The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

จามความงามที่ต้องแบกหาม

บทความโดย กิตติกรณ์ บำรุงบุญ
สาขาวิจัยศิลปะ วัฒนธรรม และการออกแบบ
คณะศิลปกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search

บทความ - จามความงามที่ต้องแบกหาม

จามความงามที่ต้องแบกหาม

บทความโดย กิตติกรณ์ บำรุงบุญ
สาขาวิจัยศิลปะ วัฒนธรรม และการออกแบบ
คณะศิลปกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น

จาม : ความงามท่ีต้องแบกหาม

นำเสนอ
รองศำสตรำจำรย์ ดร.นิยม วงศพ์ งษค์ ำ

โดย
กติ ตกิ รณ์ บำรงุ บุญ
รหสั 5872200064
นกั ศกึ ษำระดบั ปรญิ ญำเอก
สำขำวจิ ยั ศลิ ปะและวฒั นธรรม
คณะศลิ ปกรรมศำสตร์ มหำวทิ ยำลยั ขอนแก่น

ประตมิ ำนวทิ ยำ (Iconography) เป็นสำขำหน่งึ ของประวตั ศิ ำสตรศ์ ลิ ป์ ทเ่ี ป็นกำรศกึ ษำ
ประวตั ิ คำบรรยำย และ กำรตคี วำมหมำยของเน้อื หำของภำพคำว่ำ “Iconography” แปลตรงตวั วำ่ “กำร
เขยี นรปู ลกั ษณ์” (image writing) ทม่ี รี ำกมำจำกภำษำกรกี โบรำณ ควำมหมำยรองลงมำคอื งำนประตมิ ำ
(Icon) ในไบแซนไทน์และออรโ์ ธดอ็ กซ์ ของประเพณนี ิยมครสิ เตยี น ในดำ้ นประวตั ศิ ำสตรศ์ ลิ ป์ ประติ
มำนวทิ ยำ หมำยถงึ กรรมวธิ กี ำรแสดงหวั เรอ่ื งในรปู แบบของกำรใชร้ ปู สญั ลกั ษณ์ต่ำงๆ ในเน้อื หำของ
ภำพทอ่ี อกมำใหผ้ ชู้ มไดเ้ หน็ นอกจำกนนั้ ประตมิ ำนวทิ ยำกย็ งั ใชใ้ นดำ้ นสำขำวชิ ำอ่นื นอกไปจำก
ประวตั ศิ ำสตรศ์ ลิ ป์ เชน่ ในวชิ ำสญั ญำณศำสตร์ และ media studies ในกำรใชโ้ ดยทวั่ ไป ทห่ี มำยถงึ
ลกั ษณะรปู ลกั ษณ์ทใ่ี ชก้ นั เป็นสำมญั ของหวั เรอ่ื ง หรอื ควำมหมำยในทำนองเดยี วกนั

ลทั ธคิ วำมเชอ่ื ทม่ี อี ทิ ธพิ ลต่อผคู้ นในเอเชยี ตะวนั ออกเฉียงใตต้ งั้ แต่อดตี มำจนถึงปัจจบุ นั
กค็ อื ศำสนำฮนิ ดแู ละพุทธศำสนำ ซง่ึ แพรห่ ลำยมำจำกประเทศอนิ เดยี โดยมรี ปู แบบควำมเชอ่ื ดงั้ เดมิ
มำจำกลทั ธพิ ระเวทถ่ี ูกนำมำเผยแพรโ่ ดยชำวอำรยนั เน้อื หำสำระทส่ี ำคญั ของลทั ธนิ ้มี ปี รำกฏอยใู่ น
คมั ภรี ป์ ระเวท 4 เลม่ คอื ฤคเวท ยซุรเวท สำมเวท และอำถรรพเ์ วท ลทั ธพิ ระเวทบชู ำเทพเจำ้ แหง่
ปรำกฏกำรณ์ธรรมชำติ เชน่ สุรยิ เทพ เทพแหง่ แสงสว่ำง อคั นี เทพแหง่ ไฟและกำรบวงสรวง โสม เทพ
แห่งกำรประกอบพธิ บี วงสรวง (กำรถวำยน้ำจณั ฑ)์ วรุณ เทพแหง่ บรรยำกำศและทอ้ งฟ้ำ อนิ ทรำ เทพ
แหง่ ทอ้ งฟ้ำและฝน ตลอดจนเทพแหง่ ปรำกฏกำรณ์ธรรมชำตอิ ่นื ๆ อกี มำก ขอ้ ควำมทเ่ี ป็นหลกั
สำระสำคญั ของลทั ธพิ ระเวทนนั้ ไมไ่ ดอ้ ยใู่ นทว่ี นิ ยั ในกำรปฏบิ ตั หิ รอื ปรชั ญำ ไมม่ กี ำรสรำ้ งเทวสถำน

