ควดั เิ เคลรอื ากะศหลิก ปารน สมรรรดหกาอแสี ลาะน
นายวรศกั ดิ วรยศ
นกั วชิ าการวฒั นธรรม
ระดบั ปฏบิ ตั กิ าร
ศนู ยว์ ฒั นธรรม สาํ นกั งานอธกิ ารบดี
มหาวทิ ยาลยั ขอนแกน่
พ.ศ.2563
วเิ คราะหก์ ารสรรหาและคดั เลือกศิลปินมรดกอสี าน| 127
ประวตั ิผูเ้ ขียน
ชอื่ -สกุล นายวรศักด์ิ วรยศ
วนั เดือน ปเี กดิ 19 เมษายน พ.ศ. 2521
ประวตั ิการศึกษา
พ.ศ. 2550 สาเรจ็ การศึกษาระดบั ปริญญาโท หลักสูตรศิลปศาสตร์มหาบัณฑิต (ศศ.ม.)
สาขาวชิ าวจิ ยั ศิลปวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยมหาสารคาม
พ.ศ. 2544 สาเรจ็ การศกึ ษาระดับปริญญาตรี หลักสูตรนิเทศศาสตรบ์ ัณฑิต (นศ.บ.)
สาขาวิชาการประชาสัมพนั ธ์และการโฆษณา มหาวิทยาลยั ภาคตะวันออกเฉยี งเหนอื
ตาแหน่ง นกั วชิ าการวฒั นธรรม ระดับปฏิบัตกิ าร
สงั กดั ศนู ย์ศิลปวฒั นธรรม มหาวิทยาลัยขอนแกน่
วเิ คราะห์การสรรหาและคัดเลือกศิลปนิ มรดกอีสาน| 1
บทท่ี 1
บทนา
1.1 ความเป็นมาและความสาคญั
มหาวิทยาลัยขอนแก่น ในฐานะเป็นสถาบันอุดมศึกษาที่มีภารกิจหลักสาคัญประการหน่ึง คือ การทานุ
บารุงศิลปวัฒนธรรม ตามแผนยุทธศาสตร์ พ.ศ.2563 – 2566 เพื่อขับเคลื่อนภารกิจด้านศิลปวัฒนธรรมให้
ส อ ด ค ล้ อ งกั บ ยุ ท ธ ศ าส ต ร์ ป ระ เด็ น ยุ ท ธ ศ าส ต ร์ที่ 11 เส ริม ส ร้างค ว าม ร่ว ม มื อ เพื่ อ ก ารพั ฒ น า
(Collaboration/Coordination Projects) โดยมีนโยบายตอกยาความสาคัญของการร่วมแรงร่วมใจของชาว
มหาวิทยาลัยขอนแก่น ปลูกฝังและยกระดับจิตสานึกในการมุ่งประโยชน์ของมหาวิทยาลัยเป็นท่ีตัง (KKU First)
โดยการจัดทาโครงการขนาดใหญ่ (Flag ship projects) ซ่ึงต้องอาศัยความร่วมมือคณะและส่วนงานที่จะทางาน
ร่วมกันสร้างความก้าวหน้าของมหาวิทยาลัย ฉะนัน ศูนย์วัฒนธรรม ได้ตระหนักถึงแนวทางในการดาเนินงาน
ดังกล่าวเพ่ือก่อให้เกิดการอนุรักษ์ สืบสาน และส่งเสริมศิลปวัฒนธรรมอย่างมีเป้าหมาย จึงได้จัดโครงการยกย่อง
เชิดชูเกียรติศลิ ปินมรดกอสี านและผมู้ ผี ลงานดีเด่นด้านวัฒนธรรมสมั พนั ธ์ เน่อื งในโอกาสวนั คลา้ ยวันพระราชสมภพ
สมเด็จพระกนิษฐาธิราชเจ้ากรมสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารีและวันอนุรักษ์มรดกไทย เพ่ือ
คัดเลือกบุคคลผู้เป็นต้นแบบของการรังสรรค์คุณค่าให้กับแผ่นดินอีสาน เข้ารับรางวัล “ศิลปินมรดกอีสาน” เพื่อ
ยกยอ่ งเชดิ ชเู กียรติศลิ ปินให้กับแผ่นดินอีสานสืบต่อไป
นบั จากปี 2548 – ปัจจุบัน (พุทธศักราช 2562) รวมทังสิน 14 ครงั จากการได้มาซ่ึงศิลปินมรดกอีสานใน
แต่ละปีนัน มีกระบวนการสรรหาและคัดเลือกจากคณะกรรมการกล่ันกรองคัดเลือกศิลปินมรดกอีสานและ
คณะกรรมการตัดสินศิลปินมรดกอีสาน ซ่ึงประกอบด้วยศิลปินแห่งชาติ ผู้เชี่ยวชาญเฉพาะสาขาศิลปะ และ
นักวิชาการ ใน 3 สาขา คือ 1. สาขาทัศนศิลป์ 2. สาขาศิลปะการแสดง 3. สาขาวรรณศิลป์เมื่อผ่านขันตอนการ
สรรหาและคัดเลือกในขันต้นแล้ว ต้องผ่านการพิจารณาเห็นชอบจากคณะกรรมการตัดสินศิลปินแห่งชาติ ซึ่งถือ
เปน็ ทส่ี ุดแลว้ จึงประกาศผลการคัดเลือกศิลปินมรดกอีสานต่อสาธารณชน
โดยมหาวิทยาลัยขอนแก่นตลอดระยะการดาเนินงานโครงการยกย่องศิลปินมรดกอีสานที่ผ่านมา ศูนย์
วัฒนธรรมได้มีการปรับปรุงพัฒนาวิธีการดาเนินงานเป็นลาดับ ทังนี เพื่อให้การสรรหาและคัดเลือกศิลปินมรดก
อสี านมีคุณภาพและมาตรฐานเป็นท่ียอมรับแก่สาธารณชนและให้สอดคล้องกบั การเปล่ียนแปลงในปัจจุบัน ในการ
นีศูนย์วัฒนธรรม ได้นาผลสรุปจากการประชุมผู้ทรงคุณวุฒิ ผู้เช่ียวชาญทางวัฒนธรรม คณะกรรมการกลั่นกรอง
คณะกรรมการตัดสินรวมทังความเห็นและข้อเสนอแนะของศิลปินแห่งชาติ นักวิชาการ ที่เกี่ยวข้อง มาประมวล
และวิเคราะหส์ รุปสาระสาคัญ สรุปเป็นแนวทางการสรรหาและคัดเลอื กศิลปินมรดกอีสานการพิจารณาคดั เลือกนัน
สิ่งสาคัญที่เป็นประโยชน์ต่อการพิจารณาของคณะคณะกรรมการการคัดเลือกศิลปินมรดกอีสานของแต่ละสาขา
คอื ขอ้ มลู ศิลปนิ ท่ีนาเสนอเข้ารบั การพิจารณา ผู้เสนอจึงมีความสาคัญต่อการจดั ทาข้อมลู ให้สมบูรณ์ ถูกต้องเปน็ ไป
ตามแบบเสนอทศ่ี ูนยว์ ัฒนธรรมกาหนด
วเิ คราะห์การสรรหาและคัดเลือกศิลปนิ มรดกอสี าน| 2
ดังนัน ผู้วิเคราะห์จึงมีความต้องการท่ีวิเคราะห์การสรรหาและคัดเลือกศิลปินมรดกอีสาน ซึ่งจะต้องแยก
ประเภทและแยกผลงานศิลปวัฒนธรรมที่สมควรได้รับการพิจารณายกย่องเชิดชูเกียรติให้เป็นศิลปินมรดกอีสาน
และเพือ่ พิจารณาผลงานโดยผ่านผ้เู ชี่ยวชาญเฉพาะสาขาศิลปะ และนักวชิ าการ ใน 3 สาขา คือ 1. สาขาทัศนศิลป์
2. สาขาศิลปะการแสดง 3. สาขาวรรณศิลป์ เมื่อผ่านขันตอนการสรรหาและคัดเลือกในขันต้นแล้ว ต้องผ่านการ
พิจารณาเห็นชอบจากคณะกรรมการตัดสินศิลปินแห่งชาติ ซึ่งถือเป็นท่ีสุดแล้วจึงประกาศผลการคัดเลือกศิลปิน
มรดกอีสานต่อสาธารณชน โดยจาเป็นต้องคัดเลือกศิลปินท่ีเข้ารับการพิจารณาประกอบด้วย 1. ประกาศ
หลักเกณฑ์ศิลปินมรดกอสี าน 2. การคดั เลือกศลิ ปินมรดกอีสาน 3. แบบเสนอข้อมูลประวัติและผลงานศิลปินเพ่ือ
ประกาศเชดิ ชูเกียรตเิ ปน็ ศิลปนิ มรดกอสี าน ต่อไป
1.2 วัตถุประสงค์ของการศึกษา
1) เพื่อวิเคราะห์ปัญหาและอุปสรรคในการคดั เลอื กและการรับสมคั รบุคคลผสู้ ร้างสรรค์ผลงาน
ศลิ ปวฒั นธรรมสมควรได้รับการพจิ ารณายกย่องเชดิ ชเู กยี รตใิ หเ้ ป็นศลิ ปินมรดกอสี าน ท่ีมคี ณุ ภาพและมาตรฐาน
เปน็ ท่ียอมรบั แกส่ าธารณชน
2) เพ่ือวเิ คราะห์การสรรหาและคดั เลือกศลิ ปนิ มรดกอสี าน ทม่ี คี ณุ ภาพและมาตรฐานเป็นท่ียอมรับแก่
สาธารณชน
1.3 ขอบเขตของการศกึ ษา
ผู้วิเคราะห์ใช้หลักเกณฑ์การคัดเลือกและการรับสมัครบุคคลผู้สร้างสรรค์ผลงานศิลปวัฒนธรรมท่ีสมควร
ได้รับการพิจารณายกย่องเชิดชูเกียรติให้เป็นศิลปินมรดกอีสาน ศูนย์วัฒนธรรม มหาวิทยาลัยขอนแก่น ศึกษา
กระบวนการและขันตอนตามประกาศมหาวิทยาลยั ขอนแก่น (ฉบับท่ี 1982/2562) เร่ือง หลักเกณฑ์การพิจารณา
คัดเลือกศิลปินมรดกอีสาน ประกาศ ณ วนั ที่ 25 กรกฎาคม 2562 เพ่ือพิจารณาผลงานโดยผ่านผู้เชี่ยวชาญเฉพาะ
สาขาศิลปะ และนักวิชาการ ใน 3 สาขา คือ 1. สาขาทัศนศิลป์ 2. สาขาศิลปะการแสดง 3. สาขาวรรณศิลป์ เมื่อ
ผ่านขันตอนการสรรหาและคัดเลือกในขันต้นแล้ว ต้องผ่านการพิจารณาเห็นชอบจากคณะกรรมการตัดสินศิลปิน
แห่งชาติ ซ่งึ ถือเป็นทสี่ ดุ แลว้ จึงประกาศผลการคัดเลอื กศิลปินมรดกอีสานต่อสาธารณชน
1.4 ประโยชน์ที่คาดวา่ จะได้รบั
1) ได้ทราบปญั หาและอุปสรรคในการคดั เลือกและการรบั สมคั รบคุ คลผสู้ รา้ งสรรค์ผลงานศิลปวฒั นธรรม
สมควรได้รับการพจิ ารณายกย่องเชดิ ชูเกยี รติใหเ้ ป็นศลิ ปินมรดกอสี าน ทม่ี คี ุณภาพและมาตรฐานเปน็ ท่ียอมรบั แก่
สาธารณชน
2) ไดแ้ นวทางการสรรหาและคดั เลือกศลิ ปินมรดกอสี าน ที่มีคณุ ภาพและมาตรฐานเปน็ ท่ียอมรับแก่
สาธารณชน
3) ไดก้ ระบวนการและขนั ตอนการสรรหาและคัดเลือกศลิ ปินมรดกอีสาน ทม่ี คี ุณภาพและมาตรฐานเปน็ ที่
ยอมรบั แกส่ าธารณชน
วเิ คราะห์การสรรหาและคัดเลือกศิลปนิ มรดกอสี าน| 3
1.5 นิยามศพั ทเ์ ฉพาะ
ศิลปินมรดกอสี าน หมายความว่า ศลิ ปนิ ผู้เปน็ ต้นแบบดา้ นศลิ ปวฒั นธรรมอสี าน
เครอื ขา่ ยผ้เู สนอรายชื่อ หมายความว่า บุคคลหรอื องค์กรทใ่ี ห้ขอ้ มูลศิลปนิ ทีน่ าเสนอ
ศิลปิน เขา้ รบั การพจิ ารณาคดั เลือกศิลปนิ มรดก
อสี าน
คณะกรรมการกลั่นกรอง หมายความวา่ คณะกรรมการพิจารณาข้อมลู ศิลปินที่เสนอช่ือ
คดั เลือกศลิ ปนิ มรดกอีสาน
คณะกรรมการตดั สิน หมายความวา่ คณะกรรมการตดั สนิ ข้อมลู ศิลปินมรดกอสี าน
สาขาทัศนศิลป์ หมายถงึ ศิลปะทมี่ องเหน็ ไดด้ ว้ ยตาทังท่ีเป็นสองมติ ิหรือสามมติ ิ แบง่ ออกเป็น วจิ ิตรศิลป์
และประยุกตศ์ ิลป์ อาทิ จติ รกรรม ประตมิ ากรรม สถาปัตยกรรม หตั กรรม ภาพถ่าย สือ่ ประสม ฯลฯ
สาขาวรรณศิลป์ หมายถึง บทประพันธ์ทแ่ี ต่งอย่างมีศิลปะ ทงั ร้อยแกว้ และร้อยกรอง อาทิ กลอนลา ผญา
เรื่องสัน นวนิยาย เพลง วรรณรปู ฯลฯ
สาขาศลิ ปะการแสดง หมายถึง ศิลปะทีเ่ กยี่ วข้องกับการแสดง ซ่ึงเป็นได้ทังแบบดงั เดิมหรอื พัฒนาขึนใหม่
อาทิ การละคร การดนตรี ภาพยนตร์ การแสดง พนื บ้านรปู แบบต่างๆ ฯลฯ
วเิ คราะห์การสรรหาและคัดเลือกศิลปนิ มรดกอีสาน|4
บทที่ 2
แนวคดิ ทฤษฎีและงานวจิ ยั ทีเ่ ก่ยี วขอ้ ง
ผู้วิเคราะห์ได้สรปุ รวบรวมแนวคิด ทฤษฎแี ละงานวิจยั ทีเ่ กย่ี วขอ้ งกับวเิ คราะห์การคดั เลือกและการรับสมัคร
บุคคลผู้สร้างสรรค์ผลงานศิลปวัฒนธรรมที่สมควรได้รับการพิจารณายกย่องเชิดชูเกียรติให้เป็นศิลปินมรดกอีสาน
ศูนย์วฒั นธรรม มหาวทิ ยาลยั ขอนแก่น มีดังตอ่ ไปนี้
2.1 แนวคดิ ด้านการบรหิ ารและโครงสร้างของศนู ย์วัฒนธรรม มหาวิทยาลยั ขอนแกน่
ภารกิจด้านวัฒนธรรมของมหาวิทยาลัยขอนแก่น ดาเนินการเป็นกิจกรรมภายในมหาวิทยาลัยมาเป็น
เวลานานจากโครงการศูนย์อนุรักษ์ศิลปวัฒนธรรมอีสานใน คณะศึกษาศาสตร์ จนมาถึงโครงการสานักส่งเสริม
ศิลปวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยขอนแก่น จากน้ันจัดต้ังเป็น “สานักวัฒนธรรม” และเปล่ียนเป็น “ศูนย์วัฒนธรรม”
ในปัจจุบัน ซ่ึงสามารถประมวลความเป็นมาตามลาดับ ดงั น้ี
ภาพท่ี 1 ศนู ย์วฒั นธรรม มหาวิทยาลยั ขอนแกน่
พ.ศ.2516 ดร. สายสุรี จุติกุล คณบดีคณะศึกษาศาสตร์ริเริ่มทาเปน็ “ศูนย์อนุรักษ์ศิลปวัฒนธรรมอสี าน”
ข้ึนเป็นการภายใน ดาเนินการรวบรวมจัดหาศิลปวัตถุ และจัดพิมพ์เอกสารหนังสือวัฒนธรรมช่ือ “ผ้าอีสาน” โดย
ไดร้ ับความอนเุ คราะห์จากมูลนิธฟิ อรด์
พ.ศ.2521 เมื่อมหาวิทยาลัยได้จัดตั้งคณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ข้ึน อธิการบดี (ศ.ดร.วิจิตร ศรี
สะอ้าน) ได้จัดต้ังหน่วยงานท่ีทาหน้าท่ีตามภาระกิจการ ทานุบารุงศิลปวัฒนธรรม ใช้ช่ือว่า “โครงการศูนย์
วฒั นธรรมอสี าน”
พ.ศ.2522 ได้รับการแต่งตั้งจากกระทรวงศึกษาธิการให้ เป็นศูนย์ส่งเสริมและพัฒนาวัฒนธรรมประจา
จังหวัดขอนแก่น อีกศูนย์หน่ึง ต่อมาได้เปลี่ยนเป็น ”ศูนย์วัฒนธรรมจังหวัดขอนแก่น” จึงเป็นอันว่า
มหาวิทยาลัยขอนแก่น ดาเนนิ งานวฒั นธรรม ท้ังระดับจังหวัดและระดับมหาวิทยาลัยในขณะเดียวกัน โดยโครงการ
วเิ คราะห์การสรรหาและคัดเลือกศิลปินมรดกอสี าน|5
ศูนย์วัฒนธรรมอีสาน ทาหน้าที่ศูนย์วัฒนธรรมจังหวัด ไปด้วยตามคาส่ังของกระทรวงศึกษาธิการและได้รับเงิน
อุดหนุนจากสานักงานคณะกรรมการวัฒนธรรมแห่งชาติ ภายหลังศูนย์วัฒนธรรมจังหวัดขอนแก่นย้ายไปสังกัดท่ี
โรงเรียนกัลยาณวัตรข้ึนตรงต่อกระทรวงศึกษาธิการศูนย์วัฒนธรรม อีสานมหาวิทยาลัยขอนแก่นจึงได้ดาเนินงาน
อยา่ งเปน็ เอกเทศ
พ.ศ.2525 มหาวิทยาลัยได้รับอนุมัติให้บรรจุโครงการ ศูนย์วัฒนธรรมอีสานเข้าในแผนพัฒนาเศรษฐกิจ
และสังคม แห่งชาติฉบับที่ 5 แต่ไม่สามารถจัดตั้ง เป็นหน่วยงานได้เพราะ ไม่ผ่านการอนุมัติจากคณะกรรมการ
ปฏริ ูประบบราชการแผน่ ดนิ
พ.ศ.2538 เปลยี่ นชอื่ จาก “ศูนย์วฒั นธรรมอีสาน” เปน็ “สานักส่งเสริมศิลปวัฒนธรรม”
พ.ศ.2539 รัฐบาลในสมัย ฯพณฯ นายชวน หลีกภัย เป็นนายกรัฐมนตรีได้อนุมัติงบประมาณแผ่นดิน มา
ดาเนินการก่อสร้างหอศิลปวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยขอนแก่น บริเวณบึงสีฐานฝ่ังตะวันตกเป็นอาคารทรงเล้าข้าว
ของชาวอีสาน เพ่ือใช้แสดงนิทรรศการกิจกรรมด้านศิลปวัฒนธรรมและงานอ่ืนๆ ที่เกี่ยวข้อง และเป็นอาคารเวที
แสดงกลางแจ้ง เพื่อใช้แสดงศลิ ปวฒั นธรรมการแสดง ใช้งบประมาณท้ังสน้ิ 54.5 ล้านบาท
พ.ศ.2541 เปิดอาคารหอศลิ ปวฒั นธรรม รมิ บงึ สฐี าน จัดตัง้ หนว่ ยงาน “หอศิลปวฒั นธรรม”เป็นหน่วยงาน
ในกากับ สานักส่งเสริมศิลปวัฒนธรรม เปลี่ยนชื่อ “สานักส่งเสริมวัฒนธรรม” เป็น “สานักศิลปวัฒนธรรม” ในปี
เดียวกันรัฐบาลได้อนุมัติงบประมาณแผน่ ดนิ มาดาเนินการจดั ทาพิพิธภณั ฑ์เพ่ือการศึกษาห้อง “อีสานนิทัศน์” เป็น
งบประมาณ 9 ล้านบาทเศษ
พ.ศ.2561 เปลี่ยนชื่อจาก “สานักวัฒนธรรม” เป็น “ศูนย์วัฒนธรรม” แบ่งออกเป็น 3 กลุ่มภารกิจ ได้แก่
