บญุ นมัสการพระธาตหุ ลวง: แรงดึงดดู แห่งศรทั ธา
นายจีรวฒุ ิ บุญช่วยนาผล
นกั ศึกษาปริญญาโท สาขาวจิ ัยศลิ ปะและวัฒนธรรม
คณะศลิ ปกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลยั ขอนแก่น
การเดินทางสู่ สปป.ลาว ของนักศึกษาบัณฑิตศึกษาระดับปริญญาโทและปริญญาเอก สาขาวิจัย
ศิลปะและวัฒนธรรมในคร้ังน้ี มีจุดประสงค์เพ่ือศกึ ษาดูงานบุญนมัสการพระธาตุหลวง นครหลวงเวียงจัน
ภายในงานได้เห็นถึงความงดงามของวัฒนธรรม ทั้งภาษา ประเพณี การแต่งกาย พิธีกรรม สถาปตั ยกรรม
ในเชงิ พุทธศาสนาอันหลากหลาย ซงึ่ ล้วนแต่มีความเกี่ยวข้องกับความเช่ือและความศรัทธาในพระพุทธศาสนา
ของคนลาว หากจะกล่าวถึงประเด็นต่างๆอย่างละเอียดนั้น คงต้องใช้ภาษาพรรณนาถึงความงดงามของ
วัฒนธรรมลาวอย่างหาท่ีสิ้นสุดได้ยาก ความน่าสนใจของสิ่งที่ได้พบเห็นมีมากมาย แต่มีสิ่งซึ่ งสร้างความ
ประทับใจในการเดนิ ทางในครั้งนี้ น่ันคือ มนตเ์ สน่ห์ของงานบญุ นมัสการพระธาตหุ ลวง ว่าเหตุใดงานบุญคร้ังน้ี
จงึ มีแรงดึงดูดทท่ี าให้ผู้ทศ่ี รัทธาพระพทุ ธศาสนาไดไ้ ด้หล่งั ไหลมามากมายได้ขนาดน้ี
จะเห็นได้ว่าในปัจจุบันวัดในพระพุทธศาสนาของลาวมีประมาณ 2,000 วัด ลักษณะรูปรา่ งศลิ ปกรรมการ
ก่อสร้างคล้ายคลึงกับวัดไทย (กรมการปกครอง กระทรวงมหาดไทย, 2516)ในเมืองหลวงพระบางซ่ึงเป็นเมือง
หลวงเก่าของลาวมีวัดต้ังตดิ ๆกัน ซ่ึง วัดพระแก้ว วัดพระธาตุหลวงในเวียงจันทน์เป็นหลักฐานอนั ดีที่แสดงออก
ว่าชาวลาวมีความเล่ือมใสพุทธศาสนาเพียงใด และในทุกวันพระ ชาวลาวพากันไปทาบุญท่ีวัด ผู้สูงอายุชาย
หญิงของลาวจะแต่งกายด้วยชุดขาว น่ังนับลูกประคาอยู่ตามศาลา โบสถ์ วิหารในตอนเช้าชาวบ้านจะยืนคอย
ใส่บาตรให้แก่พระภิกษุ หากมีงานฉลองพระธาตุเจดีย์ งานทาบุญตามวัดต่างๆตามประเพณีนิยมจัดแทบทุก
เดือน ซึ่งหากมีงานบุญหรืองานประเพณีทางศาสนาชาวลาวมักพร้อมเพรียงกันทาบุญ ช่วยเหลืองานกันด้วย
ความเตม็ ใจและยังคงรกั ษาวัฒนธรรมจารตี ประเพณีเดมิ อยา่ งเคร่งครัด (บุญช่วย ศรีสวสั ด์ิ, 2547)
พระธาตหุ ลวง
พระธาตุหลวง ปูชนียสถานอันสาคัญแหง่ นครหลวง
เวียงจนั ทน์ เป็นศนู ยร์ วมใจของประชาชนชาวลาวทั่วท่ังประเทศ
