The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

สิม : คุณค่าจากญวนถึงแดนอีสาน

บทความโดย วีรพล คำสุวรรณ
สาขาวิจัยศิลปะ วัฒนธรรม และการออกแบบ
คณะศิลปกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search

สิม : คุณค่าจากญวนถึงแดนอีสาน

สิม : คุณค่าจากญวนถึงแดนอีสาน

บทความโดย วีรพล คำสุวรรณ
สาขาวิจัยศิลปะ วัฒนธรรม และการออกแบบ
คณะศิลปกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น

สิม : คุณค่าจากญวนถงึ แดนอสี าน

บทความโดย วรี พล คาสุวรรณ

สาขาวชิ าวจิ ัยศิลปะและวฒั นธรรม

รหสั นกั ศึกษา 585220002-8

คณะศิลปกรรมศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั ขอนแก่น

สิม มีความหมายอยา่ งเดียวกนั กบั โบสถ์ หรือ อุโบสถ ของทางภาคกลาง ดว้ ยการออกเสียงที่กร่อน
มาจากคาวา่ สีมา ซ่ึงหมายถึงขอบเขตหรืออาณาเขตท่ีกาหนดข้ึนเฉพาะการใชใ้ นกิจของสงฆ์ สิมมีอยู่ 3 ชนิด
คือ คามสีมา หมายถึงสิมท่ีทาในบา้ น อพั ภนั ตรสีมา หมายถึง สิมท่ีทาข้ึนในป่ า และอุทกฺกเขปสีมา หมายถึง
สิมท่ีทาข้ึนในน้า ส่วนสิมในภาคอีสานน้นั ท่ีปรากฏเห็นส่วนใหญ่น้นั จะมีเพียง 2 ชนิด คือ คามสีมา ซ่ึง
ชาวบา้ นมกั จะเรียกวา่ สิมบก และ อุทกฺกเขปสีมา หรือท่ีเรียกกนั วา่ สิมน้า เท่าน้นั (วิโรฒ ศรีสุโร,2536) แต่
ในปัจุบนั สิมน้าในอีสานเหลือจานวนนอ้ ยมาก ที่พอเหลือใหศ้ ึกษากค็ ่อนขา้ งจะมีรูปแบบท่ีดอ้ ยทางดา้ น
ศิลปะ เน่ืองจากสิมน้าส่วนใหญแ่ ลว้ เป็ นสิมชวั่ คราว พอมีการสร้างชุมชนท่ีมีความเขม็ แขง็ แลว้ ก็มกั จะสร้าง
สิมบก

สิมบก ในอีสานน้นั เป็ นการดดั แปลงอาณาเขตที่กาหนดข้ึนเพ่ือใชใ้ นกิจกรรมของสงฆใ์ หเ้ ป็น
สิ่งก่อสร้างที่มีลกั ษณะถาวรมากข้ึน ในส่วนของลกั ษณะในทางสถาปัตยกรรมของสิมบกท่ีแตกต่างกนั อยา่ ง
ชดั เจนจนสามารถไดน้ ้นั มีอยู่ 2 ชนิดคือ 1.สิมโปร่ง (หรือสิมโถง) 2.สิมทึบ ท้งั 2 ชนิดกจ็ ะจาแนกประเภท
ตา่ งๆตามรายละเอียดลกั ษณะปลีกยอ่ ยลงไปอีก ซ่ึงสิมทึบ กจ็ ะเป็นการพฒั นาและเป็นการแกป้ ัญหาของสิม
โปร่งจากธรรมชาติ ดินฟ้า อากาศ มาเป็นอาคารที่มีเคร่ืองมุง เพ่อื ป้องกนั แดด ฝนและน้าคา้ ง เม่ือแกป้ ัญหา
เหล่าน้ีกจ็ ะใชป้ ระโยชนส์ ิมไดห้ ลากหลายข้ึน กล่าวคือนอกจากจะใชส้ ิมเป็นที่ประกอบสังฆกรรมแลว้
พระสงฆย์ งั ใชเ้ ป็นที่บาเพญ็ ภาวนาไดอ้ ีกตลอดวนั ตลอดคืน นบั เป็นมูลเหตุใหเ้ กิดอาคารถาวรใน
พระพทุ ธศาสนา

สิมทึบ แมจ้ ะไม่ใหญ่โตอลงั การเม่ือเทียบกบั โบสถใ์ นภูมิภาคอ่ืนแต่ก็นบั วา่ เป็นผลงานการรังสรรค์
ของช่างพ้ืนบา้ นอีสานอยา่ งแทจ้ ริง ท่ีสะทอ้ นออกมาจากภูมิปัญญาและสัจธรรมชีวติ ของผคู้ นบนถ่ินที่ราบ
สูงไดเ้ ป็นอยา่ งดี ซ่ึงมีการผสมผสาน อิทธิพลศิลปะจากประเทศอ่ืนๆ ในภูมิภาคลุ่มน้าโขงโดยเฉพาะ ศิลปะ
แบบช่างญวน

จากการศึกษาเบ้ืองตน้ พบวา่ สิมอีสานแบบช่างญวนยงั คง มีอยจู่ านวนหน่ึงและมีมากในเขตจงั หวดั
นครพนมและจงั หวดั สกลนคร เน่ืองจากเป็ นพ้ืนที่ ท่ีมีการอพยพของชาวญวนเขา้ มาอยูอ่ าศยั หนาแน่นท่ี สุด
รูปแบบท่ี เกิดข้ึนยงั คงมีความเคารพต่อโครงสร้างและแนวคิดแบบสิมอีสานพ้ืนบา้ นด้งั เดิม