1. กลุ่มภารกิจบริหารและอานวยการ 2. กลุ่มภารกิจส่งเสริมศิลปวัฒนธรรม 3. กลุ่มภารกิจวิชาการและวิจัย
เพ่ือให้สอดคล้องกับแผนยทุ ธศาสตร์ของมหาวิทยาลัยขอนแก่น ในการเปน็ ศนู ยก์ ลางดา้ นศิลปวฒั นธรรมอสี านและ
อนุภมู ิภาคลมุ่ น้าโขง
2.1.2 วิสยั ทัศน์
บูรณาการองคค์ วามรู้ ศิลปวัฒนธรรมอีสาน สรา้ งสรรคส์ ู่สากล
2.1.3 พนั ธกิจ
1. อนรุ ักษ์ ฟ้ืนฟู และแผยแพร่โครงการ/กจิ กรรมทางด้านศาสนา ศิลปวฒั นธรรม
2. บูรณาการงานดา้ นศิลปวฒั นธรรมกับการเรยี นการสอนและกิจกรรมของนกั ศึกษา
3. สนับสนนุ การวิจัยทางดา้ นศิลปวฒั นธรรมอีสานและ อนุภมู ภิ าคลมุ่ น้าโขง
4. สรา้ งความร่วมมือเครอื ข่ายศลิ ปวฒั นธรรมเพอื่ ใหบ้ ริการวิชาการและถา่ ยทอดองค์ความรู้
2.1.4 สมรรถนะหลัก
ศูนยว์ ฒั นธรรมเปน็ ศนู ยข์ อ้ มลู และแหลง่ เรยี นรู้ ทางดา้ นศลิ ปวฒั นธรรมอสี าน
2.1.5 คา่ นยิ ม (Value) คือ READY TO GROW ประกอบดว้ ย
Culture อนุรักษ์ สง่ เสริมและสืบสานศิลปวฒั นธรรม
Action ดาเนินการทานบุ ารงุ ศิลปวัฒนธรรมอยา่ งต่อเนอ่ื ง
Cooperation สร้างเครือข่ายจากการประสานงานกบั ชมุ ชนอย่างสรา้ งสรรค์
Knowledge มกี ารเผยแพร่องคค์ วามรู้ทางดา้ นศลิ ปวัฒนธรรม
Know How วเิ คราะห์การสรรหาและคดั เลือกศลิ ปนิ มรดกอีสาน|6
Unity
มีความเชย่ี วชาญเฉพาะดา้ น
การทางานเป็นทีม
2.1.6 โครงสรา้ งการบริหารศนู ย์วฒั นธรรม มหาวิทยาลัยขอนแกน่
ภาพท่ี 2 แผนภูมิโครงสรา้ งองคก์ รศูนยว์ ฒั นธรรม
วิเคราะห์การสรรหาและคดั เลือกศลิ ปนิ มรดกอีสาน|7
2.1.7 โครงสรา้ งการปฏิบัตงิ านศูนยว์ ัฒนธรรม มหาวทิ ยาลัยขอนแก่น
ผูอ้ านวยการศนู ยว์ ฒั นธรรม
(ผู้ช่วยศาสตาจารยเ์ ขม เคนโคก)
รองผอู้ านวยการศนู ย์วฒั นธรรม รองผู้อานวยการศนู ยว์ ัฒนธรรม รองผ้อู านวยการศูนย์วฒั นธรรม
(นางสาวลดั ดาวัลย์ สพี าชยั ) (นายปิยนัส สดุ ี) (นางสาวนติ ยา ป้องกนั ภัย)
งานบรหิ าร งานวิชาการและสอื่ สาร งานส่งเสรมิ ศิลปวัฒนธรรม
ศิลปวัฒนธรรม
- การเงนิ และบญั ชี - บริการวิชาการและศลิ ปวัฒนธรรม - สง่ เสริมหลกั สูตรฝึกอบรมและ
(นางตลุ ยา นานอก) (นายวรศักดิ์ วรยศ) โครงการด้านศลิ ปวฒั นธรรม
- พสั ดุ (น.ส.สรุ างคณา เฮา้ มาชัย)
(น.ส.ศิริมกุ ดา โพธิ) - อนรุ กั ษแ์ ละทานุบารงุ ศลิ ปวฒั นธรรม - สร้างคงวามร่วมมือและพฒั นา
- แผนและประกนั คณุ ภาพ (นายวรศกั ด์ิ วรยศ) เครอื ข่ายด้านศลิ ปวัฒนธรรม
(น.ส.คณติ ตา คลงั ทอง) - วจิ ยั และพฒั นาองคค์ วามรูท้ างดา้ น สรา้ งสรรค์
- บคุ คล ศิลปวัฒนธรรม (น.ส.สรุ างคณา เฮ้ามาชัย)
(น.ส.คณติ ตา คลังทอง) (นายวิทยา วฒุ ิไธสง) - ติดตามและประเมินหลกั สตู รฝึกอบรม
- ธุรการ - ศนู ยบ์ ริการข้อมลู ด้านศลิ ปวัฒนธรรม โครงการด้านศิลปวฒั นธรรม สรา้ งสรรค์
(น.ส.นันทิดา เส่อื ปู่) อสี านและอนภุ าคลุ่มนา้ โขง (น.ส.บษุ กร ทองบิดา)
-อาคารและสถานที่ (น.ส.บญุ ยนื เปล่งวาจา) -นวตั กรรมเทคโนโลยแี ละสารสนเทศเพอื่
(นายกรกฎ แพงมา) - หอศลิ ปวฒั นธรรม การพฒั นาศลิ ปวัฒนธรรม
- โสตทัศนศกึ ษา (นายวิทยา วุฒไิ ธสง) (นายกิตตพิ งษ์ จารุญ)
(นายณัฐวุฒิ จารุวงศ์)
-ยานพาหนะ
(นายณรงค์ชัย บญุ ประคม)
ภาพที่ 3 โครงสร้างการปฏบิ ัติงานศูนยว์ ฒั นธรรม มหาวิทยาลัยขอนแก่น
วเิ คราะห์การสรรหาและคัดเลือกศลิ ปนิ มรดกอีสาน|8
2.2 แนวคดิ การสรา้ งเครือข่ายวฒั นธรรมมรดกและภูมิปญั ญา
ผู้วิเคราะห์ได้รวบรวมข้อมูลการสนับสนุนให้มีส่วนร่วมและบทบาทในการทานุบารุงศิลปวัฒนธรรม
เปิดโอกาสให้ศิลปินพ้ืนบ้านและปราชญ์ในท้องถิ่นตลอดจนชุมชน ได้มีส่วนร่วมกับกิจกรรมของ
มหาวิทยาลัยขอนแก่นในรูปแบบเครือข่ายทางวัฒนธรรม โดยศูนย์วัฒนธรรมทาหน้าที่กระตุ้น ส่งเสริม
สนับสนุน และประสานงานตลอดจนสร้างเสริมความสามัคคีกลมเกลยี วเสริมสรา้ งความสมั พันธ์ท่ีดี และยั่งยืน
เพื่อให้เกิดความเข้าใจซาบซึ้ง และภาคภูมิใจในภูมิปัญญา ค่านิยม แบบแผนอันดีงามแห่งวิถีชีวิตแบบไทย
ตลอดจนช่วยกันเผยแพร่วัฒนธรรมอันดีงามของชาติไทยไว้สืบไปโดยมีเครือข่ายทางวัฒนธรรมประกอบด้วย
จานวน 4 เครือขา่ ย ดงั นี้
2.2.1 เครือขา่ ยหมอลาเรื่องต่อกลอน เป็นกลมุ่ ศิลปินหมอลาเร่ืองต่อกลอนท่ีอยู่ในเขตภาคอีสานโดย
มีสมาชิกจานวน 200 กว่าชีวิตในหน่ึงคณะซึ่งมีลักษณะการแสดงจะนาเอาวรรณกรรมพื้นบา้ นอีสานมาทาการ
แสดงเป็นเรื่องราวและเผยแพร่การแสดงไปท่ัวประเทศไทย เช่น ขูลูนางอ้ัว ผาแดงนางไอ่ จาปาส่ีต้น ท้าวฮุง
ท้าวเจือง ท้าวแบ้ นางสิบสอง สังข์ทองเงาะป่า และมีการประยุกต์ดนตรีร่วมสมัยเป็นคอนเสริต์ลูกทุ่งหมอลา
เปน็ ต้น โดยมจี านวนเครอื ขา่ ยหมอลาเร่ืองต่อกลอนจานวนท้ังส้นิ
ตารางท่ี 1 เครือขา่ ยวัฒนธรรมมรดกและภมู ปิ ัญญาศลิ ปินพ้ืนบ้านและปราชญใ์ นท้องถ่นิ
ลาดบั ท่ี ชื่อคณะหมอลาเร่ืองต่อกลอน สานกั งาน
1 คณะศิลปินภไู ท เลขท่ี 240 ตงทงุ่ คลอง อ.คาม่วง จ.กาฬสนิ ธ์ุ
2 คณะหนภู ารวเิ ศษศิลป์ เลขท่ี 179 ม.10 ต.หนองตูม อ.เมือง จ.ขอนแก่น
3 คณะสมจิตรบอ่ ทอง เลขที่ 152 ม.1 ถ.มิตรภาพ ตงบา้ นไผ่
อ.บ้านไผ่ จ.ขอนแก่น
4 คณะระเบยี บวาทศลิ ป์ 231 ม 12 ต.บา้ นทุ่ม อ.เมือง จงขอนแกน่
5 คณะรตั นศิลป์อนิ ตาไทยราษฏร์ เลขที่ 132 ม.13 ถ.เหลา่ นาดี ต.บ้านเปด็
อ.เมอื ง จ.ขอนแก่น
6 คณะประถมบันเทงิ ศิลป์ เลขท่ี 259 ม.1 ต.พระลับ อ.เมอื ง จ.ขอนแกน่
7 คณะรุ่งสยามวาทศิลป์ เลขท่ี 36 ม.5 ต.แวงใหญ่ อ.แวงใหญ่ จ.ขอนแกน่
8 คณะหน่ึงนครวฒั นศลิ ป์ เลขท่ี 136/41 ม.4 ต.ในเมือง อ.เมือง จ.ขอนแก่น
9 คณะคาผุนร่วมมติ ร เลขท่ี 89 ม.3 บา้ นกุดหมากเห็บ ต.โนนสะอาด
อ.แวงใหญ่ จ.ขอนแกน่
10 คณะแกน่ นครบันเทิงศิลป์ เลขท่ี 83/1 ม.19 ต.พระลบั อ.เมือง จ.ขอนแก่น
11 คณะใจเกินร้อย เลขที่ 111 ม.2 ต.ขามเรยี ง อ.กันทรวิชัย จ.มหาสารคาม
วิเคราะห์การสรรหาและคดั เลือกศิลปนิ มรดกอีสาน|9
ตารางท่ี 1 เครอื ข่ายวัฒนธรรมมรดกและภูมปิ ัญญาศิลปินพืน้ บา้ นและปราชญ์ในท้องถ่ิน (ต่อ)
ลาดบั ท่ี ช่ือคณะหมอลาเร่อื งตอ่ กลอน สานักงาน
12 คณะเดือนเพ็ญอานวยพร เลขที่ 86/6 บ.หัวคู ตงหนองกงุ อ.นาเชือก
จ.มหาสารคาม
13 คณะสาวน้อยเพชรบ้านแพง เลขที่ 126 ม.11 ต.แพง อ.โกสุมพิสัย จ.มหาสารคาม
14 คณะหนึ่งเพชรเมืองชัย เลขที่ 46 ม.2 ตงลาดใหญ่ อ.เมอื ง จ.ชยั ภมู ิ
15 คระหนึง่ ในสยาม เลขท่ี 218 ม.8 ต.วงั หินลาด อ.ชุมแพ จงขอนแกน่
16 คณะหนึ่งรงุ่ ทิวาอานวยศลิ ป์ เลขที่ 153 ม2 ต.หันนางาม อ.ศรีบญุ เรือง
จ.หนองบวั ลาภู
17 คณะเสียงอีสาน เลขที่ 555 ม.17 ต.หนองนาคา อ.เมือง จ.อุดรธานี
18 คณะพระเอกใหญ่ไหมไทยหัวใจศิลป์ เลขท่ี 164 ต.ธญั ญาอ.กมาไสย จ.กาฬสนิ ธ์ุ
19 คณะเอมอภสั รา (ตย้ โลกแตก) เลขท่ี 197 ม.5 ต.สแี ก้ว อ.เมือง จ.รอ้ ยเอ็ด
20 คณะศลิ ปนิ เมืองชมุ แพ เลขที่ 252 ม.3 ถนนชมุ พ-สชี มพู ต.หนองไผ่ อ.ชมุ แพ จ.
ขอนแกน่
2.2.2 เครือข่ายชุมชนรอบร้ัวมหาวิทยาลัยขอนแก่น เพื่อเป็นการสร้างความสัมพันธ์และส่งเสริม
ภาพลกั ษณท์ ่ดี ีของมหาวทิ ยาลัยขอนแกน่ ให้มสี ว่ นรว่ มในกิจกรรมต่างๆของมหาวิทยาลยั เช่น งานบุญเดือนห้า
แห่พุทธบูชาสมมาอาวุโส งานกฐินมหาวิทยาลัยขอนแก่น งานทาบุญตักบาตรเน่ืองในโอกาสวันสถาปนา
มหาวิทยาลัยขอนแก่น งานถวายเทยี นพรรษา 9 วัด ประกอบด้วยจานวนชุมชน ดงั น้ี
ตารางที่ 2 เครือข่ายชุมชนรอบรั้วมหาวทิ ยาลัยขอนแก่น
ลาดบั ท่ี ชือ่ ชุมชน ท่อี ยู่
1 ชมุ ชนสาวะถี บ้านสาวะถี อาเภอเมือง จังหวดั ขอนแกน่
2 ชมุ ชนบา้ นโนนม่วง บา้ นโนนมว่ ง ตาบลศิลา อาเภอเมอื ง จงั หวดั ขอนแกน่
3 ชมุ ชนสามเหล่ยี ม บ้านโนนม่วง ตาบลศิลา อาเภอเมือง จงั หวัดขอนแก่น
4 ชุมชนบา้ นสฐี าน บา้ นสฐี าน ตาบลในเมือง อาเภอเมือง จงั หวดั ขอนแกน่
2.2.3 เครือข่ายศิลปินมรดกอีสาน ด้วยเล็งเห็นถึงความสาคัญและเป็นขวัญกาลังใจศิลปินผู้อุทิศตน
ในการอนุรกั ษ์ สบื สาน ส่งเสริม และพัฒนาต่อยอดมรดกทางวฒั นธรรมชองชาตใิ ห้คงอยสู่ ืบไป ศนู ย์วัฒนธรรม
กาหนดใหม้ ีการมอบโล่เชิดชูเกียรติศลิ ปินมรดกอสี านและผู้มีผลงานดีเด่นด้านวัฒนธรรมสัมพันธเ์ ป็นประจาทุก
ปีซ่ึงประกอบดว้ ยสาขาตา่ งๆ ดังน้ี
วิเคราะห์การสรรหาและคัดเลือกศลิ ปินมรดกอีสาน|10
1) รางวลั ศิลปนิ มรดกอีสาน
ลาดับที่ สาขา
1 สาขาวรรณกรรม
2 สาขาศลิ ปการแสดง
3 สาขาทศั นศลิ ป์
2) รางวัลวัฒนธรรมสัมพันธ์
ลาดับท่ี สาขา
1 สาขาเกษตรกรรม
2 สาขาหตั ถกรรม
3 สาขาการแพทย์หรือเภสัชกรรมแผนไทย
4 สาขานเิ วศน์วัฒนธรรมและส่ิงแวดล้อม
5 สาขาวสิ าหกิจชมุ ชน
6 สาขาศลิ ปกรรม
7 สาขาภาษาและวรรณกรรม
8 สาขาศาสนาและประเพณี
9 สาขาอาหารและโภชนาการ
10 สาขาส่ือสารวัฒนธรรม
2.2.4 เครือข่ายวงดนตรีโปงลาง การจัดประกวดวงดนตรีโปงลางฟ้อนลาแคนเป็นการส่งเสริมให้
เยาวชนได้ตระหนักในการอนรุ ักษ์ศลิ ปะการแสดงพืน้ บ้านอสี านและเป็นเวทใี ห้เยาวชนกล้าแสดงออก โดยศูนย์
วัฒนธรรม กาหนดจัดการประกวดเป็นประจาทุกปีในแต่ละปีจะมีการต้ังชื่อการประกวดท่ีแตกต่างกันไป เช่น
มหกรรมลาภูไท มหกรรมลาสินไซ มหกรรมลาตังหวาย มหกรรมลาเต้ย มหกรรมลาพื้น เป็นต้น โดยมี
สถาบันการศกึ ษาในระดบั มธั ยมศึกษาสง่ วงโปงลางเขา้ มาประกวด ซึ่งประกอบดว้ ยจานวน 7 วง ดงั น้ี คอื
ตารางที่ 3 เครอื ขา่ ยวงดนตรโี ปงลางในภาคตะวันออกเฉยี งเหนอื
ลาดบั ท่ี วงโปงลาง ช่อื สถาบนั จงั หวัด
1 วงโปงลางวรราชวิทยา โรงเรียนวรราช จังหวัดเลย
2 วงโปงลางโรงเรยี นกาฬสนิ ธ์พุ ทิ ยาสรรค์ โรงเรยี นกาฬสนิ พิทยาสรรค์ จงั หวดั กาฬสนิ ธุ์
3 วงโปงลางฮักอีสาน โรงเรียนสารคามพิทยาคม จงั หวัดมหาสารคาม
4 วงโปงลางศิลป์ไทรเงิน โรงเรยี นพิบลู มงั สาหาร จงั หวดั อานาจเจริญ
5 วงโปงลางเพชรภดู นิ โรงเรียนเลงิ นกทา จงั หวัดยโสธร
6 วงโปงลางตานานไหม โรงเรียนชนบทศึกษา จังหวัดขอนแกน่
7 วงโปงลางแสนเมือง โรงเรยี นหนองเรือวิทยา จังหวดั ขอนแก่น
วิเคราะห์การสรรหาและคัดเลือกศลิ ปนิ มรดกอสี าน|11
2.2.5 การส่งเสริมศิลปะการแสดงพื้นบ้าน
การแสดงพ้ืนบ้านปัจจุบันได้ถูกละเลยและขาดหายไปตามกระแสการเปลี่ยนแปลงของ
สงั คมไทย ส่งผลใหก้ ารแสดงพื้นบ้านไม่ได้รับการสนับสนุนอย่างจริงจัง ขาดการถา่ ยทอดศิลปะการแสดงพื้นบ้าน
จากศิลปินพื้นบ้านอีสาน เพื่อให้การดาเนินการดังกล่าวฟ้ืนฟูให้คนรุ่นใหม่ได้รับทราบและสนใจศิลปะการแสดง
พื้นบ้านสืบทอดต่อไป ในฐานะตาแหน่งนักวิชาการวัฒนธรรมท่ีได้รับมอบหมายให้ดาเนินการหลักเพ่ือส่งเสริม
ศลิ ปการแสดงพื้นบา้ น มีหน้าท่ีหลักในการดาเนนิ การ ดงั น้ี
1. การลงพ้นื ท่ีเกบ็ ข้อมลู การแสดงพน้ื บา้ น เช่น การแสดงหนุ่ กระบอกอีสาน การ
แสดงหนงั ประโมทัย เพ่ือสบื ค้นข้อมลู ประกอบการเกบ็ รักษาไวเ้ พื่อไม่ใหข้ าดหายไป
2. วิเคราะห์ข้อมลู เกี่ยวกับการแสดงพน้ื บ้านเพือ่ แบง่ ประเภทและสรุปหาแนว
ทางการสนับสนุนส่งเสรมิ กิจกรรมใหส้ อดคล้องกับกล่มุ เปา้ หมาย คือ นักเรยี น นกั ศกึ ษา บคุ ลากร และ
ประชาชนทั่วไป
3. จดั โครงการกจิ กรรมสง่ เสรมิ เกย่ี วกบั การแสดงเพอื่ กระตุ้นและส่งเสริมให้คนรุ่น
ใหม่มคี วามสนใจศิลปการแสดงพ้นื บ้านอสี านแบบดง้ั เดิม เชน่ การแสดงหนงั ประโมทยั การแสดงหุน่ กระบอก
อสี าน การประกวดวงโปงลางฟ้อนลาแคน เป็นต้น
4. ประเมนิ ผลการจัดกจิ กรรมส่งเสริมศิลปะการแสดงพน้ื บ้านและนาข้อเสนอแนะ
มาปรับปรุงพัฒนาการส่งเสริมศลิ ปการแสดงพื้นบา้ น
2.2.6 การส่งเสรมิ พระพทุ ธศาสนาประเพณีท้องถ่ินอีสาน
การส่งเสริมพระพุทธสาสนาประเพณีอีสาน เพ่ือส่งเสริมและสร้างจิตสานึกให้นักเรียน
นักศึกษา บุคลากร และประชาชนได้เข้าใจประเพณีท้องถิ่นอีสาน เช่น ฮีต 12 คอง 14 โดยใช้หลักทาง
พระพุทธศาสนายึดเหนี่ยวจิตใจประเพณีท้องถิ่นอีสานเพื่อส่งเสริมในการสืบทอดประเพณีโดยมีกิจกรรม หลัก
ในการปฏิบัติ จานวน 8 โครงการ ดังน้ี
ตารางที่ 4 โครงการส่งเสรมิ พระพุทธศาสนาประเพณที ้องถิ่นอีสาน