พระธาตุหลวงนน้ั มปี ระวตั กิ ารก่อสร้างนบั พนั ปเี ช่นเดียวกันพระธาตุ
พนมในประเทศไทย ดงั ปรากฏความเกย่ี วพนั กบั ประวตั ิศาสตรข์ อง
ดนิ แดนทางฝ่งั ขวาแมน่ ้าโขงอยา่ งแยกไม่ออก สถานท่ีนีถ้ ือได้วา่ เป็น
สญั ลักษณส์ าคัญอยา่ งของประเทศลาว ดงั ปรากฏว่าตรา
แผ่นดนิ ของลาวท่ีใช้อยใู่ นปจั จบุ นั น้มี ีรูปพระธาตหุ ลวงเปน็ ภาพ ภาพท่ี 1 รูปของพระธาตุหลวงนี้ ไดป้ รากฏ
เป็นภาพประธานในตราแผ่นดนิ ของลาว
ประธานในดวงตรา
นบั ตง้ั แต่ พ.ศ. 2534 เป็นต้นมา
ตามตานานอุรังคนิทานได้กล่าวไวว้ า่ พระธาตหุ ลวงสรา้ งขน้ึ พร้อมกันกับการสรา้ งเมอื งนครเวียงจนั ทน์
หลังจากกอ่ สร้างพระธาตพุ นมแลว้ ผสู้ รา้ งคอื บุรีจนั อ้วยล้วย หรือ พระเจา้ จนั ทบุรีประสทิ ธศิ กั ด์ิ
เจ้าเหนือหัวผู้ครองนครเวียงจันทนพ์ ระองค์แรก และในการก่อสรา้ งพระธาตุคร้งั แรกท่ภี กู าพรา้ นัน้ ได้มีพระ
กษัตริย์ 5 นครมาร่วมชมุ นมุ กันไดแ้ ก่
1. พระยาสวุ รรณพิงคาน เจ้าเมืองหนองหานหลวง
2. พระคาแดง เจ้าเมืองหนองหานนอ้ ย
3. พระยานนั ทะเสน เจ้าเมืองมะรกุ ขนคร (เมอื งท่าแขกปจั จุบนั )
4. พระยาอินทะปตั ถะนคร เจ้าเมอื งอินทปตั ยะ ประเทศเขมร
5. พระยาจลุ ณีพรมหัสดี เจา้ เมอื งแก้วประกัน (แขวงเชยี งขวาง)
สมยั ต่อมาพระยาสวุ รรณพิงคาน เมอื งหนองหานหลวง และพระยาคาแดง เมืองหนองหานอ้ ย ได้
สวรรคต เกิดนา้ ทว่ มใหญ่ทเ่ี มืองท้ังสอง ชาวเมืองทง้ั สองพากนั อพยพหนีขนึ้ มาต้ังรกรากอยู่ริมแม่น้าโขง โดยมี
ท้าวคาบาง ซ่ึงเปน็ นา้ ของ พระสุวรรณพิงคาน เจ้าเมืองหนองหานหลวงได้นาบา่ วไพร่และบริวารร่วมกันต้งั
เมอื งใหมอ่ ยู่บริเวณริมห้วยเก้าเลี้ยว ใกล้กับแม่นา้ โขง แลว้ ต้งั ชอื่ เมืองใหมบ่ ริเวณนี้ว่าเมืองสวุ รรณภูมิ สว่ นบ่าว
ไพร่และบรวิ าร กแ็ ยกยา้ ยกนั ไปตงั้ บ้านเรือนอยู่บรเิ วณโดยรอบเมือง ในเวลานน้ั มีชายคนหนงึ่ ชื่อ “บุรจี นั ทน์”
ได้พาญาติพ่ีน้องมาต้งั บา้ นอยู่ริมร่องแกปากหนองคนั แทเสื้อน้า ซึง่ เรยี กว่า “บา้ นหนองคนั แทเสื้อน้า” กาลนัน้
ไดม้ ีพระอรหันตส์ ององคเ์ ดนิ ทางมาเผยแผ่พระศาสนา ณ บรเิ วณหมบู่ า้ นหนองคนั แท พระอรหันต์องคช์ ื่อ พระ
