The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

มารผจญนอกระเบียบ : ความเหมาะเฉพาะถิ่นหรือความอ่อนด้อยในเชิงช่าง

บทความโดย นฤทธิ์ วัฒนภู
สาขาวิจัยศิลปะ วัฒนธรรม และการออกแบบ
คณะศิลปกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search

มารผจญนอกระเบียบ : ความเหมาะเฉพาะถิ่นหรือความอ่อนด้อยในเชิงช่าง

มารผจญนอกระเบียบ : ความเหมาะเฉพาะถิ่นหรือความอ่อนด้อยในเชิงช่าง

บทความโดย นฤทธิ์ วัฒนภู
สาขาวิจัยศิลปะ วัฒนธรรม และการออกแบบ
คณะศิลปกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น



มารผจญนอกระเบียบ : ความเหมาะเฉพาะถ่นิ หรอื ความออ่ นดอ้ ยในเชงิ ชา่ ง
นฤทธิ์ วัฒนภู

วดั วาอารามทางพุทธศาสนา ไม่ว่าจะอยู่ในทอ้ งถ่นิ ใด มักพบส่ิงก่อสร้างทางศิลปกรรม เพื่อเปน็ ส่ือแห่ง
ศรทั ธาแก่พุทธศาสนิกชนเสมอ ผลงานศลิ ปกรรมที่ปรากฏ ประกอบดว้ ย สถาปัตยกรรม ประติมากรรม และ
จิตรกรรม

ผลงานจิตรกรรมโดยส่วนใหญ่ มักเขียนขึ้นบนฝาผนังอาคาร โดยเฉพาะพระอโุ บสถ หรอื ทางอสี าน
เรยี กว่า “สิม” โดยกรอ่ นเสยี งมาจาก “สมี า” (วโิ รฒ ศรีสโุ ร, ๒๕๔๑) จติ รกรรมฝาผนงั ในสิมอสี านมลี ักษณะ
พเิ ศษต่างจากภาคกลาง กล่าวคอื นยิ มเขียนภาพทั้งภายในและภายนอกอาคาร (วบิ ลู ย์ ลส้ี ุวรรณ, ๒๕๒๖)
นอกจากลกั ษณะเฉพาะดังกล่าวแล้ว เรอ่ื งราวท่ีแตง่ แต้มบนผนงั แตล่ ะด้าน ยังแตกต่างกันอกี ด้วย ตามระเบยี บ
การตกแต่งฝาผนังของศาสนาคาร โดยเฉพาะพระอุโบสถ จะนยิ มเขยี นภาพเล่าเรือ่ งราวทางพทุ ธศาสนาเปน็
หลกั และเปน็ แบบอย่างสืบทอดจนเป็นประเพณนี ิยม โดยผนงั ด้านหลังพระประธาน เขียนภาพไตรภมู ิ ผนัง
ด้านข้างเหนือช่องหน้าต่าง หรอื เรยี กว่า “คอสอง” (สมชาติ มณีโชติ, ๒๕๒๙) นิยมเขียนภาพเทพชมุ นุม สว่ น
พ้ืนที่ระหวา่ งช่องหนา้ ตา่ งจะบรรยายภาพทศชาดก และพ้ืนท่บี น “ผนงั หมุ้ กลอง” หนา้ พระประธาน จะเขียน
พุทธประวตั ิตอนสาคญั คือ “มารผจญ” (ราชบณั ฑิตยสถาน, ๒๕๔๑)

ผนงั หมุ้ กลอง หรือเรยี กอกี อย่างวา่ “ผนงั สกดั ” (สนั ติ เลก็ สุขุม, ๒๕๔๘) เป็นฝาผนังทงั้ ดา้ นหน้าและ
หลงั ของตวั อาคาร จะเรียกผนังห้มุ กลองตอ่ เม่ืออาคารนน้ั สร้างดว้ ยการก่ออิฐถือปูน แต่หากสรา้ งดว้ ยไม้จะ
เรยี กวา่ “ฝาหมุ้ กลอง” (โชติ กลั ยาณมิตร, ๒๕๔๘) พ้นื ท่ีของผนงั หุม้ กลองทง้ั หนา้ และหลงั พระประธาน
รวมทง้ั พนื้ ที่ว่างภายในอาคาร มักถูกประดบั ดว้ ยจิตรกรรมฝาผนัง หรือชาวอสี านเรียก “ฮูบแตม้ ” (สมุ าลี
เอกชนนยิ ม, ๒๕๔๘: ๕) บทความนจี้ ะกลา่ วเฉพาะเร่อื งราวพทุ ธประวัติ ตอน มารผจญ ที่บรรจงแต่งแต้มบน
ผนงั ห้มุ กลองหน้าพระประธานในสิมอสี านเท่านนั้

เร่ืองย่อ “มารผจญ”
มารผจญ เปน็ เรอ่ื งราวในพุทธประวตั ิตอนหนง่ึ ปรากฏอยูใ่ นพระปฐมสมโพธกิ ถา ซ่ึง สมเดจ็ กรม

พระปรมานชุ ิตชโิ นรส ได้เรยี บเรียงขึน้ ตามพระราชประสงค์ในพระบาทสมเดจ็ พระนัง่ เกลา้ เจ้าอยหู่ วั รัชกาลที่
๓ แหง่ กรุงรตั นโกสินทร์ มีเนื้อความอยใู่ นปรเิ ฉท (บท) ท่ี ๙ ชอื่ ว่า “มารวชิ ัยปริวตั ต์” สามารถสรุปความพอ
สังเขป ดงั น้ี