ลาดบั ท่ี กจิ กรรม ระยะเวลา สถานท่ี
1 โครงการกฐนิ มหาวิทยาลัยขอนแก่น เดอื นตลุ าคมทุกปี วดั ต่างๆในภาคอสี าน
2 โครงการบาเพ็ญบุญบารมบี นวถิ ชี าวพทุ ธ ทกุ เดือน อาคารพุทธศลิ ป์
3 โครงการทาบญุ ตกั บาตรเนื่องในโอกาสวนั สถาปนา 25 มกราคม ทุกปี อาคาสิริคุณากรและสะพานขาว
4 โครงการบญุ ขา้ วจี่วิถวี ฒั นธรรมอสี าน กมุ พาพันธ์ ทุกปี ชุมชนบ้านสาวะถี อ.เมือง
จงั ขอนแก่น
5 โครงการแหพ่ ทุ ธบชู าสมมาอาวุโส เมษายน ทุกปี อาคารพุทธศลิ ป์ ( ริมบึงสีฐาน )
6 โครงการถวายเทียนสญั จร 9 วดั กรกฎาคม ทกุ ปี วัดตา่ งๆในภาคอีสาน
7 โครงการบญุ สมมาบูชานา้ (สีฐานเฟสติวัล) พฤศจิกายน ทกุ ปี ริมบงึ สฐี าน
8 โครงการงานเทศกาลไหมประเพณผี กู เสีย่ วและงาน 29 พฤศจิกายน – 10 สนามศาลากลางจังหวัดขอนแกน่
ธันวาคม ทุกปี
กาชาดจังหวดั ขอนแกน่
วเิ คราะห์การสรรหาและคดั เลือกศลิ ปินมรดกอสี าน|12
2.2.7 การบูรณาการศิลปวัฒนธรรมกับหลักสตู รการเรยี นการสอน
การบูรณาการศิลปวฒั นธรรมกับหลกั สูตรการเรียนการสอนซึ่งตาแหน่งนักวิชาการวฒั นธรรม
นีใ้ ห้เป็นผู้รบั ผิดชอบหลักในการดาเนนิ การ ดังนี้
1) การเชญิ ศิลปนิ พ้ืนบ้านมาเป็นวทิ ยากรในการบรรยายศลิ ปการแสดงพื้นบ้านอีสาน
2) การจัดกิจกรรมระหว่างศิลปินพื้นบ้านกับนักศึกษาเพื่อแลกเปลี่ยนเรียนรู้ให้เกิด
องค์ความรู้และให้คณาจารย์บุคลากรมีได้บูรณาการวัฒนธรรมเข้าสู่เนื้อหาในรายวิชาท่ีสอดคล้องกับ
ศิลปวัฒนธรรมอีสาน การบูรณาการทานุบารุงศิลปวัฒนธรรมกับการเรียนการสอนและกิจกรรมนักศึกษามิ
จานวน 2 โครงการดังน้ี
ตารางท่ี 5 โครงการการบรู ณาการศิลปวัฒนธรรมกบั หลักสตู รการเรยี นการสอน
ลาดบั ท่ี กจิ กรรม บูรณาการหลักสูตร ระยะเวลาสถานที่
วัดไชยศรีบ้านสาวะถี
1 โครงการบุญขา้ วจว่ี ิถวี ฒั นธรรม สาขาสงั คมศกึ ษา คณะ ตาบลสาวะถี อาเภอเมือง
จงั หวัดขอนแก่น
อีสาน ศกึ ษาศาสตร์
2 โครงการฐานข้อมูลศิลปนิ มรดก 1) รายวชิ าประวัติศิลปนิ ดนตรี หนงึ่ ภาคเรียนการศึกษา
อสี าน พื้นเมือง
2) รายวชิ าประวัติและผลงาน
ศิลปนิ ดนตรีและขบั ร้องพนื้ เมือง
วชิ าเอกดนตรีพื้นเมือง สาขา
ดนตรีและการแสดง ดุริยางค
ศาสตร์บัณฑิต คณะศิลปกรรม
ศาสตร์
2.3 แนวคิดเกี่ยวกับวัฒนธรรมดนตรพี ืน้ บ้านอสี าน
ผู้วเิ คราะห์ ไดร้ วบรวมแนวคดิ เกย่ี วกับวัฒนธรรมดนตรีพื้นบ้านอีสาน เพื่อใหม้ ีองคค์ วามรู้ในดา้ น
วัฒนธรรมดนตรพี ้นื บ้านอสี าน หลายหลากพ้นื ทขี่ องภาคอีสาน ดงั นี้
1) วฒั นธรรมดนตรีกลุม่ อสี านเหนือ เปน็ วัฒนธรรมดนตรีทีอ่ ยู่บริเวณที่ราบสูงมีภูเขาทางด้านใต้
และทางด้านตะวันตกไปจรดกับลาน้าโขงตอนเหนือ และทางตะวันออกทางเทือกเขาภูพานก้ันแบ่งบริเวณน้ี
ออกเป็นท่ีราบตอนบนที่เรียกว่า แอ่งสกลนคร ได้แก่บริเวณ จังหวัดกาฬสินธุ์ ขอนแก่น ชัยภูมิ นครพนม
หนองคาย อดุ รธานี มหาสารคาม ร้อยเอ็ด เลย มุกดาหาร ยโสธร และอบุ ลราชธานี ส่วนภาษาทใ่ี ช้สว่ นใหญ่ใช้
ภาษาไทยอีสานหรือภาษาลาว เพราะคนกลุ่มน้ีสืบทอดวัฒนธรรมมาจากลุ่มแม่น้าโขง โดยบรรพบุรุษได้อพยพ
วเิ คราะห์การสรรหาและคดั เลือกศิลปนิ มรดกอสี าน|13
มาจากดินแดนล้านช้าง ซ่ึงอยู่ทางฝ่ังซ้ายของแม่น้าโขงข้ามมาต้ังถิ่นถานในภาคอีสานต้ังแต่สมัยรัตนโกสินทร์
กลุ่มชนส่วนใหญ่ในภาคอีสานนี้โดยท่ัวไปเรียกว่ากลุ่มชนไทยลาว และยังมีกลุ่มชนบ้างส่วนอาศัยอยู่โดยทั่วไป
ไดแ้ ก่ ผู้ไท แสด ยอ้ โล้ โย้ย ข่า เป็นต้น (ทม่ี า: https://sites.google.com, คน้ เมอ่ื วนั ท่ี 15 สิงหาคม 2563)
2) วัฒนธรรมโคราช ได้แก่กลุ่มชนส่วนใหญ่ท่ีอาศัยอยู่ในจังหวัดนครราชสีมาและบางส่วนในบุรีรัมย์
ซึ่งจะพูดภาษาโคราช กล่าวโดยสรุป การศึกษาความเป็นมาของดนตรีพื้นบ้านจะต้องศึกษาถึงลักษณะพ้ืนท่ี
และภูมิประเทศเพ่ือเป็นแนวทางในการศึกษาวัฒนธรรมดนตรีกลุ่มชนต่าง ๆ ตลอดจนการผสมผสานกันทาง
วัฒนธรรมความคงอยู่ การเปลี่ยนแปลง รวมทั้งการรักษาวัฒนธรรมดั้งเดิมไว้ อาจเป็นการสืบทอดหรือ
ถ่ายทอดจากรุ่นหน่ึงไปสู่อีกรุ่นหน่ึง แล้วแตก่ ลมุ่ ชนใดท่ีมีความเจริญรุ่งเรืองกวา่ ย่อมรกั ษาเอกลักษณ์แบบฉบับ
เฉพาะตัวของกลุ่มชนตัวเองไว้ได้ กลุ่มใดท่ีมีความล้าหลังกว่าก็ต้องรับเอาวัฒนธรรมของกลุ่มท่ีมีอิทธิพลมา
ดดั แปลงใหเ้ ข้ากบั วฒั นธรรมของตนเอง
3) วฒั นธรรมดนตรกี ลุม่ อสี านใต้ เปน็ ทรี่ าบดอนใต้เรียกวา่ แอ่งโคราช ได้แกจ่ ังหวดั สุรินทร์ บรุ ีรมั ย์
และศรสี ะเกษ วัฒนธรรมกลมุ่ อสี านใต้มีการสบื ทอดวฒั นธรรม แบง่ ออกเปน็ กล่มุ ได้ 2 กลุ่มใหญ่คือ
3.1) กลมุ่ ที่สืบทอดมาจากเขมร-ส่วยได้แก่ กลุ่มชนส่วนใหญท่ ่อี ยู่ในจังหวดั สุรนิ ทร์ บุรรี ัมย์
และศรสี ะเกษ เป็นกล่มุ ชนทีไ่ ด้รับการสบื ทอดมาจากเขมร-สว่ ยนี้จะพูดภาษาเขมรและภาษาส่วย
2.4 แนวคิดประเภทของเครื่องดนตรพี ื้นบ้านอีสาน
ผู้วิเคราะห์ได้ค้นควา้ ประเภทเคร่อื งดนตรีประเภท ดีด ได้แก่ พิณ ห่นึ ดังน้ี
ประวตั ิความเปน็ มาของ พิณ
พิณ เป็นเคร่ืองดนตรีในสกุลเคร่ืองสายซ่ึงประกอบด้วย กะโหลกและคอ มีสายขึงใช้ดีด อาจดีดด้วย
มือแผ่นพลาสติกหรือแม้แต่เศษวัสดุที่เป็นแผ่นถากออกมาจากเขาสัตว์หรือกระดองเตา (Midgley.1978:167-
179) มีช่ือเรียกอีกอย่างหน่ึงว่า ตตะ หมายถึง เคร่ืองดนตรีท่ีมีสายสาหรับดีดเป็นเสียงสันนิษฐานว่า ตตะน้ีคง
จะได้แบบอย่างมาจากท่ีใช้สายข้ึนคันธนู เกิดการสั่นสะเทือน แต สายธนูที่ทาหน้าท่ีเป็นตัวส่ันสะเทือนน้ันจะ
แตกต่างกันไปตามความยาว ส้ันของคันธนู มีเสียงดังไม่มากนัก หาวัตถุท่ีช่วยให้การเปล่งเสียงมากขึ้น จึงใช้
วตั ถุท่ีกลวงโดยเกดิ ข้ึนเองตามธรรมชาติเชน ผลนา้ เต้า กะโหลกมะพร๎าว กระบอกไมไ๎ ผหรือไม๎ทขี่ ุดทะลุทะลวง
ตลอด จึงเรยี กสวนนว้ี ่า “วีณโปกขร” หรือกระพุ้งพิณ (Resonator) (อุดม อรณุ รตั น์. 2526:91)
พิณของชนเผ่าสุเมเรียน ที่เรียกว่า ไลร์มีมาแล้วก่อนคริสตศักราชถึง 3,000 ปี และใช้กันอย่าง
กว้างขวางในกลุ่มชนอียิปต์โบราณ กรีกโบราณและยุโรปสมัยกลาง ในแอฟริกา มันถูกใช๎เลนประกอบใน
พิธกี รรมบางอย่าง (Lsaacs and Martin.1982:225-226) ใน ลทั ธิของศาสนาพราหมณ๑มีความเชือ่ ม่นั วาการ
บูชาด้วยเสียงดนตรีท่ีมีสาย ติดตอกันเป็นระยะเวลายาวนาน เป็นวิถีอันที่จะบรรลุถึงซ่ึงความเป็นอันหน่ึงอัน
เดียวกนั กับพระศวิ ะได้ (เดอบาร์รี 2512:513)
ในทางพุทธศาสนาน้ัน วิถีพระโพธิญาณ ของสมเด็จพระมหาสัตว์ก็ได้อาศัยสายกลางแห่งพิณที่สมเดจ็
พระอัมรินทราธิราชทรงดีดถวายถึงได้ตรัสร์สาเร็จสมโพธิญาณว่าการบาเพ็ญเพียรแสวงหาโมกษธรรมน้ัน ถ้า
เคร่งครัดนักก็เปรยี บเสมือนการข้ึนสายพิณให๎ตึงเกินไปดีดแล้วย่อมขาดถ้า หย่อนยานนักย่อมไม่มีเสียงไพเราะ
วเิ คราะห์การสรรหาและคัดเลือกศิลปนิ มรดกอสี าน|14
เหมือนขึ้นสายพณิ หย่อน แต่ถ้าทาอํยใู นขน้ั มชั ฌิมาปานกลาง ก็เปรียบเสมอื นการขึ้นสายแตเพียงพอดีกบั ระดับ
เสียงย่อมจะให้เสียงดังกังวานไพเราะแจ่มใส ดังใจความในวรรณคดีเร่ือง พระปฐมสมโพธิถากลางถึงพิณไว๎ใน
ตอนทกุ กิริยาปริวรรต ปรจิ เฉทที่ 8
เครื่องดนตรีประเภท สี ได้แก่ ซออสี าน ซอกรนั ตรมึ
เคร่ืองดนตรปี ระเภทตี ได้แก่ โปงลาง กลองหาง กลองรามะนา ฉ่ิง ฉาบ พังฮาด กลองก่งิ กลอง
เส็ง กลองใหญ่
เครอ่ื งดนตรีประเภทเป่า ได้แก่ แคน โหวด ปีภ่ ูไท
การจาแนกลายเพลงลายใหญ่ หมายถงึ ทานองที่อย่ใู นบันไดเสยี งทมุ้ ต่า ภาษาไทย-ลาว เรยี กเสยี ง
ทมุ้ ต่าวา่ เสียงใหญ.่ .. เสยี ง ลา เปน็ เสยี งทุ้มตา่ ทส่ี ุดในแคนแต่ละเตา้ เม่ือลายใหญ่มเี สยี ง ลา เปน็ ศูนยก์ ลางของ
ทานอง จึงมีชอ่ื เรยี กว่า ลายใหญ่....
ลายใหญ่ มีเสียงลาต่า (เสียง A เมอื่ อยูบ่ นั ไดเนเจอรลั ) เปน็ เสยี งศูนย์กลางของทานอง ใช้โนต้ ใน
ทานองได้เพยี ง 6 โนต้ คอื ล ท ด ร ม ซ
เสยี งฟา เป็นเสียงส้มของลายใหญ่ ... “ส้ม” หมายถึง เปร้ยี ว เสียงสม้ หมายถงึ เสยี งท่ีไม่เข้าพวกกับ
เสยี งอ่ืนเมื่อบรรเลงทานอง หากนาเสยี งนีม้ าใชร้ ่วมทานอง จะฟังดูแปรง่ ๆ หู เปรย้ี วหู ก็เลยเรียกว่าเสียงส้ม
เสียงฟา เม่ือนามาใช้ในคีย์ลายใหญ่ จะไม่เข้าพวกเขา.... หากจะให้เข้าพวกจริงๆ ต้องเป็นเสียงฟา
ชาร์ป (F#) อีกอย่างหน่ึง ทานองลายเพลงอีสาน โดยมาก เป็นทานองโน้ตกระโดด ใช้โน้ตในแต่ละลายเพลง 5
โน้ต ซ่ึงโน้ตหลัก 5 โน้ตของลายใหญ่คือ “ล ด ร ม ซ” ส่วนลายเพลงท่ีมี 6 โน้ต (เพิ่มเสียง ท) และ 7 โน้ต
(เพ่ิมเสียง ท และ ฟ) จะมีน้อย ถ้ามีบรรเลง ก็เป็นเพลงท่ียืมทานองมาจากถ่ินอ่ืน หรือเป็นลายเพลงกาเนิด
ใหม่
มาตราเสยี งของลายใหญ่ จดั อยู่ใน “A Mode” (คือเพลงจบลงดว้ ยเสียง ลา ... เม่อื เทยี บลา = A)
ออกสาเนยี งไมเนอร์ หรือจะว่าเปน็ บันไดเอไมเนอร์ ก็ไม่ผดิ
ลายน้อย หมายถึงทานองที่อยใู่ นบนั ไดแหลมสงู ภาษาไทย-ลาว เรียกเสียงแหลมวา่ เสียงนอ้ ย... เสียง
เร ซึ่งเป็นเสยี งศนู ยก์ ลางของทานองลายน้อย แหลมกว่าเสียงลา ของทานองลายใหญ่ จึงได้ชื่อวา่ ลายน้อย
เพราะมเี สยี งแหลมกว่าลายใหญ่
ลายน้อย กค็ ือทานองลายใหญ่ ท่ีเล่ือนบนั ไดเสยี ง จาก เอโหมด มาเป็น ดโี หมด นน่ั เอง และออก
สาเนยี งไมเนอร์เหมือนกัน
ลายนอ้ ย มเี สยี งเรตา่ (เสียง D เม่อื อยบู่ นั ไดเนเจอรลั ) เป็นเสียงศนู ย์กลางของทานอง ใชโ้ นต้ ใน
ทานองไดค้ รบท้ัง 7 โน้ต คือ ร ม ฟ ซ ล ท ด
อยา่ งไรก็ตาม ทานองลายเพลงอีสาน โดยมาก เป็นทานองโนต้ กระโดด ใช้โน้ตในแต่ละลายเพลง 5
โน้ต ซง่ึ โนต้ หลัก 5 โนต้ ของลายน้อยคือ “ร ฟ ซ ล ด” ส่วนลายเพลงทม่ี ี 6 โนต้ (เพิ่มเสียง ม) และ 7 โนต้
(เพม่ิ เสียง ม และ ท) จะมีน้อย ถ้ามบี รรเลง กเ็ ป็นเพลงท่ยี ืมทานองมาจากถน่ิ อ่นื หรือเป็นลายเพลงกาเนดิ
ใหม่
วิเคราะห์การสรรหาและคัดเลือกศิลปินมรดกอีสาน|15
มาตราเสียงของลายน้อย จัดอยู่ใน “D Mode” (คือเพลงจบลงดว้ ยเสยี งเร ... เมอ่ื เทยี บเร = D) ออก
สาเนียงไมเนอร์ หรอื จะวา่ เป็นบันไดดไี มเนอร์ ก็ไมผ่ ิด
ลายเซ คอื ทานองลายใหญ่ ท่ีเล่ือนบนั ไดเสยี ง จากเอโหมด มาเป็นอโี หมด หรือ คอื ทานองลายนอ้ ย ท่ี
เลอ่ื นบันไดเสียง จาก ดโี หมด มาเป็น อีโหมด และออกสาเนยี งทางไมเนอรเ์ หมือนกัน
ลายเซ ทีไ่ ดช้ ่อื ว่า ลายเซ เพราะมีทานองบางตอน เซออกนอกมาตราเสียง ทาให้ฟงั ดูแปร่งๆ หู และที่
เซออกนอกมาตรานี้ ก็เน่ืองจากวา่ บันไดลายเซ มเี สียงไม่ครบ7 โน้ต ทาใหบ้ างตอน ทหี่ มอแคนใชโ้ น้ตเสียงส้ม
ของลายเซ ฟังดูแปร่งๆ หู ดูเหมือนเซออกนอกทานอง แล้ววกกลบั เข้ามาหาทานองใหม่
ลายเซ มีเสยี งมตี ่า (เสียง E เม่ืออย่บู นั ไดเนเจอรัล) เปน็ เสียงศูนย์กลางของทานอง ใชโ้ น้ตในทานองได้
เพยี ง 6 โน้ต คอื ม ซ ล ท ด ร
เสียงฟา เป็นเสียงส้มของลายเซ ... “ส้ม” หมายถึง เปร้ียว เสียงส้ม หมายถึง เสียงที่ไม่เข้าพวกกับ
เสยี งอ่ืนเม่ือบรรเลงทานอง หากนาเสยี งน้ีมาใชร้ ่วมทานอง จะฟงั ดูแปร่งๆ หู เปร้ยี วหู กเ็ ลยเรียกว่าเสียงส้ม
เสียงฟา เม่ือนามาใชใ้ นคยี ์ลายเซ จะไม่เขา้ พวกเขา.... หากจะใหเ้ ขา้ พวกจริงๆ ต้องเปน็ เสียงฟาชาร์ป (F#)
อีกอยา่ งหนึง่ ทานองลายเพลงอีสาน โดยมาก เปน็ ทานองโน้ตกระโดด ใชโ้ นต้ ในแต่ละลายเพลง 5 โนต้ ซงึ่ โนต้
หลกั 5 โนต้ ของลายเซคือ “ม ซ ล ท ร” ส่วนลายเพลงทมี่ ี 6 โน้ต (เพ่มิ เสียง ฟ) และ 7 โนต้ (เพ่มิ เสยี ง ฟ และ
ด) จะมนี ้อย ถ้ามีบรรเลง กเ็ ปน็ เพลงทยี่ มื ทานองมาจากถนิ่ อ่นื หรอื เปน็ ลายเพลงกาเนดิ ใหม่
มาตราเสยี งของลายเซ จัดอยู่ใน “E Mode” (คือเพลงจบลงดว้ ยเสียง มี ... เมอ่ื เทยี บมี = E) ออกสาเนียงไม
เนอร์ หรือจะวา่ เปน็ บันไดอไี มเนอร์ ก็ไมผ่ ดิ
ลายสุดสะแนน เป็นลายที่เวลาบรรเลงแล้ว ทุกคร้ังที่จบลายเพลง ต้องลงท่ีเสียงซอล อันเป็นเสียง
หลักของทานอง เสมอ และลกู แคนเสยี งซอลนี้ มชี อ่ื วา่ สะแนน เมอ่ื เพลงจบ หรอื ส้นิ สุดลงที่ลกู สะแนน จึงเรยี ก
ลายนวี้ ่า “ลายสดุ สะแนน” ซงึ่ สือ่ ความหมายวา่ ส้ินสุดเพลงทีล่ ูกสะแนน....