มหาพุทธวงศ์พกั อย่ทู ร่ี ิมแมน่ ้าโขง และอีกองค์ช่ือ พระมหาสสั ดี พกั อยปู่ ่าโพน เหนอื ลาน้าบงึ (อาจจะเปน็ วัด
พระธาตุฝุ่นในปัจจบุ ันน้ี) บรุ ีจนั ทน์ หัวหน้าหมบู่ ้านหนองคนั แท ได้เป็นผูอ้ ปุ ฐากบุรจี ันทน์ ได้แต่งงานกับนาง
อินทะสวา่ ง ธิดาของ ท้าวคาบาง เจ้าเมืองสวุ รรณภมู ิแล้ว บรุ จี นั ทน์ จงึ ตงั้ บ้านหนองคนั แทขน้ึ เป็นเมอื งเรยี กวา่
เมืองจนั ทบรุ ี (นครเวียงจนั ทน์ปัจจุบนั ) ตามนามของผตู้ ้งั เมือง เมอ่ื จนั ทบรุ ี ตัง้ เมืองขึน้ แล้วจึงจัดแจงแต่งเครื่อง
ราชบรรณาการไปถวาย พระเจา้ สมุ ติ ตะธรรมวงศ์ พระเจ้าแผ่นดินแหง่ เมอื งมะรุกขนคร (คือเมืองท่าแขก หรอื
ศรีโคตรบรู ณ์) พระองคเ์ ปน็ เจ้าแผ่นดนิ เอกราชบริเวณแถบน้ี พระเจา้ สุมิตตะธรรมวงศ์ จงึ แต่งต้ัง พราหมณ์ 5
คน ข้นึ มาเพื่ออภเิ ษกบรุ จี ันทน์ ให้เปน็ เจา้ นครจันทบุรี มพี ระนามว่า “พระเจ้าจนั ทบรุ ปี ระสิทธิศักด์ิ”
ในกาลตอ่ มา ได้มีพระอรหนั ต์ 5 องค์ ได้นาเอาพระบรมสารรี ิกธาตขุ องสมเด็จพระสมั มาสมั พุทธเจ้า
มาจากเมืองราชคฤชค์ ชมพูทวีป ประเทศอนิ เดยี พระธาตุท่ีนามานั้น คือพระธาตหุ ัวเหนา่ 27 องค์ พระธาตุ
แข้วฝาง(เขยี้ วฝาง) 7 องค์ พระธาตฝุ า่ ตีนขวา 9 องค์ พระอรหนั ต์ 5 องคน์ ัน้ นามาโดยผ่านมาทางเมืองละโว้
(ลพบุรี) และเมอื งโคราช(จงั หวดั นครราชสมี าปัจจบุ ัน)แล้วไดเ้ อาพระบรมธาตไุ ปบรรจุไว้ในทีต่ ่าง ๆ ดงั นพี้ ระ
ธาตุหวั เหนา่ บรรจุไวท้ ภ่ี ูเขาหลวง หรอื ภเู ขาหลวง (เขา้ ใจว่าเปน็ พระธาตหุ ลวงปัจจบุ ัน) เพราะในศลิ าจารึก
พระธาตุหลวงเรยี กวา่ “คุยหะถปู าโย”แปลวา่ “ ทล่ี บั คือกระดูกหวั เหน่า” แตใ่ นตานานพระธาตุบงั พวน
(จังหวดั หนองคายปัจจุบนั ) ท่ีเขียนเป็นอักษรธรรม “เรยี กวา่ ภเู ขาลวง คาวา่ ลวง แปลวา่ นาค ดังนั้นภเู ขาลวง
อาจจะแปลวา่ “โพนนาค” หรอื โพนช่ือนาค กเ็ ปน็ ได้ พระธาตฝุ า่ ตนี ขวา บรรจุไว้ทีเ่ มืองหลา้ หนองคาย (พระ
ธาตุกลางนา้ ) พระธาตุแข้วฝาง บรรจไุ ว้ท่ี เวยี งงวั และท่าหอแพ (บ้านปะโค เวยี งคุก) (สิลา วีระวงส์,2553)
ในการบรรจุพระธาตุหัวเหนา่ 27 องค์ ไว้ที่ภูเขาลวงนน้ั พระเจา้ จนั ทบรุ ีประสิทธิศักดิ์ เจ้านครเวยี งจันทน์ ได้
