The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

บุญธาตุหลวง : ความสัมพันธ์ประเพณีนมัสการพระธาตุหลวงกับการตักบาตรด้วยข้าวเหนียว

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search

บทความ - บุญธาตุหลวง : ความสัมพันธ์ประเพณีนมัสการพระธาตุหลวงกับการตักบาตรด้วยข้าวเหนียว

บุญธาตุหลวง : ความสัมพันธ์ประเพณีนมัสการพระธาตุหลวงกับการตักบาตรด้วยข้าวเหนียว

บุญธาตุหลวง : ความสัมพนั ธ์ประเพณีนมัสการ สังเกตเห็นอาหารท่ีตกั บาตรในงานนมสั การพระ
ธาตุหลวง โดยเฉพาะภาพประทับใจท่ีคนลาว
พระธาตุหลวงกบั การตกั บาตรด้วยข้าวเหนียว หลายๆ ชนเผา่ ต่างหิ้วกระต๊ิบขา้ วเหนียวมาเพ่ือตกั
บาตร เมื่อวันที่ ๕ และ ๖ พฤศจิกายน พ.ศ.
“บรรดาข้ าวทั้งหลายเม่ือถูกทุบตีเช่ นนั้น ๒๕๕๗ ผู้เขียนได้มีโอกาสเดินทางไปศึกษา
กม็ ีความแค้นเคอื ง นึกว่ามนุษย์เป็ นพวกเนรคณุ ดู ประเพณีบุญนมสั การพระธาตุหลาวที่ สาธารณรัฐ
หรืออุตส่ าห์ บินมาถึงยุ้งฉาง ยังไล่ตีไม่ปรานี ประชาธิปไตยประชาชนลาวหรือ สปป.ลาว (The
ต้ังแต่นั้นเป็ นต้นมา ข้าวก็เลยเกิดเป็ นเจ็ดหัว มีหัว Lao People’s Democratic Republic ห รื อ Lao
เผือก หัวมัน บางจาพวกก็เป็ นข้าวเช่ นเดิม แต่ PDR.) ในบทความน้ีจะขอเรียกส้ันๆว่าประเทศ
เมล็ดเล็กลงมาก จนในที่สุดขนาดเท่าทุกวันนี้” ลาว และ ประชาชนลาว ดินแดนที่ไดช้ ื่อว่าเป็ น
ขอ้ ความจากหนังสือนิทานลาว เร่ือง กาเนิดขา้ ว ประเทศท่ีเก่าแก่ มีวฒั นธรรมท่ีเจริญรุ่งเรืองมา
โดย ส.พลายน้อย ข้าวเป็ น บ่อเกิดหน่ึ งทาง ยาวนาน และยึดมน่ั ที่จะรักษาขนบธรรมเนียม
วัฒนธรรม และมีวิวัฒนาการสื บมา ปัจจุบัน วัฒ น ธ รรม (ส ภ าแห่ งชาติ แห่ งส าธารณ รัฐ
สามารถกล่าวได้ว่าเรื่องราวที่เกี่ยวกับข้าวเป็ น ป ร ะ ช า ธิ ป ไ ต ย ป ร ะ ช า ช น ล า ว , 2 5 5 6 :
เร่ืองท่ีผกู พนั กบั ชีวิตคนไทยและประเทศแทบลุ่ม www.neda.or.th) มหกรรมบุญนมสั การพระธาตุ
น้าโขงมานาน ขา้ วเหนียว (ลา้ นนาเรียก ขา้ วน่ึง) หลวง วนั ข้ึน ๑๔ ค่า เดือน ๑๒ เป็ นประเพณีที่
เป็ นพันธุ์พ้ืนเมืองดั่งเดิมท่ี บรรพชนคนใน ช าวล าวไ ด้ป ฏิ บ ัติ ต่ อ เนื่ อ ง กัน ม าอ ย่าง ย าว น าน
อุษาคเนยป์ ลูกกินเป็ นอาหารมานานไม่น้อยกว่า การจดั งานจะมีกิจกรรมหลกั ๕ กิจกรรมดว้ ยกนั
๓,๐๐๐ ปี มาแลว้ นกั โบราณคดีขุดพบแกลบขา้ ว คือ ๑. แห่ปราสาทผ้ึง ๒. ตีคลี ๓. ตกั บาตร
เมล็ดป้อมตระกูลขา้ วเหนียวอยู่ทว่ั ไปต้งั แต่ก่อน ๔. จดั แสดงและจาหน่ายสินค้าภายในประเทศ
สมยั ประวตั ิศาสตร์สืบมาจนยุคทวารวดีถึงกรุงศรี และจากต่างประเทศ ๕. แสดงศิลปะวรรณคดี
อยุธยา เป็ นขา้ วที่คนทวั่ ไปกินเป็ นอาหารและทา จากศูนยก์ ลางและทอ้ งถ่ิน ผูห้ ญิงท่ีจะร่วมพิธี
ขนมเป็ นข้าวต้มมัด ข้าวต้มลูกโยน ข้าวหลาม ทาบุญตกั บาตรตอ้ งนุ่งผา้ ซิ่นให้เรียบร้อย ห้าม
ขา้ วจ่ี เป็ นต้น บางทีเรียกข้าวชนิดน้ีว่า ข้าวไพร่ จุดหมากกะโพก ( ปะทัด ) ในเขตนครหลวง
เพราะเป็ นขา้ วของสามญั ชน ตรงขา้ มกบั ขา้ วเจา้ เวยี งจนั ทน์
เป็ นพนั ธ์ขา้ วจากอินเดีย (ปรานี วงษ์เทศ, 2548) (สานกั งานผชู้ ่วยทูตทหาร ไทย/เวยี งจนั ทน์, 2552
เร่ืองราวเกี่ยวกบั ขา้ วกลายเป็ นพ้ืนฐานสาคญั ใน : http://www.ounon19.com/culture3.htm)
การสร้างสรรคใ์ ห้เกิดประเพณีที่มีขา้ วเหนียวเป็ น
เครื่องบูชา จากคาบอกเล่าของคุณจนั ทะสอน สีจนั
ทองทิบ ผูน้ าเที่ยวลาว ภูมิปัญญาอาหารท่ีขาด
ใน บ ท ค วาม น้ี ผู้เขี ย น จ ะ น าเส น อ เรื่ อ ง ไ ม่ ไ ด้ ที่ ต้อ ง น า ม า ท า บุ ญ ตัก บ า ต ร ใ น ง า น บุ ญ
ความสัมพนั ธ์ประเพณีนมสั การพระธาตุหลวงกบั นมสั การพระธาตุหลวงน้นั จะใช้ ไก่ยา่ ง และขา้ ว
ก ารตัก บ าต รด้ว ย ข้าว เห นี ย ว ซ่ึ งมี ที่ ม าจ าก ก าร หลาม ซ่ึงเป็ นกุศโลบายท่ีปฏิบัติสืบต่อกันมา