ส่วนอีกความหมายหนึ่งของลายสุดสะแนน คือ ลายนี้เป็นลายที่ไพเราะมากๆ เป็นท่ีสุดของท่ีสุดของ
ลายแคนท้งั หลาย ถอื วา่ เป็นลายช้นั ครูของแคน เพราะเล่นได้ยากกวา่ ลายอ่ืนใดทั้งหลาย หมายถึงบรรเลงให้ได้
ระดับช้ันครูน้ัน ยาก... ใครเล่นได้ ก็ถือว่าสุดยอดทางการเป่าแคนเลยทีเดียว ดังนั้น บรรดาลายทั้งหลาย ยาก
สุดๆ ก็ลายน้ี ไพเราะสุดๆ ก็ลายน้ี จึงเรียกลายน้ีว่า “สุดสะแนน”..... อันหมายถึง ส้ินสุดของเส้นสายแนน…
สาว(ชัก)ดึงสายแนนมาเร่ือยๆ ในที่สุดก็พบจุดสิ้นสุด... จุดสิ้นสุด คือจุดหมายปลายทาง เมื่อพบจุดส้ินสุดอัน
เป็นเป้าหมายสุดท้ายแล้ว ถือว่า สิ้นสุดสายแนน.... การฝึกแคนก็เช่นกัน เมื่อฝึกไปเร่ือยๆ จนฝึกได้ลายที่ยาก
ที่สุด อันเป็นลายชนั้ ครูของแคนแล้ว การฝึกแคนนั้น ก็ถอื ว่าสดุ สายแนน เช่นกัน... สายแนนกค็ อื สะแนน ... สดุ
สายแนน ก็คือสดุ สะแนน (เกีย่ วกับสายแนน ขอให้คน้ ดจู ากวรรณคดีอสี าน เรอ่ื ง สายแนนนาแก่น)
ลายสุดสะแนน มีเสียงซอล (เสียง G เม่ืออยู่บันไดเนเจอรัล) เป็นเสียงศูนย์กลางของทานอง ใช้โน้ตใน
ทานอง 6 โน้ต คือ ซ ล ท ด ร ม เสียงฟา เป็นเสียงส้มของลายสุดสะแนน ... “ส้ม” หมายถึง เปร้ียว เสียงส้ม
หมายถึง เสียงท่ีไม่เข้าพวกกับเสียงอื่นเมื่อบรรเลงทานอง หากนาเสียงนี้มาใช้ร่วมทานอง จะฟังดูแปร่งๆ หู
เปรี้ยวหู ก็เลยเรียกว่าเสียงส้ม เสียงฟา เมื่อนามาใช้ในคีย์ลายสุดสะแนน จะไม่เข้าพวกเขา.... หากจะให้เข้า
พวกจริงๆ ต้องเป็นเสียงฟาชาร์ป (F#) ซ่ึงแคนไม่มีเสียงฟาชาร์ป อีกอย่างหนึ่ง ทานองลายเพลงอีสาน
วเิ คราะห์การสรรหาและคดั เลือกศลิ ปนิ มรดกอีสาน|16
โดยมาก เป็นทานองโน้ตกระโดด ใชโ้ น้ตในแต่ละลายเพลง 5 โนต้ ซงึ่ โนต้ หลกั 5 โน้ตของลายสุดสะแนนคือ “ซ
ล ด ร ม” บันไดเสียงลายสดุ สะแนน ควรเรียกว่าอยูใ่ นบันไดจีโหมด ออกสาเนียงเมเจอร์ ไม่ใช่บันได จีเมเจอร์
แม้ว่าทานองจะจบลงท่ีเสียง ซอล หรือจี และใช้เสียงซอล เป็นเสียงประสานยืน ก็ตาม ถ้าจะจัดเข้าบันไดทาง
เมเจอร์ ควรจะเรียกว่าอยู่ในบันไดซีเมเจอร์ แต่ใช้เสียงในข้ันที่5 (dominant) คือเสียง G เป็นเสียงเอก
(primary tone ไม่ใช่ Tonic) การจัดเช่นนี้ มีเหตุผลตรงท่ี ลายสุดสะแนน มีลายใหญ่เป็นเครือญาติทางไม
เนอร์ (relative minor) และลายใหญ่มีเสียง A หรือลา เป็น โทนิค หรือเสียงศูนย์กลาง เพราะฉะนั้น ลายสุด
สะแนน จงึ ตอ้ งมเี สียง C หรอื โด เป็นโทนิค จงึ จะถกู ตอ้ ง บนั ไดเสยี งท่มี ีเสียงโด หรือ C เปน็ โทนคิ กค็ อื บนั ไดซี
เมเจอร์ น่ันเอง
ลายโป้ซ้าย คอื ทานองลายสดุ สะแนน ท่เี ลอื่ นบนั ไดจากบันไดจโี หมด มาเป็นบนั ไดซโี หมด และออก
สาเนยี งทางเมเจอรเ์ หมือนกนั
ชื่อลายโปซ้ ้าย ต้ังขึน้ ตามอากัปกิรยิ าของผเู้ ป่าแคน ที่ต้องใชน้ ว้ิ โปซ้ ้าย ปิดรูนบั ของลกู แคนเสยี ง โด (ลกู ท่ี1 แพ
ซา้ ย) ไวต้ ลอดเวลาทีบ่ รรเลงลายโปซ้ ้าย
ลายโป้ซา้ ยมเี สยี งโด (เสียง C เมื่ออยู่บันไดเนเจอรัล) เป็นเสียงศนู ยก์ ลางของทานอง ใชโ้ นต้ ในทานอง
ไดค้ รบทั้ง 7 โนต้ คือ ด ร ม ฟ ซ ล ท
แตอ่ ย่างไรก็ตาม ทานองลายเพลงอีสาน โดยมาก เปน็ ทานองโน้ตกระโดด ใช้โนต้ ในแต่ละลายเพลง 5 โนต้ ซึ่ง
โนต้ หลัก 5 โน้ตของลายโป้ซา้ ยคอื “ด ร ฟ ซ ล”
บันไดเสียงลายโป้ซ้าย ควรเรียกว่าอยู่ในบันได C Mode ออกสาเนียงMajor ไม่ใช่บันได C Major
แม้ว่าทานองจะจบลงท่ีเสียง โด หรือ C และใช้เสียงโด เป็นเสียงประสานยืน ก็ตาม ถ้าจะจัดเข้าบันไดทาง
เมเจอร์ ควรจะเรียกว่าอยู่ในบันได F Major แต่ใช้เสียงในขั้นท่ี5 (dominant) คือเสียง C เป็นเสียงเอก
(primary tone ไม่ใช่ Tonic) การจัดเช่นนี้ มีเหตุผลตรงท่ี ลายโป้ซ้าย มีลายน้อยเป็นเครือญาติทางไมเนอร์
(relative minor) และลายน้อยมีเสียง D หรือเร เป็น โทนิค หรือเสียงศูนย์กลาง เพราะฉะน้ัน ลายโป้ซ้าย จึง
ต้องมีเสียง F หรือ ฟา เป็นโทนิค จึงจะถูกต้อง บันไดเสียงท่ีมีเสียงฟา หรือ F เป็นโทนิค ก็คือบันได F Major
นนั่ เอง
ลายสรอ้ ย คือทานองลายโป้ซ้าย ที่เลื่อนบันไดจากบนั ไดซโี หมด มาเปน็ บันไดดโี หมด และออกสาเนียง
ทางเมเจอร์เหมือนกัน ชอื่ ลายสร้อย น่าจะมาจากภาษาไทยลาว ซึ่ง สร้อย(ส่อย) แปลวา่ ฉีกออกเป็นชิน้ เล็กช้ิน
น้อย เพราะลายสร้อย คือลายที่ฉีกหรือแตกออกมา จากลายสุดสะแนนและลายโป้ซ้าย แต่เดินทานองเหมือน
ทัง้ สองลายดงั กลา่ ว ได้ไม่ครบถว้ น อนั เน่อื งมาจากข้อจากัดเร่ืองช่วงทบเสียงไม่ครบ 2 ช่วงทบด.ี .. จึงถอื ว่าเป็น
เพียง สร้อย หรือสว่ นย่อยของลายทง้ั สองเทา่ น้ัน
ลายสร้อยมีเสยี งเร (เสียง D เมือ่ อยบู่ นั ไดเนเจอรัล) เปน็ เสียงศนู ยก์ ลางของทานอง ใชโ้ นต้ ในทานอง 6
โน้ต คอื ร ม ซ ล ท ด
แต่อย่างไรก็ตาม ทานองลายเพลงอีสาน โดยมาก เปน็ ทานองโนต้ กระโดด ใชโ้ นต้ ในแต่ละลายเพลง 5
โน้ต ซึ่งโน้ตหลกั 5 โน้ตของลายสรอ้ ยคอื “ร ม ซ ล ท”
วเิ คราะห์การสรรหาและคัดเลือกศิลปนิ มรดกอีสาน|17
บันไดเสียงลายสร้อย ควรเรียกว่าอยู่ในบันได D Mode ออกสาเนียงMajor ไม่ใช่บันได D Major
แม้ว่าทานองจะจบลงท่ีเสียง เร หรือ D และใช้เสียงเร เป็นเสียงประสานยืน ก็ตาม ถ้าจะจัดเข้าบันไดทาง
เมเจอร์ ควรจะเรียกว่าอยู่ในบันได G Major แต่ใช้เสียงในขั้นท่ี5 (dominant) คือเสียง D เป็นเสียงเอก
(primary tone ไม่ใช่ Tonic) การจัดเช่นน้ี มีเหตุผลตรงที่ ลายสร้อย มีลายเซเป็นเครือญาติทางไมเนอร์
(relative minor) และลายเซมีเสยี ง E หรือมี เป็น โทนิค หรอื เสียงศูนยก์ ลาง เพราะฉะนั้น ลายสรอ้ ย จงึ ตอ้ งมี
เสียง G หรือ ซอล เป็นโทนิค จึงจะถูกต้อง บันไดเสียงท่ีมีเสียงซอล หรือ G เป็นโทนิค ก็คือบันได G Major
นน่ั เอง
2.5 แนวคดิ เกยี่ วกบั ศลิ ปินแหง่ ชาติ
ผู้วิเคราะห์ได้รวบรวมคาประกาศเกียรติคุณของศิลปินแห่งชาติที่มีความสอดคล้องกับผลงานเชิง
สงั เคราะห์เร่อื งแนวทางการสรรหาและคดั เลอื กศลิ ปนิ มรดกอีสาน
2.5.1 นางนิตยา รากแกน่ (ชอ่ื ในการแสดง “บานเยน็ รากแก่น”) เกดิ วนั ที่ 14 ตลุ าคม พ.ศ.2495 ที่
จังหวัดอุบลราชธานี จบการศึกษาชั้นประถมปีท่ี 4 โรงเรียนสามัคคีวิทยาคาร จังหวัด อุบลราชธานี ภายหลัง
ในปี พ.ศ.2544 ได้รับปริญญาศิลปศาสตรมหาบัณฑิตกิตติมศักด์ิ สาขานาฏศิลป์และการละคร จาก
มหาวิทยาลัยราชภัฎอุบลราชธานี จังหวัดอุบลราชธานี เริ่มต้นชีวิตหมอลาหลังจากจบการศึกษาประถมปีที่ 4
โดยเป็นศิษย์ครูหนูเวียง แก้วประเสริฐ ซึ่งเป็นหมอลากลอนที่มีช่ือเสียงของจังหวัดอุบลราชธานี ทุ่มเทฝึกซ้อม
อย่างหนักทั้งกลอนลา ท่าฟ้อนรา จนสามารถขึ้นเวทีแสดงหมอลากลอนได้ในขณะท่ีมีอายุเพียง 14 ปี รับงาน
แสดงหมอลาเป็นอาชีพมาจนกระท่ังถึงปัจจุบัน ด้วยความเฉลียวฉลาดในการด้นกลอน มีปฏิภาณไหวพริบ
น้าเสียงไพเราะ รูปร่างหน้าตาดี จึงทาให้เป็นที่นิยมชมชอบของผู้ชม ในปี พ.ศ.2516 ต้ังวงดนตรีลูกทุ่งหมอลา
บานเย็น รากแก่น รับงานแสดงในจังหวัดต่างๆ จนได้รับการขนานนามว่า ราชินีหมอลา เข้าสู่วงการ
อุตสาหกรรมบันเทิงในปี 2523 ร้องเพลงหมอลาแนวอนุรักษ์และแนวร่วมสมัยบันทึกเสียงเพลงในสังกัดค่าย
ต่างๆ อาทิ ค่ายเสียงสยาม บริษัทนิธิทัศน์ บริษัทแคนซอ บริษัทท็อปไลน์มิวสิค ผลิตผลงานเพลงออกสู่
สาธารณชนเป็นจานวนมาก ทั้งในรูปแบบของอัลบั้มเพลง มิวสิควิดีโอ และการแสดงคอนเสิร์ตสาคัญๆ
มากมาย เป็นศิลปินพื้นบ้านที่ได้รับการยอมรับและยกย่องในพื้นที่ส่ือสาธารณะอย่างกว้างขวาง หมอลา
บานเย็น รากแก่น เปน็ ศลิ ปนิ ทแี่ ม้จะมีรากฐานมาจากศิลปะการแสดงพนื้ บ้านแต่ก็ไม่เคยหยุดนิ่งอยู่กับที่ สนใจ
ในการพัฒนารูปแบบและเน้ือหาของการแสดงเชิงสร้างสรรค์มาโดยตลอด ทั้งการพัฒนาวิธีการร้องลาท่ีมี
เอกลกั ษณ์ในการใช้น้าเสยี งลูกเอื้อน การเลือกใช้ดนตรผี สมรว่ มกันระหว่างเครื่องดนตรีพื้นบ้านอสี านกับเครื่อง
ดนตรสี ากลอยา่ งกลมกลืน การแต่งกายที่ออกแบบตัดเย็บด้วยตนเองจากวัตถุดบิ ผ้าอีสานจนเกิดรูปแบบแฟช่ัน
ท่ีเป็นเอกลักษณ์โดดเด่นทุกคร้ังที่เปิดการแสดง และสร้างสรรค์การฟ้อนราท่ีผสมผสานแม่ท่าโบราณกับนาฏย
ลีลาที่ออกแบบใหม่ อาทิ ท่าฟ้อนเถาวัลย์ ท่าฟ้อนภมรเคล้า ท่าฟ้อนลมหวน ท่าฟ้อนเหินหรรษ์ ท่าฟ้อนปีก
สะบัดน้า ท่าฟ้อนลาแพน ฯลฯ ทางานอุทิศตนให้กับการยกระดับมาตรฐานหมอลาอย่างจริงจังมา ยาวนานถงึ
๔ ทศวรรษ ในฐานะที่เป็นผู้อนุรักษ์และเผยแพร่ศิลปวัฒนธรรมไทย โดยเฉพาะศิลปะเพลงพื้นบ้าน อีสานให้
เป็นที่รู้จักและเผยแพร่ไปท่ัวโลก ประเทศที่เคยเปิดการแสดง อาทิ ฝร่ังเศส สหรัฐอเมริกา แคนาดา เยอรมัน
วิเคราะห์การสรรหาและคดั เลือกศิลปนิ มรดกอสี าน|18
องั กฤษ เดนมารก์ คเู วต ชลิ ี ฯลฯ นอกจากนี้ยงั ไดอ้ ทุ ิศตนเป็นครผู ู้ถ่ายทอดภูมปิ ัญญาการขบั ร้องกลอนลา และ
แบบแผนลีลาฟ้อนราให้แก่ลูกศิษย์ทั้งในสถาบันการศึกษาและผู้สนใจท่ัวไป จนเกิดหมอลารุ่นใหม่และศิลปิน
นักร้องนักเต้นอีสานออกมารับใช้สังคมเป็นจานวนมาก ได้รับรางวัลยกย่องเกียรติคุณสาคัญ อาทิ พระพิฆเนศ
ทองพระราชทาน ศิลปินดีเด่นจังหวัดอุบลราชธานี รางวัลเชิดชูเกียรติศิลปินมรดกอีสาน นางนิตยา รากแก่น
จึงได้รับการยกย่องเชิดชูเกียรติเป็นศิลปินแห่งชาติ สาขาศิลปะการแสดง(การแสดงพื้นบ้าน-หมอลา)
พุทธศักราช 2556 (กรมส่งเสริมวัฒนธรรม กระทรวงวัฒนธรรม สาหรับใช้ประโยชน์เพื่อเผยแพร่
ศลิ ปวฒั นธรรมและการศกึ ษา จาก http://art.culture.go.th/art01.php?nid=204)
2.5.2 ศิลปินพ้นื บา้ น ปราชญ์พน้ื บ้าน
ผู้วิเคราะห์ ได้รวบรวมผู้สร้างสรรค์ผลงานอันหลากหลาย เป็นมรดกทางวัฒนธรรมของชาว
อีสาน จึงขอประกาศเชิดชูคุณูปการของท่านเหล่าน้ันให้ลกู หลานได้รจู้ ัก เพื่อเป็นแบบอย่างแก่อนุชนรุ่นหลัง ผู้
ศึกษาได้สืบค้นทาง (ท่ีมา: webmaster (@t) isangate.com) ท่ีได้รวบรวมข้อมูลศิลปินพื้นบ้านไว้เพ่ือให้ผู้
ศึกษาได้คน้ หาชีวประวัตขิ องศลิ ปนิ ในแตล่ ะประเภทขอ้ มลู และภาพประกอบ มีดงั ตอ่ ไปน้ี
ภาพท่ี 4 แสดงรูปภาพศิลปินแห่งชาติ ประจาปี 2529 แยกเป็นแต่ละสาขาภาคอสี าน
ท่มี า: https://www.isangate.com/new/art-local-people.html
วิเคราะห์การสรรหาและคัดเลือกศิลปินมรดกอีสาน|19
ภาพท่ี 5 แสดงรปู ภาพศิลปนิ แห่งชาติ ประจาปี 2540-2534 แยกเป็นแต่ละสาขาภาคอสี าน
ที่มา: https://www.isangate.com/new/art-local-people.html
ภาพที่ 6 แสดงรูปภาพศิลปนิ แหง่ ชาติ ประจาปี 2549-2557 แยกเป็นแตล่ ะสาขาภาคอีสาน
ทม่ี า: https://www.isangate.com/new/art-local-people.html
ภาพที่ 7 แสดงรปู ภาพปราชญ์ชาวบ้าน แยกเป็นแตล่ ะสาขาภาค
ทม่ี า: https://www.isangate.com/new/art-local-people.html
วเิ คราะห์การสรรหาและคัดเลือกศลิ ปนิ มรดกอสี าน|20
ภาพที่ 8 แสดงรูปภาพปราชญช์ าวบา้ น แยกเป็นแต่ละสาขาภาค
ท่ีมา: https://www.isangate.com/new/art-local-people.html
ภาพท่ี 9 แสดงรปู ภาพศิลปินนกั ร้อง/หมอลา แยกเป็นแต่ละสาขาภาค
ทม่ี า: https://www.isangate.com/new/art-local-people.html
ภาพท่ี 10 แสดงรปู ภาพผกู้ ่อตง้ั วงดนตรีลูกทุ่งพูดจาภาษาอีสาน
ท่มี า: https://www.isangate.com/new/art-local-people.html
วเิ คราะห์การสรรหาและคดั เลือกศิลปนิ มรดกอสี าน|21
ภาพที่ 11 แสดงรูปภาพศิลปนิ พน้ื บา้ นแต่ละสาขา
ทีม่ า: https://www.isangate.com/new/art-local-people.html
ภาพที่ 12 แสดงรูปภาพนักแตง่ เพลงลูกท่งุ /หมอลา
ที่มา: https://www.isangate.com/new/art-local-people.html
ภาพท่ี 13 แสดงรูปภาพหมอลากลอน ผู้แต่งกลอนหมอลา
ที่มา: https://www.isangate.com/new/art-local-people.html
วิเคราะห์การสรรหาและคัดเลือกศลิ ปนิ มรดกอสี าน|22
ภาพที่ 14 แสดงรูปภาพหมอลาอาวุโส ปราชญช์ าวบ้าน
ทมี่ า: https://www.isangate.com/new/art-local-people.html
ภาพที่ 15 แสดงรปู ภาพนักคิด นกั เขียน นักวิชาการศึกษา นกั ประพันธ/์ นกั ร้อง
ที่มา: https://www.isangate.com/new/art-local-people.html
ภาพท่ี 16 แสดงรูปภาพพระสงฆ์ผู้สืบสานต่อพระศาสนา และภูมปิ ญั ญาอสี าน/ค่ายเพลงอสี าน
ท่ีมา: https://www.isangate.com/new/art-local-people.html
วิเคราะห์การสรรหาและคัดเลือกศิลปินมรดกอสี าน|23
ภาพท่ี 17 แสดงรูปภาพศิลปนิ วาดภาพประกอบแบบเรียน/ ดาวตลก/ปราชญ์พื้นบ้าน
ทีม่ า: https://www.isangate.com/new/art-local-people.html
ภาพท่ี 18 แสดงรูปภาพศลิ ปินพื้นบา้ นกันตรึม/ นักเรียบเรียงประสานดนตร/ี ผปู้ ระพันธก์ ลอนลา
ที่มา: https://www.isangate.com/new/art-local-people.html
ภาพที่ 19 แสดงปฏิทินประเพณีอสี านในแต่ละเดือน
ทม่ี า: https://www.isangate.com/new/art-local-people.html
วิเคราะห์การสรรหาและคดั เลือกศลิ ปินมรดกอีสาน|24
2.6 งานวิจยั ท่เี กี่ยวข้อง
อารีรตั น์ ทรงกลด (บทคดั ยอ่ : 2557) สอ่ื วัสดุ สะทอ้ นวถิ ีชนบทอสี าน. เป็นการแสดงออก ถงึ เรอ่ื งราว
เก่ียวข้องกับวํิถีชีวิตในชนบทอีสาน มาเป็นแรงบันดาลใจในการสร้างสรรคผ์ลงานศิลปะ โดยนาเสนอเร่ือง
เก่ียวกบั ความเปน็ อยู่ของวิถชี ีวิตทเี่ รียบง่ายสภาพความเปน็ ไปตามธรรมชาติ แวดล้อมในชนบทอีสานนาเสนอ
สาระอันดงี ามของในชนบทอสี านด้วยการแสดงออกทางศลิ ปะที่ มีลักษณะของผลงานจิตรกรรมผสม การสร้าง
