The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

สุนทรียรสในวรรณกรรมสินไซที่ปรากฏในฮูปแต้มอีสาน

โดย บุญจันทร์ เพชรเมืองเลย
สาขาวิจัยศิลปะ วัฒนธรรม และการออกแบบ คณะศิลปกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search

สุนทรียรสในวรรณกรรมสินไซที่ปรากฏในฮูปแต้มอีสาน

สุนทรียรสในวรรณกรรมสินไซที่ปรากฏในฮูปแต้มอีสาน

โดย บุญจันทร์ เพชรเมืองเลย
สาขาวิจัยศิลปะ วัฒนธรรม และการออกแบบ คณะศิลปกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น

1

สุนทรยี รสในวรรณกรรมสนิ ไซท่ีปรากฏในฮปู แตมอีสาน

บญุ จันทร เพชรเมอื งเลย

บทนาํ

ภาคอสี านประกอบดวย 20 จังหวัด มีเนือ้ ทที่ ้ังหมด 170,218 ตารางกิโลเมตร 1 ใน 3 ของพนื้ ทีป่ ระเทศไทย ภูมิประเทศของ
อีสานแบ2งเป3น 2 แห2ง คือ แอ2งสกลนคร และแอ2งโคราช มีแม2นํ้าสายสําคัญ คือ แม2นํ้าโขง แม2น้ําชี แม2นํ้ามูล อาชีพหลัก
คอื เกษตรกรรม (สุวิทย ธีรศาสวตั , 2557) ในดานวัฒนธรรมของภาคอีสานน้ัน ชาวอีสานจะมีเอกลักษณเป3นของตนเอง คือ มีภาษา
พูด และภาษาเขียน (ตัวอักษรไทยนอย และอักษรธรรม) เป3นของตนเอง (สําลี รักสุทธี, 2553) รวมถึงมีวรรณกรรมเป3นของตนเอง
อีกดวย ซึ่งคนอีสานนิยมแต2งเร่ืองราววรรณกรรมใหผูกโยงเรื่องราวไปส2ูพระพุทธศาสนา (อุดม บัวศรี, 2546) ซึ่งก็สัมพันธกันกับ
อดุลย ตะพัง (2543) ในหนังสือภาษาและอักษรอีสานกล2าวว2า ภาคอีสานเคยเป3นดินแดนพุทธศาสนามาก2อน อักษรที่ใชก2อน
พุทธศกั ราชท่ี 16 เปน3 อักษรปCลลวะ ปรากฏที่จังหวัดนครราชสีมา ใน พ.ศ. 1411 ซ่ึงคนไทยมีความเชื่อดั่งเดิมอย2ูแลว คือ การนับถือผี
และพระโพธิสัตว ดังไดปรากฏตามวรรณกรรมเป3นส2วนใหญ2 และเร่ืองราวท่ีมีส2วนปลูกฝCงเร่ืองเหล2าน้ี คือ พระมาลัย พระเวสสันดร
ชาดก เรื่องนรก สวรรค เป3นตน (จารุวรรณ ธรรมวัตร, 2552) และวรรณกรรมส2วนใหญ2ของอีสานนี้มักจาน (เขียน) ไวในใบลาน
เรียกว2า หนังสือผูก เก็บไวที่หอไตรในวัด ใชในพิธีกรรมทางศาสนา อาจนํามาเทศน หรือนํามาอ2านในงานงันเฮือนดี (งานศพ)
เช2น เรอื่ งการะเกษ สงั ขศิลปไH ชย สรุ ยิ วงศ เป3นตน (ราํ เพย ไชยสินธุ, 2553)

จากวรรณกรรมท่ีปรากฏในหนังสือผูกดังกล2าว หากยอนกลับไปเมื่อราวกลางพุทธศตวรรษท่ี 19 จะพบว2า ศิลปวัฒนธรรม
กล2ุมไทย-ลาว หรอื ศิลปะลานชาง ของกลม2ุ คนทอี่ พยพยายถ่นิ มาจากฝCKงซายแม2นํา้ โขงเขามาในอาณาจักรสยาม ไดซึมซับเอาวัฒนธรรม
เดิมของตน โดยไมไ2 ดท้ิงไปแมแต2นอย ดังท่ีปรากฏในสถาปCตยกรรมที่เก่ียวของกับศาสนา คือ พระอุโบสถ หรือ สิม (วิโรฒ ศรีสุโร,
2541) โดยมีการวาดรปู แตมไวท่ีผนังสมิ เปน3 การเพ่มิ เสนห2 ใหสิม โดยจะวาดท้ังดานในและดานนอกสิม เพือ่ ใหชาวบานท่ีมาทําบุญไดชม
เรื่องทว่ี าดสว2 นใหญ2ก็จะเปน3 พุทธประวตั พิ ระเจา 10 ชาติ และสังขศิลปชH ัย เปน3 ตน (พัฒยา จันดากูล, ม.ป.ป. : เวบ็ ไซต)

วรรณกรรมสินไซเป3นวรรณกรรมมุขปาฐะ โดยเล2าสืบทอดจากร2ุนต2อร2ุน นิทานสินไซไดรับการปรับเปลี่ยนเป3นศิลปะบันเทิง
หลายรูปแบบ เช2น หมอลํา หนังประโมทัย รวมไปถึงฮูปแตม เป3นตน เรื่องราวของฮูปแตมสินไซบนผนังสิม ไม2ไดมีครบทุกตอนผูดู
สามารถเชือ่ มโยงเรอ่ื งราวจินตนาการดวยตนเองได เพราะช2างแตมจะเลอื กเอาเฉพาะฉากทีค่ นดูแลวตื่นเตนประทับใจจึงทําใหฉากของ
สินไซในหลาย ๆ วัด มักจะซ้ํากัน โดยเฉพาะฉากการต2อสูผจญภัยของสินไซ (สุมาลี เอกชนนิยม, 2548) และช2างแตมในลักษณะ
ประเพณีอสี าน สว2 นใหญเ2 ปน3 ผูทีเ่ คยบวชเรยี นมากอ2 น จงึ มคี วามรใู นดานเนื้อหาเรื่องราวจากการศกึ ษาพระธรรมคอ2 นขางดี
(บรุ นิ ทร เปลง2 ดีสกุล, 2554) รวมไปถึงวรรณกรรมนทิ านพน้ื บานดวย

ภาพประกอบท่ี 1 แสดงภาพของหอยสังขแปลงกายเปน3 เรอื สาํ เภาใหสนิ ไซนงั่ ขามมหาสมุทร

ในปCจจุบนั วรรณกรรมสนิ ไซ เป3นวรรณกรรมลายลกั ษณทไ่ี ดมกี ารบนั ทกึ ไวแลว กวีประพนั ธวรรณกรรมข้นึ ดวยแรงศรทั ธา
ตอ2 พทุ ธศาสนา เพ่อื เปน3 พทุ ธบชู า เชน2

2

“เมือ่ น้ันปรางคคําคลุมคนิงธรรมทรงมาก เหน็ รุงญาณยอดแกวเทีย่ วใชชาตพิ ระองค
บดั นข้ี าจักปนุ แตงต้งั ไชชาตกแปลธรรมกอนแลว เป+นท่ยี แู ยงเถงิ พราํ่ เพง็ ภายซอย”

(ธวชั ปณุ โณทก, 2537 , อางอิงใน เรื่องสนิ ไช)