หรอื รปู ของพระเป็นเจำ้ หำกแต่อยทู่ ป่ี ระกอบพลกี รรมกำรบวงสรวง นกั บวชในลทั ธพิ ระเวทถอื ว่ำเป็นผู้
มอี ภสิ ทิ ธทิ ์ ำงสงั คมสงู กว่ำกลุ่มชนอ่นื เน่อื งจำกเป็นผทู้ ำหน้ำทเ่ี สมอื นตวั กลำงในกำรตดิ ต่อกบั พระเป็น
เจำ้

ลทั ธพิ ระเวทไคม้ วี วิ ฒั นำกำรต่อมำเป็นศำสนำฮนิ ดู โดยมกี ำรแกไ้ ขต่อเตมิ เรอ่ื งรำวของ
อุปนษิ ทั อภปิ รชั ญำวำ่ ดว้ ยศำสตรอ์ นั ลล้ี บั มหศั จรรย์ มพี ระเป็นเจำ้ เป็นผปู้ กครองจกั รวำลอนั กวำ้ งขวำง
มเี ทพใหญ่น้อยมคี วำมสำคญั ตำมฐำนันดรลดหลนั่ ลงมำ มคี วำมเช่อื ว่ำเทพหรอื พระเป็นเจำ้ ทงั้ หลำย
สถติ อยทู่ วั่ ไปไปในทุกหนทุกแหง่ เรอ่ื งรำวอนั เกย่ี วขอ้ งกบั พระเป็นเจำ้ เหลำ่ น้ไี ดจ้ ดบนั ทกึ ไวใ้ นคมั ภรี ์
ปรุ ำณะต่ำง ๆ ซง่ึ แต่ละคมั ภรี ก์ จ็ ะมเี รอ่ื งรำวของเทพแตกต่ำงกนั ไปตำมควำมนับถือ และกำรสรำ้ งรปู
เคำรพกอ็ ำศยั ขอ้ ควำมทม่ี อี ยใู่ นบทโศลกจำกปรุ ำณะ เทพหรอื พระเจำ้ มรี ปู รำ่ งอย่ำงมนุษยส์ ำมญั แต่จะ
ถกู กำหนดใหม้ ลี กั ษณะบำงอยำ่ งพเิ ศษเหนอื มนุษยท์ วั่ ไป เช่น มหี ลำยเศยี ร หลำยกร มพี ำหนะประจำ
พระองค์ มเี ครอ่ื งมอื เครอ่ื งใชท้ เ่ี ป็นสญั ลกั ษณ์ประจำพระองค์ บำงครงั้ พระเจำ้ ทน่ี ับถอื กอ็ ำจเป็นรปู สตั ว์
เชน่ ชำ้ ง นก ววั หรอื งู ตำมแต่นิกำยหรอื ลทั ธิ และมสี ถำนะสงู ต่ำไปตำมบทบำททก่ี ำหนดไว้ เทพบำง
องคก์ ม็ รี ปู ลกั ษณะทงั้ สองอยำ่ ง คอื ทงั้ อยำ่ งเทพและอยำ่ งสตั ว์ เช่น นนทิ เอรำวณั เวนไตย (ครฑุ ) นำค
ชนั้ สงู (วำสุกร)ี อนนั ตะ ฯลฯ หรอื บำงครงั้ กเ็ ป็นครง่ึ มนุษยค์ รง่ึ สตั ว์ เช่น พระคเณศ