เพราะไก่เป็ นวตั ถุดิบท่ีหาง่ายท่ีเล้ียงไวเ้ ป็ นอาหาร สารับอาหารทวั่ ไปของคนลาวตวั อย่าง
แทบทุกบา้ น ส่วนขา้ วหลามน้ันเป็ นขา้ วท่ีพ่ึงได้ อาหารเด่นๆไดแ้ ก่ ลาบ จดั เป็ นอาหารประจาชาติ
จากการเก็บเก่ียวใหม่ๆที่ชาวบ้านนามาทาเป็ น อย่างไม่เป็ นทางการ มีท้งั ลาบปลา ไก่ เป็ ด ส่วน
ขนมหวาน ขา้ วหลามซ่ึงทานง่าย กรรมวิธีการทา ลาบเน้ือมกั ทากินกนั ในงานใหญ่ แจ่ว เป็ นอาหาร
แ บ บ พ้ื น บ้ าน แ ล ะ ร ส ช าติ ดี เช้ าวัน ท่ี ๖ ท่ีตอ้ งมีในสารับ ใช้จิ้มกบั ผกั หรือเน้ือสัตวเ์ สริม
พฤศจิกายน ผูเ้ ขียนเดินทางไปถึงพระธาตุหลวง รสชาติ แกง แกงของลาวไม่ใส่กะทิ แต่แกงบาง
ถนนบริเวณรอบๆพระธาตุหลวงเต็มไปดว้ ยผูค้ น ตารับรับวฒั นธรรมมาจากฝรั่งเศส อาหารดอง
หล่ังไหลเพื่อมุ่งหน้าไปยงั พระธาตุหลวง สีสัน หรือ ส้ม เช่น ส้มไขป่ ลา ส้มผกั กาด ตาส้มหรือคน
ของเส้ือผา้ ดูหลากหลาย สวยงาม แต่มีหน่ึงสิ่งท่ี ไทยเรียกวา่ ส้มตา เป็นอาหารยอดนิยมของคนลาว
ทุกคนถือในมือคือ กระติบ๊ ข้าวเหนียว ตาส้มคนลาวมกั ใส่กะปิ (วทิ ย์ บณั ฑิตกลุ , 2555)

