The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

หอแจกคุณค่าทางสถาปัตยกรรมของชาวอีสาน
โดย ทิพย์ธิดา ชุมชิต
สาขาวิจัยศิลปะและวัฒนธรรม คณะศิลปกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search

บทความ - หอแจกคุณค่าทางสถาปัตยกรรมของชาวอีสาน

หอแจกคุณค่าทางสถาปัตยกรรมของชาวอีสาน
โดย ทิพย์ธิดา ชุมชิต
สาขาวิจัยศิลปะและวัฒนธรรม คณะศิลปกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น

หอแจก : คุณค่าทางสถาปัตยกรรมอสี าน

นางสาวทพิ ย์ธิดา ชุมชิต

ภาคอีสานเป็ นภาคท่ีมีขนาดพ้ืนที่มากที่สุดและมีประชากรมากท่ีสุดในประเทศไทยและประชากร
เกือบท้งั หมดนบั ถือศาสนาพุทธ ควบคู่ไปกบั ความเช่ือถือตามบรรพบุรุษเก่ียวกบั ส่ิงศกั ด์ิสิทธ์ิ โดยเฉพาะ
การนับถือผี ประชากรในภาคอีสานจึงมีวิถีชีวิตท่ีผูกพนั กับศาสนาพุทธและความเชื่อตามบรรพบุรุษ
(ฉตั รทิพย์ นาถสุภา, 2547)

ศาสนาคารในทางสถาปัตยกรรมพุทธศาสนาท่ีสร้างอยูต่ ามวดั สามารถจาแนกออกตามหนา้ ที่และ
ความสาคญั ของสถาปัตยกรรมทางพระพุทธศาสนา ไดแ้ ก่ เขตพุทธาวาส เขตปรก และเขตสังฆาวาส เขต
พุทธาวาส หมายถึง บริเวณประดิษฐานปูชนีย์วตั ถุอันเกี่ยวเนื่องด้วยการปฏิบัติธรรม นิยมสร้าง
สถาปัตยกรรมสาหรับเป็ นท่ีประกอบกิจกรรมทางสังฆกรรมของสงฆ์ ไดแ้ ก่ สิม (โบสถ์) วิหาร (อาราม)
หอไตร หอระฆงั หอโปง หอกลอง เจดียบ์ รรจุพระธาตุ เขตปรกหรือเขตสาธารณะ หมายถึง เขตซ่ึงอยู่
นอกเหนือไปจากเขตพุทธาวาสและเขตสังฆวาส นิยมสร้างสถาปัตยกรรมสาหรับใช้เป็ นท่ีประกอบ
กิจกรรม พิธีกรรม ประเพณี ต่างๆของชุมชน เช่น เมรุ ศาลาพักศพ ประตูโขง กาแพงวดั ส่วน
เขตสังฆาวาส หมายถึง บริเวณซ่ึงเป็ นท่ีอยูข่ องพระภิกษุและสามเณร นิยมสร้างสถาปัตยกรรมสาหรับใช้
เป็นที่อยอู่ าศยั เช่น กุฏิสงฆ์ หอแจก (ศาลาการเปรียญ) (พทิ กั ษ์ นอ้ ยวงั คลงั , 2541)