ถอดความ: กวีได ศรทั ธา ในธรรม ราํ ลกึ เหน็ พระโพธญิ าณท่กี ลับมาใชชาติ และผูประพันธของกล2าวอธิบายพระธรรมเพื่อให
เห็นธรรมในภายหนา

วรรณกรรมนิทานเรอ่ื งนไ้ี ดแพร2หลายมากกว2าเรอื่ งอื่น ๆ ในภาคอสี าน เพราะว2ามีเร่อื งราวตืน่ เตน ผจญภัยดี มีสาํ นวนไพเราะ
เป3นแบบอยา2 งของการประพันธโคลงสาร (กลอนลาํ ) (ธวัช ปณุ โณทก, 2537) ในการเลือกสรรเอาฉัทลักษณหรือแบบรูปการประพันธ
มาใชใหเหมาะสมกับเนื้อหาสาระของเร่ืองนั้น นักปราชญดานวรรณศิลปHไดวางกฎเกณฑการจัดหมวดหมู2ลีลาของคํา หรือเรียกว2า
“สุนทรียรส” ซง่ึ หมายถงึ กระบวนการพรรณนาที่เหมาะสม ไดแก2 ความงามในดานกระบวนการพรรณนา หรือความงดงามในดาน
อารมณสะเทือนใจ อันเกิดจากกระบวนการพรรณนา โดยมีกลวิธีในการประพันธอย2ู 4 แบบ และต้ังช่ือเรียกลีลาใหคลองจองกันว2า
1) เสาวรสจนี คือรสแห2งความงาม รสแห2งการชมโฉม โดยปรกติใชชมความงามหรือโฉมของตัวละครในวรรณคดี แต2สามารถใชรวม
ความถึงการชมความงามของส่ิงอื่น ๆ เช2น ภูมิทัศน สถานท่ี และวัตถุ เป3นตน 2) นารีปราโมทย คือรสแห2งความรักใคร2 เก้ียวพาราสี
โดยปกติเป3นบทโอโลมปฏิโลมระหว2างตวั ละครในวรรณคดี ตอนท่ีฝากรักใคร2ต2อกัน 3) พิโรธวาทัง คือรสแห2งความเกลียดโกรธ ตัดพอ
ต2อวา2 แคนเคียด เสียดสี และ 4) สัลลาปCงคพิไสย คอื รสเศราโศก ครา่ํ ครวญ อาลัยอาวรณ เป3นตน (รื่นฤทัย สจั จพนั ธุ. ม.ป.ป.)

ผลการศึกษาสุนทรยี รสท่ีปรากฏในวรรณกรรมสินไซผา$ นฮูปแตม

จากการลงพืน้ ที่ศึกษาขอมูล วัดสนวนวารีพัฒนาราม หม2ูท่ี 1 บานหัวหนอง ตําบลหัวหนอง อําเภอบานไผ2 จังหวัดขอนแก2น
พบว2า ผนังดานนอกสิมมีฮูปแตมท่ีเกี่ยวของกับวรรณกรรมพื้นบาน คือ เรื่องสินไซ ซ่ึงฮูปแตมท่ีปรากฏอยู2ผนังสิมนี้ค2อนขางสมบูรณ
และเม่ือผูวิจัยไดนําวรรณกรรมสินไซที่ปริวรรตโดย จินดา ดวงใจ (ม.ป.ป.) มาเพื่อวิเคราะหสุนทรียรสแลวปรากฏว2า ก็ครบถวนทั้ง
4 แบบ คอื เสาวรจนี นารปี ราโมทย พโิ รธวาทัง และสลั ลาปCงคพิไสย ซ่ึงการเลือกฮูปแตมมาใชในการวิเคราะหในคร้ังนี้ ผูวิจัยไดเลือก
เอามาเพียงบางสว2 นท่เี กี่ยวของกับการวิเคราะหเท2าน้ัน ซึง่ อาจมีบางตอนท่ีไมไ2 ดปรากฏในบทความนี้

เรม่ิ ตนดวยตอนยักกมุ ภณั ฑลกั พาตวั นางสุมณฑา (วปิ ะลาสะบ้ัน) ยกั ษกมุ ภัณฑไดใช คาถาอาคมปราบผีทค่ี อยปกปCกเมอื ง
เปงจาลใหหวาดกลวั และร2ายมนตสะกดจนนางสุมณฑาสลบแลวจึงอมุ นางสมุ ณฑาเหาะเหินขน้ึ บนฟาV จากไป ทําใหชาวเมอื งทงั้ เสนา
อํามาตร นางสนม ตกใจกลัววงิ่ กนั อย2างกลลาหน ราํ่ ไห ฟูมฟายกนั ท่วั พระราชอทุ ยานแหง2 เมอื งเปงจาล

กวีใชรสทางภาษาในการประพันธ คือ สัลลาป*งคพิไสย แสดงถึงอาการหวาดกลัว คําว2ากลัวในท่ีนี้มีอยู2 2 ประเด็น คือ
1) ตกใจกลวั ยักษกุมภณั ฑจะเอานางสมุ ณฑาไปฆ2ารวมท้ังกลัวตนจะถูกยักษฆ2าดวย 2) กลวั พระยากุศราชจะลงโทษถึงข้ันประหารชีวิต
เพราะไม2ดูแลนางสุมณฑาใหดปี ลอ2 ยใหยักษกมุ ภัณฑจับตัวนางสมุ ณฑาไป ตวั อยา2 งคํากลอน เชน2

ภาพประกอบท่ี 2 แสดงภาพของยกั ษกุมภัณฑอมุ พานางสุมณฑาไปจากอุทยานเมืองเปงจาล

3

เทือ่ น้ี กแู อว2 ไดโดยประโยชนอันคนิงแลเด มนั ก็ฮวยอาคมผาบผชี ุมเชอื้
เมื่อน้นั ผีเมอื งยานยักโขขามเดช ละแกน2 แกวกลางหองพ2ายพงั
พระกาโยเหลอื งหลา2 ตนตายกระดาง
นางคะมะใหดิน้ ดัน่ ทวงสลบ คาแคงควรระวงั องคแกว
มนั คอยตมุ ตะโนมนาดเฮียงฮส มะโนนาดคุมคือบาทวั่ ทะลัง
ฟงC ยนิ ทมๆ ฮองเสียงคนคงุ เมฆ ตที วงทบท2าวแดด2 อมนอย
ห่นื หื่นพรอมเสเนตนางขุน
(จนิ ดา ดวงใจ, ม.ป.ป. หนา 9)

ถอดความ: ยักษกุมภัณฑไดมาในครั้งนี้ดวยไดประโยชนอันมากโข และไดร2ายคาถาอาคมกําหลาบผีบาน ผีเมือง เมื่อผีเมือง
เกรงกลวั ในอาํ นาจของยักษกมุ ภณั ฑแลว จงึ ไดหนีจากหองหอปราสาทราชวังไปและนางสุมณฑาไดตกใจจนเป3นลมสลบลง ร2างกายได
สูปเหลือง ยักษกุมภณั ฑจึงอมุ เอานางสุมณฑาอย2างระมัดระวังทันใดนั้นเอง ก็เกิดความโกลาหนในหมู2บ2าวไพร2 ขุนนางนอยใหญ2พากัน
รองไหโหดงั กบั คนท่ีคุมคลั่ง และอยากไดนางสมุ ณฑากลบั คนื มา