หลงั จำกทศ่ี ำสนำฮนิ ดมู วี วิ ฒั นำกำรขน้ึ ไปถงึ จดุ อม่ิ ตวั กำรประกอบพธิ กี รรมยงุ่ ยำก
ซบั ซอ้ นมำกเกนิ ไป พวกพรำหมณ์มบี ทบำทในสงั คมและไดร้ บั อภสิ ทิ ธมิ ์ ำกเกนิ ขอบเขตทค่ี วรจะเป็น
กลุ่มชนทด่ี อ้ ยกวำ่ ทำงสงั คม เรม่ิ รูส้ กึ เบ่อื หน่ำยเส่อื มศรทั ธำ เรมิ่ เสำะแสวงหำวธิ ที ำงทจ่ี ะคน้ พบทย่ี ดึ
เหน่ยี วทำงใจใหม่ จงึ ไดม้ ศี ำสดำก่อตงั้ ลทั ธศิ ำสนำใหม่ ๆ ขน้ึ เพ่อื ตอบสนองควำมตอ้ งกำรของสงั คม
เช่น ศำสนำพทุ ธและศำสนำเซน

แรกเรมิ่ เดมิ ทพ่ี ุทธศำสนำไมส่ อนใหค้ นหวงั ผลในกำรประกอบพธิ บี วงสรวงหรอื ผูกพนั ใน
ควำมศกั ดสิ ์ ทิ ธปิ ์ ำฏหิ ำรยิ ใ์ ด ๆ คำสอนตอ้ งกำรใหค้ นรจู้ กั ควบคุมสติ รจู้ กั ปลดเปลอ้ื งตณั หำและเชอ่ื ใน
กฎแหง่ กรรม แต่ต่อมำภำยหลงั พระพุทธศำสนำไดม้ คี ำสอนและแนวทำงกำรปฏบิ ตั ทิ เ่ี ปลย่ี นแปลงไป
เน่อื งจำกไดร้ บั เอำอทิ ธพิ ลทำงควำมเชอ่ื จำกลทั ธศิ ำสนำอ่นื เชน่ ศำสนำฮนิ ดแู ละลทั ธติ นั ตระ เขำ้ มำผสม
ทำใหพ้ ุทธศำสนำแตกออกเป็นหลำยนิกำย ทส่ี ำคญั ไดแ้ ก่ พุทธศำสนำแบบเถรวำท พุทธศำสนำ
มหำยำน และพทุ ธศำสนำมหำยำนตนั ตระ

กำรสรำ้ งงำนศลิ ปะเน่อื งในพทุ ธศำสนำกม็ กั จะทำตำมแรงบนั ดำลใจหรอื แบบอยำ่ งท่ี

บรรยำยไวใ้ นคมั ภรี ท์ ำงศำสนำของแต่ละนกิ ำย โดยเฉพำะทเ่ี ก่ยี วเน่อื งในพทุ ธประวตั ิ เรอ่ื งรำวของเทพ

เจำ้ ในพระพุทธศำสนำ รวมทงั้ ชำดก อนั เป็นเรอ่ื งรำวของพระพทุ ธเจำ้ เมอ่ื ครงั้ ยงั เป็นพระโพธสิ ตั วใ์ น

อดตี ชำติ ในชำดกยงั มกั เลำ่ ถงึ สวรรค์ โลกมนุษย์ และโลกบำดำล โดยละเอยี ดทำใหม้ กี ำรสรำ้ งงำน

ศลิ ปะทำงศำสนำเป็นลวดลำยรปู สตั วแ์ ละสรรพชวี ติ ต่ำง ๆ ซง่ึ มรี ปู รำ่ งแปลกแตกต่ำงไปจำกธรรมชำติ

ของมนุษยแ์ ละสตั วส์ ำมญั ทวั่ ไป โดยผสู้ รำ้ งงำนอำจไดร้ บั อทิ ธพิ ลทำงประตมิ ำนวทิ ยำมำจำกทงั้ ศำสนำ

พทุ ธและศำสนำฮนิ ดปู ะปนกนั (กรมศลิ ปำกร. 2531)