ภาพ ไก่ย่าง ข้าวหลามในงานนมัสการพระธาตหุ ลวง ม า ถึ ง ต ร ง น้ ี ผู ้เขี ย น ต้ ัง ข้อ สั ง เก ต ว่า ข้าว
เหนียวมีความสัมพนั ธ์ในด้านใดกับคนลาวใน
ชาวลาวมีวฒั นธรรมการกินท่ีไม่ซบั ซ้อน งานบุญพระธาตุหลวง ผูเ้ ขียนไดศ้ ึกษาประเพณีท่ี
ยงุ่ ยาก นง่ั ลอ้ มวงกนั กินอาหารบนเส่ือ หรือสาด มี เก่ียวข้องกับข้าวของประเทศลาว เทศกาลงาน
พาข้าว หน้าตาคล้ายโตกทางเหนือ ต้ังอยู่ตรง ประเพณีของลาว เรียกว่า ฮีตสิบสอง คาว่า ฮีต
กลาง ในพาขา้ วมีกบั อาหารไม่ก่ีชนิด ส่วนใหญ่ หมายถึง จารีต และคาว่าสิบสอง หมายถึง ๑๒
เป็ นของแห้งๆ เช่น ปลาร้า ปลาปิ้ ง น้าพริก ผกั เดือนในรอบหน่ึงปี ซ่ึงมีเพียงชาวหลวงพระบาง
พ้ืนบา้ นกินเคียงกบั น้าพริก ใชม้ ือเปิ บ หรือจกขา้ ว เท่าน้ันที่มีประเพณีครบท้ัง ๑๒ เดือน ซ่ึงมีบุญ
เหนียว ประเพณีท่ีเก่ียวขอ้ งกบั ขา้ ว ดงั น้ี ๑. บุญคูณลาน
(บุญกองข้าว) เป็ นบุญเดือนย่ี (มกราคม)การ
ภาพ คนลาวน่ังรับประทานอาหารริมถนน ทาบุญขวญั ข้าวในลานข้าวหลงั การเก็บเกี่ยว มี
การนิมนตพ์ ระมาสวดเพ่ือความเป็นสิริมงคลก่อน
เก็บขา้ วใส่ยุง้ ฉาง โดยชาวบา้ นเช่ือว่า จะช่วยให้
ทานาไดผ้ ลผลิต น้าท่าสมบูรณ์ ๒. บุญขา้ วจี่ เป็ น
บุญเดือนสาม (กุมภาพันธ์) ชาวนาจะนาข้าวจี่
หรือข้าวเหนียวป้ันเป็ นก้อนเท่าไข่เป็ ด ทาเกลือ
เสียบไมย้ ่าง ขณะยา่ งจะใช่ไข่ไก่หรือไข่เป็ ด เอา
เฉพาะไข่แดงทาให้ท่ัวแล้วย่างจนสุก ถอดไม้
เสียบออกยดั น้าตาลออ้ ยลงตรงกลางเป็ นไส้ถวาย
พระสงฆ์ ๓. บุญข้าวประดับดิน หรือ บุญเดือน
เกา้ (สิงหาคม) จดั ข้ึนเพ่ืออุทิศส่วนกศุ ลให้แก่ดวง
วญิ ญาณบรรพบุรุษและวิญญาณไร้ญาติท้งั หลาย