หลงั จากพระยากศุ ราชสูญเสียนองสาวใหยักษไปวันน้ันก็ไดออกบวชเพ่ือหวังใหผลบุญส2งตนไดพบกับนางสุมณฑา จนไปพบ
กับลูกของเศรษฐี ท้ังเจ็ดนาง พระยากุศราชจึงขอนางทั้งเจ็ดจากเศรษฐีมาเป3นพระฉายา และไดพานางท้ังเจ็ดกลับมาท่ีเมืองเปงจาล
กาลเวลาไดลว2 งเลยผ2านไป พระยากุศราชคดิ ถึงนางสมุ ณฑาจงึ ไดบอกกบั มเหสีทงั้ แปดคนว2า ใครมบี ตุ รใหแก2พระองคได พระองคจะยก
แกวแหวนเงินทองใหทั้งหมด และบุตรท่ีเกดิ มาน้นั ตองมีบญุ ญาธิการสามารถไปตามหานางสุมณฑาได

และแลวนางลุนและนางจันทาก็ไดตั้งครรภ (ปฏิสนธิบ้ัน) พี่นองทัง้ หกคนกลุมในดวงจิต เป3นอย2างยิ่งที่นางลุนนองคนท่ีเจ็ด
ของตน และนางจนั ทาซงึ่ เป3นพระมเหสเี อกของพระยากศุ ราชนน้ั ทรงต้ังครรภ จงึ ทาํ ใหนางทงั้ หกคนกระทําทุกวิถีทางดวยกระบวนการ
บนบานต2อแถนเทวดาก็ยังไม2ต้ังครรภและพระยากุศราชก็ตั้งเงื่อนไขไวว2าหากภรรยาคนใดมีบุตรใหตนได ตนจะยกราชสมบัติให
ครอบครอง นางทง้ั หกจึงเกิดความบา คอื อิจฉารษิ ยาแมกระท่งั นองสาวของตนเองทตี่ งั้ ครรภ จึงไดวางแผนการใส2ราย นางลุนและนาง
จันทาจนไดออกจากเมืองเปงจาลไป

รสทางภาษาท่ีกวีเลือกใชในการประพันธ คือ พิโรธวาทัง กวีไดแสดงใหเห็นถึงการแก2งแย2งชิงดี ความโลภในหมู2ญาติพ่ีนอง
สะทอนถงึ ความไม2เพยี งพอในกเิ ลสของมวลมนษุ ย ทํารายไดกระทัง่ พ่ีนองสายเลือดเดียวกนั ตัวอยา2 งคาํ กลอน เช2น

ภาพประกอบที่ 3 แสดงภาพมเหสที ้ังหกนางอยใ2ู นเมืองเปงจาลหลังจากทนี่ างลุนและนางจันทาถกู เนรเทศ

เมื่อนน้ั หกพน่ี องเนาฮายฮาํ คาน

บดั น้ี พายเพอ่ื นเจาเฮาฮ2างพอยหมอง แลนอ กรรมใดเบยี นบาบเองอายหนา

แหนงสเู คียนคอข้ึนโตนตาย แลวชาติจักอย2ูไดเป3นนอยเพ่อื นหยัน แลเดอ

(จนิ ดา ดวงใจ, ม.ป.ป. หนา 34)

ถอดความ: ทั้งหกพ่ีนองอาศัยอยู2ในวังดวยความรําคาญใจ พวกพ่ีนองที่อย2ูร2วมกันน้ีไม2มีลูกสักคน หรือเป3นเพราะเวรกรรม
ที่มาบดบัง ช2างแสนอับอายยิ่งนัก อยากผูกคอตายใหรูแลวรูรอดไปสักที หากชาติน้ีไม2มีลูกใหกับพระยากุศราชตองถูกพี่นองเยยหยัน
แนน2 อน

4

หลังจากที่นางท้ังหกไดวางแผนขับไล2นางลุนและนางจันทาออกจากเมืองเปงจาลสําเร็จแลว ต2อมาไม2นานทั้งหกคน ก็ได
ตั้งครรภและใหกาํ เนิดลูกชาย (โอรส)หกคน ทง้ั หกกมุ ารไดเตมิ ใหญ2พระยากุศราชไดใหไปตามหานางสุมณฑา ตามความประสงคทต่ี ง้ั ไว
ทันที ท้ังหกกุมารไดเดินทางไปพบกับสินไซ และไดเล2าถึงเหตุการณทั้งหมดใหกับสนิ ไซฟCง สินไซจึงพาทั้งหกกุมาร ไปพบ นางลุนและ
นางจันทา ซ่งึ เปน3 ปาV ของท้งั หกกมุ าร

กวีแสดงใหถึงสายสัมพันธระหว2างเครือญาติ สะทอนถึงคุณความดีของสินไซที่มีต2อพี่นองไม2คิดอาฆาตพยาบาททั้งท่ีรูว2า
มารดาของตนมาอยู2ในปาX เพราะอะไร กวีใชรสทางภาษาในการประพันธ เสาวรจนี คือ กุมารท้ังหกไดเห็นปราสาทของสินไซก็ตกตลึง
เห็นถงึ ความงามเปรียบดังเห็นวิมารบนสรวงสวรรคชั้นฟVาดาวดึงส ทําใหเกิดความเลื่อมใสสัทธาถึงความมหัศจรรยตามที่เห็นในคร้ังนี้
เปน3 อย2างยงิ่ ตัวอยา2 งคํากลอน เช2น

ภาพประกอบที่ 4 แสดงภาพของสนิ ไซพากุมารทง้ั หกมาหานางลนุ และนางจนั ทาทป่ี ราสาทของตน

เมอ่ื นน้ั หกส่าํ ทาวทะแนวแนบเฮยี นความ ฝงู ขาเนาเปงจาลจากมาหลายมือ้

เมอื่ น้ัน บาฮามฮูเชญิ เถิงสถานมาศ เขากต็ ามบาทเจาจอมสรอยสปู2 รางค

สะพรัง่ พรอมยาํ ราชกมุ าร เลงดูปรางคเปรยี บดาวะดงึ ฟาV

เขาก็เฮยี งมือนอมสลอนแถวถา2 นตาํ่ สองแม2ปาV ปนุ เยย่ี มลํา่ เลง

(จินดา ดวงใจ, ม.ป.ป. หนา 46)

ถอดความ: กมุ ารทั้งหก ไดเลา2 เร่อื งราวใหสนิ ไซฟCงวา2 พวกตนมาจากเมืองเปงจาลและเดินทางมาหลายวนั แลว สินไซไดฟCงทั้ง

หกกุมารเล2าทั้งหมดก็ทราบเร่ืองและรูแจงว2าทั้งหกกุมมารคือญาติของตน จึงไดพาท้ังหกกุมารไปที่ปราสาทที่ตนอาศัยอยู2 เม่ือท้ังหก

กมุ ารเดินทางมาถึงปราสาทกต็ องตกตะลึงถงึ สิ่งท่เี ห็น คือความงามของปราสาทที่ปรากฏอย2ูกลางปXา และท้ัง หกกุมารก็ไดกราบอาท้ัง

สองคอื นางลุนและนางจนั ทา

ท้ังหกกมุ ารไดเล2าเรือ่ งราวใหปVาทงั้ สองฟงC แลวขออนุญาตใหสังขสินไซไปตามหาอาดวย ปVาทั้งสองก็อนุญาต และแลวท้ังหก

