The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

ภาพสะท้อนจากฮูปแต้มเฮือนเมื่อวันวาน สู่จุดจบของสิมอีสาน

บทความโดย สมเจตน์ แก้ววงษ์
สาขาศิลปะ วัฒนธรรม และการออกแบบ คณะศิลปกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search

ภาพสะท้อนจากฮูปแต้มเฮือนเมื่อวันวาน สู่จุดจบของสิมอีสาน

ภาพสะท้อนจากฮูปแต้มเฮือนเมื่อวันวาน สู่จุดจบของสิมอีสาน

บทความโดย สมเจตน์ แก้ววงษ์
สาขาศิลปะ วัฒนธรรม และการออกแบบ คณะศิลปกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น

ภาพสะทอ้ นจากฮูปแต้มเฮอื นเมือ่ วันวาน ส่จู ุดจบของสิมอีสาน

สมเจตน์ แก้ววงษ์

ภาพ 1 แผนทีเ่ ทือกเขา แอ่ง แม่นา้ และจงั หวัดในภาคอสี าน ภาคอสี านหรือภาคตะวันออกเฉียงเหนือ มีลกั ษณะพ้ืนท่ี
เปน็ ทรี่ าบสงู เอยี งลาดจากทิศตะวนั ตกไปทิศตะวันออก มีลกั ษณะ
ทม่ี า : http://61.19.202.164/works/smtpweb52/D02/northeast.html เปน็ เนินลกู คล่นื แบง่ เป็น 4 เขต คอื 1. เขตทร่ี าบเชงิ เขา บริเวณ
เทอื กเขาภูพาน เทือกเขาดงพญาเยน็ และเทือกเขาพนมดงรัก
2. เขตท่ดี อน เป็นพน้ื ทีท่ ่ีน้าทว่ มไม่ถงึ ตอ่ จากเขตทีร่ าบเชิงเขา
3. เขตทล่ี มุ่ เปน็ พ้ืนทีร่ าบลุม่ แม่น้าชี ลุ่มแม่น้ามลู ลุ่มแม่น้า
สงคราม ลุ่มแม่น้าล้าปาว เปน็ เขตท่ีน้าท่วมถงึ 4. เขตท่มี ีระบบ
ชลประทาน เป็นพื้นที่ที่อยู่ในเขตชลประทานสมบรู ณแ์ บบ การ
สรา้ งบ้านเรอื นของคนอีสานในอดีต จะสรา้ งตามแนวลา้ น้าเป็น

ส่วนใหญ่ เพอื่ การอุปโภค บรโิ ภค การค้าขายและการคมนาคม (สุนทร ตุลยะสุข, 2546)

เฮอื น (เรอื น) ในภาคอสี านหมายถงึ ที่พกั อาศัยทีม่ ีการยกเสาสูงใตถ้ ุนโล่ง มคี า้ พงั เพยของพงศาวดาร
เก่าๆ ไดจ้ า้ แนกคนอสี านไว้ว่า “ดนิ แดนใดเฮือนมีเสา เป่าแคน แหน้ ขา้ วเหนียว เคยี้ วปลาแดก” แม่นของอสี าน
ซ่งึ กต็ รงกบั ชวี ติ จริงของคนอีสาน แตบ่ างคร้งั ก็มกี ารสร้าง ปะร้าชั่วคารวแบบไม่ยกเสาสูง เรยี กเป็นภาษาอสี าน
วา่ “ผาม” ซง่ึ ปรากฎในพงศาวดารหลายเร่อื ง เชน่ ผาแดง นางไอ่ เปน็ ต้น ลักษณะของบา้ นเรอื นอสี าน แบง่
ตามขนาดไดเ้ ปน็ 4 แบบ คือ “โฮง” เป็นท่ีพักอาศัยใหญ่กว่าเฮือน สว่ นมากจะมีหลายหอ้ งเปน็ ท่ีอยู่ของเจา้
เมืองหรือเจา้ ผคู้ รองนครในสมัยโบราณ “บา้ น” ในภาษาอีสานคอื กลุ่มของเฮือนหลายๆหลงั เช่น บ้านหลบุ
บา้ นใหม่ “เถยี ง” เป็นทพ่ี ัก ท้าไวเ้ ฝา้ นา ยกพื้นไม่สูงนัก ขนาดไมใ่ หญ่เกินไป “ตบู ” เปน็ ท่ีพักหรือที่หลบแดด
ไมย่ กพน้ื หรอื ยกเลก็ น้อย ขนาดเล็ก หลงั คาคล้ายกับกระต๊อบ (วชิ ติ คลงั บุญครอง, 2546)