สิมวดั ป่ าเลไลย์ http://www.siamrath.co.th/web

เช่น การออกแบบรูปผงั ส่ี เหล่ียมผนื ผา้ มีขนาด 3 ห้องเสาและนิยมทามุขโถงดา้ นหนา้ แต่ไดเ้ พิ่มความ
หลากหลายของรูปแบบและสดั ส่วนที่ไดจ้ ากการประยกุ ตก์ ารออกแบบของช่างญวน รวมถึงมีการใช้
องคป์ ระกอบทางสถาปัตยกรรมแบบตะวนั ตกและงานศิลปกรรมประดบั ตกแต่งอยา่ งศิลปะญวนเขา้ มาร่วม
ใชใ้ นการออกแบบ ในภาพรวมของสิมช่างญวนจึงมีความ หลากหลายและน่าสนใจซ่ึงแสดงใหเ้ ห็นถึงพล
วตั รในงานออกแบบของสถาปัตยกรรมพ้ืนถิ่นสิมอีสาน แต่ เป็นท่ี น่าเสียดาย เนื่องจากการเปลี่ยนแปลงท่ี
รวดเร็วของสงั คมในปัจจุบนั ทาใหผ้ คู้ นมองไม่เห็นคุณค่าของงานสถาปัตยกรรมในทอ้ งถ่ินของตน สิมอีสาน
หลายแห่งถูกทอดทิง้ ไม่ไดใ้ ชง้ าน ขาดการดูแลและทานุบารุงรักษา เป็ นผลทาใหส้ ิมหลายหลงั ถูกร้ือทิง้
ทาลายเพื่อสร้างสิมใหมต่ ามอยา่ งกระแสนิยมท่ีเกิดข้ึนในปัจจุบนั

สิมที่มีรูปแบบมาจากช่างญวน มีการสร้างกระจายตวั กนั อยใู่ นหลายจงั หวดั แถบภาคอีสาน ซ่ึงใน
เบ้ืองตน้ น้ีไดเ้ กบ็ ขอ้ มูลไวเ้ ป็ นจานวนมากกวา่ 20 หลงั ซ่ึงส่วนใหญ่จะเป็ นการศึกษาในเขตพ้ืนท่ีอีสาน
ตอนบนและตอนกลางสามารถแจกแจงไดด้ งั น้ี สิมในจงั หวดั นครพนม พบจานวน 9 หลงั จงั หวดั สกลนคร
พบ 5 หลงั จงั หวดั มหาสารคามพบ 2 หลงั จงั หวดั อุดรธานีพบ 2 หลงั จงั หวดั ขอนแก่นพบ 1 หลงั จงั หวดั
เลยพบ 1 หลงั จงั หวดั มุกดาหารพบ 2 หลงั จงั หวดั ร้อยเอ็ดพบ 2 หลงั (ชาญวทิ ย์ สุขพร, 2558) เนื่องจาก
สภาพจากในปัจจุบนั ชุมชนต่างๆในภาคอีสาน ไดเ้ ปลี่ยนมาสร้างโบสถศ์ ิลปะรูปแบบสยาม ท่ีมีลกั ษณะโอ
เวอร์เสกลตามคติความเชื่อแบบสยามมาสกั ระยะ ทาให้ สิม ท่ีเป็นศิลปะแบบสผมผสานของศิลปะพ้นื บา้ น
กบั ช่างญวนถูกยกเลิกใหไ้ ปบางแห่งกป็ ล่อยทิ้งร้างหรือร้ือถอนไป

สิมอีสานวดั สนวนารีพฒั นา บา้ นไผ,่ จ.ขอนแกน่

หากแต่ทุกวนั น้ียงั มีกลุ่มคนที่ศึกษาเกี่ยวกบั ประวตั ิศาสตร์ สถาปัตยกรรม ศิลปะ ออกแบบ และงาน
สร้างสรรคต์ า่ งๆ ใหค้ วามสนใจศึกษาเก่ียวกบั สิมเป็นกนั มากข้ึน อาจเป็ นเพราะในยคุ ท่ีเรียกกนั วา่ ยคุ
เศรษฐกิจสร้างสรรค์ จึงทาใหน้ กั สร้างสรรคม์ องหารากฐานความเป็นมาของตน เพื่อเป็นแนวทางการพฒั นา
งานสร้างสรรคใ์ นอนาคต เน่ืองจากสิมน้นั อยคู่ ู่กบั ศาสนสถานในถ่ินอีสานมายาวนานก่อนท่ีโบสถร์ ูปแบบ
สยามจะเขา้ มาไดร้ ับความนิยมในภูมิภาค จึงมีเร่ืองราว ตานาน รูปแบบ ศิลปะแบบพ้นื ถ่ินท่ีน่าสนใจ ไมว่ า่
จะเป็น โครงสร้างของอาคาร ส่วนประดบั ตกแต่ง ฮูปแตม้ ลว้ นแตเ่ ป็ นการบนั ทึกเรื่องราวของยคุ สมยั

สิมอาจจะเป็นเพียงอาคารท่ีเงียบเหงา ปล่อยทิ้งร้างหากไม่มีการสืบทอดเร่ืองราว ในลมหายใจอนั
แผว่ เบาของสิม ยงั พอเป็นเช้ือใหก้ บั การสร้างสรรคส์ มยั ใหม่ที่มีรากเงา้ มาจากสิม ใหต้ ่อลมหายใจ

อ้างองิ
วโิ รฒ ศรีสุโร. สิมอีสาน. กรุงเทพฯ: บริษทั เมฆาเพลส, 2536,
ชาญวทิ ย์ สุขพร.การประชุมวชิ าการระดบั ชาติ “สถาปัตยก์ ระบวนทศั น์ ” พ.ศ.2558
http://www.siamrath.co.th/web/


Click to View FlipBook Version