คนก็ออกเดินทางไปตามหานางสมุ ณฑา ทถี่ กู ยักษกุมภณั ฑลักพาตัวไป สินไซและกุมารทง้ั หกกไ็ ดเดนิ ทางมาถึงด2านของงูซวง และสินไซ

ตอ2 สกู ับพยางูซวง ดวยอาวธุ ทท่ี รงอนุภาพ คอื ธนูยงิ งซู วงและใชดาบฟCนงูซวงขาดเปน3 ท2อนเปน3 การต2อสูกันอย2างดุเดือดระหว2างคนกับงู

ยกั ษ

กวีแสดงใหเหน็ ถงึ สงครามกบั ผทู มี่ อี ิทธิพล แสดงใหเห็นถึงการไม2ยอมออนขอของผูท่ีมีอํานาจถึงแมว2าผูที่รักความสันติสุขจะ

ออนวอนไกลเ2 กล่ียขอรองแลวก็ตามกไ็ ม2อาจเปน3 ผล การท่งี ูซวงไม2ยอมใหสนิ ไซผา2 นด2านอาจเปน3 เพราะว2า 1) กลวั เสียศกั ดิศ์ รีของพระยา

งูยักษทีล่ นั่ วาจาไวแลวว2าไมใ2 หผูใดทลี่ ว2 งลาํ้ ในเขตแหง2 ตนผา2 นไปได 2) ทาํ ตามคาํ ส่ังของนายซึง่ กข็ ดั ขนื ไมไ2 ด จงึ ทําใหเกิดการตอ2 สูกันขน้ึ

กวีใชรสทางภาษาในการประพันธ คือ สัลลาป*งคพิไสย แสดงถึงภาพโศกนาฏกรรมความสูญเสียลมตายอย2างน2าเวทนาของงูซวงท่ีถูก

สินไซ ฆ2าตายจนเหลอื แต2ซาก ตวั อยา2 งคํากลอน เชน2

5

ภาพประกอบท่ี 5 แสดงภาพของสินไซตอ2 สกู ับงซู วง

เลอื ดหลัง่ ลนศรเสยี บแสนที เม่อื นน้ั สโี หเหน็ เหตุบาแฮงนอย
ทะยานแทงใคกลางตวั ตดั ขาด มางท2อนทายหางหน้ั มุน2 มิน
ยังไปดX บั มอดเม้ยี นกาํ้ ฝXายทางหัว ภูธรหลบหลกี ไวเวยี นฆา2
ลายตกฮอนเปน3 ไฟทกุ ที ภูวนาดนาวศรแกว2งยงิ ปนZ
เล2าตัดขาดขอนฟCนแหล2งหวั ทะลาย ซวงตายเตม็ หว2างดอยดฮู าย

(จนิ ดา ดวงใจ, ม.ป.ป. หนา 53)

ถอดความ: สินไซใชศรยง่ิ เสยี บงซู วงนับแสนครงั้ จนเลือดงูซวงไหลนองเตม็ พน้ื และสีโหเห็นเชน2 นัน้ แลวจึงใชดาบฟCนงูซวงจน
ขาดเป3นท2อน แต2ก็ยังไมส2 น้ิ ฤทธิเ์ พราะหากจะฆา2 งูซวงใหตายไดก็ตองตัดท่ีหัว ส2วนร2างของงูซวงที่ขาดเป3นท2อนกล2ายเป3นไฟท่ัวพื้นปฎพี
สนิ ไซใชศรยง่ิ ทีห่ วั งซู วงจงึ ตายเกล่อื นท่ีหุบเขาอย2างอนาคต

หลงั จากท่งี ูซวงไดตายหมดส้ินแลว สนิ ไซและกมุ มารทั้งหก กไ็ ดเดินดงตามปXาเขาลาํ เนาไพรเพอ่ื ตดิ ตามหาอา และในระหว2าง
ทางน้ันสนิ ไซกไ็ ดเหน็ ภูผาตัง้ ตระหงา2 นตา ตนไมนอยใหญเ2 รียงรายกัน ออกลูกผลเต็มตนรวมทั้งมสี ตั วปาX มากมาย

กวใี ชรสทางภาษาในการประพนั ธ เสาวรจนี คือ บรรยายภาพธรรมชาติทงี่ ดงามท่ีอดุ มไปดวยตนไมและสตั วปXา ท่ีเน่ืองแน2น
อยา2 งนา2 อัศจรรย ตัวอยา2 งคาํ กลอน เช2น

ภาพประกอบที่ 6 แสดงภาพของสนิ ไซและสังขทองเดนิ ดง

เม่อื นน้ั อระมยั หนานอยนาดนงไว ลีลาเสดจ็ ด2วนตามตนนอง

เหลงิ ดสู องตาบตัง้ ผาภาคเพยี งพระโยม พุ2นเยอ ชะนีนงครานค2อนเสยี งสญู ถํ้า

ไสวตนจันแดงเดยี ระดาษ ทรงลูกลนหอมเฮาฮ2มผา

(จินดา ดวงใจ, ม.ป.ป. หนา 55)

ถอดความ: สินไซไดเดินตามหอยสงั ข และทงั้ สองขางทางมีแตภ2 ูผาตง้ั ตระหงา2 นตาเสยี งชะนรี องดง่ั กองไปถงึ ในถาํ้ ทไ่ี รร2องรอย
คน ตนจนั สีแดงยืนตนเรยี งรายออกผลมากมายกลน่ิ หอมทว่ั หนาผา

6

ทง้ั แปดคนไดเดินทางมาถึงด$านยักษ3กันดารและไดสูรบกันจนสะเทือนไปท่ัวแผ2นดิน การจะสูกับยักษใหชนะไดนั้นเห็นทีจะ
ลําบากเหลือเกิน พระยักษมีฤทธเ์ิ ดชมาก แตก2 ม็ ิอาจตานทานอาวธุ ของสินไซได

กวีไดสะทอนใหเห็นถงึ การใชอาํ นาจในการทีม่ ชิ อบมิควร รังแกผูที่ดอยกวา2 โดยลมื นกึ ไปถึงกงกรรมกงเกวยี น ที่จะเกิดขนึ้ กับ
ตนเอง ผลสุดทายคนเหล2าน้ีก็จะเส่ือมอํานาจลงและชีวิตก็จะลมเหลวลงในท่ีสุด กวีใชรสทางภาษาในการประพันธ พิโรธวาทัง คือ
ความโกรธแคนสินไซทีเ่ ขามาในเขตแดนของตนเองโดยไมไ2 ดรบั อนญุ าต และ สัลลาป*งคพไิ สย คือ สนิ ไซไดฆ2ายักษลมตายเลือดนองไหล
ทว่ั พืน้ พภิ พ เกดิ ความสูญเสียเศราสลดเสยี ใจแก2เผ2าพันธวุ งศาของยกั ษในครัง้ นี้ ตวั อย2างคาํ กลอน เช2น

ภาพประกอบที่ 7 แสดงภาพของสนิ ไซต2อสูกับยักษซง่ึ เป3นบริวารของยกั ษกมุ ภณั ฑ

เมื่อนน้ั กันดารตานคําแขงขนี ขนาด วรุณยกั ษผูลอื ลํ่าแมน2 กูนี้แลว

ในเขตดาวดงดา2 นพระครี ี ตัวใดเดินมาพบขาดชีวังมีมัว่ …..