นอกจากนแ้ี ล้ว ศรีศักร์ วลั ลโิ ภดม (2552) ยังไดว้ เิ คราะหล์ ักษณะเรือน (เฮือน) เดมิ ในภาคอีสานไว้ว่า
เขตอสี านใต้ แถบจงั หวดั นครราชสีมา สรุ ินทร์ บรุ รี มั ยแ์ ละศรีสะเกษ ซึ่งเดิมเปน็ เขตของพวกส่วยและเขมร จะ
สร้างเรือนเป็นไม้จรงิ สว่ นใหญ่เป็นเรือนเดีย่ วใต้ถนุ สงู ตีฝาสายบวั หนา้ ตา่ งเลก็ มหี ลงั คาหน้าจ่ัวทรงสงู คล้าย
กับเรือนไทยภาคกลาง มุงดว้ ยกระเบื้อง แป้นเกลด็ และแฝก พวกส่วยมกั นิยมท้าเปน็ เรือนเคร่ืองผูก สรา้ งด้วย
ไม้ไผ่ มงุ หลังคาดว้ ยแฝก เปน็ เรอื นขนาดเล็กตงั้ อยใู่ กลๆ้ กนั ในอีสานกลาง แถบจังหวดั ชัยภมู ิ ขอนแกน่
มหาสารคาม ยโสธร อบุ ลราชธานี และในเขตอสี านเหนอื แถบจงั หวดั อดุ รธานี หนองคาย นครพนม ซ่ึงส่วน
ใหญ่เป็นคนลาวหลายกลมุ่ มักสร้างเรอื นดว้ ยไมจ้ รงิ หลังคาทรงจ่วั แต่ไม่สงู นัก ฝากระดาน มงุ หลังคาด้วย

2

กระเบ้ืองหรือแปน้ เกล็ด ซ่งึ ได้รับอิทธพิ ลจากเวยี งจนั ทนม์ าพอสมควร พบในเขตเมอื งเป็นสว่ นใหญ่ นอกเหนือ
จากเร่ืองของเรอื นแลว้ ในชมุ ชนหรือหมบู่ ้านของภาคอีสาน ยังแบ่งเขตใชส้ อยหรือใช้ประโยชน์ด้านอ่นื ๆ อีก
ซง่ึ สุนทร ตุลยะสุข (2546) ไดแ้ บ่งโครงสรา้ งของชุมชนออกเป็นเขตต่างๆ คอื เขตกสิกรรม เขตท่ีอยู่อาศยั เขต
วดั เขตสาธารณะ ศาลปู่ตาหรือดอนปตู่ า ศาลากลางบ้าน บือบ้าน เขตราชการ รา้ นคา้ เขตอุตสาหกรรม เขต
โรงเรียน และสถานีอนามัย

ภาพ 2 ในการสรา้ งบ้านแปงเมืองนั้น ชาวอสี านจะสร้างบางสิง่
แผนภมู ิโครงสรา้ งของชมุ ชนในภาคตะวนั ออกเฉยี งเหนอื เพ่ือเป็นทย่ี ดึ เหนี่ยวจติ ใจให้อยู่อยา่ งเป็นสขุ นอกเหนือจาก บือ
บ้าน (หลกั บ้าน) แล้ว อีกส่ิงหน่งึ ที่สา้ คญั มาก กค็ ือ วดั และสมิ ซง่ึ
เป็นสถาปตั ยกรรมทางพทุ ธศาสนา ลักขณา จินดาวงษ์ (2543) ได้
กลา่ วว่า สถาปัตยกรรมทางพุทธศาสนาในภาคอีสาน มีเอกลักษณ์
เฉพาะตวั แตกต่างจากภาคอ่นื ๆ อย่างชัดเจน ทั้งนเ้ี นอื่ งมาจากการ
สรา้ งโดยเกดิ จากแนวความคิดของคนในท้องถน่ิ และการ
ผสมผสานรปู แบบและอิทธิพลทางศลิ ปะจากภายนอก แม้อาจจะ
ถกู มองว่าขาดความวจิ ิตรบรรจงอยา่ งในภาคกลาง แตส่ ง่ิ ท่ี