ประกอบกันเป็นรูปแบบและรูปทรงน่ันใช้วัสดุ ความสัมพันธ์ของวิถีชีวิต ความรู้สึกและอารมณ์ส่วนตัวท่ีมี
สภาพแวดล้อมกับที่อยู่อาศัยและ เครื่องมือเครื่องใช้ต่างๆ ในชนบทอีสานการดารงชีวติ ที่สมั พันธ์กับธรรมชาติ
เพือ่ แสดงถึงวถิ ชี วี ิต แบบชาวบ้านพ้นื ถนิ่ อีสานโดยแทจร้ ิง ความรสู้ กึ นกึ ถงึ ของภาคอีสานมีความผกู พนักบัธรรม
ชาติ แบบพึ่งพาอาศัยมีความงามของธรรมชาติในแต่ละช่วงฤดูกาลและความเป็นอยู่ของส่วนหน่ึงํท่ีใช้ ชีวิตอยู่
อยา่ งเรียบงา่ ยสภาพความเป็นไปตามธรรมชาตแิ วดลอ้ มในชนบททย่ี งั พบเหน็ ได้ในปจั จุบัน
ศรสี คุ ล พรมโส และซิสกิ กา วรรณจันทร (บทคัดย่อ: 2561) แนวทางการพฒั นาบา้ นศิลปนิ แห่งชาติให้
เป็นแหล่งเรียนรู้ ทางด้านศิลปะและวัฒนธรรม งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาสภาพท่ัวไปของบ้านศิลปิน
แห่งชาติที่เข้า ร่วมโครงการเปิดบ้านศิลปินแห่งชาติกับกรมส่งเสริมวัฒนธรรม ปัญหา อุปสรรค และแนวทาง
การพัฒนาบ้านศิลปินแห่งชาติให้เป็นแหล่งเรียนรู้ทางด้านศิลปะและ วัฒนธรรม โดยศึกษาจากบ้านศิลปิน
แห่งชาติที่เข้าร่วมโครงการเปดิ บ้านศิลปนิ แหง่ ชาติ กับกรมส่งเสริมวัฒนธรรม ระหว่างปีพ.ศ. 2548 - 2559 ท่ี
มีความพร้อมตามเกณฑ์ ที่กาหนด ใช้วิธีวิจัยเชิงคุณภาพ โดยการสังเกตแบบมีส่วนร่วม และไม่มีส่วนร่วมการ
สัมภาษณ์เชิงลึก จากผู้ให้ข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับประเด็นวิจัย จานวน 12 คน ทาการวิเคราะห์โดยนาข้อมูลมา
จาแนกหมวดหมู่ ตีความ และสร้างข้อสรุป ผลการวิจัยพบว่า สภาพทั่วไปของบ้านศิลปินแห่งชาติสะท้อนถึง
ตัวตน ของศิลปินผ่านรูปแบบผลงานที่จัดแสดง ทุกหลังจะมีพื้นท่ีสาหรับให้ผู้ท่ีสนใจ เข้ามาร่วมกิจกรรม
ทางด้านศิลปะและวัฒนธรรม ด้านปัญหาและอุปสรรคที่พบ ได้แก่ ปัญหาด้านงบประมาณ บุคลากร การ
บริหารจัดการ และองค์ความรู้ของศิลปิน แห่งชาติ ส่วนแนวทางการพัฒนา น้ัน หน่วยงานภาครัฐที่เก่ียวข้อง
ควรส่งเสริมให้บ้าน ศิลปินแห่งชาติสามารถอยู่ได้ แม้ไม่ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจากภาครัฐเพิ่มทักษะ
ในด้านต่างๆ ที่เก่ียวข้องกับการพัฒนาบ้านศิลปินแห่งชาติ ให้แก่บุคลากรในบ้าน รวมทั้งขอความร่วมมือกับ
หน่วยงานที่เก่ียวข้องในระดับจังหวัดเพื่อเช่ือมโยงกับสถานท่ี ท่องเท่ียวอื่นท่ีอยู่ใกล้เคียง สร้างแรงจูงใจให้
ประชาชนทั่วไปเข้ามาเย่ียมชมและสร้างรายได้ ให้กับบ้านศิลปิน และสนับสนุนให้บ้านศิลปินแห่งชาติเป็น
แหล่งเรียนรู้นอกช้ันเรียน เพื่อให้เด็กและเยาวชน ตระหนักถึงคุณค่าและความสาคัญของบ้านศิลปินแห่งชาติ
สืบไป
ระวิวรรณ วรรณวิไชย. (2556). ภูมิปัญญาด้านศิลปะการแสดงพ้ืนบ้านกับบทบาทการมีส่วนร่วมของ
เครือข่ายวัฒนธรรมท้องถ่ิน กรณีศึกษา การอนุรักษ์สืบทอดละครชาตรี เมืองเพชร งานวิจัยวัตถุประสงค์เพื่อ
1) เพื่อศึกษารูปแบบ ลักษณะ และบทบาทของการรวมตัวของละครชาตรีกลุ่มเยาวชนลูกระนาด ในฐานะ
แหล่งการเรียนรู้ภูมิปญญาท้องถิ่นด้านศิลปะการแสดงละครชาตรีในจังหวัดเพชรบุรี 2) เพื่อศึกษาละครชาตรี
กลุ่มเยาวชน ลูกระนาดในด้านกระบวนการมีส่วนร่วมของเครือข่ายวัฒนธรรม ท้องถ่ินในการขับเคลื่อนการ
อนุรักษแ์ ละสืบทอดภูมิปญญาพ้ืนบ้านดา้ นละครชาตรีไปสปู่ ระชาชน 3) เพ่อื ศกึ ษาละครชาตรีกลุ่ม เยาวชนลูก
วเิ คราะห์การสรรหาและคัดเลือกศิลปินมรดกอีสาน|25
ระนาดในด้านกระบวนการถ่ายทอดองค์ความรู้ ภูมิปญญาท้องถ่ินทางด้านศิลปะการแสดงละครชาตรีใน
จังหวัด ั เพชรบุรี ผลการวิจัย พบว่า 1) ด้านรูปแบบ ลักษณะ และบทบาท มีการรวมกลุ่มอย่าง สมัครใจ
ลักษณะกลุ่มอาสาสมัครเชิงอุดมคติ ไม่หวังผลตอบ แทบ มุ่งอนุรักษ์ศิลปวัฒนธรรมให้ดารงอยู่ และการพัฒนา
เป็น “สื่อ พ้ืนบ้าน” ที่มีบทบาทในการเผยแพร่ข่าวสารให้ความรู้แก่คนใน ชุมชน 2) ด้านกระบวนการมีส่วน
ร่วมของเครือข่ายวัฒนธรรม ท้องถิ่น พบว่า การมีส่วนร่วมอนุรักษ์สืบสาน มีค่าเฉล่ียมาก ท่ีสุด ส่วนการมีสว่ น
ร่วมในการวางแผน มีค่าเฉล่ียน้อยที่สุด 3) ด้านกระบวนการถ่ายทอดองค์ความรู้ พบว่า มุ่ง หมายเพ่ือการ
อนุรักษ์ สร้างความตระหนักให้เยาวชนเหน็ คุณค่า การสืบสานละครชาตรีเมืองเพชร การพัฒนาละครชาตรีให้
เป็นสื่อ พื้นบ้านท่ีสามารถใช้ส่ือสารสร้างความเปลี่ยนแปลงกับชุมชน และ เป็นกิจกรรมสร้างสรรค์ส่งเสริมสุข
ภาวะชุมชน การถ่ายทอดโดย ศิลปินละครชาตรี ถ่ายทอดจากผู้นากลุ่ม และการส่งเสริมให้เกิด ประสบการณ์
จริง
อรทัย พรมเทพa,* สันติ ศรีสวนแตงb และ วีรฉัตร์ สุปัญโญ. กระบวนการเรียนร้และถ่ายทอด
ศิลปะการแสดงพื้นบ้านหนังตะลุง ในจังหวัดสงขลา งานวิจัยเชิงคุณภาพนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา บริบท
ของศิลปะการแสดงพ้ืนบ้านหนังตะลุงจังหวัดสงขลา และวิเคราะห์กระบวนการเรียนรู้และถายทอด
ศิลปะการแสดงพื้นบ้าน หนังตะลุงจังหวัดสงขลา เกบรวบรวมและตรวจสอบความเช่ือ ถือได้ข้อมูลด้วย
เทคนิคสามเส้าจากการวิเคราะห์เอกสาร การ สังเกตสภาพจริง และการสัมภาษณ์เชิงลึกจากกลุ่มผู้ให้ข้อมูล
หลักท่ีคัดเลือกแบบเจาะจง ได้แก่ กลุ่มผู้ถ่ายทอด จานวน 9 คน กลุ่มผู้รับการถ่ายทอด จานวน 12 คน และ
กลุ่มผู้เชี่ยวชาญกบั ศิลปะการแสดงพื้นบ้านหนังตะลุงในจังหวัดสงขลา จานวน 2 คน นาเสนอผลการ
วิเคราะห์ข้อมูลในรูปแบบของการบรรยาย เชิงพรรณนา ผลการศึกษาพบว่าบริบทของศิลปะการแสดง
พ้ืนบ้านด้นบ้าน หนังตะลุงในจังหวัดสงขลาน้ัน ด้านพื้นท่ีศิลปะการแสดง ประเภทนี้มีการรวมตัวกันอยู่ใน
บริเวณ 7 อาเภอ คือ เมือง สงขลา ควนเนียง รัตภูมิ บางกล่า หาดใหญ่ นาหม่อม และคลอง หอยโข่ง ด้าน
รูปแบบการแสดงมี 2 รูปแบบ คือ 1) รูปแบบที่ แบ่งตามวัตถปุ ระสงค์ของการแสดง ได้แก่ การแสดงแบบหนงั
ช้ันครูและการแสดงเพื่อความบันเทิงเชิงการตลาด 2) รูปแบบที่ แบ่งตามระดับคุณภาพการแสดงของผู้แสดง
หนังตะลงุ ไดแ้ ก่ ระดบั หนังดี ระดับหนงั ดงั และระดบั เลน่ หนังได้ ดา้ นการเขยี น วรรณกรรม บทหนงั ตะลุงใน
จงั หวดั สงขลาสว่ นใหญใ่ ช้เร่ือง รามเกยี รติ์ เรอื่ งจกั รๆ วงศ์ๆ และเร่ืองจากนวนิยายสะท้อนชีวิต จริ งในสังคม
ด้านการสร้างสรรค์ตัวละคร จาแนกเป็น ตัวหลัก ตัวตลก และรูปเบ็ดเตล็ด ด้านการแสดงดนตรี ใช้ดนตรี
เครื่องห้า และใช้เคร่ืองดนตรี แบบผสมผสาน กระบวนการเรี ยนรู้และถ่ายทอด พบว่า มี 3 รู ปแบบ คือ 1)
ในระดับบุคคลเป็นแบบพึ่งพาตัวเองเป็นหลัก 2) ในระดับ กลุ่มเป็นแบบรู้จักเข้าหาครู และ 3)ในระดับ
หน่วยงานเป็นแบบ แสวงหาผู้รู้ช่วยแนะนาคาสาคัญ: กระบวนการเรียนรู้และถ่ายทอดศิลปะการแสดง, หนัง
ตะลงุ , ศิลปะการแสดงพืน้ บา้ นภาคใต้
รองศาสตราจารย์ ดร.ศุภกรณ์ ดิษฐพันธุ์ นายปริญญา ขาวผ่อง นายอภิวัฒน์ สุดสาคร. (2555). ได้
ศึกษาเร่ืองปัจจัยความสาเร็จท่ีมีต่อการสร้างสรรค์งานศิลปะของศิลปินไทย: กรณีศึกษา ตลาดศิลปะร่วมสมัย
ในมลรัฐแคลิฟอร์เนีย นิวยอร์ก ชิคาโก ประเทศสหรัฐอเมริกาการวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์ 1) เพ่ือศึกษาตลาด
ศิลปะร่วมสมัยในเขตมลรัฐแคลิฟอร์เนีย นิวยอร์ก และเมืองชิคาโก ประเทศสหรัฐอเมริกา 2) เพ่ือพัฒนาการ
วิเคราะห์การสรรหาและคดั เลือกศลิ ปนิ มรดกอีสาน|26
สร้างสรรค์งานศิลปะของศิลปินไทย และ 3) เพื่อนาเสนอปัจจัยความสาเร็จในการเปิดตลาดศิลปะร่วมสมัยใน
ประเทศไทยและตลาดโลก ผู้วิจยั ได้ ศึกษา เอกสารและงานวิจัยทเ่ี กย่ี วขอ้ ง การ สัมภาษณ์ กลมุ่ ศลิ ปนิ ศลิ ปะ
ร่วมสมัยจานวน 15 ท่าน และได้มีการพัฒนาเครื่องมือท่ีใช้ในการวิจัยในการประเมินผลงานศิลปะ
จาแนกตามประเภทของผลงาน ตามหลักทัศนธาตุ หลักสาคัญของการออกแบบ และรูปแบบของงานศิลปะ
ร่วมสมัยที่ปรากฏในหอศิลป์ และนิทรรศการงานศิลปะ จานวน 252 แห่งมีผลงานศิลปะทั้งสิ้น 1,007 ชิ้นงาน
โดยการวิเคราะห์เนื้อหา ค่าร้อยละความถ่ี และการจัดประชุมผู้ทรงคุณวุฒิเพ่ือรับรองรูปแบบปัจจัยความส า
เร็จผลการวิจยั พบว่า 1. การศึกษา เอกสารและวรรณกรรมท่ีเก่ียวข้องในเรื่อง ตลาดศิลปะร่วมสมัยในเขตมล
รัฐ แคลิฟอร์เนีย นิวยอร์ก เมืองชิคาโก ประเทศ สหรัฐอเมริกา พบว่า ตลาดศิลปะ แบ่งออกเป็น 3 ประเภท
คือ1) ตลาดศิลปะระดับเร่ิมต้นสาหรับศิลปินที่เริ่มต้น 2) ตลาดศิลปะระดับกลางสาหรับศิลปินท่ีกาลังมี
ชื่อเสียงราคาไม่สูงนัก และ3) ตลาดศิลปะระดับสูงของศิลปินที่มีช่ือเสียงแลว้ โดยแบ่งประเภทของผู้ที่ซื้อ งาน
ออกได้เป็น 3 ประเภท คือ 1) ผู้สะสมงานอิสระ 2) ตัวแทนขายงานศิลปะ และ 3) พิพิธภัณฑ์ศิลปะ ซ่ึงการ
ตัดสินใจในการซือ้ ขายงานศิลปะขึ้นอยกู่ ับความต้องการของผ้ซู ื้องานศิลปะ โดยพิจารณาจาก 1) วัตถุประสงค์
ของผู้ซ้ือผลงานศิลปะสร้างสรรค์ข้ึนโดยใคร 2) ช่ือเสียงของศิลปินและประวัติของ ศิลปิน 3) การกาหนดราคา
ของผลงาน 4) ตัวแทนในการซ้ืองาน 5) วิธีการชาระเงิน 2. ผลงานของศิลปินศิลปะร่วมสมัยในประเทศ
สหรัฐอเมริกา จาแนกตามทัศนธาตุ พบว่า ศิลปินในมลรัฐแคลิฟอร์เนีย เมืองนิวยอร์ก และชิคาโก ผลิตผลงาน
ศิลปะโดยใช้เสน้ แสงและเงาที่อาศัย หลักการขัดแย้ง ศิลปินในมลรัฐแคลิฟอร์เนยี และเมืองชิคาโกผลิตผลงาน
ศิลปะท่ีเน้นรูปร่างและรูปทรง อิสระ พื้นผิวมีลักษณะลวงตา 2 มิติ และใช้สีที่ขัดแย้งกันเป็นส่วนใหญ่ ส่วน
เมืองนิวยอร์กศิลปินผลิต ผลงานศิลปะที่ใช้รูปร่างและรูปทรง มีลักษณะความเป็นอินทรีย์รูป พื้นผิวมีความ
ขัดแย้งและใช้สีที่ กลมกลืน ศิลปินในเมืองนิวยอร์กและชิคาโก ผลิตผลงานศิลปะที่มีพ้ืนท่ีลักษณะ 2 มิติ และ
ใช้โทนสี วรรณะร้อนเป็นส่วนใหญ่ แตกต่างกับมลรัฐแคลิฟอร์เนียผลิตผลงานศิลปะท่ีใช้โทนสีวรรณะเย็น 3.
ผลงานของศิลปินศิลปะร่วมสมัยในประเทศสหรฐั อเมริกา จาแนกตามหลักการออกแบบ พบว่า ทั้ง 3 แห่ง คือ
มลรัฐแคลิฟอร์เนีย เมืองนิวยอร์ก และชิคาโก ท่ีผลิตผลงานศิลปะ ไปในทาง เดียวกัน คือ แสดงความเป็น
เอกภาพที่ผ่านการตัดกันและเช่ือมโยง ใช้ดุลยภาพซ้ายขวาเท่ากันโดย ความรู้สึก แสดงสัดส่วนที่มีความ
แตกต่างกัน ใช้จังหวะอย่างต่อเนื่อง และการทาซ้าของส่ิงท่ีคล้ายกัน สาหรับความกลมกลืนและการลดหลั่น
ผลงานของ ศลิ ปินในมลรฐั แคลิฟอร์เนีย และเมืองชคิ าโกใช้ ลักษณะการสร้างสรรคท์ ่เี หมือนกนั คอื ใช้ตัวเชื่อม
ในเรอ่ื งของความกลมกลนื และการลดหลั่นกบั ทศิ ทาง แตกตา่ งกับเมืองนิวยอร์ก ทใี่ ชว้ ิธีการเปล่ยี นแปลงทีละ
น้อยแสดงถึงความกลมกลืน และการ ลดหลั่นกับความเคลื่อนไหว 4. ผลงานของศิลปินศิลปะร่วมสมัยใน
ประเทศสหรัฐอเมริกา จาแนกตามตามรูปแบบงานศิลปะ ร่วมสมัย พบว่า ศิลปินในมลรัฐแคลิฟอร์เนีย เมือง
นิวยอร์ก และชิคาโก ผลิตงานศิลปะท่ีแสดงความเป็น เอกลักษณ์เฉพาะตน รองลงมาด้านร่างกาย และด้าน
วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ข 5. แนวทางการพัฒนาการสร้างสรรค์งานศิลปะของศิลปินไทย ประกอบด้วย
7 แนวทาง คือ 1) นโยบายของหน่วยงานภาครัฐ 2)ระบบการเรียนการสอนศิลปะ 3) การบริหารจัดการทาง
ธุรกิจ 4) ระบบและกลไกทางการตลาด 5) บทบาทของผู้เก่ียวข้องในงานศิลปะ 6) การผลิตผลงานศิลปะ และ
7) การเข้าถึงพ้ืนที่ และการตีพิมพ์เผยแพร่ 6. รูปแบบปัจจัยความสาเร็จท่ีมีต่อการสร้างสรรค์งานศิลปะของ
วเิ คราะห์การสรรหาและคดั เลือกศลิ ปินมรดกอสี าน|27
ศิลปินไทย: กรณีศึกษาตลาด ศิลปะร่วมสมัยในมลรัฐแคลิฟอร์เนีย นิวยอร์ก ชิคาโก ประเทศสหรัฐอเมริกา มี
องค์ประกอบ 4 ประการ คือ 1) วิสัยทัศน์ของหน่วยงานรัฐบาล 2) ระบบและกลไกการส่งเสริมผลงานศิลปะ
แบ่งเป็น 3 แนวทาง คือ(1) ระบบการเรียนการสอน (2) บทบาทของผู้เก่ียวข้อง ในตลาดศิลปะ และ (3)
กิจกรรมและ ประชาสัมพันธ์3) ระบบและโครงสร้างธุรกิจศิลปะ แบ่ง เป็น 2 แนวทาง คือ (1) กลไกตลาด
ศิลปะและ (2) โครงสร้างทางธุรกิจศิลปะ และ 4) ทิศทางและรูปแบบงานศิลปะร่วมสมัย พิจารณาผลงาน
ศลิ ปะของ ศลิ ปิน 4 ประเด็น คอื ประเภทของผลงาน ทศั นธาตุ หลกั สาคญั ของการออกแบบ และรปู แบบของ
งาน ศลิ ปะร่วมสมยั
2.7 กรอบแนวคดิ ในการศกึ ษา
เกณฑค์ ณุ สมบัตขิ องศิลปนิ มรดกอีสาน สาขาและขอบขา่ ยความหมาย
เกณฑค์ ณุ ค่ามาตรฐานผลงานศิลปะของศลิ ปนิ มรดกอีสาน 1) สาขาทศั นศลิ ป์
2) สาขาวรรณศลิ ป์
เกณฑค์ ณุ คา่ มาตรฐานผลงานศลิ ปะของศิลปนิ มรดกอสี าน 3) สาขาศิลปะการแสดง
เกณฑ์การเผยแพรแ่ ละยอมรับคณุ คา่ ผลงานของศิลปนิ แนวทางการสรรหาและคัดเลือก
มรดกอีสาน ศิลปินมรดกอีสาน
ภาพท่ี 20 กรอบแนวคิดในการศึกษา
วิเคราะห์การสรรหาและคดั เลือกศิลปนิ มรดกอสี าน|28
บทท่ี 3
วธิ กี ารวิเคราะห์
ผู้วิเคราะห์เร่ืองวเิ คราะห์การสรรหาและคดั เลือกศลิ ปินมรดกอีสาน ศนู ยว์ ฒั นธรรม มหาวิทยาลัยขอนแก่น
ได้ทบทวนทฤษฎีและงานวจิ ยั ท่เี กีย่ วข้องของงานวเิ คราะห์ และมีวิธีดาเนินการศกึ ษา ดังต่อไปน้ี
3.1 ขอบเขตขอ้ ตกลงการวเิ คราะห์
3.2 การเกบ็ รวบรวมข้อมูล
3.3 ประชากรและกล่มุ ตวั อย่าง
3.4 เครื่องมอื ทใ่ี ชใ้ นการวเิ คราะห์
3.5 การวเิ คราะห์ขอ้ มูลและสถิติทใ่ี ช้
3.6 การนาเสนอ
3.1 ขอบเขตขอ้ ตกลงการวิเคราะห์
ผู้ วิ เ คร า ะห์ ใ ช้ วิ ธี เ ชิ ง พร ร ณา แ ล ะวิ เ คร า ะห์ จ า ก กา ร คัด เ ลื อ กแ ล ะรั บ ส มั ค ร บุ ค คล ผู้ ส ร้ า ง ส ร ร ค์ผ ล ง า น