เป็นประธาน พระองคไ์ ด้ให้ก่ออโุ มงคห์ ินคร่อมไว้ เตา้ ฝาอุโมงค์ทัง้ สี่ด้าน กวา้ งดา้ นละ 5 วา หนา 2 วา และสงู
ได้ 4 วา 3 ศอก เมื่อไดท้ าการบรรจุพระบรมสารีริกธาตุแลว้ พระเจ้าจนั ทบรุ ี จงึ ได้มีพระราชดารสั ใหเ้ สนา
อามาตย์สรา้ งวิหารขึน้ ในเมืองจันทบรุ ีหรือนครเวยี งจนั ทน์ 5 หลัง เพื่อให้เป็นที่อย่จู าพรรษาของ พระอรหันต์
ทง้ั 5 องคน์ ้ัน ต่อมาพระอรหันต์ 2 องค์ท่ีมาก่อนหน้านัน้ คอื พระมหาพทุ ธวงศแ์ ละพระมหาสสั ดี นพิ พานลง
พระเจ้าจนั ทบรุ ฯี ได้กระทาการพระราชทานเพลิงศพแลว้ ไดน้ าเอาพระอฐั ธิ าตขุ องพระอรหนั ต์ 2 องค์
มาบรรจไุ ว้ ในวดั สวนอ่วยลว่ ย ที่พระองค์ไดส้ ร้างไว้ (สิลา วรี ะวงส์, 2553)
การสร้างเวียงจันทน์ และพระธาตุหลวง ได้สร้างขึ้น ระหว่าง พ.ศ. 238 ดังตานานได้กล่าวมาข้างต้น
อย่างไรก็ดี ตามพงศาวดารประวัติศาสตร์กรุงสุโขไท สมัยพ่อขุนรามคาแหงมหาราช ว่าเมือง เวียงจันทน์ เวียง
คา น้ีเป็นเมืองเก่าแก่มีช่ือมาแล้วแต่โบราณนับเป็นพัน ๆ ปี ดังมีรายชื่อเจ้าผู้ครองนครเวียงจันทน์ตาม
ประวัติศาสตร์อาณาจักรศรีสตั นาคนหุตล้านช้าง นับต้ังแต่สมัยเจ้าฟ้างมุ่ ลงมาดงั นี้ ทา้ วเชยี งมุง ท้าวบาคุ้มหรือ
หม่ืนจันท้าววังบุรี เจ้าชายมุ่ย พระยาจันทงอก พระยาแสนสุรินทะลือไชย พระยาสุริสัทธรรมไตรโลกพระเจ้า
ไชยเชษฐาธิราช (พ.ศ. 2103) อดีตกษัตริย์ผู้ย่ิงใหญ่ของอาณาจักรล้านช้าง พระองค์ได้ย้ายราชธานีศูนย์กลาง
การบริหารพระราชอาณาจักรจากเมืองเชียงทองหลวงพระบาง ลงมายังนครเวียงจันทน์ปัจจุบัน เป็นราชธานี
แห่งใหม่ของอาณาจักรล้านช้างโดยให้สมัญญานามราชธานีแห่งใหม่นี้ว่า พระนครเวียงจันทบุรีศรีสัตตะนาค
นหุตอุตมะราชธานีบวรพระราชอาณาจักรศรีโครตรบูรณ์ล้านช้าง รัชสมัยของพระเจ้าไชยเชษฐาธิราช พระ
ราชอาณาจกั รล้านช้างมีความเจริญถงึ ข้ันขดี สดุ ทั้งทางด้านศิลปวัฒนธรรมและสถาปตั ยกรรม ในปี พ.ศ. 2109
พระองค์ได้มีดาริจะสร้างองค์พระธาตุหลวงขึ้นมาใหม่ ในเขตพระราชอุทยานทางด้านทิศตะวันออกของกรุง
เวียงจันทน์ราชธานีแห่งใหม่ โดยสร้างครอบพระธาตุองค์เก่าท่ีมีมาแต่โบราณกาล การลงมือสร้างพระองค์ได้มี
พระราชโองการประกาศข่าวให้ประชาชนราษฎรทั่วพระราชอาณาจักรทราบท่ัวถึงกันทั้งแผ่นดินสองฟาก ฝั่ง