พระบาททาวมอี าจกลวั เกรงสะน2อยนนั้ ภูธรถอนแมธ2 ะนุปูนเป\อZ ง (จินดา ดวงใจ, ม.ป.ป. หนา 56)
(จนิ ดา ดวงใจ, ม.ป.ป. หนา 56-57)
หลงั หักคนครางตายฮองฮ2วน มนั เล2ายงั พนฟงV ไฟไหมลวกลอน

เลือดหล่งั ปVานเป3นปXามไฟแดง ภูธรทรงคันไชยปาX ยคอสเด็นกล้ิง

เลยเลา2 ดันขันธเมย้ี นเสียชีวงั มรณาต คงิ ทอ2 ดาวดอยนอยคอบคาว

ถอดความ: ยกั ษกันดานไม2ฟCงคําสินไซ กล2าวใดๆ ท้ังสิ้นยักษท่ีมีอํานาจมากที่สุดคือยักษกันดานตนเดียว แมว2าใครเดินผ2าน

เขามาในเขตแดนนจี้ ะตองตายทันที
หลงั จากท่ียกั ษกนั ดานไม2ยอมใหสนิ ไซผ2านทางจึงเกิดการตอ2 สกู นั ขึ้น ซ่ึงสนิ ไซมไิ ดกลวั ฤทธิ์ของยักษกนั ดานอยู2แลว สนิ ไซจงึ ได

ยงิ ธนูใส2ยกั ษ ทําใหยกั ษกนั ดานเลอื ดไหลนองเปน3 ไฟสีแดง สินไซใชศรยิงท่ีหัวยักษขาดกระเด็น และใชดาบฟCงยักษจนตายส้ิน ร2างของ
ยักษน้ันใหญม2 ากจนเทา2 กบั ภูเขา

หลังจากท่ีสินไซไดชัยชนะจากยักษแลวจึงไดเดินทางต2อจนถึงด$านพระยาชางฉัททันต3 สินไซไดรุกล้ําเขาไปในเขตของพญา
ชางพรายสาร ทําใหพญาชางโกรธกรว้ิ เปน3 อย2างมาก และกําลังจะเกดิ สงครามระหว2างชางกบั มนุษย สินไซจึงใชธนูยิ่งขน้ึ ไปบนฟVา ทาํ ให
เกดิ ฟVาผา2 สะเทือนท่วั เวหา ทําใหบริวารชางตืน่ หวาดกลวั เป3นย่ิงนกั

กวไี ดเขยี นพรรณนาถงึ ความกลวั ตายของชางปXาจนรองไหกันระงม พญาชางพรายสารจึงขอใหสินไซยกโทษใหตน พรอมกับ
เหล2าบริวารดวยความมเี มตาของสนิ ไซ จึงอภัยให

กวใี ชรสทางภาษาในการประพันธ พิโรธวาทัง คือ พยาชางพรายสารมีความโกรธกริ้วที่สินไซรุกลํ้าเขาไปในดินแดนของตน
และสัลลาปง* คพิไสย ทเ่ี หล2าชางมคี วามหวาดกลวั ราํ่ ไหกลวั ตาย ตัวอย2างคํากลอน เช2น

7

ภาพประกอบที่ 8 แสดงภาพของพญาชางพรายสารกําลงั จะต2อสูกับสินไซ

เม่ือนน้ั พึงคณนาพรอมหถั ถีแสนสํ่า เห็นแจม2 เจาจวนสะทานท่วั ไพร
ชางตน่ื เตนเตม็ แผ2นปถะพี ระงมงันคือคดู2 นิ ดาซาย
ภมู เี ย่ียมพงึ คะณาชางถ2าว เขาแล2นลนลงพรอมเผอื กสาร
ทลู อาชญพรอมพายขนาดฉตั ทัน นาโคถึงแกวง2 งาเงยไค
ตาแดงเขมคือแสงสรุ เิ ยต อํามาตยมางฝงู กลากอ2 นพระองค
เคียดเพือ่ มาล2วงลํ้าขงเขตรดูแคลน กจู ักกนิ ไตตบั โมม2 มันตางเมยี ง
เคง็ ๆ พรอมมามวลมัวมดื คันว2าใกลฮอดทาวทวยตองตอ2 ยธะนู
เสียงแผดเพ้ยี งฟาV ลั่นลงกระวาฬ พายหลวงหลบต่ืนซวนเซลม
บริวารลนเนืองนองในปาX สายใหญ2นอย โยมเจาเหล2าลง
พาบ ๆ ชลเนตนองไหล กลวั ตายทกุ ทว่ั แดนดฮู าย
นาโคเย้อื นโยมความขอโทษ เจาจงโผดขาเถาทงั้ เชอ้ื สูช2 ุมแด2ทอ2 น

(จนิ ดา ดวงใจ, ม.ป.ป. หนา 58)

ถอดความ: ชางนับแสนตัวไดเห็นสินไซรุกลํ้าเขาไปในปXาแห2งชางต2างก็พากันตื่นเตน และแตกต่ืนกันทั้งโขลง สินไซไดขอพบ
กบั พญาชางฉตั ทัน บรวิ ารชางจงึ ไปรายงานเรื่องราวของสินไซใหกบั พญาชางไดฟCง ซงึ่ พยาชางฉนั ทนั ณมตี าแดงเขมดงั ดวงอาทติ ย เสนา

อาํ มาตรชางไดยินดังนน้ั กโ็ กรธโมโหแทนพยาชางและใชคําข2ูจะฆา2 กนิ ตับไตของสินไซทนั ที
หลังจากน้นั สินไซจงึ ส่ังสอนชางโดยการ ยิงศรขึ้นฟาV ทาํ ใหเกดิ ฟาV ผ2า สะเทือนไปทว่ั ปฐC พี ทาํ ใหชางวิ่งหนีตายกันกลัวจนรองไห

พญาชางฉนั ทัณฑ จึงขอโทษสนิ ไซและขอรองใหยกโทษใหชางทุกตัวดวย
เมือ่ สินไซไดสงั่ สอนชางแลวจึงไดเดินทางมาถึง ด$านนารผี ล สนิ ไซไดไปถงึ ดา2 นของนารีผลท่มี ีรูปรา2 งงดงามผิวพรรณเปล2งปลั่ง

ออ2 นน2มุ กลนิ่ หอมตลบอบอวนท่วั ปาX จนสนิ ไซหามใจตนไวไมไ2 หว และในขณะน้นั ก็มีวทิ ยาธรทค่ี อยดแู ลปXาและเหล2านารผี ลไดเขามาพบ
สินไซและไดตอ2 สูกนั จนวิทยาธรพ2ายแพไปในทีส่ ดุ กวีไดพรรณนาใหเห็นถึงรูปลักษณของหญิงงามไดอย2างเห็นภาพพจนท่ีแมแต2ชายใด

ไดเหน็ แลวตองหลงใหล แตใ2 นความงามเหล2านกี้ ม็ ีภยั แฝงอยอ2ู ยา2 งนา2 อนั ตราย ดังนน้ั มนษุ ยจึงตองตัง้ มัน่ ดวย สติ สมาธิ และปCญญา
อยเู2 สมอ และรจู กั ไตร2ตรองคดิ ใหรอบก2อนท่ีจะทาํ กิจต2าง ๆ

