน้ พบภาพเขยี นสใี นหลายจังหวดั เช่น พิษณโุ ลก เชียงใหม่ ลาปาง โดย
เฉพาะที่จังหวดั ลาปางมีการพบภาพเขยี นสีมาต้ังแตป่ ี พ.ศ.2531 แตไ่ ดร้ ับการสารวจอย่างจรงิ จงั ในปี พ.ศ.
2541 จากการสารวจครง้ั น้ีทาใหพ้ บว่า ภาพเขยี นสีท่ีแหลง่ โบราณคดีประตผู า อาเภอแม่เมาะ จงั หวดั ลาปาง มี
ภาพลวดลายต่างมากกวา่ 1,872 ภาพ ซ่งึ ส่วนมากจะเป็นภาพมือท่ใี ช้หลากหลายวธิ ใี นการสรา้ งภาพ ภาพสตั ว์
ภาพค และ ภาพสัญลกั ษณ์ แต่ทีแ่ ตกต่างจากแหลง่ ภาพเขียนสอี นื่ ๆทค่ี น้ พบในประเทศไทยกค็ อื ทกุ พนื้ ที่ที่มี
ภาพเขียนสบี ริเวณเชิงผา พนื้ ดินสว่ นล่างจะพบหลุมฝงั ศพทกุ แหง่ ในหลมุ ศพจะมีโครงกระดูก เครื่องป้ันดนิ เผา
และเคร่ืองมือเครื่องใช้ตา่ งๆ

เมอื่ โลกเปลย่ี นแปลงไป มนุษย์มีวิวฒั นาการสงู ขน้ึ การออกแบบลวดลายตา่ งๆของมนุษย์ก็
เปล่ยี นแปลงไปตามยุคสมัย ในบางยคุ มีความเจริญรงุ่ เรือง ในบางยุคก็ตกต่า แต่ในวงการประวตั ิศาสตร์ศิลป์ได้
ยกย่องให้อยี ิปต์ กรีก และโรมนั เป็นยคุ ที่มนุษย์มีพฒั นาการทางศิลปะถงึ จุดสูงสุด เป็นต้นแบบให้กบั ศลิ ปะใน
ยคุ ต่อมาจนถึงปัจจุบนั

ลักษณะลวดลายของภาพเขียนสี ยุคกอ่ นประวตั ศิ าสตร์
ภาพเขียนสีท่ีพบในศิลปะถา้ นั้น ปรากฏลวดลายที่แตกตา่ งกันไปตามแหลง่ คน้ พบ บางลวดลายจะ

มคี วามคมชัด สอื่ ความหมายง่ายๆสามารถบอกไดว้ ่าเป็นภาพอะไร แต่บางภาพต้องทาการศกึ ษาวิเคราะห์ให้
ลกึ ซ้ึงโดยดจู ากองค์ประกอบอ่ืนๆดว้ ยลวดลายท่พี บเหลา่ นี้แบง่ ออกได้ 2 ลักษณะคอื

1. ลวดลายเหมือนจริง เป็นลวดลายท่ีพบเหน็ มากท่สี ดุ เช่น คน สัตว์ มือ เครอ่ื งมอื เครื่องใช้ เรอื
และพชื พันธต์ ่างๆ

2. ลวดลายสญั ลักษณ์ เปน็ ลวดลายทผ่ี สู้ ร้างงานต้องการส่ือความหมายหรือบอกให้รู้ถงึ บางส่ิง
บางอย่าง ซ่ึงไม่สามารถแปลความหมายได้ ตอ้ งทาการศึกษาคน้ ควา้ กันตอ่ ไป เชน่ ภาพ
สามเหลีย่ ม วงกลม หรือ ภาพสเ่ี หล่ียมมเี ส้นทแยงมุม เปน็ ต้น

เมอื่ โลกเปล่ียนแปลงไป มนษุ ยม์ ีวิวัฒนาการสูงขึ้นการออกแบบลวดลายตา่ งๆของมนุษย์ก็
เปลยี่ นไปตามยุคสมัย ในบางยคุ มคี วามเจริญรุ่งเรอื ง ในบางยุคกต็ กตา่ แตใ่ นวงการประวัตศิ าสตรศ์ ลิ ป์ไดย้ ก
ย่องให้อยี ิปต์ กรีก และโรมนั เป็นยุคทมี่ นุษย์มีพัฒนาการทางศิลปะถงึ จดุ สงู สดุ เป็นต้นแบบใหก้ บั ศิลปะในยคุ
ต่อมาจนถงึ ปจั จุบัน