พญาวัสวตมี ารไดย้ กกองทัพหมมู่ าร ประกอบด้วยอมนุษย์และสตั ว์ดุร้าย ล้วนมีเพศพรรณต่างๆ ซงึ่ ใน
พระปฐมสมโพธิกถา ได้อธบิ ายถงึ รปู ลกั ษณ์ของเหลา่ มารเอาไวอ้ ย่างละเอียด ตวั อยา่ งเช่น “....และมารโยธา
ท้งั หลายก็สาแดงฤทธ์ิ นฤมิตเพศมีพรรณตา่ งๆ บางจาพวกกห็ น้าแดงกายเขียว บางจาพวกกห็ น้าเขยี วกายแดง
บางเหล่าจาแลงกายขาวหนา้ เหลือง บางเหลา่ แลกายลายพรอ้ ยหนา้ เขยี วแปลกๆ กัน บางจาพวกกายท่อนบน
เปน็ นาค กายท่อนต่าหลากเป็นมนุษย์ บางเหลา่ จาแลงกายเป็นมนุษย์ บางหมูเ่ นรมติ กายเปน็ ครฑุ ” เป็นตน้



(สมเด็จกรมพระปรมานุชติ ชโิ นรส, ๒๕๓๙) เหลา่ มารทีบ่ รรยายไว้ ลว้ นเพือ่ มาขดั ขวางการตรสั รขู้ องพระพุทธ
องค์ทั้งส้ิน

แต่สทิ ธัตถะโพธสิ ตั ว์ก็มไิ ด้หว่ันไหว ทรงยกพระหัตถ์เบ้อื งขวาวางพาดไว้บนพระชงฆ์ ปลายนว้ิ พระ
หัตถส์ ัมผัสลงพนื้ แผ่นดิน หมายใหแ้ มธ่ รณมี าเป็นพยานวา่ พระองค์ทรงถงึ พร้อมและมีความชอบธรรมที่จะตรัส
รเู้ ป็นสมเด็จพระสัมมาสัมพทุ ธเจา้ แมธ่ รณีปรากฏกายขึ้นจากพนื้ ดิน บดิ น้าจานวนมหาศาลออกจากมวยผม ซึ่ง
รวบรวมไว้เม่ืออดีตชาตทิ ีท่ รงหล่ังลงพนื้ ดนิ หลงั จากทรงสร้างบุญบารมีนบั ครัง้ ไม่ถว้ น สายน้าจานวนมากได้
ไหลหลากพดั ทว่ มกองทัพมาร จนเป็นเหตุให้เหลา่ พญามารต้องยอมสยบอย่างราบคาบและท้ิงอาวุธ พร้อม
ประนมกรถวายอภิวาทอัญชลี ภาพเหตกุ ารณ์ตอนนีช้ ่างเขียนทุกสานัก ทั้งกรงุ เทพฯและหัวเมอื งตา่ งๆ ให้
ความสาคัญเป็นอยา่ งย่ิง (สันติ เล็กสุขมุ , ๒๕๔๘)

ภาพที่ ๑ จิตรกรรมบนผนงั ห้มุ กลองหน้าในพระอุโบสถ วัดคงคาราม จงั หวัดราชบรุ ี

จากวรรณกรรมสูศ่ ลิ ปกรรม
จากภาพข้างตน้ เปน็ จิตรกรรมบนผนงั หุ้มกลองในพระอโุ บสถ วดั คงคาราม จังหวัดราชบรุ ี แม้จะเป็น

วัดนอกราชธานีกรุงเทพฯ แต่ยังคงรกั ษาแบบแผนได้อยา่ งสมบรู ณ์ การจัดวางตัวภาพเปน็ แบบสมมาตร หาก
หันหนา้ เขา้ หาผนัง จะพบภาพพระพุทธเจ้าอยู่ก่ึงกลางของพื้นที่ โดยเย้ืองขึ้นไปด้านบน ถัดลงมาเปน็ ภาพแม่
ธรณีที่แสดงกิริยาบบี มวยผม ซึ่งเป็นองคป์ ระกอบภาพท่ีมองเห็นไดอ้ ย่างชดั เจน เนอ่ื งจากตัวภาพมีขนาดใหญ่
กวา่ เมอ่ื เทยี บกับภาพอ่ืน สว่ นพน้ื ทท่ี ั้งซ้ายขวาเปน็ ภาพหม่มู ารทอี่ ยู่ในอากัปกิริยาต่างๆ กัน โดยดา้ นขวาเปน็
ภาพกองทัพมารเข้าโรมรนั แตล่ ะตัวละครจะมีลักษณะหน้าตาทา่ ทางขงึ ขัง ดดุ ัน นา่ เกรงขามเป็นอย่างมาก ทง้ั
รูปลกั ษณ์ของมารแตล่ ะตนยงั แตกต่างกัน สอดคล้องตามเนื้อความในพระปฐมสมโพธิกถา สว่ นอีกดา้ นเป็น
ภาพเหลา่ มารท้ังหลายแสดงท่าทางทต่ี า่ งไปจากด้านขวา คือ พญามารประนมกรถวายอัญชลี แสดงความอ่อน


น้อมต่อพระพุทธเจ้า สว่ นพลมารทตี่ ามมาน้ัน อยู่ในลลี าที่แตกกระสานซ่านเซน็ โกลาหลอลหม่าน บ้างหนเี อา
ตวั รอด บางตนจมนา้ พ่ายแพ้ต่อพระบารมีแห่งองค์พระโพธิสัตว์ นักวชิ าการบางท่านเรียกภาพสองลีลาน้ีว่า
“มารผจญ-ชนะมาร” (สนั ติ เลก็ สขุ ุม, ๒๕๔๘) เนอื่ งจากเหตกุ ารณ์ในภาพมีเรื่องราวท่ตี ่อเนื่องกนั

ภาพท่ี ๒ ภาพหมูม่ ารทีม่ ลี กั ษณะตัวละครตา่ งๆ กนั มีความหลากหลายตามพระปฐมสมโพธิกถา