กวใี ชรสทางภาษาในการประพันธ นารปี ราโมทย3 คอื สินไซไดเกย้ี วพาราสกี บั นารีผลดวยการหลงใหลในความงาม และพิโรธ
วาทัง คอื วิทยาธรโกรธทเี่ หน็ สนิ ไซเขามารุกล้าํ ดนิ แดนของตนและมาเกย้ี วพาราสีกับนารผี ล ตัวอยา2 งคาํ กลอน เช2น

8

ภาพประกอบที่ 9 แสดงภาพของสนิ ไซเกี้ยวพาราสีกบั นารผี ลและตอ2 สูกบั วิทยาธร

อันว2า นารีนีค้ อื หญงิ ยวดยิง่ แทนอ ลางเล2าไวพอเพย้ี งแพศเพียง

ไพรขวงโอหอมสะเทอื นในเถอื่ น ฮสฮว2 งเฮาดวงซอนปงX ซอน

คงิ กลมลวยแขนกองกาวก2อง เนอ้ื อ2อนเกยี้ งปนุ ตองแผ2นทอง

เมื่อนน้ั สมพาวทาวทงกระสันอกสน่ั ภวู ะนาดนาวเถิงทาวแทบพระทัย

พระก็ชมชอบซอนในฮม2 นฮี ม คือคู2เจยี มปางฮักฮ2วมพานางฟาV …

(จินดา ดวงใจ, ม.ป.ป. หนา 64)

ธรเทพะเถาฝงู ฮายฮอ2 นมา เลยเลา2 เห็นแกน2 แกวพิเศษศิลปไชย

เขาก็โกรธาเหง็ ฮ2อเชิงไชยไกล…. เมอ่ื น้นั ศรีคานนอยศิลปะชัยชมชน่ื

บาก็เห็นฮ2างฮายธรเถาแตง2 ตัว ฮูบอ2 พั้งพระองคถอดศรีเสด็จ

ทะยานเวหาฮ2อธรทานดาง ธรทวยกาวกาํ เชยเปอ\Z งปXาย

พนั หมน่ื ชั้นบาเวนบ2ถอง

(จินดา ดวงใจ, ม.ป.ป. หนา 65)

ถอดความ: นารผี ลคือ หญงิ ที่งามย่งิ นกั คลายกับดอกไมที่มีกล่ินหอมโอบอวนไปทั่วทั้งปXา แขนเรียวสวยเนื้อตัวอ2อนนุ2มสีนวล

เหลืองดังแผน2 ทอง จนทาํ ใหสินไซหวั ใจสั่นคลอน ดงึ นารีผลมาแนบชิดลําตวั ตรงกบั หัวใจสินไซกไ็ ดเชยชมนางนารีผลใตร2มไม เหมือนดัง

กบั ไดรักอยู2กบั นางฟVา ทนั ใดน้ันเองวทิ ยาธรผโู มโหรายก็ไดมาพบเหน็ สินไซอยูก2 ับนารีผลจึงจโ2ู จมเขามาหวังฆ2าใหตายทันที แต2สินไซไหว

ตัวทนั จงึ ไดใชศรยิงวิทยาธรโดยไม2ยั้งมอื จนวิทยาธรผา2 ยแพไป

สนิ ไซจึงไดเดินทางตอ2 ไปจนถึงด2านนางเทพกินรเี กียงคํา ท่ีงดงามดั่งกับนางฟVา บินวนเวียนอย2ูบนเวหา ลัดเลาะหนาผาสูงชัน

บรเิ วณนัน้ มแี หล2งนํ้าที่ นางกนิ รใี ชเป3นแหลง2 อาบนํ้า และสินไซไดพบนางกนิ รที ี่ถอดปก^ ถอดหางทาํ ใหสนิ ไซหลงใหลนางกนิ รีทนั ควร

กวใี ชรสทางภาษาในการประพันธ นารีปราโมท คือ สินไซไดเกี้ยวพาราสีอยู2กับนางกินรีดวยการหลงใหลในความงามดุจดัง

ราวกับนางฟาV ทล่ี งมาเมอื งมนุษย ตัวอย2างคํากลอน เชน2

ภาพประกอบที่ 10 แสดงภาพของสินไซเกีย้ วพาราสีอยกู2 บั นางกนิ รี

9

ผูขา เปน3 พงษเชื้อเดยี ระฉานสินต่าํ ลือจกั ฮมฮสเจาจอมชอยบ2อควร เจาเอย
มิใชพ2 งษพันธเุ ชอื้
เชญิ หมอ2 มเดนิ ดง2ุ กํ้า อนั ประสงคเสมอภาก แพงเอย

อนั น้ี แนวคนแทวาจาโลมล2าย อันน้ี การเจาที่มี แน2ถอน
เมอื่ นน้ั ผเู ผา2 ทาวทวยทอดมะโนใส
คําเกา2 เฮ่ืองประถมเถาเล2ามา แทแลว
คาํ สลับไวแนวใกลลานโยชน
เฮยี มกจ็ งใจประสงคขอดพระไมมานอม

พีก่ ฮ็ กั ฮอ2 ส2ูแสวงด้นั ดุ2งเถงิ แลเด

(จนิ ดา ดวงใจ, ม.ป.ป. หนา 70)

ถอดความ: นองน้ีเป3นเผ2าพันธุสัตวต่ําชั้นมิอาจเทียบเคียงกับเจาฟVามหากษัตริยไดหรอก ขอใหท2านไปทํากิจของท2านดีกว2า
วาจาของคนก็พูดแบบนี้มานานแลว สว2 นสินไซจึงตอบวา2 ดวยจติ ใจของพ่ีนีใ้ สสะอาด และมีความจริงใจท่จี ะเอาหวั ใจมามอบให คําที่พ่ี
พูดมาลวนแตจ2 ริงท้งั ส้ิน พีน่ จ้ี ึงไดฟCนฝXาอุปสรรคมาพบกับนอง

หลังจากที่สินไซไดเชยชมนางกินรีเรียบรอยแลวก็ไดเดินทางต2อจนไปพบกับนางสุมณฑาและไดเล2าเร่ืองราวต2าง ๆ ใหนางสุ
มณฑาไดฟงC และจะพานางสุมณฑากับเมืองเปงจาล ส2วนนางสุมณฑานั้นตัดเย่ือใยจากยักษกุมภัณฑไม2ได จึงออนวอนสินไซโดยใชกล
อบุ ายวา2 ลมื ผาสะใบท่หี องเพ่ือกลับมาหายกั ษกมุ ภณั ฑและปลุกยักษกมุ ภัณฑใหตืน่

กวไี ดใชรสทางภาษาในการประพันธ สัลลาปง* คพิไสย คือ นางสมุ นทาเศราโศกเสยี ใจอาดรู เปน3 อยา2 งย่งิ ท่ีจําใจพลัดพรากจาก
คนท่รี กั หากไม2ทาํ เชน2 น้ีก็กลวั สามอี ันเป3นท่ีรกั จะถงึ แก2ความตายเพราะรูดีว2าไม2มีใครตานทางอาวุธของสินไซได ซึ่งรูไดจากการฝXาด2าน
มาถึงเมืองยกั ษของสนิ ไซ ตวั อย2างคาํ กลอน เชน2