พระคเณศ เป็นเทพเจำ้ ทม่ี ชี อ่ื เสยี งและนยิ มแพรห่ ลำยมำกทส่ี ุดองคห์ น่งึ ในอนิ เดยี
ซง่ึ อำจจะกล่ำวไดว้ ่ำไดร้ บั ควำมนบั ถอื แพรห่ ลำยมำกกว่ำพระศวิ ะหรอื พระวษิ ณุอกี ดว้ ย เน่อื งจำก
มหำเทพทงั้ สองเป็นเทพทม่ี อี ำนำจและเป็นทเ่ี คำรพบูชำเฉพำะสำวกในลทั ธนิ นั้ แต่พระคเณศเป็นเทพท่ี
ชำวฮนิ ดไู มว่ ำ่ ลทั ธนิ ิกำยใดลว้ นใหค้ วำมนบั ถอื ทงั้ น้ี เน่อื งมำจำกกำรทพ่ี ระคเณศไดร้ บั กำรยกยอ่ งให้
เป็นเทพแห่งอุปสรรค ผสู้ ำมำรถบนั ดำลอุปสรรคทงั้ ปวงได้ เป็นเทพผปู้ ระทำนควำมสำเรจ็ ใหแ้ ก่บุคคล
ผกู้ ระทำพลกี รรมบชู ำทเ่ี ป็นพอพระทยั ไมว่ ่ำในกจิ กำรใดกต็ ำม ชำวฮนิ ดเู มอ่ื จะประกอบพธิ ที ำงศำสนำ
หรอื ศกึ ษำเล่ำเรยี นศลิ ปะวทิ ยำ จะตอ้ งบชู ำพระคเณศเพ่อื ขอใหพ้ น้ จำกควำมขดั ขอ้ ง และเพ่อื ขอ
ควำมสำเรจ็ ผลในกจิ กำรนัน้ ๆ เสยี ก่อน พระคเณศจงึ ถกู ยกยอ่ งวำ่ เป็นเทพเจำ้ ในดำ้ นต่ำง ๆ มำกมำย
เช่น เทพแห่งศลิ ปะวทิ ยำกำร เทพแหง่ ควำมฉลำดรอบรู้ เทพแห่งอกั ษรศำสตรแ์ ละกำรประพนั ธ์ เทพ
แห่งกำรเกบ็ เกย่ี ว ประทำนควำมอุดมสมบรู ณ์ จนมผี กู้ ลำ่ วว่ำพระคเณศทรงเป็นเทพสำกลหรอื เทพแหง่
จกั รวำล (จริ สั สำ คชำชวี ะ. 2540)

นกั วชิ ำกำรสนั นิษฐำนว่ำ ลทั ธกิ ำรบูชำพระคเณศอำจมตี น้ กำเนดิ มำจำกกำรบชู ำเทพ
เจำ้ ทอ้ งถน่ิ ซง่ึ มที ม่ี ำจำกลทั ธกิ ำรบชู ำสตั วข์ องพวกดรำวเิ ดยี นซง่ึ เป็นชำวพน้ื เมอื งเดมิ ของอนิ เดยี
(Michael. 1983) ต่อมำสมยั พระเวทเมอ่ื พวกอำรยนั อพยพเขำ้ ไปในอนิ เดยี กไ็ ดร้ บั ควำมเชอ่ื ดงั้ เดนิ
และกำรนบั ถอื เทพเจำ้ ของชำวพน้ื เมอื งเขำ้ มำรวมกบั เทพของตน ในมนตรบ์ ทหน่ึงของคมั ภรี พ์ ระเวทมี
กำรกล่ำวถงึ เทพ “ทนั ตนิ ” (ผมู้ งี ำ) ซง่ึ อำจหมำยถงึ พระคเณศกเ็ ป็นได้ (จริ สั สำ คชำชวี ะ. 2540)

อยำ่ งไรกด็ ี เรอ่ื งรำวของพระคเณศไดเ้ ป็นทแ่ี พรห่ ลำยอยำ่ งมำกตงั้ แต่สมยั ปุรำณะหรอื
ยคุ ศำสนำฮนิ ดู โดยปรำกฏอยใู่ นคมั ภรี ป์ ุรำณะ (ซง่ึ เป็นคมั ภรี ท์ ม่ี เี น้อื หำสว่ นใหญ่กลำ่ วถงึ กำรกำเนิด
และเรอ่ื งรำวของเทพเจำ้ ) หลำยคมั ภรี ์ เช่น ในศวิ ปรุ ำณะ (Sivapurana) กลำ่ ววำ่ ทรงถอื กำเนิดจำก