ธาดา สุทธิธรรม (2542) กล่าวว่า หอแจก หรือที่โบราณเรียกกันว่า ศาลาบุเรียน หรือศาลา
เปรียญ หมายถึง ศาลาโรงธรรมประจาวดั ตามคาเรียกของชาวไทยอีสาน กลุ่มชนวฒั นธรรมไท (ไต) น้นั
เป็ นสถาปัตยกรรมทางศาสนาอีกประเภทหน่ึงที่ใชเ้ ป็ นสถานที่ท่ีพุทธศาสนิกชน นาภตั ตาหารมาถวายแก่
พระสงฆ์ หรือเป็ นสถานท่ีที่พระสงฆ์แสดงธรรม พบปะญาติโยมในกิจกรรมท่ีเกี่ยวขอ้ งกับวดั หลาย
ประการ เช่น ทาบุญ สังฆทาน สู่ขวญั สะเดาะเคราะห์ เป็ นตน้ หอแจกนอกจากจะเป็ นอาคารสาคญั
ประจาวดั แล้วยงั เป็ นอาคารสาธารณะเอนกประสงค์ของชุมชน เช่น ในประเพณีต่างๆของชุมชนหรือ
หมู่บา้ นที่เรียกว่า ฮีตสิบสอง หอแจกจะเป็ นศูนยร์ วมชาวบา้ นและกิจกรรมต่างๆ ท่ีเกี่ยวขอ้ งกบั ประเพณี
เหล่าน้นั นอกจากน้ีแล้วยงั ใช้เป็ นสถานท่ีประชุม นดั หมาย ของกลุ่มชาวบา้ น เช่น ธกส. อสม. กลุ่ม
เยาวชน เป็ นสถานท่ีเลือกต้งั กานนั ผูใ้ หญ่บา้ น อบต. ส.จ. ส.ส. รวมท้งั เป็ นสถานที่ให้การศึกษาแก่
กุลบุตรกลุ ธิดาของชาวบา้ นในวยั ก่อนเขา้ เรียนอีกดว้ ย ในส่วนของรูปแบบหอแจกน้นั สร้างข้ึนตามความเช่ือ
ความศรัทธาที่มีตอ่ สิ่งศกั ด์ิสิทธ์ิ พระพทุ ธเจา้ และศาสนา (สุชาติ เถาทอง, 2532)

ธาดา สุทธิธรรม (2542) ไดแ้ บ่งลกั ษณะของหอแจกไมไ้ ว้ 3 ลกั ษณะ คือ 1) หอแจกไมแ้ บบ
ด้งั เดิม (รุ่นเก่าแก่) 2) หอแจกไมร้ ุ่นเก่า (รุ่นตน้ สมยั การใช้วสั ดุอุตสาหกรรม) 3) หอแจกรุ่นเสา คสล.
(คอนกรีตเสริมเหล็ก)

1) หอแจกไม้แบบด้ังเดิม (รุ่นเก่าแก่) หมายถึง หอแจกท่ีสร้างข้ึนโดยใช้วสั ดุท่ีทาข้ึนเองใน
ทอ้ งถิ่นและมีการออกแบบเฉพาะตวั จะสร้างข้ึนดว้ ยไมท้ ้งั หลงั ต้งั แตเ่ สาเรือน, ตวั เรือน, โครงหลงั คา ไป

จนถึงวสั ดุมุงหลงั คา ท่ีอาจเป็นไมห้ รือกระเบ้ืองดินขอ (กระเบ้ืองดินเผาไมเ่ คลือบ) ที่ผลิตข้ึนเองในทอ้ งถิ่น
ได้

2) หอแจกไมร้ ุ่นเก่า (รุ่นตน้ สมยั การใชว้ สั ดุอุตสาหกรรม) หมายถึง การมีวสั ดุอุตสาหกรรมเขา้ มา
ใช้ในภูมิภาค จากการติดต่อสัญจรกับภาคกลาง วสั ดุเหล่าน้ัน เช่น หลังคาแผ่นเหล็กชุบสังกะสี ,
ปูนซีเมนต์ และเหล็กเส้น แต่หอแจกในยคุ ตน้ ของการใชว้ สั ดุอุตสาหกรรม มีลกั ษณะทางสถาปัตยกรรมที่
มีแนวทางของตนเอง แม้จะมีการนาวสั ดุใหม่ๆเขา้ มาใช้ และวสั ดุบางอย่างสามารถหาได้ตามท้องถ่ิน
โดยเฉพาะ เสา, คาน และพ้ืน แตแ่ ผนผงั ส่วนใหญย่ งั คงเป็นสี่เหล่ียมผนื ผา้ อาคารช้นั เดียว เป็นอาคารโล่ง
ส่วนหลงั คามีจวั่ แบบปี กนกซ่ึงเป็นเอกลกั ษณ์เดิม