ศิลปวัฒนธรรม เป็นผู้ประสานงานหลักทุกข้ันตอน ดังน้ันการพิจารณาของคณะกรรมการกล่ันกรองและ
คณะกรรมการตัดสินศลิ ปนิ มรดกอีสาน จาเปน็ ต้องมีองค์ความรู้ดา้ นการศึกษาข้อมูลประวัติผลงานศลิ ปินและส่ือวีดี
ทัศน์หนังสือตาราต่างๆท่ีศิลปินเสนอเข้ามา เพ่ือประกอบการพิจารณาตัดสินประกาศยกย่องเชิดชูเกียรตเิ ป็นศิลปนิ
มรดกอีสาน ซึ่งนับเป็นข้อมูลท่ีมีความจาเป็นต่อศิลปินในแต่ละสาขา ท้ังน้ี ถ้าข้อมูลศิลปินที่มีรายละเอียดและ
คุณภาพมากเพียงใดก็จะเปน็ ประโยชน์ต่อการพิจารณาของคณะกรรมการเพ่ิมมากข้ึนเพยี งน้นั
3.2 การเกบ็ รวบรวมข้อมูล
ผู้วิเคราะห์ใช้ประกาศมหาวิทยาลัยขอนแก่น ฉบับท่ี 1988 / 2562 เรื่อง หลักเกณฑ์การพิจารณาคัดเลือก
ศิลปินมรดกอีสาน ประจาปี 2563 ประกาศ ณ วันท่ี 25 กรกฎาคม 2562 ซ่ึงประกาศฉบับดังกล่าวน้ีเป็นประกาศ
ฉบบั ใหม่ ท่มี หาวทิ ยาลัยขอนแก่น ประกาศใชใ้ นการพจิ ารณาคดั เลอื กศลิ ปนิ มรดกอสี านโดยสาระสาคญั ดงั นี้
หลกั เกณฑก์ ารคดั เลอื กศลิ ปินมรดกอสี าน ประกอบดว้ ย 3 หลักเกณฑ์ ได้แก่
เกณฑ์ท่ี 1 คุณสมบตั ศิ ิลปินมรดกอีสาน
(1) เป็นศลิ ปินที่มสี ัญชาติไทย
(2) เป็นศิลปินที่มีความรู้ความสามารถ มีความเช่ียวชาญ และมีผลงานดีเด่นเป็นที่ยอมรับของ
ศิลปะแขนงนั้นๆ
วเิ คราะห์การสรรหาและคัดเลือกศลิ ปินมรดกอีสาน|29
(3) เป็นศิลปินท่ีสร้างสรรค์และพัฒนาศิลปะแขนงน้นั หรอื เป็นผู้อนุรกั ษ์ถา่ ยทอด หรือเปน็ ต้นแบบ
ศลิ ปะแขนงน้นั ๆ
(4) เป็นศลิ ปนิ ทีม่ คี ณุ ธรรมหรือเปน็ ผมู้ ผี ลงานทกี่ ่อประโยชนต์ ่อสงั คมและมนุษยชาติ
(5) เปน็ ศลิ ปินทม่ี ีผลงานศิลปะแขนงน้ันไม่น้อยกว่า 20 ปี
เกณฑท์ ี่ 2 คณุ ค่ามาตรฐานผลงานศลิ ปะของศลิ ปินมรดกอสี าน
(1) ผลงานมีความประณีต ละเอียด ลึกซ้ึง หรือมีกลวิธีสร้างสรรค์อันส่ือให้เห็นคุณค่าในความดี
ความงาม คุณค่าทางอารมณ์ สะท้อนความเป็นธรรมชาติ หรือ สถานภาพทางสังคม และ
วัฒนธรรมแห่งยคุ สมยั คา่ นยิ ม จริยธรรม เอกลักษณ์ อัตลกั ษณข์ องทอ้ งถ่ินอีสาน
(2) ผลงานสร้างสรรค์แสดงออกแนวคิด กระตุ้นและพัฒนาการทางสติปัญญาแก่ชุมชน สังคม
ทอ้ งถ่ินอีสาน
(3) ผลงานให้คณุ ค่าทางสนุ ทรยี ภาพ สง่ เสริมความรู้ และจินตนาการ
เกณฑท์ ี่ 3 การเผยแพรแ่ ละยอมรบั คณุ ค่าผลงานของศิลปินมรดกอสี าน
(1) ผลงานได้รับการเผยแพร่ต่อสาธารณชน มีหลักฐานอันเช่ือได้ว่ามีผลงานที่แสดงให้เห็นถึง
แนวคิดพัฒนาการผลงานทางศลิ ปะแขนงนั้นๆ อยา่ งเด่นชัด
(2) ผลงานได้รับการยอมรับ ในระดับทอ้ งถิน่ และระดบั ชาติ หรือระดบั นานาชาติ
2 สาขาและขอบขา่ ยความหมาย ในการคดั เลือกศลิ ปนิ มรดกอสี าน มี 3 สาขา ได้แก่
2.1 สาขาทศั นศิลป์ หมายถงึ ศลิ ปะที่มองเห็นได้ดว้ ยตาทง้ั ทเ่ี ป็นสองมติ หิ รือสามมิติ
แบง่ ออกเป็น วิจิตรศิลป์ และประยุกตศ์ ิลป์ อาทิ จติ รกรรม ประติมากรรม สถาปตั ยกรรม หตั กรรม ภาพถ่าย สื่อ
ประสม ฯลฯ
2.2 สาขาวรรณศิลป์ หมายถึง บทประพันธ์ท่ีแต่งอย่างมีศิลปะ ท้ังร้อยแก้วและร้อยกรอง อาทิ
กลอนลา ผญา เรื่องส้ัน นวนิยาย เพลง วรรณรูป ฯลฯ
2.3 สาขาศิลปะการแสดง หมายถึง ศิลปะท่ีเกี่ยวข้องกับการแสดง ซ่ึงเป็นได้ทั้งแบบดั้งเดิมหรือ
พัฒนาขน้ึ ใหม่ อาทิ การละคร การดนตรี ภาพยนตร์ การแสดงพืน้ บา้ นรปู แบบตา่ งๆ ฯลฯ
3.2 ประชากรและกล่มุ ตัวอยา่ ง
ผู้วิเคราะห์ใช้ประกาศมหาวิทยาลัยขอนแก่น ฉบับที่ 1988 / 2562 เร่ือง หลักเกณฑ์การพิจารณาคัดเลือก
ศลิ ปนิ มรดกอีสาน ประจาปี 2563 ประกาศ ณ วนั ท่ี 25 กรกฎาคม 2562 ซ่ึงประกาศฉบบั ดงั กล่าวน้ี มีจานวนศิลปิน
ทม่ี ผี ูเ้ ช่ียวชาญแต่ละสาขาพจิ ารณาคัดเลือกศลิ ปินมรดกอสี าน รายละเอียดดงั น้ี
3.2.1 ประชากรและกลุ่มตัวอยา่ ง
ผู้วิเคราะห์ใช้จานวนประชากรและกลมุ่ ตัวอยา่ งแต่ละสาขา ดังตารางท่ี 7
วิเคราะห์การสรรหาและคัดเลือกศิลปินมรดกอีสาน|30
ตารางที่ 6 แสดงจำนวนประชำกรและกลุม่ ตวั อย่ำงศลิ ปินมรดกอีสำนประจำปี 2560-2563
ศิลปนิ มรดกอีสาน ประจาปี 2560 ศิลปนิ มรดกอสี าน ประจาปี 2561 ศิลปนิ มรดกอีสาน ประจาปี 2562
วรรณกรรม ทัศนศิลป์ ศลิ ปะกำร
วรรณกรรม ทัศนศิลป์ ศลิ ปะ วรรณกรรม ทศั นศลิ ป์ ศิลปะ
กำร กำร แสดง
แสดง แสดง
จำนวน จำนวน จำนวน
จำนวน จำนวน จำนวน จำนวน จำนวน จำนวน (คน) (คน) (คน)
(คน) (คน) (คน) (คน) (คน) (คน) 5 55
5 55 5 55
ตารางที่ 7 แสดงกลมุ่ ตัวอย่ำงใชว้ ธิ เี ฉพำะเจำะจงศิลปินมรดกอสี ำนตามหลกั เกณฑ์การพจิ ารณาคดั เลอื กศิลปนิ
มรดกอสี าน ตามประกาศมหาวทิ ยาลัขอนแกน่ ฉบบั ท่ี 2344/2561 ลงวนั ท่ี 29 สงิ หาคม 2561
หลกั เกณฑ์การพิจารณาคัดเลือกศลิ ปนิ มรดกอสี าน
เกณฑ์ท่ี 1 เกณฑ์ที่ 2 เกณฑ์ท่ี 3
คณุ สมบตั ิ คุณค่ำมำตรฐำนผลงำนศลิ ปะ กำรเผยแพรแ่ ละกำรยอมรบั ผลงำน
(จำนวน 5 ขอ้ ) (จำนวน 3 ข้อ) (จำนวน 2 ขอ้ )
จำนวน(คน) จำนวน(คน) จำนวน(คน)
5
55
3.4 เครอ่ื งมือทใ่ี ช้ในการวิเคราะห์
ผู้วิเคราะห์ใช้วิธีการสัมภาษณ์แบบเฉพาะเจาจงของศิลปินอีสานแยกตามสาขาและพิจารณาการคัดเลือก
ศิลปินมรดกอีสานตามหลักเกณฑ์การพิจารณาคัดเลือกศิลปินมรดกอีสาน ตามประกาศมหาวิทยาลัขอนแก่น ฉบับท่ี
2344/2561 ลงวนั ท่ี 29 สงิ หาคม 2561 ดังน้ี
2.1 สาขาทัศนศิลป์ หมายถึง ศลิ ปะทมี่ องเหน็ ไดด้ ว้ ยตาทง้ั ที่เปน็ สองมิติหรือสามมติ ิ
แบ่งออกเปน็ วจิ ติ รศิลป์ และประยุกต์ศลิ ป์ อาทิ จิตรกรรม ประติมากรรม
สถาปัตยกรรม หัตกรรม ภาพถ่าย ส่ือประสม ฯลฯ
2.2 สาขาวรรณศิลป์ หมายถงึ บทประพันธท์ ีแ่ ต่งอยา่ งมศี ิลปะ ทั้งร้อยแก้วและรอ้ ย
รอง อาทิ กลอนลา ผญา เร่ืองสน้ั นวนยิ าย เพลง วรรณรูป ฯลฯ
วเิ คราะห์การสรรหาและคัดเลือกศลิ ปินมรดกอีสาน|31
2.3 สาขาศิลปะการแสดง หมายถงึ ศิลปะท่ีเกีย่ วขอ้ งกบั การแสดง ซึ่งเปน็ ได้ทง้ั
แบบดั้งเดมิ หรือพัฒนาข้ึนใหม่ อาทิ การละคร การดนตรี ภาพยนตร์ การแสดง พื้นบ้านรูปแบบต่างๆ ฯลฯ
3.5 การวิเคราะหข์ ้อมูลและสถิติทีใ่ ช้
ผู้วิเคราะห์ใช้ข้อมูลตามกำรพิจำรณำคัดเลือกหลักเกณฑ์กำรคัดเลือกศิลปินมรดกอีสำน ผู้รับผิดชอบ
โครงกำรดำเนินกำรจัดประชุมกำรคัดเลือกศิลปินมรดกอีสำน เพื่อพิจำรณำหลักเกณฑ์และรูปแบบในกำรคัดเลือก
ศิลปินมรดกอีสำน ซ่ึงเครือข่ำยผู้เสนอรำยช่ือศิลปินจะต้องดำเนนิ กำรให้เป็นไปตำมเกณฑ์ที่คณะกรรมกำรกำหนด มี
ดงั นี้
(1) คุณสมบัติศลิ ปนิ มรดกอสี าน
(2) คุณค่ามาตรฐานผลงานศิลปะศิลปนิ มรดกอสี าน
(3) การเผยแพรแ่ ละยอมรับคุณค่าผลงานของศลิ ปินมรดกอีสาน
ผู้วิเคราะห์ใชว้ ธิ กี ารวเิ คราะห์ข้อมลู แบบพรรณนาประกอบจานวนและตวั เลข เพื่อให้เข้าใจในการบรรยายใช้
รูปภาพประกอบการบรรยาย
3.6 การนาเสนอ
ผู้วิเคราะห์ใช้วธิ กี ารวิเคราะหข์ ้อมลู แบบพรรณนาประกอบจานวนและตวั เลข เพ่อื ให้เข้าใจในการบรรยายใช้
รูปภาพประกอบการบรรยาย
วิเคราะห์การสรรหาและคดั เลอื กศลิ ปนิ มรดกอีสาน| 32
บทที่ 4
ผลการวเิ คราะห์
ผู้วิเคราะห์ได้ทบทวนแนวคิด ทฤษฎี งานวิจัยที่เก่ียวข้องรวมไปถึงวิธีการศึกษาจาก ประกาศ
มหาวิทยาลัยขอนแก่น (ฉบับที่ 1982/2562) เร่ือง หลักเกณฑ์การพิจารณาคัดเลือกศิลปินมรดกอีสาน
ประกาศ ณ วันท่ี 25 กรกฎาคม 2562 โดยหลักเกณฑ์ดังกล่าว มาวิเคราะห์เปรียบเทียบการคัดเลือกและ
การรับสมัครบุคคลผู้สร้างสรรค์ผลงานศิลปวัฒนธรรมที่สมควรได้รับการพิจารณายกย่องเชิดชูเกียรติให้เป็น
ศิลปนิ มรดกอีสาน ผเู้ ขียนแยกประเดน็ การวิเคราะห์ ดังนี้
1) เพ่ือวิเคราะห์ปัญหาและอุปสรรคในการคัดเลือกและการรบั สมคั รบคุ คลผสู้ ร้างสรรค์ผลงาน
ศลิ ปวฒั นธรรมสมควรได้รบั การพจิ ารณายกย่องเชิดชเู กยี รตใิ ห้เป็นศิลปินมรดกอีสาน ท่ีมีคณุ ภาพและ
มาตรฐานเป็นทีย่ อมรับแกส่ าธารณชน
2) เพ่ือวิเคราะห์การสรรหาและคัดเลอื กศลิ ปินมรดกอสี าน ทมี่ ีคณุ ภาพและมาตรฐานเป็นทีย่ อมรับ
แก่สาธารณชน
4.1 ผลวิเคราะห์ปัญหาและอุปสรรคในการคัดเลือกและการรับสมัครบุคคลผู้สร้างสรรค์ผลงาน
ศิลปวัฒนธรรมสมควรได้รับการพิจารณายกย่องเชิดชูเกียรติให้เป็นศิลปินมรดกอีสาน ที่มีคุณภาพและ
มาตรฐานเป็นทย่ี อมรบั แกส่ าธารณชน ศลิ ปินที่เข้ารับการพจิ ารณาตามหลักเกณฑ์ ประกอบด้วย
1. ประกาศหลักเกณฑ์ศลิ ปินมรดกอสี าน
2. ความหมายขอบขา่ ยในการคดั เลือกศิลปินมรดกอสี าน
3. แบบเสนอข้อมูลประวัติและผลงานศิลปินเพ่ือประกาศเชิดชูเกียรติเป็นศิลปินมรดกอีสาน
รายละเอียดมีดงั ตอ่ ไปนี้
ผลวิเคราะห์ พบว่า การพิจารณาในข้ันตอนการวางแผนดาเนินการพิจารณาคัดเลือกศิลปินมรดก
อสี านมีปญั หาอุปสรรคในลาดับที่ 1 รายละเอยี ดมีดังนี้
1.กระบวนการวางแผนการปฏิบัติงานในชว่ งกาหนดหลักเกณฑ์พิจารณาคัดเลอื กศลิ ปินมรดกอีสาน
ในช่วงเดอื นมถิ นุ ายนของทุกปี มปี ญั หาอุปสรรคในช่วงเวลาการประสานงานกับผทู้ รงคุณวุฒิ และการแต่งตั้ง
คณะกรรมการทกุ ชดุ เนอื่ งจากเป็นช่วงเปิดภาคการศกึ ษาของทกุ ปี
1.1) ปัญหาอุปสรรคในการคัดเลือกและแต่งต้ังคณะกรรมการพิจารณาตัดสินศิลปินมรดก
อสี าน
1.2) ปญั หาอปุ สรรคในการเสนอชื่อคณะกรรมการกล่ันกรอง
1.3) ปัญหาอุปสรรคในการเสนอชื่อคณะกรรมการดาเนินงาน และเครือขา่ ยผ้เู สนอรายช่ือ
ศิลปิน
วเิ คราะห์การสรรหาและคัดเลอื กศิลปนิ มรดกอีสาน| 33
1.4) ปัญหาอุปสรรคในการเสนอช่ือแต่งตั้งคณะกรรมการดาเนินงานโครงการคัดเลือก
ศลิ ปินมรดกอสี านมีความลา่ ช้า
1.5) ปัญหาอุปสรรคในการเสนอชอ่ื ในการพจิ ารณาหลักเกณฑ์และรูปแบบในการคัดเลือก
ศิลปนิ มรดกอีสาน ซ่ึงเครือขา่ ยผ้เู สนอรายชอ่ื ศลิ ปิน จะต้องดาเนินการให้เปน็ ไปตามเกณฑท์ ี่คณะกรรมการ
กาหนด มดี งั นี้
(1) คุณสมบัตศิ ลิ ปินมรดกอีสาน
(2) คุณคา่ มาตรฐานผลงานศิลปะศลิ ปินมรดกอีสาน
(3) การเผยแพร่และยอมรบั คณุ คา่ ผลงานของศิลปนิ มรดกอีสาน
2. การปฏิบัตติ ามแผนการคัดเลือกศลิ ปนิ มรดกอีสาน ศูนย์ศิลปวฒั นธรรม
มหาวิทยาลัยขอนแก่น
ปัญหาอุปสรรคในการเสนอชื่อแต่งตั้งคณะกรรมการพิจารณาหลักเกณฑ์การคัดเลือก
ศิลปนิ มรดกอีสาน
3. ประชุมคณะกรรมการเพื่อพิจารณาหลักเกณฑ์การคดั เลือกศิลปนิ มรดกอสี าน
ปัญหาอุปสรรคเม่ือได้คณะกรรมการพิจารณาคัดเลือกหลักเกณฑ์การคัดเลือกศิลปินมรดก
อีสาน ผู้รับผิดชอบโครงการดาเนินการจัดประชุมการคัดเลือกศิลปินมรดกอีสาน เพื่อพิจารณาหลักเกณฑ์
และรูปแบบในการคัดเลือกศิลปินมรดกอีสาน ซึ่งเครือข่ายผู้เสนอรายชื่อศิลปินจะต้องดาเนินการให้เป็นไป
ตามเกณฑ์ที่คณะกรรมการกาหนด มีดังน้ี
(1) คณุ สมบัตศิ ลิ ปินมรดกอสี าน
(2) คณุ คา่ มาตรฐานผลงานศิลปะศิลปนิ มรดกอีสาน
(3) การเผยแพร่และยอมรับคุณค่าผลงานของศิลปินมรดกอีสาน ซึ่งแต่ละข้ันตอนในการ
ปฏิบัติงานมีความยุ่งยากซับซอ้ นมาก หากไม่เรียงลาดบั ความสาคัญก่อน ผู้รับผิดชอบโครงการฯ จึงต้องเป็น
ผูม้ ีประสบการณ์ดว้ ย
4. ประชาสัมพันธ์และสรปุ จานวนศิลปนิ เข้ารับการคัดเลอื กศิลปนิ มรดกอีสาน
ปัญหาอุปสรรคที่เกิดขึ้น เม่ือได้หลักเกณฑ์การพิจารณาศิลปินมรดกอีสานผู้รับผิดชอบ
โครงการจะต้องดาเนินการประชาสัมพันธ์เชิญชวนไปยังองค์กรเครือข่ายด้านศิลปวัฒนธรรม เพ่ือเสนอ
รายชื่อบุคคลผู้ท่ีจะได้รับการคัดเลือกเป็นศิลปินมรดกอีสาน ข้อมูลท่ีนาเสนอมาประกอบการพิจารณา
ขั้นตอนในการปฏิบัติงานมีความยุ่งยากซับซ้อนมาก หากไม่เรียงลาดับความสาคัญไปด้วย เช่น ประวัติ
ส่วนตัวศิลปิน ประวัติด้านการศึกษา ประวัติด้านอาชีพศิลปิน ประวัติผลงาน ประสบการณ์ทางการ
อนุรักษ์/สรา้ งสรรค์/เผยแพร่ ประวัติด้านรางวลั /เกียรติคุณ ท่ีได้รับการยกย่อง ด้านการบริการชุมชน สังคม
(อทุ ิศตนเพอ่ื ทาคณุ ประโยชนต์ อ่ ชมุ ชนสังคม ประเทศชาติ) ส่ือหรือเอกสารอ่นื ๆทงั้ นี้
ปัญหาในการประสานงานของความร่วมมือกับเครือข่ายด้านศิลปวัฒนธรรมจะต้อง
ดาเนนิ การสง่ ผลงานศลิ ปนิ ตั้งแตเ่ ดือน กรกฎาคม – ธนั วาคม เพ่อื ประกอบการพิจารณา
วิเคราะห์การสรรหาและคดั เลือกศิลปนิ มรดกอสี าน| 34
5. แตง่ ตง้ั คณะกรรมการกลั่นกรองและคณะกรรมการตัดสนิ
ปัญหาอุปสรรคที่เกดิ ขน้ึ เพื่อให้การคดั เลือกศิลปนิ มรดกอีสานบรรลวุ ัตถุประสงค์ จงึ ไดม้ ี
การแตง่ ตัง้ คณะกรรมการเพอื่ พจิ ารณากล่ันกรองและคณะกรรมการตดั สนิ ศิลปนิ มรดกอีสาน อยา่ งรอบคอบ
6. การคัดเลือกประกาศรายช่อื ตลอดจนจัดทาหนงั สือศลิ ปนิ มรดกอีสาน
ปญั หาอปุ สรรคที่เกิดข้ึนขั้นตอนการเชิญคณะกรรมการกลั่นกรองและคณะกรรมการตัดสิน
พิจารณาศิลปินท่ีเสนอชื่อเข้ามาตัดสินรางวัลศิลปินมรดกอีสาน มีหลากหลายประเภท และจาต้องแบ่งเป็น
ประเภทตา่ งๆ จานวน 3 กลุม่ คอื กล่มุ ทัศนศิลป์ กลุม่ วรรณกรรม กล่มุ ศิลปการแสดง
7. แต่งตั้งคณะกรรมการดาเนินงานจัดกิจกรรมศลิ ปนิ มรดกอีสาน
ปัญหาอุปสรรคในการประสานงานรายช่ือผู้มีจติ อาสาส่วนหน่ึงในการดาเนินงานและผู้ต้อง
ปฏิบัติตตามบทบาทหน้าที่เป็นบุคคลคนเดียวกันเช่น ผู้เขียนโครงการฯ ผู้ดาเนินรายงานผู้ควบคุมกากับบน
เวที ปัญหาอุปสรรคตรงนี้ จาเป็นต้องอาศัยความร่วมมือหลายฝ่าย และหลายหน่วยงานร่วมการสร้างสรรค์
ผลงานแขนงต่างๆ ท้ังทัศนศิลป์ วรรณศิลป์ และศิลปะการแสดงและแต่งต้ังคณะกรรมการดาเนินงานจัด
กิจกรรม สามารถแสดงขน้ั ตอนเป็นแผนภมู ิการการจัดกิจกรรมศลิ ปินมรดกอีสาน