พระนำงปำรวตี โดยนำเหง่อื ไคลขณะพระนำงกำลงั ทรงน้ำมำสรำ้ งเป็นบุรษุ หนุ่มรปู งำม และสงั่ ใหท้ ำ
หน้ำทเ่ี ฝ้ำประตูหำ้ มมใิ หใ้ ครเขำ้ มำโดยมไิ ดร้ บั อนุญำต วนั หน่งึ พระศวิ ะไดเ้ สดจ็ มำยงั ทป่ี ระทบั ของพระ
นำงปำรวตี แต่ถกู พระคเณศขดั ขวำงไว้ พระศวิ ะทรงพโิ รธอยำ่ งหนกั จงึ เขำ้ ต่อสแู้ ละตดั เศยี รของพระ
คเณศ ทำใหพ้ ระนำงปำรวตไี มพ่ อพระทยั มำก พระศวิ ะจงึ สงั่ ใหเ้ ทวดำเดนิ ทำงไปทำงทศิ เหนอื ไปนำ
ศรี ษะของสง่ิ มชี วี ติ สง่ิ แรกทพ่ี บมำต่อเขำ้ กบั พระศอของพระคเณศ เทวดำไดน้ ำศรี ษะของชำ้ งซง่ึ มงี ำชำ้ ง
เดยี วมำต่อกบั พระศอของพระคเณศ พระคเณศจงึ ไดน้ ำมวำ่ คชำนนะ (ผมู้ หี น้ำเป็นชำ้ ง) และเอกทนั ตะ
(ผมู้ งี ำเดยี ว) เมอ่ื ฟ้ืนขน้ึ มำพระคเณศไดก้ ล่ำวขอโทษต่อพระศวิ ะและเทวดำอ่นื ๆ ทำใหพ้ ระศวิ ะพอ
พระทยั ประสำทพอใหพ้ ระคเณศมอี ำนำจเหนือภตู ผที งั้ หลำย และแต่งตงั้ ใหเ้ ป็นคณปติ (ผเู้ ป็นใหญ่ใน
หมคู่ ณะ) (Rao. 1958 )

นอกจำกน้ี เรอ่ื งรำวของพระคเณศยงั มกี ลำ่ วไวใ้ นสปุ ระภที ำคม (Suprabhedagama) โดยพระ
ศวิ ะไดเ้ ลำ่ ถงึ กำรกำเนิดของพระคเณศว่ำ ครงั้ หน่งึ พระองคแ์ ละพระนำงปำรวตไี ดเ้ สดจ็ ไปยงั ป่ำแถบเขำ
หมิ ำลยั ไดเ้ หน็ ชำ้ งสมส่กู นั จนเกดิ ควำมใคร่ พระองคจ์ งึ แปลงเป็นชำ้ งพลำยและใหพ้ ระนำงปำรวตี
แปลงเป็นชำ้ งพงั เสพสงั วำสกนั จงึ เกดิ เป็นพระคเณศทม่ี เี ศยี รเป็นชำ้ ง (Getty. 1971)

ในประเทศอนิ เดยี มลี ทั ธทิ น่ี บั ถอื พระคเณศเป็นเทพสงู สุด เรยี กว่ำ ลทั ธคิ ำณปตยะ ซง่ึ อำจถอื
กำเนิดขน้ึ ตงั้ แต่ปลำยพทุ ธศวรรษท่ี 11 และแพรห่ ลำยทวั่ ไปในรำวพุทธศตวรรษท่ี 15 กำรปฏบิ ตั บิ ชู ำ
พระคเณศ (คณปต)ิ ของลทั ธนิ ้มี ี 2 วธิ ี คอื กำรเขำ้ ฌำนดว้ ยวธิ ลี กึ ลบั และกำรปฏบิ ตั บิ ชู ำโดยไมต่ อ้ ง
เขำ้ ฌำน โดยผนู้ บั ถอื จะบชู ำ “ลงิ คะ” และ “ครปต-ิ ลงิ คะ” ซง่ึ จะประดษิ ฐำนใหส้ ำวกเหน็ ในรปู ลกั ษณะ
ของผลมะนำวป่ำ แตงกวำ มะขวดิ หรอื ลกู หวำ้ (จริ สั สำ คชำชวี ะ. 2540)

ฐำนโยนเี ป็นสญั ลกั ษณ์แทนพระอุมำ ศวิ ลงึ คท์ ต่ี งั้ อยบู่ นฐำนโยนีจงึ มคี วำมหมำยถงึ
ควำมสมั พนั ธใ์ นเชงิ สงั วำสระหวำ่ งพระศวิ ะและชำยำในเชงิ สญั ญะวทิ ยำ (Semiology) ซง่ึ โดยปกติ
สญั ลกั ษณ์ทงั้ สองน้จี ะตอ้ งอยภู่ ำยในครรภคฤหะหรอื หอ้ งครรภ์ (ซง่ึ แปลว่ำทอ้ ง) จงึ หมำยควำมว่ำลงึ ค์
นนั้ กำลงั อยใู่ นหอ้ งทอ้ ง อนั มคี วำมหมำยโดยนัยถงึ จดุ กำเนิดของจกั รวำลและสรรพสงิ่ ทงั้ ปวงตำมคติ
ควำมเช่อื ของผนู้ บั ถอื ศำสนำฮนิ ดู