3) หอแจกรุ่นเสา คสล. (คอนกรีตเสริมเหล็ก) หมายถึง หอแจกไมท้ ่ีมีอายกุ ารสร้างไม่เกิน 30 ปี
โดยจะมีเสาตอม่อรับตวั เรือนหอแจก เป็นเสาคอนกรีตสาเร็จรูปแทบท้งั สิ้น และชิ้นส่วนไมท้ ่ีใชล้ ว้ นไดจ้ าก
โรงเล่ือยต่างๆ การใช้เสาคอนกรีตสาเร็จรูปเป็ นเสาอาคารช้นั ล่าง ทาให้ไดอ้ าคารใตถ้ ุนสูงเสมือนเป็ น 2
ช้นั แต่เสาบางรุ่นมีขนาดส้ัน จึงมีรูปแบบเป็ นอาคารยกพ้ืนราวเมตรกวา่ ๆ เหมือนหอแจกรุ่นเก่า หอแจก
ขนาดเลก็ ที่ใชเ้ สาตอม่อ ยงั คงรักษาแผนผงั แบบรุ่นเก่าคือ กวา้ ง 3 - 4 หอ้ ง ยาว 5 ห้อง ลกั ษณะอาคารเป็ น
ศาลาโล่ง มีผนงั ปิ ดลอ้ มเฉพาะบริเวณอาสน์สงฆ์ ส่วนหอแจกขนาดใหญ่นิยมตีผนงั ไมก้ ระดานปิ ดทึบรอบ
อาคาร ติดหน้าต่างบานเปิ ดคู่ วสั ดุมุงหลงั คานิยมใช้กระเบ้ืองซีเมนตใ์ ยหิน ส่วนหลงั ประดบั ดว้ ยเคร่ือง
ลายอง : ช่อฟ้า, ใบระกา, หางหงส์ หนา้ บนั เป็ นซีเมนตถ์ อดแบบหล่อมีลวดลายตามแบบลายไทยของภาค
กลางตามยคุ สมยั

กาลเวลาผา่ นไป มีวตั ถุนิยมเพ่ิมมากข้ึนจึงทาให้รูปแบบของหอแจกจากที่เคยใช้วสั ดุที่หาไดต้ าม
ทอ้ งถิ่นน้นั ไดเ้ ปล่ียนแปลงไปตามยคุ สมยั ใหม่ จนทาใหเ้ กิดความเสียดายแก่ผทู้ ่ีตอ้ งการเสพบรรยากาศเก่าๆ
หอแจกแบบด้งั เดิมแทบหาดูไดย้ ากมาก เน่ืองจากปัจจุบนั ไดม้ ีการร้ือถอนไปเกือบหมดแลว้ หอแจกเก่า
ยงั คงหลงเหลือเพียงไม่กี่แห่งในภาคอีสาน วดั โพธ์ิวรารามคือหน่ึงในวดั ที่ยงั คงหลงเหลือหอแจกไมแ้ บบ
ด้งั เดิมไวใ้ หค้ นรุ่นหลงั ไดเ้ ห็นและชื่นชมในฝีมือของป่ ูยา่ ตายายที่ไดร้ ่วมแรงร่วมใจกนั สร้างข้ึนมาตามความ
เช่ือความศรัทธาในพระพทุ ธศาสนา