ก่อนงานบุญ ๑ วนั ผูห้ ญิงจะเตรียมขา้ วตม้ มดั ไส้ ภาพ ตกั บาตรในงานนมัสการพระธาตุหลวง
กลว้ ยห่อดว้ ยใบตอง สาหรับใส่บาตรในวนั รุ่งข้ึน
๔. บุญขา้ วสาก บุญเดือนสิบ (กันยายน)ตรงกับ ข้าวซ่ึงมีมาไม่น้อยกว่า ๓,๐๐๐ ปี และ
วนั ข้ึน ๑๕ ค่าเดือน ๑๐ หลังจากงานบุญข้าว การประกอบอาชีพของคนลาวยงั ผูกพนั กบั ภาค
ประดับดิน ๑๕ วนั ในการทาบุญขา้ วสาก จะมี การเกษ ตรเป็ น ห ลัก คื อ ท าน า (ป ลู กข้าว)
การทาขา้ วห่อ เพื่ออุทิศส่วนกุศลใหแ้ ก่ผูต้ ายหรือ น อ ก จ า ก น้ี ห ลัง จ า ก ก า ร เก็ บ เก่ี ย ว ผ ล ผ ลิ ต ท า ง
เปรต ซ่ึงตอ้ งกลบั ไปอยทู่ ่ีอยูข่ องตนในช่วงเวลาน้ี การเกษตรโดยเฉพาะข้าว ซ่ึงมีประโยชน์และมี
(วิทย์ บัณฑิตกุล, 2555) ผู้เขียนมีความเห็นว่า ความหลากหลายในการแปรรู ป อาหารไม่ว่าจะ
นอกจากเดือนที่ได้กล่าวมาแล้ว เดือนอ่ืนๆที่มี นามาปรุงเป็ นอาหารคาวหรือหวาน นาไปทาบุญ
ประเพณี หรือ บุญในเดือนน้ันข้าวเหนียวแม้ ตักบาตรแด่พระภิกษุสงฆ์ การตักบาตรเป็ น
ไม่ไดเ้ ป็ นอาหารท่ีใช่ประกอบพิธีในงาน แต่ก็มี วฒั นธรรมและวิถีชีวิตของชาวพุทธ ซ่ึงในการใส่
ใหร้ ับประทานเป็นหลกั บาตรก็ตอ้ งนอบน้อม เพื่อแสดงความเคารพต่อ
พระรัตนตรัย ดังน้ันการตักบาตรในงานบุญ
ดร.สุเนตร โพธิสาร การตกั บาตรดว้ ยขา้ ว นมสั การพระธาตุหลวงด้วยขา้ วเหนียวเป็ นการ
เหนียววา่ ขา้ วเหนียวน้นั ถือเป็ นอาหารประจางาน นมสั การต่อองคพ์ ระธาตุหลวงด้วยขา้ วเหนียวสี
บุญของคนลาว ไม่ว่างานบุญเดือนไหน อาหารท่ี ขาวบริสุทธ์ิยกข้ึนทูนหวั เพ่ืออธิษฐาน ต้งั จิตถวาย
คนลาวนิยมรับทานกันโดยเฉพาะข้าวเหนียวท่ี ขา้ วตอ่ พระพุทธ พระธรรม พระสงฆ์
ตอ้ งมีเป็ นพระเอกของงาน พิธีกรรมเก่ียวกบั ขา้ ว
และการทานาเป็ นการปฏิบัติการ (Holding) เอกสารอ้างองิ
ประการหน่ึง ในการสร้างความสัมพันธ์กับ ด ร .สุ เน ต ร โ พ ธิ ส าร (ส อ บ ถ าม /
ส่ิ ง แ ว ด ล้ อ ม คื อ ดิ น น้ า ล ม ไ ฟ
ทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงมีชีวติ อ่ืนๆ เพ่ือใหเ้ กิด สัมภาษณ์)
สภาวะเหมาะสมทางนิ เวศวิทยา (Ecological คุณจนั ทะสอน สีจนั ทองทิบ (สอบถาม/
Niches) เพ่ือให้การอยู่ร่วมกนั ดงั กล่าวมีสันติสุข
มีแต่ผใู้ ห้และผูร้ ับ ไม่มีนาย ไม่มีทาส (เอ่ียม ทอง สัมภาษณ์)
ดี, 2551) การทาบุญตกั บาตรจึงถือไดว้ ่าเป็ นการ ปรานี วงษเ์ ทศ, ประเพณี ๑๒ เดือน : ใน
สร้างความสัมพนั ธ์ในชุมชนชาวพุทธ ซ่ึงถือเป็ น
ท่ียึดเหน่ียวจิตใจของพุทธศาสนิกชนทุกคน ซ่ึง ประวตั ิศาสตร์สังคมวฒั นธรรมเพ่ือความอยูร่ อด
สอดคลอ้ งกับคากล่าวของ ศาสตราจารยช์ อบ ดี ของคน. ๒๕๔๘
สวนโคก ท่ีว่า มนุษยส์ ัมพนั ธ์กบั มนุษย์ มนุษย์
สมั พนั ธ์กบั ธรรมชาติ มนุษยส์ ัมพนั ธ์กบั สตั ว์ และ
มนุษยส์ ัมพนั ธ์กบั อานาจเหนือธรรมชาติ

วิ ท ย์ บั ณ ฑิ ต กุ ล , ส า ธ า ร ณ รั ฐ
ประชาธิปไตยประชาชนลาว. ๒๕๕๕

ส.พลายนอ้ ย, กาเนิดขา้ ว. ๒๕๕๕
ส ภ า แ ห่ ง ช า ติ แ ห่ ง ส า ธ า ร ณ รั ฐ
ประชาธิปไตยประชาชนลาว, ประเพณีนมสั การ
พระธาตุหลาว, ๒๕๕๖ (Online) เปิ ดขอ้ มูล
เม่ือ ๒๑ พฤศจิกายน ๒๕๕๗ หาข้อมูลจาก
www.neda.or.th
ส า นั ก ง า น ผู้ช่ ว ย ทู ต ท ห า ร ไ ท ย /
เวยี งจนั ทน์, ๒๕๕๒ (Online) เปิ ดขอ้ มูล
เม่ือ ๒๑ พฤศจิกายน ๒๕๕๗ หาข้อมูลจาก
http://www.ounon19.com/culture3.htm
เอ่ียม ทองดี, ข้าว : วฒั นธรรมและการ
เปลี่ยนแปลง. ๒๕๕๑


Click to View FlipBook Version