จากภาพเขียนผนวกกบั เน้ือหาในพทุ ธประวตั ติ อนมารผจญ ช่างไดค้ ดั เลือกพ้นื ทบ่ี นผนงั หุ้มกลองหนา้
พระประธาน เปน็ พืน้ ท่ีในการเล่าเรื่องราวตอนสาคญั ของพระพทุ ธเจ้า โดยเนื้อเร่ืองดังกล่าวสามารถสอื่ ความ
หมายถงึ ความพากเพยี ร บากบนั่ ไม่ย่อท้อต่ออปุ สรรคทง้ั ปวง แม้ปัญหาน้นั จะใหญ่หลวงหรือมากมายเพียงใด
ความตง้ั ใจจรงิ จะทาใหส้ าเร็จดังใจหมาย ภาพดังกลา่ วอยู่บนตาแหน่งทีเ่ หมาะสมและมองเห็นไดอ้ ย่างชัดเจน
ไมม่ สี ่ิงใดบดบังแม้แตน่ ้อย ผู้สรา้ งสรรค์อาจมีเจตนาท่ีจะใชภ้ าพน้ีเตอื นสตผิ คู้ นในสงั คมว่า แม้แต่พระพุทธเจ้า
ยังต้องเผชิญกับปญั หาอุปสรรคหนักหนานานปั การ กวา่ จะตรัสรู้เป็นพระสมั มาสัมพุทธเจ้า เพ่อื ให้สังคมได้
ตระหนักถึงคตธิ รรมที่ต้องอดทน พากเพยี ร ฟนั ฝา่ อุปสรรค แมจ้ ะยากเพยี งใดหากพยายามจนถึงทส่ี ุด ก็จะพบ
กบั ความสาเรจ็ อย่างแนน่ อน

ภาพมารผจญลักษณะน้ี กระจายตวั อยูต่ ามแหลง่ ตา่ งๆ ตวั อยา่ งเช่น ภายในพระท่นี ั่งพุทไธสวรรค์ ใน
พระอุโบสถวัดสุวรรณาราม กรุงเทพฯ เป็นตน้ ในส่วนของภาคอีสานมปี รากฏภาพมารผจญบนผนังสิมเชน่ กัน
ข้อมูลจากสนาม

จากการสารวจสิมอสี านรวม ๑๐ แห่ง ประกอบด้วย วดั สนวนวารีพฒั นาราม วดั มชั ฌมิ วทิ ยาราม (วัด
บ้านลาน) วัดสระบัวแกว้ วดั ศาลาลอย วัดนกออก วดั หน้าพระธาตุ วัดประตชู ยั วดั ป่าเรไรย์ วัดโพธารามและ



วดั สุวรรณาวาส พบงานศิลปกรรมทเ่ี กี่ยวข้องกับพุทธประวตั ิ ตอนมารผจญทั้งส้นิ ๔ แห่ง คอื วัดสระบวั แก้ว
วัดศาลาลอย วัดปา่ เรไรยแ์ ละวดั โพธาราม โดยในจานวนนี้เปน็ ฮบู แต้มเพียง ๓ วดั เท่าน้ัน (วัดศาลาลอยเป็น
งานประตมิ ากรรมดินเผา จึงไมข่ อกลา่ วในทีน่ ี้) คิดเปน็ รอ้ ยละ ๓๐ ของจานวนวัดท่ีสารวจ โดยรายละเอยี ดของ
ฮบู แต้มตอนมารผจญของ ๓ วัด สามารถสรปุ ได้ดังน้ี

๑. วดั สระบัวแกว้ ต้ังอยทู่ ีห่ มู่ ๔ บา้ นวังคูณ ตาบลหนองเมก็ อาเภอหนองสองห้อง จังหวดั ขอนแกน่
ปรากฏฮูบแต้มตอนมารผจญในตาแหนง่ ผนังห้มุ กลอง ซ่ึงเป็นไปตามขนบอย่างภาคกลาง แต่ไดแ้ ทรกเรื่องราว
ของวรรณกรรมท้องถิน่ เร่ือง “สนิ ไซ” ร่วมอยบู่ นผนงั เดียวกันด้วย

๒. วดั ป่าเรไรย์ ตั้งอยบู่ ้านหนองพอก ตาบลดงบัง อาเภอนาดูน จังหวดั มหาสารคาม ไม่ปรากฏฮบู
มารผจญบนผนังหมุ้ กลอง แต่ขยบั ไปเขยี นบนผนังดา้ นขวาของพระประธาน โดยเป็นเร่ืองราวท่ตี อ่ เนื่องจาก
ผนังหมุ้ กลอง

๓. วัดโพธาราม ต้งั อยทู่ บี่ ้านดงบัง ตาบลดงบัง อาเภอนาดูน จงั หวัดมหาสารคาม ไม่ปรากฏฮูบมาร
ผจญบนผนังห้มุ กลองเช่นกนั แต่ชา่ งนาเรอ่ื งราวดังกล่าวไปแต้มร่วมกบั พทุ ธประวตั ิตอนอื่นๆ บนผนังดา้ นนอก
หลังพระประธาน

จากรายละเอียดข้างต้น พบว่า มเี พยี งวัดสระบวั แก้วเท่าน้ันทีเ่ ป็นไปตามขนบ ซึง่ คิดเป็นรอ้ ยละ ๑๐
ของจานวนวดั ทั้งหมด

อนงึ่ นอกจากพุทธประวัติตอนมารผจญทพี่ บในวดั ท้งั สาม ยงั ปรากฏฮบู เก่ียวกับเรื่องราวทางศาสนา
อาทิ พุทธประวัติตอนอืน่ ๆ ชาดก โดยเฉพาะพระเวสสันดร พบอยู่อยา่ งหนาแนน่ ชาดกนอกนิบาต ได้แก่ สิน
ไซ รวมทั้งวรรณกรรมท้องถ่นิ คือ พระลกั พระลาม ส่วนวัดอื่นท่ีมีฮบู แต้มแม้ไมแ่ ต้มฮบู มารผจญ แต่กไ็ ด้ใช้
วรรณกรรมทางพทุ ธศาสนาอ่ืน เป็นการเลา่ เร่ืองราวเพือ่ เป็นสอื่ แห่งศรทั ธาเชน่ กัน