ภาพประกอบท่ี 11 แสดงภาพของสินไซมาพานางสมุ ณฑาหนีจากยักษกมุ ภณั ฑ

เมอ่ื นนั้ บาจัดออนตาวสยุ เสียงฮาบ อาก็ฟาV วแต2งเนือ้ มีถวนเทียวลง

นางก็ทงพระเนตรลนลาทีทงั กะสนั คงิ แพง เถิงข2องคองคดึ ไดทูลหลานแกวกูณาผายโผด

อากล็ มื แผ2นผาสะใบบางคา2 ควร ทาวกลา2 วฮอนเฮวฮีบทันที

นางกค็ นื คงุ ผัวกอดกมุ หวิ ให ลกุ ๆ ท2อนเมียจักพากพอยไกลก2อนแลว

สังวา2 มานอนหลับลนื่ คองดูฮาย

(จินดา ดวงใจ, ม.ป.ป. หนา 83)

ถอดความ: นางสมุ ณฑาออนวอนสนิ ไซทั้งนํ้าตาและออกอุบายวา2 ลืมผาสะใบและใหสินไซพากลบั ไปเอาสนิ ไซจึงพาอากลับมา

เอาผาสใบ พอนางกลับคืนมาแลวกไ็ ดเห็นยักษกมุ ภัณฑหลับอยนู2 างจงึ พยามปลุกยักษกุมภัณฑแต2ก็ไม2เป3นผล

เมื่อยกั ษกุมภณั ฑต่ืนข้ึนมาไม2เหน็ นางสุมณฑาจึงไดใหกองทพั ยกั ษตามหาและในท่ีสุดยักษกุมภัณฑก็ไดพบนางสุมณฑาอยู2กับ

สนิ ไซแลจนไดเกิดการตอ2 สูกนั และยักษกุมภณั ฑก็ไดพา2 ยแพใหกบั สินไซ

กวีไดใชรสทางภาษาในการประพันธ สัลลาป*งคพิไสย คือ การพลัดพรากจากคนรัก ถึงแมว2ายักษกุมภัณฑไดลักพานางสุ

มณฑามาอยเู2 มอื งยกั ษก็ตาม แตไ2 ม2เคยทาํ ใหนางขดั ของหมองใจแมแต2นอย แสดงใหเห็นถึงสามีภรรยาท่ีใหเกียรติซึ่งกันและกันในท่ีสุด

ยกั ษกุมภัณฑจึงไดใจนางสุมณฑาไปครอง แต2บัดน้ียักษกุมภัณฑไดสิ้นลมดวยอาวุธของหลานชายย่งิ ทําใหนางสุมณฑาโศกเศราเสียใจ

เปน3 ยงิ่ นัก ตวั อย2างคาํ กลอน เชน2

10

อนั ว2า ขอนผีทาวกมุ ภันภูวะนาด ยงั เกอื กกงิ้ กาํ กาวไปXวาง
คิงกส็ นๆ เตนตาแดงดินขวาง ผาแผ2เทาลําลอมุน2 มา
เถงิ ที่ผาสารทแกวโองราชเฮียงนาง ก็จึงมรณามุดมอดประไทยทันนน้ั
ภูมีทาวเสวยแลงแลวค่ํา นางนง่ั ใหขอนชาซากผวั
นอยแผผ2 าผนื อาจปุนปก ฮวานๆ เทียนสองยามเยืองใต
เมืองผีปง_\ ปนุ เสยี งสงัดอย2ู มที อ2 นางนงั่ ใหเสียงซอยซอกคนงิ

(จนิ ดา ดวงใจ, ม.ป.ป. หนา 117)

ถอดความ: ยักษกุมภัณฑไดนอนเกลอื กกล้ิงอยา2 งทรุ นทรุ ายร2างกายยังมชี ีวิตอยตู2 าแดงขวาง เสอ้ื ผาขาดไมม2 ชี น้ิ ดี พอมาถึง
ปราสาททีน่ างสมุ ณฑาอย2ูยกั ษกมุ ภณั ฑกส็ ิน้ ลมหายใจ สนิ ไซไดกนิ อาหารเยน็ แลว แตน2 างสุมณฑากลับนั่งรองใหขางสามยี กั ษและนาํ มา
มาปกคลมุ ใหจนถึงหก หกทม2ุ แลวนางก็ไดจุดเทยี น ทัว่ ทง้ั เมืองผเี งยี บสงดั มแี ตเ2 สียงนางสมุ ณฑานงั่ รา่ํ ไห

สรปุ และอภปิ รายผล

จากการศกึ ษาสุนทรียรสจากวรรณกรรมสนิ ไซทปี่ รากฏในฮูปแตมอีสาน วัดสนวนวารีพฒั นารามบางส2วน พบว2า ภาพฮูปแตม
ทมี่ สี ทุ รียรสทีส่ อดคลองตามวรรณกรรมสังขศลิ ปHไซ มีอยู2 5 ตอน คือ ตอนวปิ ลาสะบ้ัน (ยักษกุมภัณฑลักตัวนางสุมนฑา) ตอนประสนธิ
บ้ัน (ตอนกาํ เนดิ สังขสนิ ไซและถกู ขบั ไลอ2 อกจากเมอื ง) ตอน โคจรบัน้ (ตอนสังขสนิ ไซและกุมมารท้งั หกตามหาอา) และตอน สนิ ไซมาพา
นางสุมณฑาหนีจากยักษกุมภัณฑ ตอนมหายุทธกรรมบ้นั (กุมภัณฑถึงแก2ความตาย) และด2านผจญภัย มีอย2ู 5 ด2าน คือ ด2านงูซวง
ด2านยักษกันดาน ด2านพระยาชางฉัททนั ต ด2านนารีผล…(ต2อสูกับวิทยาธร) และด2านนางเทพกินรีเกียงคํา รสทางภาษาท่ีกวีใชในการ
ประพนั ธมากที่สดุ คือ สัลลาปCงคพไิ สย รองลงมาไดแก2 พโิ รธวาทงั และนอยทสี่ ดุ คอื นารีปราโมทย และเสาวจนี

ปจC จยั ทท่ี าํ ใหตอนของด2านผจญภัยของฮปู แตมอีสานจากวรรณกรรมสนิ ไซทป่ี รากฏ รสทางภาษา สลั ลาปCงคพิไสย คือ ตอนท่ี
ต2อสูฆ2ากันมากท่ีสุด อาจเป3นเพราะว2า ด2านเหล2านี้หากปรากฏอย2ูในวรรณกรรมก็มักเป3นตอนท่ีทําใหผูอ2านจิตนาการเกิดอารมณ
สะเทือนใจ ซงึ่ เป3นความกลัวภายในจติ ของมนุษยท่ถี ูกปลกู ฝงC มาตัง้ แต2โบราณ ซึ่งสอดคลองกับหลักการใชสํานวนโวหาร และกวีโวหาร
เรอื่ งภาพในจิตของ กหุ ลาบ มลั ลิกะมาส (ม.ป.ป.) เปน3 ภาพทป่ี รากฏในจนิ ตนาการตามที่เคยประสบผ2านพบมา ภาพในจิตน้ีเป3นภาพท่ี
เห็นดวยใจคิด ดวยความรูสึกในทางวรรณคดีถือว2าวิธีสรางภาพในจิต มีคุณค2าดานความเขาใจลึกซึ้งเป3นอย2างย่ิง และสอดคลองกับ
แนวคิดของ ไพฑูรย พัฒนใหญ2ย่ิง (2541. อางอิงใน weitz, 1967) ท่ีไดกล2าวว2า โศกนาฏกรรม เป3นเรื่องราวในกวีนิพนธที่เกี่ยวกับ
ความทกุ ข เวทนา น2าสงสาร ซ่ึงนกั ปรชั ญาตัง้ แตส2 มัยอาริสโตเติลถงึ สมัยปCจจุบันยอมรบั เกือบเป3นเอกฉันทวา2 โศกนาฏกรรมเป3นผลงาน
ดานศลิ ปะซึง่ แตกตา2 งจากศลิ ปะอนื่ ๆ เพราะมีคณุ สมบัตทิ ่สี าํ คัญทีส่ ดุ คือความโศกเศรา เป3นการเลียนแบบการกระทําไดสมบูรณที่สุด
มีรปู แบบที่แนน2 อนมีภาษาปรุงแต2งดวยสาํ นวนภาษาอย2างมศี ิลปะ