แม่น้าโขง แรงศรัทธาที่หล่ังไหลมาท่ัวทุกสารทิศทั้งสองฟากฝั่งแม่น้าโขงแสดงให้เห็นถึงสัญลักษณ์แห่งความ
ศรัทธา ทป่ี ระชาชนทั้งสองฝากฝั่งแมน่ ้าโขง (รวมภาคตะวันออกเฉียงเหนือของไทยด้วย) ท่ีร่วมกันเข้าเปน็ หนึ่ง
เดียวสร้างองค์พระธาตุหลวงให้ใหญ่โตมโหฬารกว่าพระธาตุใด ๆ ในพระราชอาณาจักร เร่ิมในวันเพ็ญ เดือน
อ้าย พระองค์ทรงเป็นผู้นาในการก่อสร้าง คร้ันเมื่อพระธาตุหลวงสร้างเสร็จ จึงได้ขนานนามพระธาตุหลวงนี้
ว่า”พระธาตุเจดีย์โลกจุลมะณี” หรือ “พระธาตุใหญ่” แต่คนส่วนมากมักเรียกว่า “พระธาตุหลวง” โดยใช้
ระยะเวลาก่อสรา้ งถึง 6 ปี และเพ่อื เป็นการอนุรกั ษ์รักษาให้พระธาตุสภาพเป็นปกติอยเู่ สมอพระองค์มีพระราช
องค์การให้ 35 ครอบครัว อยู่เฝ้ารักษา ซึ่งมีพระองค์อุทิศไร่นาให้ครอบครัวผู้เฝ้ารักษาองค์พระธาตุเพ่ือทามา
หากิน(สลิ า วีระวงส์,2553)
ภาพท่ี 2 อนุสาวรีย์ พระไชยเชษฐาธริ าช ภาพดา้ หนง้ ของพระธาตุหลวง
เมื่อพระธาตหุ ลวงสร้างเสร็จสมบรู ณเ์ พื่อเป็นการเฉลมิ ฉลองผลงานอนั เลิศล้าของชาวลาวในยคุ น้นั
จึงได้เรียกบรรดานายช่าง กสิกร ชาวไร่ชาวนามาพร้อมกัน เพื่อเฉลิมฉลองผลงานของพระเจ้าไชยเชษฐาธิราช
ที่นาพาประชาชนสร้างพระธาตุหลวงพระธาตุหลวงจนสาเร็จเป็นเอกลักษณ์ประจาชาติ เน่ืองจากภายในพระ
ธาตุหลวงมีพระบรมสารีริกธาตุของสมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้า(กระดูกหัวเหน่าของพระพุทธเจ้า)ประดิษฐาน
อยู่ ด้วยความศรทั ธาในพระพุทธศาสนาของชาวลาว จึงเป็นสาเหตุหลักให้เกิดการทาบุญใหญ่สืบต่อกนั มาเพื่อ
เป็นการบูชาพระบรมสารีริกธาตุของสมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้าที่บรรจุอยู่ในพระธาตุหลวง พิธีบุญใหญ่น้ี
เรียกว่า บุญ ธาตุหลวง ,บุญ พระธาตุหลวง หรือ บุญ นมัสการพระธาตุหลวง ที่เรียกในปัจจุบัน
ภาพท่ี 3 พระธาตุหลวงในวนั งานบญุ นมัสการพระธาตหุ ลวง
การจดั งานบญุ บุญพระธาตุหลวงจะจดั ในวนั เพ็ญขึ้น 15 ค่าเดือน 12 ของทุกปี เพราะในระยะเวลาน้ี
เปน็ ระยะที่ประชาชนไดเ้ กบ็ เกยี่ วผลผลติ ทางการเกษตรเสรจ็ สิ้น และเปน็ ฤดทู ่กี าลังจะเข้าส่ฤู ดูหนาว อากาศไร้