วิเคราะหฮ์ ูบแตม้ ตอน มารผจญ ในสิมอีสาน
สุมาลี เอกชนนิยม (๒๕๔๘: ๒๖) กล่าวถงึ ฮบู แตม้ ของท้ังสามวดั น้วี า่ จดั เปน็ งานแตม้ ฮูบกลมุ่ อีสาน

ตอนกลาง ซึ่งชา่ งส่วนใหญ่มกั เปน็ ชา่ งพืน้ บา้ นทร่ี ับอิทธิพลจากชา่ งหลวงหรือชา่ งสกุลอืน่ น้อย ดังนัน้ จงึ มีความ
แตกตา่ งจากขนบประเพณีของภาคกลาง ในทน่ี ี้เปน็ การวิเคราะห์ความแตกตา่ งของฮูบแต้มตอนมารผจญที่
ปรากฏใน ๓ แหลง่ เพอื่ ทาความเข้าใจรูปแบบ แนวความคิด ขอ้ จากัดในการสรา้ งสรรค์งานของช่าง ดงั น้ี

๑. วดั สระบัวแกว้
เม่ือเดินเข้าภายในสมิ บนผนงั ด้านหน้าทีเ่ รยี กวา่ ผนงั หมุ้ กลอง มีฮบู ทแี่ ต้มเปน็ เรอื่ งราวตอนมารผจญ
โดยมีฮบู พระพุทธเจา้ ประทบั นง่ั แสดงปางสมาธิ อยู่ด้านบนสุดเกอื บชิดเพดาน ถดั ลงมาเป็นบุคคล ๒ ฮบู โดย
ฮูบหนึง่ คือแมธ่ รณี อยู่ในอริ ิยาบถยนื บบี มวยผม สว่ นอีกฮบู เป็นชายนัง่ คุกเข่า ประนมมอื ถอื สิ่งของบางอย่าง
โดยหนั หนา้ เขา้ หาแมธ่ รณี ส่วนพน้ื ที่ดา้ นซ้าย เปน็ เหลา่ พลมารทแ่ี สดงท่าทางต่างๆ พื้นที่ดา้ นขวาตดิ กบั
พระพุทธเจ้า มีกลุ่มบุคคลน่งั คกุ เข่าประนมมือต่อหน้าพระพทุ ธเจ้า คาดวา่ น่าจะเปน็ พญามารและธิดามาร
ทัง้ หลาย มาแสดงความอ่อนน้อมหลงั จากพ่ายแพต้ ่อบุญญาบารมขี องพระพุทธองค์ ในระดบั เดียวกันถัดไปทาง



ด้านขวา ปรากฏฮบู พระพุทธเจา้ ประทับยนื โดยประสานพระหตั ถใ์ นระดบั พระเพลา ซึ่งน่าจะเปน็ การแสดง
ปางถวายเนตร (ราชบณั ฑิตยสถาน, ๒๕๔๑) โดยอาจเป็นเรื่องราวตอ่ เน่ืองหลังการตรสั รู้ เปน็ ตอนท่ี
พระพทุ ธเจ้าเสวยวมิ ตุ ิสุขเป็นเวลา ๗ สัปดาห์ ฮบู นี้เป็นเหตกุ ารณใ์ นสัปดาห์ท่ี ๒ เรยี กว่า อนมิ ิสเจดีย์ (วรรธก
ภูมิวรเมธ, ๒๕๓๗: ๑๐๙) สว่ นพ้ืนที่ด้านลา่ งสดุ เปน็ ฮูบเก่ยี วกับสินไซ

ภาพที่ ๓ ฮูบมารผจญบนผนังหมุ้ กลองหนา้ ในสิมวัดสระบวั แกว้ ผสมผสานระหวา่ งพทุ ธประวตั แิ ละวรรณกรรม
ทอ้ งถน่ิ เรือ่ ง สินไซ

จากการจัดวางองคป์ ระกอบของมารผจญในสิมแหง่ นี้ สอดคลอ้ งตามแบบแผน แต่ได้เพิ่มเตมิ
รายละเอยี ดเฉพาะท้องถน่ิ เขา้ ไปด้วย แมฮ้ ูบหลักของมารผจญคือ พระพทุ ธเจา้ และแม่ธรณยี ังคงอยู่อย่าง
ครบถว้ น โดยปกตใิ ตแ้ มธ่ รณีควรเป็นฮบู หน้ากาลหรือพระราหู แตท่ ีน่ ่ีไม่พบคงเนือ่ งจากข้อจากัดดา้ นพน้ื ท่ี
กรอบประตเู กินเขา้ ผนงั ค่อนข้างมาก จึงทาให้ไม่เพียงพอต่อการแตม้ ฮูบ อย่างไรก็ดชี า่ งได้แกป้ ัญหาน้ี โดย
นาหนา้ กาลไปแตม้ ไว้เหนือกรอบประตูด้านนอกแทน

การให้รายละเอียดของฮบู เหล่าพลมาร ช่างแต้มเพียงภาพบุคคลไม่ก่ีตวั เทา่ นนั้ อีกท้ังลลี าการแสดง
ทา่ ทางเขา้ โรมรันพระพุทธเจา้ เปน็ เพยี งสัญลกั ษณ์ มิได้ใหร้ ายละเอียดหรือความสาคัญอยา่ งเตม็ ท่เี หมือนกบั
ขนบภาคกลาง