8. ดาเนนิ การจัดกิจกรรมมอบรางวัลศลิ ปนิ มรดกอีสาน
ปัญหาอุปสรรค ในข้ันตอนมอบรางวัลศิลปินมรดกอีสาน มีความสาคัญเนื่องจากมีพิธีการ
ต่างๆ ที่เก่ียวข้องและลาดับความสาคัญของการปฏิบัติงาน ศูนย์ศิลปวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยขอนแก่น ได้
จัดกิจกรรมยกย่องเชิดชูเกียรติศิลปินมรดกอีสาน เน่ืองในโอกาสวันคล้ายวันพระราชสมภพสมเด็จพระ
กนิษฐาธิราชเจ้ากรมสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารีและวันอนุรักษ์มรดกไทย ในวันท่ี 2
เมษายน เป็นประจาทกุ ปี ดังน้ัน ผู้รับผดิ ชอบโครงการฯ มีบทบาทหน้าที่ความรับผิดชอบหลายด้านในคราว
เดียวกนั เชน่ เป็นกรรมการคัดเลอื ก เปน็ พิธีกร เป็นผูป้ ระสานงาน เป็นตน้
9. ผลวิเคราะห์จานวนของศิลปินมรดกอีสาน เพ่ือพิจารณายกย่องเชิดชูเกียรติให้เป็นศิลปิน
มรดกอีสาน ทีม่ คี ณุ ภาพและมาตรฐานเปน็ ที่ยอมรับแก่สาธารณชนทีไ่ ด้รับประจาปี 2560 มีดังนี้
9.1 สาขาวรรณกรรม มีจานวน 2 คน ได้แก่ นายสาเร็จ คาโมง, นายเสถียร ยอดดี
9.2 สาขาทศั นศิลป์ ไมม่ ี
9.3 ศิลปะการแสดง มีจานวน 7 คน ได้แก่ นายละมุด ทรัพย์ผาด,นายโสโชค สู้โนนตาด,
นายสุขสันต์ สุวรรณเจริญ, นางธนพร อินทร์ธิราช,นางจินตนา เย็นสวัสดิ์,นายบุญมี ไชยขันธุ์ และนายสาย
ทอง ไกลถิ่น ดงั แสดงตารางท่ี 8
10. ผลวเิ คราะห์จานวนของศิลปินมรดกอสี าน เพือ่ พจิ ารณายกยอ่ งเชิดชูเกียรตใิ ห้เป็นศลิ ปินมรดก
อีสาน ท่ีมีคุณภาพและมาตรฐานเป็นท่ยี อมรับแกส่ าธารณชนท่ไี ด้รับประจาปี 2561 มดี ังน้ี
10.1 สาขาวรรณกรรม มจี านวน 1 คน ได้แก่ นายสงั คม เภสัชมาลา
10.2 สาขาทัศนศลิ ป์ มจี านวน 1 คน ไดแ้ ก่ รศ.สวุ ัฒน์ จิตปราณีชยั
10.3 ศิลปะการแสดง มีจานวน 4 คน ได้แก่ นางกฤษณา บุญแสน, นางอรอุมา
จันทรวงษา,นางบญุ ศรี ยินด,ี นางบดุ ษา แถววิชา, นางอไุ ร ฉมิ หลวง ดังแสดงตารางที่ 9
วิเคราะห์การสรรหาและคัดเลือกศลิ ปนิ มรดกอสี าน| 35
ตารางท่ี 8 ผลการวิเคราะหจ์ านวนของศิลปินมรดกอสี าน เพอื่ พจิ ารณายกยอ่ งเชิดชเู กยี รตใิ หเ้ ปน็ ศิลปิน
มรดกอีสาน ท่ีมีคุณภาพและมาตรฐานเป็นท่ยี อมรบั แก่สาธารณชนท่ีได้รับประจาปี 2560
ศิลปินมรดกอสี าน ประจาปี 2560
วรรณกรรม ทัศนศลิ ป์ ศิลปะการแสดง
ชือ่ นามสกุลของศลิ ปินผู้ได้รับรางวลั ชอ่ื นามสกุลของศลิ ปนิ ผู้ได้รบั รางวลั
นายสาเร็จ คาโมง นายละมดุ ทรัพยผ์ าด
นายเสถียร ยอดดี นายโสโชค สโู้ นนตาด
นายสุขสันต์ สุวรรณเจริญ
นางธนพร อินทรธ์ ริ าช
นางจนิ ตนา เย็นสวัสด์ิ
นายบญุ มี ไชยขันธ์ุ
นายสายทอง ไกลถิ่น
2-7
ตารางที่ 9 ผลการวิเคราะห์จานวนของศิลปินมรดกอีสาน เพอ่ื พจิ ารณายกยอ่ งเชดิ ชูเกียรติใหเ้ ปน็ ศลิ ปิน
มรดกอีสานทม่ี ีคุณภาพและมาตรฐานเป็นที่ยอมรบั แก่สาธารณชนทไ่ี ดร้ บั ประจาปี 2561
ศิลปินมรดกอสี าน ประจาปี 2561
วรรณกรรม ทัศนศิลป์ ศิลปะการแสดง
ชอ่ื นามสกลุ ของศิลปินผู้ได้รบั รางวลั ชือ่ นามสกุลของศิลปินผู้ไดร้ ับรางวัล
นายสังคม เภสชั มาลา รศ.สวุ ัฒน์ จติ ปราณชี ยั นางกฤษณา บุญแสน
นางอรอุมา จันทรวงษา
นางบญุ ศรี ยนิ ดี
นางบดุ ษา แถววชิ า
นางอุไร ฉมิ หลวง
1 15
11. ผลวิเคราะห์จานวนของศิลปินมรดกอีสาน เพ่ือพิจารณายกย่องเชิดชูเกียรติให้เป็นศิลปิน
มรดกอีสาน ท่มี คี ุณภาพและมาตรฐานเปน็ ท่ียอมรบั แกส่ าธารณชนทไี่ ดร้ ับประจาปี 2561 มดี งั นี้
11.1 สาขาวรรณกรรม มีจานวน 2 คน ได้แก่ นายคาภา สีโสดา,นายวงเดือน
ทองเจียว
วเิ คราะห์การสรรหาและคดั เลอื กศิลปนิ มรดกอสี าน| 36
11.2 สาขาทัศนศลิ ป์ มจี านวน 1 คน ไดแ้ ก่ นายจกั รี หาญสวุ รรณ
11.3 ศิลปะการแสดง มจี านวน 7 คน ไดแ้ ก่ นายโกวทิ วัฒนกลุ , นางทองแปน พันธ์
บุปผา,นางสาวทองใบ จนั ทรเ์ หลือง ดังแสดงตารางที่ 10
ตารางที่ 10 ผลวเิ คราะหจ์ านวนของศลิ ปินมรดกอีสาน เพือ่ พิจารณายกย่องเชดิ ชเู กยี รตใิ ห้เป็นศิลปินมรดก
อีสาน ทมี่ ีคุณภาพและมาตรฐานเป็นทย่ี อมรบั แกส่ าธารณชนท่ีได้รับประจาปี 2561
ศลิ ปนิ มรดกอีสาน ประจาปี 2562
วรรณกรรม ทศั นศิลป์ ศลิ ปะการแสดง
ชื่อนามสกลุ ของศิลปนิ ผู้ได้
ช่อื นามสกลุ ของศิลปนิ ผู้ได้ ชอ่ื นามสกลุ ของศิลปินผู้ได้
รับรางวัล
นายคาภา สโี สดา รบั รางวัล รบั รางวัล
นายวงเดือน ทองเจยี ว
นายจกั รี หาญสวุ รรณ นายโกวิท วัฒนกุล
2
นางทองแปน พนั ธ์บุปผา
นางสาวทองใบ จันทรเ์ หลอื ง
13
16 ทัศนศิลป์ ปี 2562
14 ปี 2561
12 ปี 2560
10
ศิลปะการแสดง
8
6
4
2
0
วรรณกรรม
ภาพที่ 21 เปรียบเทียบจานวนของศลิ ปินมรดกอสี านแยกตามประเภท ปีงบประมาณ 2560-2562
ตารางท่ี 11 สรปุ ผลการวเิ คราะหจ์ านวนของศลิ ปนิ มรดกอีสาน เพ่ือพจิ ารณายกย่องเช
สาธารณชนท่ีได้รับประจาปี 2560-2562
ศิลปินมรดกอสี าน ประจาปี 2560 ศิลปินมรดกอสี
วรรณกรรม ทัศนศลิ ป์ ศลิ ปะการแสดง วรรณกรรม ทัศ
นายสาเร็จ คาโมง นายละมดุ ทรัพยผ์ าด นายสงั คม เภสชั มาลา รศ.สวุ ัฒน
นายเสถียร ยอดดี นายโสโชค สโู้ นนตาด
นายสขุ สันต์ สุวรรณเจรญิ
นางธนพร อินทร์ธิราช
นางจินตนา เยน็ สวสั ด์ิ
นายบญุ มี ไชยขันธ์ุ
นายสายทอง ไกลถน่ิ
2- 7 1
วเิ คราะห์การสรรหาและคัดเลือกศิลปนิ มรดกอีสาน| 37
ชดิ ชเู กยี รตใิ หเ้ ปน็ ศิลปนิ มรดกอีสาน ท่ีมีคุณภาพและมาตรฐานเป็นท่ียอมรบั แก่
สาน ประจาปี 2561 ศิลปินมรดกอสี าน ประจาปี 2562
ศนศลิ ป์ ศลิ ปะการแสดง วรรณกรรม ทศั นศิลป์ ศิลปะการแสดง
น์ จิตปราณีชัย นางกฤษณา บญุ แสน นายคาภา นายจักรี นายโกวทิ วัฒนกลุ
สีโสดา หาญสวุ รรณ
อรอุมา จันทรวงษา นายวงเดอื น นางทองแปน
ทองเจียว พันธบ์ ปุ ผา
นางบุญศรี ยินดี นางสาวทองใบ
จันทรเ์ หลือง
นางบดุ ษาแถววิชา
นางอุไร ฉิมหลวง
1 5 21 3
วิเคราะห์การสรรหาและคัดเลือกศลิ ปนิ มรดกอีสาน| 38
4.2 ผลวิเคราะห์การสรรหาและคัดเลอื กศลิ ปนิ มรดกอีสาน ทม่ี คี ุณภาพและมาตรฐานเป็นที่ยอมรบั แก่
สาธารณชน
ผู้วเิ คราะห์ได้ทาการวเิ คราะห์แนวทางการสรรหาและคดั เลือกศิลปนิ มรดกอสี าน ทม่ี ีคุณภาพและ
มาตรฐานเป็นทีย่ อมรับแก่สาธารณชน ซงึ่ มีดังน้ี
1. สืบค้นขอ้ มลู การคัดเลือกศิลปินของสถาบนั การศึกษาต่างๆ ตลอดจนหลักเกณฑ์การคัดเลือก
ผูท้ าคุณประโยชนข์ องกระทรวงวัฒนธรรมวา่ มีการปรบั ปรุงแก้ไขหรอื ไม่
2. คณะกรรมการตัดสินในแต่ละปตี อ้ งมีการปรับเปล่ียนผทู้ รงคุณวฒุ ิหรอื ผูเ้ ชี่ยวชาญมาเป็น
กรรมการตัดสิน
3. คณะกรรมการกลนั่ กรองในแตล่ ะปีตอ้ งมกี ารปรับเปลย่ี นผทู้ รงคุณวุฒหิ รอื ผูเ้ ชยี่ วชาญมาเปน็
กรรมการตัดสนิ
4. จดั ทาหนังสอื ติดตามไปยังหน่วยงานหรอื องคก์ รเสนอช่อื หรือเครือขา่ ยศลิ ปินใหท้ ราบถงึ
ระยะเวลาหมดเขตการรับสมัคร
5. ประชาสัมพันธ์หมดเขตระยะเวลาการส่งรายช่ือ ส่งผลงานผ่านส่ือออนไลท์ต่างๆ และติดตาม
รายช่ือคณะกรรมการดาเนินงานโครงการคัดเลือกศิลปินมรดกอีสาน เพื่อรวบรวมร่างแต่งตั้ง
คาสง่ั ฯ เพ่อื ลดข้ันตอนการร่างข้อระเบยี บ ประกาศต่างๆ ที่เกยี่ วขอ้ ง
6. ประชาสมั พันธ์การคัดเลอื กศิลปนิ มรดกอสี านผ่านส่ืออนไลทท์ ุกช่องทาง
7. การแต่งต้ังคณะกรรมการศิลปินมรดกอีสานได้ดาเนินการคัดเลือกจากผู้ทรงคุณวุฒิ ศิลปิน
แห่งชาติ และองค์กรภาคีเครือข่ายด้านศิลปวัฒนธรรม ผู้บริหารฝ่ายศิลปวัฒนธรรมและ
เศรษฐกิจสร้างสรรค์ ผู้รับผิดชอบโครงการ และตัวแทนศิลปินมรดกอีสาน สามารถแสดง
ขั้นตอนเป็นแผนภูมิการดาเนินการแต่งตง้ั คณะกรรมการพิจารณาหลักเกณฑ์การคัดเลือกศิลปิน
มรดกอสี าน
8. คณะกรรมการคัดเลือกและคณะกรรมการตัดสินควรจะมีครบสุกสาขาและเป็นบุคคลท่ีมี
ช่ือเสียงเป็นทย่ี อมรบั ของคนในสังคม
9. ผู้เสนอชื่ออาจจะส่งมาตามระบบไปรษณีย์หรือส่งแบบข้อมูลเอกสารแบบดิจิทัลซึ่งจะทาให้
สะดวกรวดเร็วมากยิ่งข้ึน เพราะคณะกรรมการพิจารณาคัดเลือก จาเป็นต้องตรวจสอบประวัติส่วนตัวศิลปิน
ประวัติด้านการศึกษา ประวัติด้านอาชีพศิลปิน ประวัติผลงาน ประสบการณ์ทางการอนุรักษ์/สร้างสรรค์/
เผยแพร่ ประวัติด้านรางวัล/เกียรติคุณ ท่ีได้รับการยกย่อง ด้านการบริการชุมชน สังคม (อุทิศตนเพ่ือทา
คุณประโยชนต์ ่อชุมชนสงั คม ประเทศชาต)ิ สอื่ หรอื เอกสารอ่นื ๆท้งั นี้
10. ผู้รับผิดชอบโครงการจะต้องรีบเร่งดาเนินการ สรุปจานวนศิลปินที่เสนอช่ือแบ่งเป็นประเภท
ต่างๆ 3 กลมุ่ คือ กลุ่มทัศนศลิ ปก์ ลุ่มวรรณกรรม กลุม่ ศิลปการแสดง
11. การแต่งตั้งคณะกรรมการประกอบไปด้วยผู้ทรงคุณวุฒิ ศิลปินแห่งชาติ ผู้ บริหารฝ่าย
ศิลปวัฒนธรรมและเศรษฐกิจสร้างสรรค์ ศิลปินมรดกอีสาน ตลอดจนเครือข่ายด้านศิลปวัฒนธรรม จึงได้มี
วเิ คราะห์การสรรหาและคดั เลือกศิลปนิ มรดกอสี าน| 39
การแต่งตง้ั คณะกรรมการเพื่อพิจารณากล่ันกรองและคณะกรรมการตัดสนิ ศลิ ปนิ มรดกอีสาน อย่างรอบคอบ
แบง่ เปน็ ประเภทต่างๆ 3 กลมุ่ คอื กลมุ่ ทศั นศิลป์กลุ่มวรรณกรรม กลมุ่ ศิลปการแสดง
12.ผู้รับผิดชอบโครงการฯ รีบเร่งขอไฟล์ภาพผลงานตลอดจนเอกสารรางวัลเกียรติบัตรของศิลปิน
เพ่ือรวบรวมจัดทาหนังสือศิลปินมรดกอีสาน ป้องกันการผิดพลาดในข้ันตอนพิมพ์ชื่อ นามสกุลของผู้ได้รับ
รางวัลศิลปินมรดกอีสาน ท่ีมีหลากหลายประเภทเพื่อพิจารณาตัดสินศิลปินผู้ท่ีจะได้รับการยกย่องเชิดชู
เกียรติให้เป็นศิลปินมรดกอีสาน สามารถแสดงข้ันตอนเป็นแผนภูมิการการคัดเลือกประกาศรายชื่อตลอดจน
จัดทาหนังสือศิลปินมรดกอีสาน มีความผิดพลาดในการพิมพ์ชื่อหรือหนังสือเชิญที่ไม่ตรงกับประเภทการยก
ย่องเชดิ ชูเกยี รติให้เป็นศิลปินมรดกอีสาน
13.ในวนั ท่ี 2 เมษายน ทุกปีมหาวิทยาลยั ขอนแก่น ได้นาโอกาสมหามงคลนเ้ี ชิดชูเกยี รติยกย่องและ
ประกาศเกียรติคุณศิลปินมรดกอีสานผู้เป็นต้นแบบการสร้างสรรค์ผลงานแขนงต่างๆ ทั้งทัศนศิลป์
วรรณศิลป์ และศิลปะการแสดงและแต่งตั้งคณะกรรมการดาเนินงานจัดกิจกรรม ซึ่งการประชาสัมพันธ์
จาเป็นต้องส่ือสารทุกช่องทางให้ประชาชนรับทราบถึงการจัดกิจกรรมและคัดเลือกคณะกรรมการดาเนินงาน
จดั กิจกรรมท่ีมาจากตา่ งคณะ
14.ขั้นตอนการแต่งต้ังคณะกรรมการดาเนินงานและมอบหมายหน้าท่ีความรับผิดชอบในการ
ปฏิบัติงานตลอดจนติดตามการประเมินผลของการปฏิบัติงานผู้รับผิดชอบโครงการฯ จาเป็นต้องรวบรวม
รายชื่อและเสนอจัดทาคาส่ังเพื่อมอบหมายหน้าที่ในการปฏิบัติงานของกิจกรรมด้านต่างๆ เพ่ือป้องกันการ
ผิดพลาดของคณะกรรมการดาเนินงาน โดยเฉพาะการจัดลาดับคิวรับรางวัลท่ีมอบให้กับศิลปินของภาค
อีสานเพื่อยกยอ่ งในคุณงามความดีศลิ ปนิ ผูเ้ ปน็ ต้นแบบของการรังสรรคค์ ุณคา่ ด้านศิลปวฒั นธรรม
4.3 การอภปิ รายผล
ผู้วิเคราะห์ได้อภิปรายผลและสรุปผลการวิเคราะห์เปรียบเทียบประกาศมหาวิทยาลัยขอนแก่น
(ฉบับที่ 1982/2562) เรื่อง หลักเกณฑ์การพิจารณาคัดเลือกศิลปินมรดกอีสาน ประกาศ ณ วันที่ 25
กรกฎาคม 2562 มีความสอดคล้องกับผลงานวิจัยของศรีสุคล พรมโส และซิสิกกา วรรณจันทร.(บทคัดย่อ:
2561). แนวทางการพัฒนาบ้านศิลปินแหง่ ชาตใิ หเ้ ป็นแหล่งเรียนรู้ ทางดา้ นศลิ ปะและวฒั นธรรม งานวจิ ยั น้ีมี
วัตถุประสงค์เพื่อศึกษาสภาพทั่วไปของบ้านศิลปินแห่งชาติท่ีเข้า ร่วมโครงการเปิดบ้านศิลปินแห่งชาติกับ
กรมส่งเสริมวัฒนธรรม ปัญหา อุปสรรค และแนวทางการพัฒนาบ้านศิลปินแห่งชาติให้เป็นแหล่งเรียนรู้
ทางด้านศิลปะและ วัฒนธรรม โดยศึกษาจากบ้านศิลปินแห่งชาติที่เข้าร่วมโครงการเปิดบ้านศิลปินแห่งชาติ
กับกรมส่งเสริมวัฒนธรรม ระหว่างปีพ.ศ. 2548 - 2559 ท่ีมีความพร้อมตามเกณฑ์ ที่กาหนด ใช้วิธีวิจัยเชิง
คณุ ภาพ โดยการสังเกตแบบมีสว่ นร่วม และไม่มีสว่ นร่วม การสัมภาษณ์เชิงลึก จากผู้ให้ข้อมลู ที่เกย่ี วขอ้ งกับ
ประเด็นวิจัย จานวน 12 คน ทาการวิเคราะห์โดยนาข้อมูลมาจาแนกหมวดหมู่ ตีความ และสร้างข้อสรุป
ผลการวิจัยพบว่า สภาพท่ัวไปของบ้านศิลปินแห่งชาติสะท้อนถึงตัวตน ของศิลปินผ่านรูปแบบผลงานท่ีจัด
แสดง ทุกหลังจะมพี ืน้ ทส่ี าหรับให้ผ้ทู ่ีสนใจ เข้ามาร่วมกิจกรรมทางด้านศลิ ปะและวัฒนธรรม ด้านปัญหาและ
อุปสรรคท่ีพบ ได้แก่ ปัญหาด้านงบประมาณ บุคลากร การบริหารจัดการ และองค์ความรู้ของศิลปิน
วเิ คราะห์การสรรหาและคัดเลือกศิลปนิ มรดกอสี าน| 40
แห่งชาติ ส่วนแนวทางการพัฒนา น้ัน หน่วยงานภาครัฐที่เก่ียวข้องควรส่งเสริมให้บ้าน ศิลปินแห่งชาติ
สามารถอยู่ได้ แม้ไม่ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจากภาครัฐเพิ่มทักษะ ในด้านต่างๆ ที่เก่ียวข้องกับการ
พัฒนาบ้านศิลปินแห่งชาติ ให้แก่บุคลากรในบ้าน รวมท้ังขอความร่วมมือกับหน่วยงานท่ีเก่ียวข้องในระดับ
จังหวัดเพื่อเชื่อมโยงกับสถานที่ ท่องเที่ยวอ่ืนที่อยู่ใกล้เคียง สร้างแรงจูงใจให้ประชาชนท่ัวไปเข้ามาเย่ียมชม
และสร้างรายได้ ให้กับบ้านศิลปิน และสนบั สนุนใหบ้ ้านศิลปินแห่งชาติเป็นแหล่งเรยี นรู้นอกชนั้ เรียน เพ่ือให้
เด็กและเยาวชน ตระหนักถึงคุณค่าและความสาคัญของบ้านศิลปินแห่งชาติ สืบไปหลักเกณฑ์การคัดเลือก
ศลิ ปนิ มรดกอสี าน โดยคณะกรรมการนาไปพิจารณาในประเดน็ ดังนี้
1) พิจารณาหลักเกณฑแ์ ละรูปแบบการคัดเลือกศิลปินมรดกอสี าน
2) พิจารณาเกณฑ์การคดั เลือกคณะกรรมการกลน่ั กรองและคณะกรรมการตัดสนิ
3) พิจารณาคณะกรรมการดาเนนิ งานการจัดกจิ กรรมการคัดเลือกศิลปนิ มรดกอสี าน
เพ่ือเป็นการเตรยี มความพร้อมในการดาเนินการจดั งานของเจา้ หนา้ ทีผ่ ู้รบั ผิดชอบโครงการฯ