สะทอ้ นออกมาจากสิมและสถาปตั ยกรรมอีสานนั้น คือวิถีชวี ติ ทีถ่ อื หลักความเรียบง่าย สมถะ แฝงไวด้ ้วยจิต
วิญญาณทผ่ี กู พนั และเคารพในพุทธศาสนาอยา่ งลกึ ซง้ึ ธาดา สุทธธิ รรม (2539) ได้กลา่ วถงึ สมิ หรือโบสถ์ใน
ภาคอสี านไว้ว่า สมิ มี 2 ประเภท คอื สมิ โปร่ง คอื สิมทีม่ ผี นังด้านหน้าและดา้ นข้างกอ่ สูงแค่พนกั ระเบยี ง
ด้านบนจงึ โล่ง โปรง่ ผนังดา้ นหลังพระประธานก่อทบึ ส่วนสมิ ทบึ คือ ก่อผนังทบึ ทั้ง 4 ดา้ น เจาะชอ่ งหน้าตา่ ง
ใหแ้ สงและอากาศถา่ ยเทได้ ในสมัยกรุงศรีอยธุ ยาตอนปลายจนถึงกรงุ รัตนโกสนิ ทร์ตอนต้น นยิ มสรา้ งสิมโปรง่
โดยช่างชาวลาวทีอ่ พยพเข้ามาตง้ั ถ่ินฐานในภาคอีสาน วัดท่ัวไปในยคุ นน้ั สว่ นใหญจ่ ะสรา้ งกุฏิและศาลาหรือหอ
แจก อนชุ ติ โรจนชวี นิ สภุ ร (2555) ได้กลา่ วถึงความสา้ คัญในการสร้างสมิ ไว้วา่ การสร้างสมิ นนั้ จะสร้างในบาง
วัดและจะสร้างหลงั จากตัง้ หมู่บ้านและตงั้ วดั แล้วระยะเวลาหน่งึ การสรา้ งสมิ จงึ เป็นเร่อื งทส่ี า้ คญั และถือเปน็ ปู
ชนียสถานที่หวังใหค้ งความม่ันคงถาวรอยู่คู่วดั ตลอดไป จงึ มกั ก่อสรา้ งดว้ ยอฐิ ถอื ปูน ต่างจากหอแจกและกุฏิ ท่ี
สามารถรื้อถอนและดัดแปลงได้โดยง่าย นยิ มก่อสรา้ งด้วยไม้ บนผนังของสมิ หลายแห่งในภาคอีสานยังปรากฏฮู
ปแต้ม (ภาพวาด) เขยี นเรื่องราวเกย่ี วกบั พระพุทธประวัติ สินไซ พระลักพระลาม ชาดก วถิ ีชีวิต ถกู เขียนขน้ึ
ดว้ ยความศรัทธา เพ่ือใหซ้ าบซึ้งในพระธรรมคา้ ส่งั สอน สะทอ้ นการดา้ รงชวี ติ ในสมยั นัน้ สา้ หรับลกั ษณะของ
ช่างแต้ม (ชา่ งวาดภาพ) ไพโรจน์ สโมสร (2532) ไดจ้ ้าแนกออกเปน็ 3 กลุ่ม คือ 1. กลมุ่ ชา่ งพ้ืนบา้ นแทๆ้ 2.
กลุ่มทไี่ ด้รบั อิทธิพลจากช่างหลวงกรงุ เทพฯ 3. กลมุ่ ท่ีได้รบั อทิ ธพิ ลผสมผสานระหวา่ งลา้ นช้างกับกรงุ เทพฯ

3

และยงั ไดแ้ บง่ ฮปู แต้มฝีมอื ช่างพนื้ บา้ นออกเปน็ 2 ประเภท คือ 1. ฮูปแตม้ ที่เคลื่อนท่ไี ด้ เช่น ผา้ ผะเหวด (พระ
เวสสันดร) ต้พู ระธรรม 2. ฮูปแต้มท่เี คลอ่ื นที่ไม่ได้ เช่น ฮปู แตม้ บนผนงั สมิ เปน็ ต้น

จากการลงพน้ื ทศ่ี ึกษาฮปู แตม้ ในจังหวดั ขอนแกน่ นครราชสีมา มหาสารคาม และรอ้ ยเอ็ด พบวา่
มฮี ูปแต้มทีน่ ่าสนใจศึกษาหลากหลายประเด็น เร่ืองหน่งึ ทพี่ บปะปนอย่เู กือบทกุ สิมและนา่ สนใจศึกษา คือ วถิ ี
ชวี ิตชาวบ้าน รปู แบบของเฮือนอีสานในยคุ นั้นๆ สัตวเ์ ล้ยี ง ภูเขา ต้นไม้ และอน่ื ๆ

ภาพ 3 ฮปู แตม้ บนผนังสมิ อสี านในเขตอสี านกลาง
สะทอ้ นวถิ ชี วี ิต ชาวบา้ น ชาวเมอื ง