๒. วัดป่าเรไรย์
ปรากฏฮูบมารผจญผิดแผกแตกตา่ งจากแบบแผนเลก็ น้อย แต่ให้รายละเอยี ดของเรอื่ งราวทม่ี ีความ
สมบรู ณ์ตอ่ เนื่อง กลา่ วคือ ภาพบนผนังหุ้มกลองหนา้ พระประธาน พ้นื ทเี่ หนือกรอบประตู ชา่ งแต้มเป็นฮูบ
ช้าง ๗ เศียร สว่ นพ้นื ทด่ี ้านซ้ายเปน็ นรกภมู ิ และด้านขวาแสดงการรวมพลต่อแถวของกองทัพพญามาร ท่ีกาลัง
เดินทางเข้าหาพระพุทธเจา้ ท่ีอยอู่ ีกผนังหนึง่ โดยเขยี นเรยี งหน้าตอ่ กนั จนสดุ ผนัง ทั้งหักมุมตอ่ ไปอีกผนงั


หนง่ึ ทีเ่ ปน็ ดา้ นขา้ งทางขวาของพระประธาน จงึ ปรากฏภาพมารผจญคอ่ นขา้ งเต็มรปู แบบอยู่บนพ้นื ทีร่ ะหว่าง
ชอ่ งเสา ประกอบด้วย พระพุทธเจ้าอยดู่ ้านบนสุดชิดขอบเพดาน ประทับนง่ั แสดงปางสมาธิ ถดั ลงมาเป็นแม่
ธรณีอยู่ในอิริยาบถยนื บบี มวยผม พ้ืนท่ี ๒ ดา้ นทัง้ ซ้ายขวาเปน็ ภาพมารผจญและชนะมาร ชา่ งแต้มให้
ความสาคญั กับลักษณะตัวละครดมี าก แมร้ ปู แบบจะเป็นเพียงบุคคลธรรมดา ท่าทางเรยี บง่าย ซึ่งตา่ งจากสกลุ
ชา่ งภาคกลางที่แสดงการสร้างสรรค์อยา่ งเต็มที่ ท่เี ปน็ เชน่ น้ีคงเพราะประสบการณ์และการรับรู้ที่แตกตา่ งกนั
นน่ั เอง

ภาพที่ ๔ ฮบู ชา้ ง ๗ เศยี รบนผนังหุม้
กลองหนา้ พระประธานในสมิ วัดปา่ เรไรย์

ภาพท่ี ๕ ฮบู ต่อเนอื่ งจากผนังหมุ้ กลองหนา้ แสดงการเคล่อื นพลมาสอู่ ีกผนงั ซึง่ เปน็ ตอนมารผจญ โดยปรากฏท้งั มาร
ผจญและชนะมารในพืน้ ที่เดยี วกัน


๓. วดั โพธาราม
มารผจญบนสมิ แหง่ นี้ อยูบ่ นผนงั ห้มุ กลองด้านนอกหลังอาคาร โดยฮูบตอนนถ้ี ูกจดั วางร่วมกับ
พุทธประวัตติ อนอ่ืนๆ โดยเรมิ่ ตน้ เรือ่ งบรเิ วณขอบลา่ งของผนงั ดา้ นขวา เป็นตอนทีเ่ จ้าชายสิทธตั ถะกาลังจะ
ออกจากเมอื งเพ่ือออกบวช ดาเนนิ เรื่องขึ้นไปดา้ นบน แต่ลาดับเหตุการณ์ไมต่ ่อเน่ืองกันนัก เช่น พ้ืนท่ีตอนพญา
มารมาขวางขบวนเสดจ็ เจ้าชายสทิ ธัตถะถูกปะปนด้วยฮูบพระอินทร์ดดี พิณ เพื่อเตือนสติพระพุทธเจ้าให้ออก
จากการกระทาทุกขรกริ ยิ า และดาเนนิ เร่อื ยมาจนถงึ ผนงั ด้านซา้ ย ส่วนบนเปน็ ภาพตอ่ เน่ืองจากขบวนเสด็จ คอื
ตอนเจา้ ชายสิทธตั ถะปลงผม เรยี กเรอ่ื งราวตอนนวี้ ่า “ปางอธษิ ฐานเพศบรรพชติ หรือปางมหาภิเนษกรมณ”์
(ไขศรี ศรอี รุณ, ๒๕๔๖: ๑๖) ถัดลงมาจงึ เป็นเรื่องราวตอนมารผจญ โดยปรากฏฮบู พระพุทธเจา้ ประทับนั่ง
แสดงปางสมาธิ ใต้ลงมาเป็นแม่ธรณีในอิรยิ าบถยนื บีบมวยผม ดา้ นซ้ายเป็นเหล่าพญามารเข้าโรมรนั ด้านขวา
เป็นธิดามาร ส่วนพืน้ ทด่ี ้านลา่ งเป็นเหตกุ ารณ์ตอนพญามารจัดกระบวนทัพและวางแผนการเอาชนะ
พระพุทธเจ้า

ภาพท่ี ๖ ฮบู มารผจญบนผนงั ดา้ นหลังภายนอกสมิ วดั โพธาราม แตม้ เปน็ เรื่องราวในพุทธประวตั ิเตม็ ผนงั โดยเรม่ิ
เรื่องตงั้ แตต่ อนเจา้ ชายสทิ ธตั ถะเสด็จออกจากเมอื งเพื่อมหาภเิ นษกรมณ์ บรเิ วณส่วนลา่ งของผนงั ดา้ นขวา ดาเนินเร่อื งข้นึ ไป
ด้านบน และต่อเนอ่ื งไปทางดา้ นซา้ ย จนถึงตอนมารผจญ



ภาพท่ี ๗ รายละเอยี ดตอนมารผจญผสมผสานกบั ชนะมารในฮูบเดยี วกนั บนผนงั ด้านนอกของสิมวัดโพธาราม