เมฆฝน เป็นราตรีท่ีพระจนั ทร์เต็มดวง บรรพบรุ ุษของลาวจงึ พากันจัดงานบุญนีข้ ึน้ ในวนั เพญ็ 15 คา่ (เดือน
สวา่ ง) และรฐั ไดใ้ ห้ความสะดวกในความในการท่องเทย่ี ว และในสมยั โบราณยงั ไม่มีไฟฟ้าดงั เช่นปัจจบุ นั ฉะนน้ั
งานโบราณลาวมักจะจัดในวันเพ็ญ 15 ค่า เชน่ เดียวกับงานบญุ นมัสการพระธาตหุ ลวง การจัดงานดังกล่าวอีก
นยั หน่ึงเพอ่ื ฉลองผลผลิตทางการเกษตรท่พี ลเมืองไดเ้ ก็บเกี่ยวมา
จากทก่ี ลา่ วมาขา้ งตน้ จะเห็นไดว้ า่ พระธาตุหลวงมคี วามสาคัญตอ่ ประชาชนชาวลาวอยา่ งมากเร่มิ ตั้งแต่
พระธาตุหลวงสรา้ งข้นึ พร้อมกันกบั เมืองนครเวยี งจันทน์จนถึงประวตั ิศาสตร์ทางดา้ นพระพุทธศาสนาและ
ภายในพระธาตุหลวงมีพระบรมสารรี ิกธาตุของสมเดจ็ พระสัมมาสัมพุทธเจ้าประดิษฐานอยู่ จึงไม่แปลกแต่
อย่างไรที่ความศรทั ธาในพระพทุ ธศาสนาของประชาชนชาวลาวจะมากล้นขนาดนี้ โดยประเพณงี านบุญ
นมสั การพระธาตหุ ลวงนับเป็นอกี หนึ่งหลักฐานชน้ิ ดีที่แสดงออกถงึ เลื่อมใส โดยสงั เกตผู้คนจากทว่ั ทุกสารทิศท่ี
ตา่ งพากนั มาเพ่ือรว่ มงานบญุ นมัสการพระธาตุหลวง ประเพณี ,ศรัทธา, รอยยิ้ม และความสุขท่เี กิดจากการ
ร่วมประเพณีงานบญุ ใหญใ่ นครงั้ นี้
ภาพท่ี 4 รอยยิ้ม และความสขุ ท่เี กดิ จากการรว่ มประเพณงี านบุญนมสั การพระธาตหุ ลวง
อย่างไรก็ตามตราบเทา่ ท่ีประชาชนชาวลาวยังคงมีความเลื่อมใสและศรัทธาในพระพุทธศาสนา ความ
งดงามทางด้านวัฒนธรรม ประเพณี พธิ ีกรรม และสถาปตั ยกรรมในเชงิ พุทธศาสนาจะยังคงอยู่ไม่สูญสลายไป
กบั กาลเวลาอยา่ งแนน่ อน
บรรณานกุ รม
กรมการปกครอง กระทรวงมหาดไทย. (2516). ประเทศชายแดนไทย เลม่ ท่ี 2 พระราชอาณาจักร
ลาว. กรุงเทพฯ: [ม.ป.พ.].
บุญชว่ ย ศรสี วัสดิ.์ (2547). ราชอาณาจกั รลาว. พิมพ์คร้ังที่ 2. กรงุ เทพฯ: เกศสยาม.
ศนู ยข์ อ้ มลู ลาว สานกั วัฒนธรรม มหาวทิ ยาลยั ขอนแก่น. (2550). สาธารณรฐั ประชาธิปไตย
ประชาชนลาว. คน้ เมือ่ 7 ธันวาคม 2557, จาก http://laos.kku.ac.th/index.php?
option=com_content&task=view&id=28&Itemid=39
สลิ า วรี ะวงส.์ (2553). ประวัตพิ ระเจดโี ลกะจุลามะนี. พิมพค์ รงั้ ท่ี 2. เวียงจันทน์: ดอกเกด.
พระธาตหุ ลวง ค้นเม่ือ 7 ธนั วาคม 2557, จากhttp://th.wikipedia.org/wiki/