วดั โพธ์ิวรารามเป็ นวดั ราษฎร์ ในนิกายมหานิกาย ต้งั อยหู่ มูท่ ่ี 4 บา้ นเหล่าภูพาน ตาบลแซงบาดาล
อาเภอสมเด็จ จงั หวดั กาฬสินธุ์ ห่างจากตวั อาเภอสมเด็จ 16 กิโลเมตร (วดั ไทยดอทคอม, 2557) ทาง
หลวงชนบทหมายเลข 3011 หอแจกวดั โพธ์ิวรารามเป็ นหอแจกไม้เก่าที่มีความงดงาม สร้างเม่ือพ.ศ.
2513 เป็ นอาคารเอกลกั ษณ์สถาปัตยกรรมอีสานท่ีมีคุณค่า มีลกั ษณะการก่อสร้างเป็ นของตนเอง สร้างข้ึน
โดยฝี มือของชาวบา้ นในทอ้ งถิ่น รูปแบบของหอแจกมีความเรียบง่าย ใชว้ สั ดุในทอ้ งถ่ิน โดยไปดูแบบจาก
วดั อ่ืนๆแล้วนาแบบมาผสมผสานกนั จนกลายเป็ นหอแจกในแบบของวดั โพธ์ิวราราม (เที่ยง นามนิตย,์
2557 : สมั ภาษณ์) รูปแบบของอาคารเป็ นรูปส่ีเล่ียมผนื ผา้ กวา้ ง 4 ช่วงเสา ยาว 5 ช่วงเสา สมยั ก่อนใชเ้ สา
ไมป้ ัญหาคือปลวกกินปัจจุบนั จึงเปล่ียนมาใชเ้ สาปูนแทน ตวั เรือนมีลกั ษณะทรวดทรงที่ประกอบข้ึนดว้ ย
โครงไมเ้ หมือนโครงสร้างของบา้ นเรือนทวั่ ไป วสั ดุในการก่อสร้างและตกแต่งน้นั ลว้ นหาไดจ้ ากทอ้ งถ่ิน

หลงั คาเป็ นจวั่ ธรรมดา มีชายคาปี นกปกคลุมอีกทรงหน่ึง เครื่องมุงน้ีมุงดว้ ยสังกะสี หนา้ บนั ของหอแจกกรุ
ดว้ ยกระเบ้ืองแผน่ เรียบท้งั สองดา้ นโดยไม่มีการตกแต่งลวดลาย รูปแบบการสร้างหอแจกน้นั เป็ นเสมือน
ภาพสะท้อนวิถีชีวิต สภาพเศรษฐกิจของผูค้ นในชุมชน ภายในหอแจกมีธรรมมาสต้งั อยู่ทางด้านทิศ
ตะวนั ออก โดยทางดา้ นทิศตะวนั ออกยกระดบั พ้ืนยาวตลอดแนวสูงประมาณคร่ึงศอก เพ่ือเป็ นอาสนสงฆ์
โดยเช่ือว่าพระสงฆ์จะตอ้ งน่ังในท่ีสูงกว่าฆราวาส ภายในหอแจกดา้ นทิศตะวนั ออกสุดของอาคารเป็ นที่
ประดิษฐานของพระพุทธปฏิมาประธานในท่ีน้นั และท่ีต้งั โต๊ะหมู่บูชา ในกรณีวดั น้ีพระพุทธปฏิมาจะหัน
หนา้ ไปทางทิศตะวนั ตกซ่ึงถือวา่ ผดิ ขนบธรรมเนียม แตใ่ นปัจจุบนั จึงไดส้ ร้างหอแจกข้ึนมาใหม่โดยหนั หนา้
องคพ์ ระพุทธปฏิมาไปทางทิศตะวนั ออก (แดง ตุม่ พงษ,์ 2557, สัมภาษณ์)

ภาพหอแจกวดั โพธ์ิวรารามในแต่ละด้าน

ภาพท่ี 1 หอแจกทางด้านทศิ เหนือ ภาพที่ 2 หอแจกทางด้านทศิ ใต้

ภาพท่ี 3 หอแจกทางด้านทศิ ตะวนั ออก ภาพที่ 4 หอแจกทางด้านทศิ ตะวนั ตก

ภาพท่ี 5 หอแจกวดั โพธ์ิวราราม

ภายในอาคารของหอแจกมีลกั ษณะเป็ นห้องโล่ง เพื่อใช้รองรับพุทธศาสนิกชนทวั่ ไปที่มาทาบุญ
เป็ นจานวนมาก โดยขนาดของหอแจกน้นั จะสร้างตามจานวนคนในหมู่บา้ น ความเช่ือของชาวบา้ นเช่ือวา่
หอแจกน้นั เป็นศาสนคารท่ีสาคญั อีกแห่งหน่ึงของวดั เม่ือคนไมม่ ีที่นอนก็มกั จะมาขออาศยั หลบั นอนบนหอ
แจกหรือเวลามีกิจกรรมต่างๆของหมู่บา้ นชาวบา้ นจะมารวมกนั หรือนดั ประชุมกนั บนหอแจกแห่งน้ี (จวง
พรรณภกั ดี, 2557, สมั ภาษณ์)