จะสังเกตไดว้ ่า ลลี าทา่ ทางของตัวละครแต่ละตัวของฮบู บนผนังสิมแห่งน้ี มคี วามใกลเ้ คียงกับ
ขนบประเพณภี าคกลางอยา่ งมาก ชา่ งให้ความสาคญั กับรายละเอียดตา่ งๆ ตัวอยา่ งเช่น แมธ่ รณมี เี สน้ สายที่
สอดรบั กัน จนรู้สกึ ได้ว่ามกี ารเคลือ่ นไหว สว่ นพน้ื หลังของแมธ่ รณี ผูกลวดลายกระหนกเต็มพน้ื ที่ ซึ่งต่างจาก
สองวัดท่ีผา่ นมา ท่าทาง ลกั ษณะใบหน้าและอากปั กิริยาของเหลา่ พลมาร มีความหลากหลายกวา่ ทุกแหง่ ท่พี บ
อาจกลา่ วได้ในเบอื้ งตน้ วา่ ช่างแตม้ ฮูบบนสิมแห่งนี้ คงไดร้ ับอิทธิพลและแบบอยา่ งจากภาคกลางไมม่ ากก็น้อย
แตก่ ็ไดป้ รบั เปลย่ี นความคิดโดยนาเรื่องราวตอนสาคญั นมี้ าแตม้ บนผนังดา้ นนอก เพ่ือให้เกิดประโยชนส์ ูงสดุ ใน
การใช้งาน

อน่ึง ฮูบพระพทุ ธเจ้าในสิมอสี านทงั้ สามแหง่ แสดงปางสมาธเิ หมอื นกนั หมด ทัง้ แม่ธรณีมักอยู่ในทา่ ยนื
จดุ สงั เกตทง้ั สองมีความแตกต่างจากภาคกลาง โดยพระพทุ ธเจ้ามกั แสดงปางมารวิชัย ซึง่ สัมพันธก์ ับภาพ
เหตุการณ์ในตอนนี้ ส่วนแม่ธรณีมที ้ังทีอ่ ยใู่ นอิริยาบถยนื และนั่งคุกเขา่ บบี มวยผม รวมทงั้ ไมพ่ บการประดบั ดว้ ย
ทองคาเช่นศลิ ปะในเมืองหลวงอกี ดว้ ย



ภาพที่ ๘ จติ รกรรมบนผนงั ห้มุ กลองหนา้ ในพระอโุ บสถวัดสาปะซิว จงั หวดั สพุ รรณบรุ ี รปู แบบปจั จุบนั แตค่ งยดึ แบบ
แผนไว้ค่อนข้างสมบรู ณ์ คือ พระพทุ ธเจ้าแสดงปางมารวชิ ยั ซง่ึ สอดคลอ้ งกับเหตกุ ารณต์ อนมารผจญ

ภาพที่ ๙ ภาพแมธ่ รณบี บี มวยผม ประกอบ
พุทธประวตั ิ ตอนมารผจญ บนผนงั ห้มุ กลองหนา้ ในพระ
อโุ บสถวัดชมภเู วก จังหวัดนนทบรุ ี ซง่ึ ภาพแม่ธรณขี อง
วัดแหง่ นี้ ไดร้ บั การยอมรบั จากนักวิชาการทางศิลปะ
ไทยว่างดงามทส่ี ดุ

๑๐

มูลเหตุแห่งความตา่ ง
จากการศึกษาเปรยี บเทยี บฮูบแต้มตอน มารผจญบนผนงั สิมอสี าน พบว่า มีความแตกต่างจากขนบ

แบบแผนภาคกลาง ได้แก่ การจัดวางตาแหน่งในการแต้มฮูบจากผนงั หมุ้ กลองหนา้ พระประธานไปอยบู่ นผนัง
ดา้ นอนื่ , การตดั ทอนเฉพาะตอนชนะมาร, การแต้มฮูบพระพุทธเจา้ ประทับนั่งแสดงปางสมาธิแทนที่จะเป็น
มารวิชยั ซง่ึ มคี วามสมั พันธ์กับบริบทแวดลอ้ มมากกวา่ , การนาวรรณกรรมท้องถนิ่ เช่น สินไซ มาเขยี นปะปน
อย่กู บั มารผจญ เป็นต้น ความแตกตา่ งท่ปี รากฏน้ัน คงจะมีมูลเหตแุ ละที่มาเฉพาะทอ้ งถิน่ โดยอาจจะพอ
อนมุ านได้ ดังน้ี