ประตมิ ำกรรมรปู ลงิ ในศลิ ปะส่วนใหญ่มกั เกย่ี วขอ้ งกบั เร่อื งรำวในมหำกำพยส์ ำคญั ของ
ศำสนำฮนิ ดลู ทั ธไิ วษณพนิกำย คอื รำมำยณะ ซง่ึ เป็นเร่อื งรำวกำรต่อสรู้ ะหว่ำงพระรำมทเ่ี ป็นพระ
นำรำยณ์อวตำร (รำมำวตำร) พรอ้ มดว้ ยไพรพ่ ลลงิ กบั ฝ่ำยยกั ษ์นำโดยทำ้ วรำพณ์หรอื ทศกณั ฑ์ ดงั

ปรำกฏใหเ้ หน็ จำนวนมำกทงั้ ทเ่ี ป็นประตมิ ำกรรมลอยตวั และลวดลำยสลกั ประดบั ศำสนสถำน โดยสว่ น
ใหญ่เป็นภำพแสดงเหตุกำรณ์ต่อสขู้ องทงั้ สองฝ่ำย เชน่ ลวดลำยสลบั บนสว่ นประกอบสถำปัตยกรรมท่ี
ปรำสำทนครวดั ปรำสำทบนั ทำยสำเหรป่ รำสำทพมิ ำย เป็นตน้ นอกจำกนนั้ ประตมิ ำกรรมรปู ลงิ บำง
ลกั ษณะยงั อำจสอ่ื ควำมหมำยในเรอ่ื งเกย่ี วกบั คณุ ธรรมควำมดี ดงั เชน่ ภำพเหตุกำรณ์กำรต่อสรู้ ะหว่ำง
พำลแี ละสคุ รพี (กฤษฎำ พณิ ศร.ี 2538) ในประเทศอนิ เดยี บำงทอ้ งทย่ี งั คงมกี ำรนับถอื ลงิ ในฐำนะสตั ว์
ศกั ดสิ ์ ทิ ธเิ ์น่อื งจำกมคี วำมเกย่ี วขอ้ งกบั พระรำมและหนุมำน เช่น เดยี วกบั กำรนบั ถอื ววั ในฐำนะทม่ี คี วำม
เกย่ี วขอ้ งกบั พระศวิ ะ