ภาพท่ี 6 ธรรมมาสบนหอแจก ภาพที่ 7 อาคารบนหอแจกมลี กั ษณะโล่ง

หอแจกวดั โพธ์ิวรารามเกิดจากฝีมือของช่างระดบั ชาวบา้ นธรรมดาในหมู่บา้ นเหล่าภูพาน ที่ตอ้ งการ
แสดงออกถึงความศรัทธา ความเชื่อตามขนบธรรมเนียมประเพณีของตนเองออกมาอยา่ งเรียบง่าย ดว้ ยวสั ดุ
อุปกรณ์ท่ีหาไดต้ ามทอ้ งถ่ินและมีซ้ือบา้ งบางส่วน ลกั ษณะคลา้ ยกบั หอแจกไมร้ ุ่นเก่า (รุ่นตน้ สมยั การใช้
วสั ดุอุตสาหกรรม) ข้ันตอนในการทาไม่สลับซับซ้อน ทาให้มีบรรยากาศของความเป็ นอีสานอย่าง
สมบูรณ์ นอกจากน้นั ยงั แสดงใหเ้ ห็นถึงความเป็นอิสระในการสร้างสรรคไ์ ม่ยดึ ติดกบั กฎเกณฑ์ แตส่ ามารถ
แสดงออกมาไดอ้ ย่างงดงามมีสุนทรียภาพตามความเชื่อ หอแจกเป็ นสถาปัตยกรรมเอกลกั ษณ์พ้ืนถิ่นที่มี
คุณค่าสูงยง่ิ แตน่ ่าเสียดายวา่ ในปัจจุบนั หอแจกส่วนมากไดถ้ ูกร้ือถอนไปเกือบหมดแลว้

อ้างองิ
ฉัตรทิพย์ นาถสุ ภา. (2547). วัฒนธรรมกับการเปลี่ยนแปลงทางสังคม. กรุงเทพฯ : จุฬาลงกรณ์
มหาวทิ ยาลยั .
ธาดา สุทธิธรรม. (2542). หอแจกในภาคอีสาน อาคารสาธารณะเอกลักษณ์อสี าน. กรุงเทพฯ : สานกั งาน
คณะกรรมการวจิ ยั แห่งชาติ.
พิทกั ษ์ น้อยวงั คลงั . (2541). ศิลปกรรมท้องถ่ิน. มหาสารคาม : ภาควิชาทศั นศิลป์ และศิลปะการตกแต่ง
คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั มหาสารคาม.
วดั โพธ์ิวราราม. [ออนไลน]์ [อา้ งเมื่อ 7 ธนั วาคม 2557] จาก www.wat – Thailand.com
รายนามผใู้ หส้ มั ภาษณ์
นายจวง พรรณภกั ดี อายุ 63 ปี อาชีพ ทานา ท่ีอยู่ บ้านเลขที่ 8 หมู่ 4 บา้ นเหล่าภูพาน ตาบลแซง
บาดาล อาเภอสมเดจ็ จงั หวดั กาฬสินธุ์
นายแดง ตุ่มพงษ์ อายุ 62 ปี อาชีพทานา รับจา้ ง, ทานา ท่ีอยู่ บา้ นเลขที่ 75 หมู่ 4 บา้ นเหล่าภูพาน
ตาบลแซงบาดาล อาเภอสมเด็จ จงั หวดั กาฬสินธุ์
นายเท่ียง นามนิตย์ อายุ 76 ปี อดีตเคยดารงตาแหน่งกานนั ผใู้ หญ่บา้ น ประจาบา้ นเหล่าภูพาน ตาบลแซง
บาดาล อาเภอสมเด็จ จงั หวดั กาฬสินธุ์


Click to View FlipBook Version