๑. ชา่ งแตม้ อีสาน ไมย่ ึดขนบแบบแผนตายตวั
เนอ่ื งจากดินแดนอสี านเปน็ พ้ืนทห่ี า่ งไกลจากเมืองหลวง ขนบประเพณใี นการสร้างงานศิลปะท่ี
สว่ นกลางยดึ ถือปฏิบัติ อาจจะไปไม่ถึง อีกท้งั ชา่ งแต้มอีสานคงไม่ไดผ้ ่านการศึกษาและฝึกฝนตามแบบอย่าง
ประเพณนี ยิ ม จึงได้แสดงออกตามความรสู้ ึกนึกคิดของแตล่ ะบคุ คล โดยช่างแต่ละกลุ่มก็อาจจะมกี ารแสดงออก
ท่แี ตกต่างกนั แมแ้ ต่วดั ที่อยูใ่ กลเ้ คียงกันก็ยังมีรูปแบบทแ่ี ตกต่าง จะให้เปน็ แบบเดยี วกบั ภาคกลาง นับเป็นเรอ่ื ง
ยากมาก หรือ
๒. พ้ืนทจี่ ากดั จึงต้องปรบั เปล่ียน
ขอ้ สังเกตนอี้ าจเป็นสาเหตหุ น่ึงทีท่ าให้เกดิ ความต่าง จะเห็นว่าบางสมิ เช่น วัดสระบวั แกว้ ฮูบมารผจญ
อยู่ในตาแหน่งตามขนบ แตเ่ น่ืองด้วยพนื้ ทีข่ องผนงั ไมไ่ ด้สงู เหมือนกับพระอโุ บสถแบบภาคกลาง จงึ ทาใหเ้ กดิ
ข้อจากัดในการจดั วางองค์ประกอบภาพ บางสิมมกี ารแกป้ ัญหาโดยย้ายเร่ืองราวไปแต้มบนผนงั ทม่ี พี ้นื ที่
เพียงพอแทน หรือ
๓. ผนังด้านนอกสาคัญกวา่ ดา้ นใน
จะสังเกตได้ว่าสิมอีสานมขี นาดเลก็ กะทัดรัด พอเหมาะแก่การใชง้ านเพ่ือประกอบพธิ ีทางพทุ ธศาสนา
การใช้พน้ื ทภ่ี ายในสิม อณโุ ลมพอให้พระสงฆ์เข้าได้ไมเ่ กนิ ๑๐ รปู เพ่อื ประกอบสังฆกรรมเทา่ น้นั (ตก๊ิ แสนบุญ,
๒๕๕๕) ส่วนผู้คนทมี่ าร่วมงานจะอยูด่ ้านนอกโดยรอบสิม การสร้างสมิ อสี านจึงเน้นทป่ี ระโยชน์ใช้สอยมากกว่า
รปู แบบ (สมุ าลี เอกชนนิยม, ๒๕๔๘) ดงั น้นั สมิ อีสานจงึ นิยมแตม้ ฮบู เล่าเรอ่ื งราวในศาสนา เพอ่ื สอนใจคนไว้ที่
ผนังด้านนอก บางสมิ เชน่ วดั โพธาราม นาเร่อื งราวตอนมารผจญแตม้ ไวบ้ นผนังดา้ นนอกแทนทจี่ ะไว้ดา้ นใน
หรอื
๔. สงั คมตา่ ง การแสดงออกจึงตา่ งกนั
เน่อื งจากสภาพสังคมในเมืองหลวง สมยั รัชกาลที่ ๓ ซ่งึ รว่ มสมัยกบั ภาพมารผจญทนี่ ยิ มในภาคกลาง
อาจมีความมงุ่ หมายให้ภาพตอนนี้เตือนสติคนใหม้ ุ่งม่นั ต่อสอู้ ุปสรรค โดยยดึ พระพุทธเจ้าเป็นสรณะ เพราะ
ช่วงเวลาดงั กล่าวเปน็ ระยะของการสร้างและพฒั นาบ้านเมอื ง สภาพบรรยากาศคงทาใหค้ นเกิดความกดดนั ไม่
เปน็ สขุ เท่าที่ควร สงิ่ หนึง่ ทจ่ี ะยึดเหน่ยี วและคลายทุกข์ได้คือ ศาสนา โดยใช้เรอ่ื งราวตอนน้ีเป็นเครื่องมือปลอบ
ประโลมใจให้จติ สุขสบายขนึ้ สภาพดงั กลา่ วอาจแตกต่างจากสังคมเกษตรกรรม โดยเปน็ วิถชี ีวติ ท่เี รียบง่ายของ
คนอีสาน สอดคล้องตามแนวคิดของ วโิ รฒ ศรีสโุ ร ที่ว่า ศิลปะของคนอสี านมักแสดงให้เห็นปรัชญาและจติ

๑๑

วิญญาณ คือ รู้อยู่ รูม้ ี รู้ดี รพู้ อ (นยิ ม วงศ์พงษ์คา, ๒๕๕๒) จงึ ไม่มีความจาเปน็ ทีต่ ้องด้ินรนจนเกนิ ตวั รู้จกั
พอเพียง ดังนั้น สอื่ ทใ่ี หค้ นอดทนตอ่ สู้กับปัญหาและความกดดันอยา่ งคตธิ รรมในภาพมารผจญ จงึ ไมไ่ ด้รบั
ความนยิ มในสงั คมท้องถ่นิ อีสานมากนัก หรือ

๕. แมไ้ ม่ใช่มารผจญ แต่สนิ ไซก็ใชแ้ ทนกันได้
ข้อเสนอนี้คือ แมส้ ังคมอสี านจะไม่นยิ มมารผจญมากเท่าเมืองหลวง แตว่ รรณกรรมท้องถิ่นอ่ืน เรอ่ื ง
สินไซ ได้รับความนยิ มและใกลช้ ิดคนุ้ เคยกบั คนอีสานเป็นอย่างมาก หากวิเคราะหเ์ ร่ืองราวของสินไซ ก็ไมไ่ ด้
แตกตา่ งกับคตธิ รรมในภาพมารผจญเลย การดาเนนิ เรือ่ งตอนสาคญั คอื การเดินทางของสินไซ เพื่อไปชว่ ยอาที่
ถูกยกั ษ์จับตัวไป โดยจาเปน็ ต้องผ่านด่านมากมาย และต้องใช้ความสามารถต่างๆ (คาพนู บุญทวี, ๒๕๔๕) คติ
ธรรมนี้ กน็ ่าจะเปน็ ส่ือที่ใชเ้ ตือนสตคิ นอีสานเกีย่ วกบั ความอดทน มุ่งมั่นต่อสู้กบั ปญั หาอุปสรรคได้เช่นกัน

คุณค่าของฮูบแต้ม “มารผจญ”ในสิมอีสาน
หากจะประเมนิ ค่าฮบู แต้ม “มารผจญ” ในสิมทั้งหมดท่กี ล่าวไว้ บางท่านท่ตี ิดกบั รูปลกั ษณแ์ ละรสนยิ ม

ศลิ ปะแบบเมอื งหลวง อาจเมินและมองวา่ ดอ้ ยค่า ตา่ ราคา เสือ่ มเสียซง่ึ ฝีมือเชิงชา่ ง บางท่านอาจตดั สินฝมี ือวา่
แค่ระดับเดก็ ป.๔ แตห่ ากไดม้ าสัมผัสยังที่ จะเปล่ียนความรู้สึกนึกคิดไปอีกอย่าง