ในปีตอ่ ไป ดาเนินการจัดงานใหม้ ปี ระสทิ ธิภาพเกดิ การยอมรบั ในสังคมต่อการคัดเลือกศลิ ปินมรดกอีสาน
มหาวิทยาลัยขอนแกน่ ต่อไป
วิเคราะห์การสรรหาและคดั เลือกศิลปนิ มรดกอสี าน| 41
บทท่ี 5
สรุปผลการวิเคราะห์และข้อเสนอแนะ
ผู้วิเคราะห์ได้สรุปผลการวิเคราะห์จากประกาศมหาวิทยาลัยขอนแก่น (ฉบับท่ี 1982/2562) เร่ือง
หลกั เกณฑก์ ารพจิ ารณาคัดเลือกศิลปนิ มรดกอีสานประกาศ ณ วันท่ี 25 กรกฎาคม 2562 โดยหลกั เกณฑ์ดังกล่าว
มาวิเคราะห์เปรียบเทียบการคัดเลือกและการรับสมัครบุคคลผู้สร้างสรรค์ผลงานศิลปวัฒนธรรมท่ีสมควรได้รบั การ
พิจารณายกยอ่ งเชดิ ชเู กยี รติให้เปน็ ศิลปินมรดกอีสาน ผู้เขียนสรปุ ผลการศึกษาดงั ตอ่ ไปนี้
1) สรปุ ผลวิเคราะห์ปญั หาและอุปสรรคในการคัดเลือกและการรบั สมคั รบุคคลผ้สู รา้ งสรรคผ์ ลงาน
ศิลปวัฒนธรรมสมควรได้รับการพจิ ารณายกย่องเชิดชเู กยี รตใิ หเ้ ปน็ ศลิ ปนิ มรดกอีสาน ท่ีมคี ณุ ภาพและมาตรฐาน
เป็นทยี่ อมรับแก่สาธารณชน
2) สรปุ ผลวเิ คราะห์การสรรหาและคัดเลือกศลิ ปนิ มรดกอีสาน ทมี่ ีคุณภาพและมาตรฐานเปน็ ท่ียอมรบั แก่
สาธารณชน
5.1 สรุปผลวิเคราะห์ปัญหาและอุปสรรคในการคัดเลือกและการรับสมัครบุคคลผู้สร้างสรรค์ผลงาน
ศิลปวัฒนธรรมสมควรได้รับการพิจารณายกย่องเชิดชูเกียรติให้เป็นศิลปินมรดกอีสาน ที่มีคุณภาพและ
มาตรฐานเปน็ ทยี่ อมรับแกส่ าธารณชน
5.1.1 กระบวนการวางแผนการปฏิบัติงานในช่วงกาหนดหลักเกณฑ์พิจารณาคัดเลือกศิลปิน
มรดกอีสานในช่วงเดือนมิถุนายนของทุกปี มีปัญหาอุปสรรคในช่วงเวลาการประสานงานกับผู้ทรงคุณวุฒิ และ
การแตง่ ตั้งคณะกรรมการทุกชดุ เนอ่ื งจากเปน็ ชว่ งเปดิ ภาคการศึกษาของทุกปี
1.1) ปัญหาอุปสรรคในการคัดเลือกและแต่งตั้งคณะกรรมการพิจารณาตัดสินศิลปิน
มรดกอีสาน
1.2) ปัญหาอปุ สรรคในการเสนอชือ่ คณะกรรมการกลน่ั กรอง
1.3) ปัญหาอุปสรรคในการเสนอช่ือคณะกรรมการดาเนินงาน และเครือข่ายผู้เสนอ
รายช่ือศิลปิน
1.4) ปัญหาอุปสรรคในการเสนอช่ือแต่งตั้งคณะกรรมการดาเนินงานโครงการคัดเลือก
ศลิ ปินมรดกอีสานมคี วามลา่ ช้า
1.5) ปญั หาอปุ สรรคในการเสนอชอ่ื ในการพจิ ารณาหลกั เกณฑ์และรปู แบบในการ
คดั เลือกศลิ ปินมรดกอสี าน ซง่ึ เครือข่ายผเู้ สนอรายช่ือศิลปนิ จะตอ้ งดาเนนิ การใหเ้ ป็นไปตามเกณฑ์ท่ี
คณะกรรมการกาหนด มีดงั นี้
วิเคราะห์การสรรหาและคดั เลือกศลิ ปนิ มรดกอีสาน| 42
(1) คุณสมบัตศิ ิลปนิ มรดกอีสาน
(2) คุณค่ามาตรฐานผลงานศิลปะศิลปนิ มรดกอีสาน
(3) การเผยแพร่และยอมรับคุณคา่ ผลงานของศิลปนิ มรดกอสี าน
5.1.2 การปฏิบัติตามแ ผน การคัดเลือกศิลปินมรดกอีสาน ศูนย์ศิลปวัฒนธ รรม
มหาวิทยาลัยขอนแก่น ผลการศึกษาพบว่า ปัญหาอุปสรรคในการเสนอชื่อแต่งตั้งคณะกรรมการพิจารณา
หลกั เกณฑ์การคัดเลือกศลิ ปินมรดกอีสาน
5.1.3 ประชุมคณะกรรมการเพอ่ื พิจารณาหลักเกณฑ์การคัดเลือกศิลปินมรดกอีสาน
ผลการศึกษาพบว่า ปัญหาอุปสรรคเมื่อได้คณะกรรมการพิจารณาคัดเลือกหลักเกณฑ์
การคัดเลือกศิลปินมรดกอีสาน ผู้รับผิดชอบโครงการดาเนินการจัดประชุมการคัดเลือกศิลปินมรดกอีสาน เพ่ือ
พิจารณาหลักเกณฑ์และรูปแบบในการคัดเลือกศิลปินมรดกอีสาน ซึ่งเครือข่ายผู้เสนอรายชื่อศิลปินจะต้อง
ดาเนนิ การใหเ้ ปน็ ไปตามเกณฑ์ที่คณะกรรมการกาหนด มดี ังนี้
(1) คุณสมบตั ิศลิ ปินมรดกอีสาน
(2) คุณค่ามาตรฐานผลงานศิลปะศิลปนิ มรดกอสี าน
(3) การเผยแพร่และยอมรบั คุณค่าผลงานของศิลปินมรดกอีสาน ซ่งึ แต่ละขัน้ ตอนในการ
ปฏิบัติงานมีความยุ่งยากซับซ้อนมาก หากไม่เรียงลาดับความสาคัญก่อน ผู้รับผิดชอบโครงการฯ จึงต้องเป็นผู้มี
ประสบการณ์ด้วย
5.1.4 ประชาสัมพนั ธแ์ ละสรุปจานวนศลิ ปินเข้ารบั การคดั เลอื กศิลปินมรดกอสี าน
ปัญหาอุปสรรคที่เกิดขึ้น เม่ือได้หลักเกณฑ์การพิจารณาศิลปินมรดกอีสานผู้รับผิดชอบ
โครงการจะต้องดาเนินการประชาสัมพันธ์เชิญชวนไปยังองค์กรเครือข่ายด้านศิลปวัฒนธรรม เพ่ือเสนอรายช่ือ
บุคคลผู้ท่ีจะได้รับการคัดเลือกเป็นศิลปินมรดกอีสาน ข้อมูลที่นาเสนอมาประกอบการพิจารณา ข้ันตอนในการ
ปฏิบัติงานมีความยุ่งยากซบั ซ้อนมาก หากไม่เรยี งลาดบั ความสาคัญไปดว้ ย เชน่ ประวตั สิ ่วนตวั ศลิ ปนิ ประวตั ิด้าน
การศึกษา ประวัตดิ า้ นอาชีพศิลปิน ประวัติผลงาน ประสบการณ์ทางการอนรุ ักษ์/สร้างสรรค/์ เผยแพร่ ประวัตดิ ้าน
รางวัล/เกียรติคุณ ท่ีได้รับการยกย่อง ด้านการบริการชุมชน สังคม (อุทิศตนเพื่อทาคุณประโยชน์ต่อชุมชนสังคม
ประเทศชาต)ิ สื่อหรอื เอกสารอืน่ ๆทัง้ น้ี ปญั หาในการประสานงานของความรว่ มมือกับเครือขา่ ยด้านศลิ ปวฒั นธรรม
จะตอ้ งดาเนนิ การสง่ ผลงานศิลปิน ตงั้ แตเ่ ดือน กรกฎาคม – ธนั วาคม เพือ่ ประกอบการพิจารณา
5.1.5 แต่งตั้งคณะกรรมการกลั่นกรองและคณะกรรมการตัดสิน ปัญหาอุปสรรคท่ีเกิดข้ึน
เพื่อให้การคัดเลือกศิลปินมรดกอีสานบรรลุวัตถุประสงค์ จึงได้มีการแต่งต้ังคณะกรรมการเพ่ือพิจารณากล่ันกรอง
และคณะกรรมการตัดสนิ ศิลปินมรดกอีสาน อย่างรอบคอบ
5.1.6 การคัดเลอื กประกาศรายช่อื ตลอดจนจัดทาหนงั สอื ศลิ ปินมรดกอสี าน ปัญหาอุปสรรคท่ี
เกิดขึ้นขั้นตอนการเชิญคณะกรรมการกลั่นกรองและคณะกรรมการตัดสินพิจารณาศิลปินท่ีเสนอชื่อเข้ามาตัดสิน
วิเคราะห์การสรรหาและคัดเลอื กศลิ ปนิ มรดกอีสาน| 43
รางวัลศิลปินมรดกอีสาน มีหลากหลายประเภท และจาต้องแบ่งเป็นประเภทต่างๆ จานวน 3 กลุ่ม คือ กลุ่ม
ทัศนศิลป์ กล่มุ วรรณกรรม กลุม่ ศลิ ปการแสดง
5.1.7 แต่งต้ังคณะกรรมการดาเนินงานจัดกิจกรรมศิลปินมรดกอีสาน ปัญหาอุปสรรคในการ
ประสานงานรายชื่อผู้มีจิตอาสาส่วนหน่ึงในการดาเนินงานและผู้ต้องปฏิบัติตตามบทบาทหน้าท่ีเป็นบุคคลคน
เดียวกันเช่น ผู้เขียนโครงการฯ ผู้ดาเนินรายงานผู้ควบคุมกากับบนเวที ปัญหาอุปสรรคตรงน้ี จาเป็นต้องอาศัย
ความร่วมมือหลายฝ่าย และหลายหน่วยงานร่วมการสร้างสรรค์ผลงานแขนงต่างๆ ท้ังทัศนศิลป์ วรรณศิลป์ และ
ศิลปะการแสดงและแต่งตั้งคณะกรรมการดาเนินงานจัดกิจกรรม สามารถแสดงข้ันตอนเป็นแผนภูมิการการจัด
กจิ กรรมศลิ ปินมรดกอีสาน
5.1.8 ดาเนินการจัดกจิ กรรมมอบรางวัลศิลปนิ มรดกอีสาน ปัญหาอุปสรรค ในข้ันตอนมอบ
รางวัลศิลปินมรดกอีสาน มีความสาคัญเนื่องจากมีพิธีการต่างๆ ท่ีเก่ียวข้องและลาดับความสาคัญของการ
ปฏิบัติงาน ศูนย์ศิลปวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยขอนแก่น ได้จัดกิจกรรมยกย่องเชิดชูเกียรติศิลปินมรดกอีสาน เน่ือง
ในโอกาสวันคล้ายวันพระราชสมภพสมเด็จพระกนิษฐาธิราชเจ้ากรมสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราช
กมุ ารีและวนั อนุรกั ษ์มรดกไทย ในวันท่ี 2 เมษายน เป็นประจาทกุ ปี ดังนัน้ ผรู้ ับผดิ ชอบโครงการฯ มบี ทบาทหน้าท่ี
ความรับผิดชอบหลายดา้ นในคราวเดียวกนั เช่น เปน็ กรรมการคัดเลอื ก เปน็ พิธีกร เป็นผ้ปู ระสานงาน เปน็ ตน้
5.1.9 ผลการวิเคราะห์จานวนของศิลปินมรดกอีสาน เพื่อพิจารณายกย่องเชิดชูเกียรติให้เป็น
ศลิ ปินมรดกอสี าน ที่มีคณุ ภาพและมาตรฐานเป็นที่ยอมรับแก่สาธารณชนท่ไี ด้รับประจาปี 2560 มดี ังน้ี
5.9.1 สาขาวรรณกรรม มีจานวน 2 คน ได้แก่ นายสาเรจ็ คาโมง, นายเสถียร ยอดดี
5.9.2 สาขาทัศนศลิ ป์ ไม่มี
5.9.3 ศลิ ปะการแสดง มีจานวน 7 คน ได้แก่ นายละมุด ทรัพย์ผาด,นายโสโชค
สู้โนนตาด, นายสุขสันต์ สุวรรณเจริญ, นางธนพร อินทร์ธิราช, นางจินตนา เย็นสวัสด์ิ, นายบุญมี ไชยขันธ์ุ และ
นายสายทอง ไกลถ่ิน ดงั แสดงตารางที่ 8
5.1.10 ผลการวิเคราะห์จานวนของศิลปินมรดกอีสาน เพื่อพิจารณายกย่องเชิดชูเกียรติให้
เปน็ ศลิ ปินมรดกอีสาน ท่มี คี ณุ ภาพและมาตรฐานเปน็ ท่ยี อมรบั แก่สาธารณชนท่ไี ดร้ บั ประจาปี 2561 มดี ังนี้
5.10.1 สาขาวรรณกรรม มจี านวน 1 คน ไดแ้ ก่ นายสังคม เภสชั มาลา
5.10.2 สาขาทศั นศลิ ป์ มจี านวน 1 คน ไดแ้ ก่ รศ.สวุ ฒั น์ จติ ปราณชี ัย
5.10.3 ศลิ ปะการแสดง มีจานวน 4 คน ได้แก่ นางกฤษณา บุญแสน, นางอรอุมา
จันทรวงษา,นางบุญศรี ยนิ ดี, นางบุดษา แถววชิ า, นางอุไร ฉมิ หลวง ดังแสดงตารางที่ 9
วิเคราะห์การสรรหาและคัดเลือกศลิ ปนิ มรดกอีสาน| 44
5.2 สรปุ ผลการวเิ คราะห์การสรรหาและคดั เลอื กศิลปนิ มรดกอสี าน ท่มี ีคุณภาพและมาตรฐานเป็นทย่ี อมรบั แก่
สาธารณชน ซ่งึ มีดังน้ี
1. สืบค้นข้อมลู การคัดเลอื กศิลปินของสถาบันการศกึ ษาตา่ งๆ ตลอดจนหลกั เกณฑ์การคัดเลือกผูท้ า
คุณประโยชนข์ องกระทรวงวัฒนธรรมว่ามกี ารปรบั ปรุงแกไ้ ขหรือไม่
2. คณะกรรมการตัดสินในแต่ละปตี ้องมีการปรับเปลีย่ นผู้ทรงคณุ วุฒหิ รอื ผูเ้ ชยี่ วชาญมาเปน็ กรรมการ
ตดั สิน
3. คณะกรรมการกล่ันกรองในแตล่ ะปีตอ้ งมีการปรับเปลีย่ นผูท้ รงคุณวฒุ ิหรือผ้เู ชีย่ วชาญมาเปน็
กรรมการตัดสิน
4. จดั ทาหนังสือติดตามไปยังหน่วยงานหรือองคก์ รเสนอชือ่ หรือเครือขา่ ยศลิ ปนิ ให้ทราบถึงระยะเวลา
หมดเขตการรับสมคั ร
5. ประชาสัมพันธ์หมดเขตระยะเวลาการส่งรายช่ือ ส่งผลงานผ่านส่ือออนไลท์ต่างๆ และติดตามรายชื่อ
คณะกรรมการดาเนินงานโครงการคัดเลือกศิลปนิ มรดกอีสาน เพ่ือรวบรวมร่างแต่งตั้ง คาสั่งฯ เพ่ือ
ลดขนั้ ตอนการร่างขอ้ ระเบียบ ประกาศต่างๆ ท่เี กีย่ วขอ้ ง
6. ประชาสมั พันธก์ ารคดั เลอื กศิลปนิ มรดกอสี านผ่านส่ืออนไลทท์ กุ ช่องทาง
7. การแต่งตั้งคณะกรรมการศิลปินมรดกอีสานได้ดาเนินการคัดเลือกจากผู้ทรงคุณวุฒิ ศิลปินแห่งชาติ
และองค์กรภาคีเครือข่ายด้านศิลปวัฒนธรรม ผู้บริหารฝ่ายศิลปวัฒนธรรมและเศรษฐกิจสร้างสรรค์
ผู้รบั ผิดชอบโครงการ และตัวแทนศิลปินมรดกอสี าน สามารถแสดงข้ันตอนเป็นแผนภูมิการดาเนินการ
แตง่ ตง้ั คณะกรรมการพิจารณาหลักเกณฑ์การคดั เลือกศิลปนิ มรดกอีสาน
8. คณะกรรมการคัดเลือกและคณะกรรมการตัดสินควรจะมีครบสุกสาขาและเป็นบุคคลท่ีมีชื่อเสียงเปน็
ที่ยอมรบั ของคนในสงั คม
9. ผู้เสนอชื่ออาจจะส่งมาตามระบบไปรษณีย์หรือส่งแบบข้อมูลเอกสารแบบดิจิทัลซึ่งจะทาให้สะดวก
รวดเร็วมากยิ่งขึ้น เพราะคณะกรรมการพิจารณาคัดเลือก จาเป็นต้องตรวจสอบประวัติสว่ นตัวศิลปิน ประวัติด้าน
การศกึ ษา ประวตั ิดา้ นอาชีพศลิ ปนิ ประวตั ผิ ลงาน ประสบการณ์ทางการอนุรักษ์/สร้างสรรค์/เผยแพร่ ประวตั ิดา้ น
รางวัล/เกียรติคุณ ที่ได้รับการยกย่อง ด้านการบริการชุมชน สังคม (อุทิศตนเพ่ือทาคุณประโยชน์ต่อชุมชนสังคม
ประเทศชาติ) ส่ือหรือเอกสารอื่นๆทง้ั นี้
10. ผู้รับผิดชอบโครงการจะต้องรีบเร่งดาเนินการ สรุปจานวนศิลปินท่ีเสนอช่ือแบ่งเป็นประเภทต่างๆ 3
กลุ่ม คอื กลุ่มทศั นศลิ ปก์ ลุ่มวรรณกรรม กลมุ่ ศลิ ปการแสดง
11. การแต่งต้ังคณะกรรมการประกอบไปด้วยผู้ทรงคุณวุฒิ ศิลปินแห่งชาติ ผู้บริหารฝ่ายศิลปวัฒนธรรม
และเศรษฐกิจสร้างสรรค์ ศิลปินมรดกอีสาน ตลอดจนเครือข่ายด้านศิลปวัฒนธรรม จึงได้มีการแต่งตั้ง
วิเคราะห์การสรรหาและคัดเลือกศิลปนิ มรดกอีสาน| 45
คณะกรรมการเพอื่ พิจารณากล่นั กรองและคณะกรรมการตดั สนิ ศลิ ปนิ มรดกอสี าน อย่างรอบคอบ แบง่ เปน็ ประเภท
ตา่ งๆ 3 กลุม่ คือ กลุม่ ทัศนศิลป์กลุ่มวรรณกรรม กลุม่ ศลิ ปการแสดง
12. ผู้รับผิดชอบโครงการฯ รีบเร่งขอไฟล์ภาพผลงานตลอดจนเอกสารรางวัลเกียรติบัตรของศิลปินเพื่อ
รวบรวมจดั ทาหนังสือศิลปินมรดกอีสาน ป้องกันการผิดพลาดในขั้นตอนพิมพ์ช่ือ นามสกุลของผไู้ ด้รบั รางวัลศิลปนิ
มรดกอีสาน ท่ีมีหลากหลายประเภทเพ่ือพิจารณาตัดสินศิลปินผู้ที่จะได้รับการยกย่องเชิดชูเกียรติให้เป็นศิลปิน
มรดกอีสาน สามารถแสดงข้ันตอนเป็นแผนภูมิการการคัดเลือกประกาศรายช่ือตลอดจนจัดทาหนังสือศิลปินมรดก
อีสาน มีความผิดพลาดในการพิมพ์ช่ือหรือหนังสือเชิญที่ไม่ตรงกับประเภทการยกย่องเชิดชูเกียรติให้เป็นศิลปิน
มรดกอสี าน
5.3 ขอ้ เสนอแนะจากการวิเคราะห์
5.3.1 พัฒนาระบบฐานข้อมูลเทคโนโลยีดิจิทัล เพื่อการสืบค้นแหล่งข้อมูลการคัดเลือกศิลปินมรดก
อีสานใหเ้ ป็นมาตรฐานและได้รบั การยอมรับในระดับสากล
5.3.2 พัฒนากระบวนการออกแบบขั้นตอนการรับสมัครศลิ ปินมรดกอีสานในรูปแบบออนไลทเ์ พื่อความ
รวดเร็วในการประสานงานและลดความผดิ พลาดในการรวบรวมขอ้ มูลของศลิ ปินแต่ละสาขา
5.3.3 พฒั นาระบบการตรวจสอบประวตั สิ ว่ นตัวศิลปิน ประวัตดิ า้ นการศกึ ษา ประวัติดา้ นอาชพี ศิลปิน
ประวัติผลงาน ประสบการณ์ทางการอนุรักษ์/สร้างสรรค์/เผยแพร่ ประวัติด้านรางวัล/เกียรติคุณ ที่ได้รับการยก
ย่อง ด้านการบริการชุมชน สังคม โดยการกรอกผ่านระบบออนไลท์ลดความยุ่งยากซับซ้อนของการจัดเตรียม
เอกสารตา่ งๆ
5.4 ขอ้ เสนอแนะในการทาการศึกษาคร้ังต่อไป
5.4.1 พฒั นาระบบฐานข้อมูลเทคโนโลยีดิจิทลั เพอ่ื การสืบคน้ แหล่งข้อมูลการคัดเลือกศลิ ปนิ มรดกอีสาน
ใหเ้ ปน็ มาตรฐานและได้รบั การยอมรบั ในระดบั สากล
5.4.2 พัฒนากระบวนการออกแบบขั้นตอนการรับสมัครศิลปินมรดกอีสานในรูปแบบออนไลท์เพื่อความ
รวดเร็วในการประสานงานและลดความผิดพลาดในการรวบรวมขอ้ มลู ของศิลปนิ แต่ละสาขา
วิเคราะหก์ ารสรรหาและคัดเลือกศิลปนิ มรดกอสี าน| 47
ภาคผนวก
วเิ คราะหก์ ารสรรหาและคัดเลอื กศลิ ปนิ มรดกอสี าน| 48
ภาคผนวก ก
ประกาศมหาวทิ ยาลยั ขอนแก่นฉบบั ที่ 442/2562
เร่อื งประกาศรายช่อื ผไู้ ด้รับการยกย่องเชดิ ชเู กยี รตศิ ลิ ปนิ มรดกอีสานฯ