ประตมิ ำกรรมดนิ เผำรปู ลงิ ชน้ิ หน่งึ ซง่ึ มลี กั ษณะรปู ร่ำง ท่ำทำง และเคร่อื งแต่งกำยเหมอื น
มนุษย์ คลำ้ ยกนั กบั ทป่ี รำกฏในภำพสลกั จงึ น่ำจะมคี วำมเกย่ี วขอ้ งกบั เรอ่ื งรำวในมหำกำพยร์ ำมำยณะ
โดยอำจหมำยถงึ หนุมำนซง่ึ เป็นทหำรเอกของพระรำม และเป็นทร่ี ู้จกั กนั แพรห่ ลำยมำกทส่ี ุดในบรรดำ
ไพรพ่ ลลงิ สญั ญะวทิ ยำ เป็นศำสตรศ์ กึ ษำเกย่ี วกบั ระบบของสญั ลกั ษณ์ ทป่ี รำกฏอยใู่ นควำมคดิ ของ
มนุษย์ อนั ถอื เป็นทุกสง่ิ ทกุ อยำ่ งทอ่ี ยรู่ อบตวั ของเรำ สญั ลกั ษณ์อำจจะไดแ้ ก่ ภำษำ รหสั สญั ญำณ
เครอ่ื งหมำย ฯลฯ หรอื หมำยถงึ สงิ่ ทถ่ี ูกสรำ้ งขน้ึ มำเพ่อื ใหม้ คี วำมหมำยแทนของจรงิ ตวั จรงิ ในตวั บทและ
ในบรบิ ทหน่งึ ๆ สญั วทิ ยำหรอื สญั ศำสตร์ (Semiology และ Semiotics) ทงั้ สองคำน้ีมรี ำกศพั ทม์ ำจำก
ภำษำกรกี คำเดยี วกนั คอื Semeion ทแ่ี ปลว่ำ Sign หรอื สญั ญะ ซง่ึ สญั วทิ ยำหรอื สญั ศำสตร์ เป็น
กำรศกึ ษำเกย่ี วกบั เครอ่ื งหมำยและสญั ลกั ษณ์ ทงั้ สองคำน้ตี ่ำงมเี อกลกั ษณ์และถกู รวมอยใู่ นระบบของ
เครอ่ื งหมำย ซง่ึ รวมถงึ กำรศกึ ษำว่ำควำมหมำยของมนั ถูกสรำ้ งและถูกเขำ้ ใจอยำ่ งไร บำงครงั้ นกั สญั
วทิ ยำทำกำรตรวจสอบว่ำ สงิ่ มชี วี ติ สรำ้ งควำมหมำยและปรบั ใชอ้ ย่ำงเหมำะสมอย่ำงไรในโลก ทฤษฎสี ญั
ศำสตรใ์ นระดบั ทวั่ ไปจะกล่ำวถงึ เครอ่ื งหมำย ทศ่ี กึ ษำในแงข่ องกำรส่อื สำรของสำรสนเทศในสง่ิ มชี วี ติ
Semiotics เป็นคำทน่ี กั ปรชั ญำชำวอเมรกิ นั Charles Sanders Peirce (ค.ศ.1839–1914) เป็นผรู้ เิ รม่ิ ใช้
และทำใหเ้ ป็นทร่ี จู้ กั อย่ำงแพรห่ ลำย ส่วนคำว่ำ Semiology เป็นคำทต่ี งั้ ขน้ึ โดยนกั ภำษำศำสตร์
Ferdinand de Saussure (ค.ศ. 1857-1913) นอกจำกน้ยี งั มนี กั วชิ ำกำรอกี หลำยคนนำเอำแนวคดิ
เรอ่ื งสญั วทิ ยำไปพฒั นำต่อ ซง่ึ จะกลำ่ วถงึ อกี คนไดแ้ ก่ Roland Barthes (ค.ศ. 1915-1980) ในกำรศกึ ษำ
หำควำมรเู้ กย่ี วกบั สญั ศำสตรแ์ ละสญั วทิ ยำนนั้ มเี น้อื หำและวตั ถุประสงคข์ องกำรศกึ ษำทส่ี อดคลอ้ งและ
คลำ้ ยคลงึ กนั นนั่ คอื กำรศกึ ษำวธิ กี ำรสอ่ื ควำมหมำย ขนั้ ตอนและหลกั กำรในกำรส่อื ควำมหมำยตลอดจน
เรอ่ื งกำรทำควำมเขำ้ ใจในควำมหมำยของสญั ลกั ษณ์ทป่ี รำกฏอยใู่ นวฒั นธรรมหน่งึ ๆ กำรศกึ ษำ
เกย่ี วกบั สญั ศำสตรจ์ ะเป็นกำรหำควำมสมั พนั ธร์ ะหวำ่ งรปู สญั ญะ และควำมหมำยสญั ญะ เพอ่ื ดวู ำ่
ควำมหมำยถูกสรำ้ งและถูกถ่ำยทอดอย่ำงไร ซง่ึ Saussure อธบิ ำยว่ำในทุกๆ สญั ญะ ตอ้ งมี
ส่วนประกอบทงั้ 2 อยำ่ งไดแ้ ก่ รปู สญั ญะ (Signifier) คอื สงิ่ ทเ่ี รำสำมำรถรบั รผู้ ่ำนประสำทสมั ผสั เช่น
กำรมองเหน็ ตวั อกั ษร รปู ภำพ หรอื กำรไดย้ นิ คำพดู ทเ่ี ปลง่ ออกมำเป็นเสยี ง (acoustic-image) และ
ควำมหมำยสญั ญะ (Signified) หมำยถงึ ควำมหมำย คำนิยำมหรอื ควำมคดิ รวบยอด(concept) ท่ี