เนื่องจากสภาพบรรยากาศทีแ่ วดล้อม หลอมรวมวิถชี วี ิตชาวบา้ นอสี าน มคี วามพอเหมาะพอดี
สมคณุ ค่าระดับรากหญา้ แต่หากนาแบบอย่างและฝีมือชน้ั ครใู นราชสานกั มาตดิ ประดบั ไวก้ ับสิมชาวบา้ น ก็
เหมอื นกบั การ “สวมชฎาทองอนั สุกสวา่ งมลงั เมลือง ไวบ้ นหวั ชาวนาทอี่ าบเหงอื่ ตา่ งน้า” ซงึ่ ไมม่ ีความ
เหมาะสมกลมกลนื แม้แตน่ ้อย ฝมี ือระดับชาวบ้านเช่นนี้ พอเหมาะกบั สภาพพนื้ ทแี่ ละวิถชี ีวิตชนบทอสี าน
มากกว่ารูปลักษณ์อน่ื

สรปุ
จากการลงภาคสนาม เพื่อบันทึก ศึกษา เดินทางสารวจยงั วัดตา่ งๆ ในอสี าน พบวา่ มกี ารแต้มฮูบมาร

ผจญอยู่บา้ ง แต่ไมห่ นาแนน่ นัก ซ่ึงการปรากฏตัวของฮบู มารผจญในสมิ อสี าน มีน้อยกวา่ เมืองหลวงและบาง
แหง่ มีระเบยี บทตี่ า่ งออกไปจากขนบแบบแผน ความตา่ งดังกล่าวอาจมีมลู เหตุ คอื เพราะช่างท้องถนิ่ ไม่ยึด
ระบบระเบียบ บางทีม่ ีพ้ืนที่ในการเขยี นจากดั หรือพ้นื ทดี่ า้ นนอกของสมิ อสี านมีความสาคญั กว่าดา้ นใน หรือ
อาจเปน็ เพราะสงั คมอสี านมคี วามต่างจากสงั คมเมือง ทัง้ นี้การรังสรรคผ์ ลงานศิลปะ มักข้ึนอยู่กบั รสนยิ มความ
เหมาะสมเฉพาะท้องถิน่ ไม่อาจกลา่ วตเิ ตยี นช่างอสี านวา่ “ไรซ้ งึ่ ขนบ ฝมี อื และความคดิ ” แตก่ ารแสดงออกของ
ชา่ งแต้ม สามารถเป็นภาพสะท้อนสังคมอีสานได้ว่า “เป็นผู้รู้อยู่ รู้มี รู้ดี รู้พอ” โดยแท้

๑๒

เอกสารอ้างองิ
ไขศรี ศรีอรุณ. (๒๕๔๖). พระพทุ ธรูปปางต่างๆ ในสยามประเทศ. พิมพ์คร้งั ท่ี ๓. กรุงเทพฯ: มติชน.
คาพูน บญุ ทวี. (๒๕๔๕). นิทานโบราณภาคอสี าน. พิมพ์ครั้งท่ี ๒. นนทบุรี : โปย๊ เซียน.
โชติ กัลยาณมิตร. (๒๕๔๘). พจนานุกรมสถาปตั ยกรรมและศิลปะเก่ยี วเนอื่ ง. พมิ พ์คร้ังที่ ๒. กรงุ เทพฯ: เมอื ง

โบราณ.
ตกิ๊ แสนบญุ . (๒๕๕๕). สิมอีสาน. ศิลปวัฒนธรรม, ๓๓(๑๒), ๓๔-๓๗.
นยิ ม วงศพ์ งษ์คา. (๒๕๕๒). การศกึ ษาภูมิปัญญาพ้ืนบา้ นอีสานดา้ นการผลติ ผลิตภัณฑโ์ ลหะผสมสาริดและ

ทองเหลืองเพื่อพฒั นามลู ค่าเพิม่ เชิงพาณชิ ย.์ วารสารศลิ ปกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น,
๑(๑), ๔๐-๔๘.
ปรมานชุ ิตชิโนรส, สมเดจ็ กรมพระ. (๒๕๓๙). พระปฐมสมโพธกิ ถา. กรุงเทพฯ: อานวยสาส์น.
วรรธก ภูมวิ รเมธ. (๒๕๓๗). ทศชาดก พระพุทธเจ้าและหลักธรรมคาสง่ั สอน. นนทบุรี: อมรนิ ทร์ บคุ๊ เซน็
เตอร์.
วบิ ูลย์ ลส้ี ุวรรณ. (๒๕๒๖). สงิ่ แฝงเร้นในจติ รกรรมอีสาน. สยามรัฐ, ๓๐(๒๗), ๓๐-๓๑.
วิโรฒ ศรสี โุ ร. (๒๕๔๑). สมิ อสี าน. วารสารวิจัย มข, ๓(๑), ๙๒-๙๕.
ราชบณั ฑติ ยสถาน. (๒๕๔๑). ศิลปกรรมไทย : พระพุทธปฏิมา พระบรมมหาราชวงั วัด เรือนไทยภาคกลาง
ฉบบั ราชบัณฑิตยสถาน. พิมพค์ ร้งั ท่ี ๒, กรุงเทพฯ: ราชบัณฑติ ยสถาน.
สมชาติ มณีโชติ. (๒๕๒๙). จติ รกรรมไทย. กรงุ เทพฯ: โอเดยี นสโตร.์
สันติ เล็กสขุ มุ . (๒๕๔๘). จะเรียกภาพพุทธประวตั ิ “ตอนมารผจญ” “ตอนชนะมาร” หรือจะเรยี ก “ตอนมาร
ผจญ-ชนะมาร”ก็ได้. เมืองโบราณ, ๓๑(๑), ๙๒-๙๖.
สันติ เล็กสุขุม. (๒๕๔๘). จิตรกรรมไทยสมัยรชั กาลท่ี ๓ ความคดิ เปล่ียน การแสดงออกก็เปล่ียนตาม.
กรุงเทพฯ: เมืองโบราณ.
สุมาลี เอกชนนิยม. (๒๕๔๘). ฮบู แตม้ ในสมิ อีสาน งานศิลปส์ องฝงั่ โขง. กรงุ เทพฯ: มติชน.


Click to View FlipBook Version