แต2ถาหากตอนท่ีตอ2 สูกนั ปรากฏในฮปู แตมสิมอีสานกจ็ ะทําใหผูที่พบเห็นจิตใจหดหู2 และหวาดกลัว ซ่ึงสอดคลองกับงานวิจัย
ของพระครูธรรมสารสมุ ณฑ (คาํ พนั ญาณวโี ร) (2547) ท่ไี ดทําวิจัยเรื่องศึกษาวิเคราะหหลักธรรมของพระพุทธศาสนาในวรรณกรรม
อีสานเร่ืองสังขศลิ ปHชัย พบว2า วรรณกรรมเร่ืองสังขศิลปHชัยมีอิทธิพลต2อความเช่ือของคนในสังคมอีสานในเรื่องบุญ-บาป การเวียนว2าย
ตายเกดิ ในวฏั ฏสงสาร ชาวอีสานจงึ มปี ระเพณีฮตี สิบสองคองสิบสี่ สืบทอดกันมาจนถึงปCจจบุ ัน เพื่อใหชาวอีสานไดร2วมกิจกรรมทําบุญ

11

กันเป3นประจาํ ทกุ เดือนสรางความสามัคคใี นหมู2คณะและมคี าํ สอนของคนเฒ2าคนแก2ท่ีเปรียบเสมือนเป3นกฎกติกาใหลูกหลานชาวอีสาน
ไดยดึ ถอื ปฏบิ ตั ริ 2วมกนั อยา2 งเครง2 ครดั มาจนถึงปจC จบุ ัน

ดังน้ัน จึงสรุปไดว2า สุนทรียรสท่ีปรากฏในวรรณกรรมสินไซผ2านฮูปแตมอีสานนั้น รสทางภาษาที่กวีใชในการประพันธมาก
ท่สี ดุ คอื สัลลาปCงคพิไสย ที่แสดงถึงความโศกเศราเสียใจต2อการสูญเสียของญาติมิตรและเพื่อนฝูง ในตอนของด2านผจญภัยของสินไซ
เปน3 ทน่ี า2 สงั เกตว2าโดยปกติตอนท่แี สดงถึงการต2อสไู ม2ว2าจะปรากฏในวรรณกรรม หรือในละครทีวีมักสรางความตื่นเตนและเราใจใหกับ
ผูติดตามอย2ูเสมอ แต2ในทางตรงกันขามตอนต2อสู ในวรรณกรรมสินไซกลับกลายเป3นว2าเกิดความหดห2ูน2ากลัว หรืออาจจะเป3นไปได
หรอื ไมว2 า2 วรรณกรรมสินไซมีหลักธรรมะสอดแทรกอย2ูและตวั สมิ เป3นส่งิ ท่ีชาวบานเคารพนับถอื จนกลายเปน3 สิ่งควบคมุ ทางสังคมของคน
อีสาน ใหเกดิ ความตระหนกั สรางความสามัคคใี นชมุ ชน หลกี เลยี่ งการต2อสูอันจะนําไปส2ูการสูญเสีย ดังท่ีปรากฏเห็นจากตอนของด2าน
ผจญภัยจากวรรณกรรมสนิ ไซผา2 นฮปู แตมอีสานของวดั สนวนวารีนี้

อางอิง

กุหลาบ มลั ลิกะมาส. (ม.ป.ป.). วรรณคดีวิจารณ.3 กรุงเทพฯ. มหาวิทยาลยั รามคําแหง.
จารุวรรณ ธรรมวัตร. (2552). โนทศั น3ในนทิ านสํานวนอีสาน. วทิ ยานพิ นธ (ปร.ด. ภาษาไทย):

มหาวทิ ยาลยั มหาสารคาม.
จนิ ดา ดวงใจ (ม.ป.ป.). นทิ านสังข3ศลิ ป9ชยั . ขอนแกน2 : คลังนานาธรรม.
ธวชั ปณุ โณทก. (2537). วรรณกรรมภาคอีสาน. กรงุ เทพฯ: มหาวิทยาลัยราคําแหง.
บุรินทร เปลง2 ดสี กลุ . (2554). พัฒนาการของจติ รกรรมฝาผนงั อสี านกรณศี กึ ษาจังหวัดขอนแกน$

จังหวดั มหาสารคามและจงั หวัดรอยเอ็ด. วารสารศิลปกรรมศาสตร3 มหาวิทยาลยั ขอนแก$น
3, 1 ( ม.ค – ม.ค), 84-113.
ไพฑรู ย พฒั นใหญย2 งิ่ . (2541). สนุ ทรียศาสตร3: แนวความคดิ ทฤษฎแี ละการพฒั นา.
กรงุ เทพฯ: เสมาธรรม.
พฒั ยา จันดากลู . (ม.ป.ป.). อสี าน. http://isan.tiewrussia.com/. สืบคนเมอ่ื วนั ที่ 11ตลุ าคม 2558
พระครธู รรมสารสุมณฑ (คําพนั ญาณวีโร). 2547. ศึกษาวเิ คราะหห3 ลกั ธรรมของพระพุทธศาสนาในวรรณกรรมอสี าน
เรอ่ื งสังขศ3 ลิ ป9ชยั . วิทยานิพนธ. พทุ ธศาสนา: มหาวทิ ยาลยั มหาจฬุ าลงกรณราชวิทยาลัย.
รน่ื ฤทัย สจั จพนั ธ.ุ (ม.ป.ป.). สนุ ทรียรส แห$งวรรณคดี. กรุงเทพฯ : เฌ.เดยี มอง.
รําเพย ไชยสินธุ. (2553). วรรณศิลปอ9 สี าน. พมิ พครงั้ ที่ 4. เลย: ร2ุงแสงธรุ กิจการพิมพ.
วิโรฒ ศรีสโุ ร. (2541). สมิ อีสาน. วารสารวิจัย มข. 3, 1 (ม.ค.-มิ.ย.), 92-95.
สมุ าลี เอกชนนิยม. (2548). ฮปู แตมในสิมอสิ าน. กรงุ เทพฯ: สาํ นกั พมิ พมติชน.
สวุ ิทย ธีรศาสวัต. (2557). ประวัติศาสตร3อีสาน 2322-2488. ขอนแก2น: คลงั นานาวทิ ยา.
อดุ ม บัวศร.ี (2546). วฒั นธรรมอสี าน. ขอนแก2น: คลงั นานาวชิ า.
อดลุ ย ตะพงั . (2543). ภาษาและอกั ษรอีสาน. กรงุ เทพฯ: มหาวิทยาลยั รามคาํ แหง.


Click to View FlipBook Version