ลวดลาย | 3การผสมผสานของความงาม-ผลิตภณั ฑ=์ ของทร่ี ะลึก

ในขณะน้ี ทุกประเทศในกลุ่มอาเชียนได้มีการตืน่ ตัวในการพัฒนาประเทศโดยมีเปา้ หมายในการ
ส่งเสริมความรว่ มมือและช่วยเหลือซ่ึงกนั และกนั ในทางเศรษฐกิจ สังคม และท่สี าคัญคือสร้างความม่นั คงใน
ภมู ิภาค แนวโนม้ สภาวะเศรษฐกิจของประเทศเวียดนาม คาดว่าจะมีการขยายตัวเพิ่มขึ้น เนื่องมาจากรัฐบาล
เวยี ดนาม มีการเปลี่ยนแปลงนโยบายของประเทศโดยมุ่งเน้นการเปดิ ประเทศ สง่ เสริมการค้าและการลงทุน
จากต่างประเทศมากขึน้ จงึ มกี ารพฒั นาในหลายๆ ดา้ นรวมทงั้ การทอ่ งเท่ยี ว ทาให้มีผู้คนหลงั่ ไหลเข้ามาใน
ประเทศมากขน้ึ เป็นผลให้เกดิ การเปลี่ยนแปลงวถิ ชี ีวิตและความเป็นอยู่จากการเสพวัฒนธรรมจากต่างถิน่ มาก
ข้นึ พร้อมกบั การเปล่ยี นแปลงทางดา้ นศิลปวฒั นธรรมในประเทศ การรบั อิทธิพลทางด้านวิถีชีวิตวัฒนธรรม
จากประเทศเพ่ือนบา้ น รวมท้ัง เกาหลี ญ่ปี ่นุ และวฒั นธรรมตะวันตก ทาให้ชาวเวียดนาม เรยี นรวู้ ิถีชวี ิตในการ
ดารงชีวิตทสี่ ะดวกสบายขึน้ วิถชี วี ิตของชาวเวยี ดนามในหลายหมบู่ ้านเร่มิ ปรบั เปลย่ี นไป การปลูกฝา้ ยย้อมดว้ ย
สธี รรมชาติ ทน่ี ามาทอผา้ ได้มีการปรับเปลย่ี นไปใชส้ ีย้อมเคมีใชเ้ ส้นใยประดิษฐ์ซงึ่ หาซ้ือไดง้ ่ายตามท้องตลาด
แม้แตก่ ายแตง่ กายดว้ ยชดุ ประจาเผา่ ก็เร่ิมไดร้ ับความนยิ มนอ้ ยลง ในปจั จุบนั เปลย่ี นมาใส่เส้ือผา้ ผลิตจาก
โรงงานทซ่ี ื้อจากตลาดมากขึ้นหนว่ ยงานทางภาครัฐจึงเลง็ เห็นว่าควรจะมีการส่งเสริมงานหัตถกรรมให้มีการ
ผลิตอย่างต่อเนื่องเพื่อแก้ปัญหาการละทิ้งภมู ิปัญญาซึ่งกาลังเกดิ ขน้ึ อย่างรวดเร็ว จึงได้มีหลายหนว่ ยงานท้งั
ภาครัฐและเอกชน เขา้ มาช่วยเหลือการผลติ งานหัตถกรรม ร้านค้าในเมืองใหญ่ได้นาผา้ แพรและงานหัตถกรรม
ของชนเผา่ มาแปรรปู และจาหนา่ ยใหก้ ับนักทอ่ งเที่ยวส่งผลให้มีรายไดจ้ ากการทอผา้ และสรา้ งสรรคง์ าน
หัตถกรรมสรา้ งรายไดม้ าจุนเจือครอบครัว ในส่วนของการพัฒนาด้านการศึกษา ทางรฐั บาลลาวไดก้ อ่ ต้งั
โรงเรยี นชนเผ่า เพ่ือให้การศึกษาและความรแู้ ก่ประชาชน ควบคไู่ ปกบั การส่งเสรมิ และพัฒนาด้านหตั ถกรรม
แนวทางเหลา่ นเ้ี ป็นแนวทางสาคญั ที่จะชว่ ยให้ประชาชนรวมท้ังสามารถทจ่ี ะเข้าใจและข้ามผา่ นบริบททาง
สังคมและวัฒนธรรมที่เปลย่ี นแปลงไปอยา่ งรวดเร็วได้ในขณะที่ ชาวเวียดนามเองจะสามารถทจี่ ะอนรุ ักษ์
ศิลปวัฒนธรรมอันหลากหลายของตนมใิ หถ้ ูกความเจรญิ ทางการค้าและววิ ฒั นาการ เทคโนโลยตี า่ งๆ กลืน

ลวดลาย | 4การผสมผสานของความงาม-ผลิตภณั ฑ=์ ของทร่ี ะลกึ

กนิ อัตลกั ษณ์แห่งประเทศไปหมดสนิ้ ในอนาคต จึงเปน็ ไปได้ว่า ประเพณีศิลปะวัฒนธรรมของชาวเวียดนามจะ
มีการสืบทอดและดารงอยู่เป็นภูมิปัญญาพ้นื ถ่นิ ท่ีได้รบั การต่อยอดพัฒนาต่อไปเป็นความเจรญิ ทางด้านจติ
วิญญาณควบคู่กับความเจรญิ ทางวทิ ยาการและวัตถนุ ิยมสบื ไป

ลวดลาย | 5การผสมผสานของความงาม-ผลิตภณั ฑ=์ ของทีร่ ะลึก


Click to View FlipBook Version