เกดิ ขน้ึ ในใจหรอื ในควำมคดิ ของผรู้ บั สำรควำมสมั พนั ธร์ ะหวำ่ งสญั ญะแต่ละตวั นนั้ เกดิ ขน้ึ โดยตรรกะว่ำ
ดว้ ยควำมแตกต่ำง (the logic of difference) หมำยถงึ ควำมหมำยของสญั ญะแต่ละตวั มำจำกกำร
เปรยี บเทยี บว่ำตวั มนั แตกต่ำงจำกสญั ญะตวั อ่นื ๆ ในระบบเดยี วกนั ซง่ึ หำกไมม่ คี วำมแตกต่ำงแลว้
ควำมหมำยกเ็ กดิ ขน้ึ ไมไ่ ด้ ทงั้ น้ี ควำมต่ำงทท่ี ำใหค้ ำ่ ควำมหมำยเด่นชดั ทส่ี ดุ คอื ควำมต่ำงแบบคตู่ รงขำ้ ม
(binary opposition) เช่น ขำว-ดำ ด-ี เลว รอ้ น-เยน็ หรอื อธบิ ำยอกี อยำ่ งคอื ควำมหมำยของสญั ญะหน่ึง
เกดิ จำกควำมไม่มหี รอื ไมเ่ ป็นของสญั ญะอ่นื



สรปุ

จำกกำรศกึ ษำดงู ำนลงพน้ื ทห่ี มเ่ี ซนิ My Son แหล่งโบรำณคดมี รดกโลก และพพิ ธิ ภณั ฑ์
CHAM SCULPTURE ประเทศเวยี ดนำมทำใหไ้ ดเ้ หน็ ควำมเชอ่ื ทำงดำ้ นศำสนำทม่ี มี ำอยำ่ งยำวนำน
มกั จะทำตำมแรงบนั ดำลใจหรอื แบบอยำ่ งทบ่ี รรยำยไวใ้ นคมั ภรี ท์ ำงศำสนำของแต่ละนิกำย โดยเฉพำะท่ี
เกย่ี วเน่อื งในพุทธประวตั ิ เรอ่ื งรำวของเทพเจำ้ ในศำสนำฮนิ ดู เรอ่ื งรำวพระพุทธศำสนำ รวมทงั้ ชำดก
ส่งผลใหร้ ปู แบบงำนศลิ ปกรรมในแถบอุษำคเนย์ สรำ้ งสรรคง์ ำนทไ่ี ดร้ บั อทิ ธพิ ลจำมทม่ี คี วำมสวยงำมทงั้
คตคิ วำมเชอ่ื ฝีมเี ชงิ ช่ำงทเ่ี ป็นศลิ ปกรรมไดอ้ ยำ่ งลงตวั โดยเฉพำะผลงำนประตมิ ำกรรมทงั้ นูนต่ำ นูน
สงู และลอยตวั ซง่ึ ผลงำนทม่ี กี ำรแบกหำมนนั้ ภำพสตั วม์ หี ลำยอย่ำง เชน่ สงิ โต ครฑุ ลงิ ชำ้ ง นำค
มงั กร เป็นตน้ โดยปรำกฏอยตู่ ำมมมุ ของฐำนอำคำร หรอื ฐำนโยนี ศวิ ลงึ ค์ ซง่ึ เป็นกำรสรำ้ งสรรคท์ ่ี
นำเอำสตั วท์ ม่ี พี ลงั มำสรรคส์ รำ้ งใหล้ งตวั ยำกทจ่ี ะหำทใ่ี ดเปรยี บไดใ้ นยคุ สมยั ของจำม

เอกสารอ้างอิง

กรมศลิ ปำกร. (2531). จารึกสมยั สโุ ขทยั จดั พิมพเ์ นื่องในโอกาสฉลอง 700 ปี ลายสือไทย.
กรงุ เทพฯ: กองวรรณกรรม และประวตั ศิ ำสตรก์ รมศลิ ปำกร.

กฤษฎำ พณิ ศร.ี (2552). การศึกษารปู แบบศิลปะและคติความเช่ือในงานเครื่องปัน้ ดินเผา
วฒั นธรรมเขมรในประเทศไทย. สรุ นิ ทร:์ มหำวทิ ยำลยั รำชภฏั สรุ นิ ทร.์

จริ สั สำ คชำชวี ะ. (2540). พระพิฆเนศวร:์ คติความเช่ือและรปู แบบพระพิฆเนศวรท์ ่ีพบในประเทศ
ไทย. กรงุ เทพฯ: กรมศลิ ปำกร.

Banton, Michael. (1983). “Anthropological Approaches to the Study of Religion,” Biennial
Review of Anthropology. 7 : 230-282.

Getty, Alice. (1971). Genesa: A Monograph on the Elephant Faced God. Second Edition. New
Delhi: Munshiram Manoharlal.


Click to View FlipBook Version