และจากการถอดฮปู แต้มโดยใช้แนวคดิ การร้ือสร้าง ของฌาคส์ แดรร์ ิดา (Jacques Derrida) พบว่า รูปแบบที่
ปรากฏ คือ เฮือนของคนอสี านในอดตี สร้างดว้ ยไมจ้ ริงเป็นส่วนใหญ่ เน่อื งจากมีตน้ ไมแ้ ละธรรมชาติที่อดุ ม
สมบูรณ์ ส่วนใหญ่เป็นเฮือนเดย่ี ว มเี ฮอื นแฝดบา้ งเลก็ น้อย บางหลงั มีชานแดด สันหลังคาเรียบตรง มงุ ด้วย
กระเบื้อง แปน้ เกล็ด จั่วสงู แปน้ ลมมยี อดและมปี ลาย มีจั่วลายตะเวน็ จั่วลายนอน จว่ั หญ้าคา จ่วั ก้านตาล
หนา้ ต่างเล็ก ใต้ถนุ สงู เล้ียงสัตวไ์ วใ้ ตถ้ ุนบ้านเพอ่ื ดูแลบ้านและเปน็ อาหาร ซึง่ รูปแบบดังกล่าวสอดคล้องกับ
ศรีศกั ร วัลลโิ ภดม (2552) ท่ไี ด้กล่าวถึงลักษณะรปู แบบของเฮือนอสี านไวข้ ้างตน้

4

ภาพ 4 ฮปู แตม้ บนผนังสิมอสี านในเขตอสี าน
กลาง สะท้อนวิถีชีวิต ชาวบ้าน ชาวเมอื ง

เฮอื นบางหลงั จะตีฝาสายบวั พื้นท่ีโดยรอบเฮือนดสู ะอาด เปน็ ระเบียบเรียบร้อย เฮอื นจะอยรู่ วมกนั เป็นกลุ่ม
หรือเป็นคมุ้ สว่ นเฮือนที่มียอดบนหลังคา เป็นท่ีประทับหรือปราสาทราชวังของเจ้านายหรอื กษตั ริย์ผู้ครองนคร

การศกึ ษาฮปู แตม้ เฮือนบนผนังสิมอสี าน
ภาพสะท้อนท่ีปรากฏใหพ้ บเห็นในวันน้ี คือ ความงามแบบเรยี บง่าย
สมถะ ไร้การเสแสร้ง แต่อาจจะเปน็ ผลลบเพราะทัศนคติทางความงาม
ของคนอีสานในยุคปัจจบุ ัน มองความงามคือความอ่อนช้อย ยิง่ ใหญ่
หวือหวา แบบเมอื งหลวงหรอื ภาคกลาง จนท้าให้มองข้ามความงาม
แบบทีบ่ รรพบรุ ุษอีสานได้สร้างไว้ การดแู ลสิมนน้ั ยากลา้ บาก
หรอื เกดิ ความเกีง่ งอนทางการอนุรักษ์มรดกทางวัฒนธรรมอีสาน จนทา้ ใหล้ ะเลยจากมรดกอันล้าค่านี้
กลายเปน็ เพียงภาพสะทอ้ นของอดตี อนั ย่ิงใหญใ่ นวันวาน ดังนีแ้ ล้ว การล่มสลายของสิมและฮปู แต้มอนั งดงาม
คงจะมาเยือนคนอสี าน ในอกี ไม่ช้าไมน่ านน้ี เป็นแน่

5

เอกสารอา้ งอิง
ธาดา สทุ ธธิ รรม. (2539). การอนรุ ักษ์มรดกสถาปตั ยกรรมพ้ืนถนิ่ อีสาน ในแนวทางการมสี ่วนร่วม.

อุบลราชธานี: อุบลกิจออฟเซ็ท.
ไพโรจน์ สโมสร. (2532). จิตรกรรมฝาผนงั อสี าน. กรุงเทพฯ: อมรินทร์ พริน้ ติ้ง กรู๊ฟ.
ลกั ขณา จนิ ดาวงษ์. (2543). สิมที่มีฮปู แต้มในจังหวัดรอ้ ยเอ็ด. กาฬสินธ์ุ: ประสานการพิมพ์.
วชิ ติ คลังบุญครอง. (2546). เฮอื นอสี าน. ขอนแกน่ : คลังนานาวทิ ยา.
ศรศี ักร วลั ลิโภดม. (2552). เรือนไทย บา้ นไทย. กรุงเทพฯ: ด่านสุทธาการพิมพ์.
สนุ ทร ตลุ ยะสุข. (2546). ชมุ ชนชนบทและบา้ นชนบทภาคอสี าน. ขอนแก่น: คลังนานาวทิ ยา.


Click to View FlipBook Version