The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

มหาเวสสันดรชาดกคันฉ่องส่องไทย : รากเหง้าหัวใจชาวอีสาน

บทความโดย สาขาศิลปะ วัฒนธรรม และการออกแบบ คณะศิลปกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search

มหาเวสสันดรชาดกคันฉ่องส่องไทย : รากเหง้าหัวใจชาวอีสาน

มหาเวสสันดรชาดกคันฉ่องส่องไทย : รากเหง้าหัวใจชาวอีสาน

บทความโดย สาขาศิลปะ วัฒนธรรม และการออกแบบ คณะศิลปกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น

1

มหาเวสสนั ดรชาดกคนั ฉ่องสอ่ งไทย: รากเหงา้ หัวใจชาวอีสาน

โดย นายพงษก์ รณ์ วีรพพิ รรธน์ นักศกึ ษาปริญญาเอก
สาขาวิจัยศลิ ปะและวัฒนธรรม คณะศิลปกรรมศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยขอนแก่น

นาเสนอต่อ รศ.ดร.นยิ ม วงศ์พงษ์คา

มหาเวสสนั ดรชาดก เป็ นวรรณคดีทางพระพทุ ธศาสนาเรื่องสาคญั สาหรับพทุ ธศาสนิกชนชาวไทย
เพราะสืบเนื่องมาตงั้ แต่เรื่องมหาชาติคาหลวงในสมยั กรุงศรีอยธุ ยา จนกระท่ังถึงร่ายยาวมหาเวสสันดร
ชาดกในสมยั รัตนโกสนิ ทร์ พระเวสสนั ดร เป็นตวั ละครเอกผ้บู าเพ็ญทานบารมีอย่างย่ิงใหญ่ กบั ฝ่ ายปรปักษ์
ท่ีมีบทบาทสาคญั ทาให้พระเวสสันดรเดินทางถึงมหาทานอย่างสมบูรณ์ นัน่ คือ ชูชกผู้ให้สขุ และทุกข์แก่
พระเวสสนั ดรอย่างยิ่ง โดยเฉพาะกณั ฑ์กมุ าร (มณีปิ่ น พรหมสทุ ธิรักษ์, 2558: 254) และหากจะกล่าวถึง
เหตกุ ารณ์ทาทานของพระเวสสันดรครัง้ สาคญั ท่ีทาให้ชีวิตของพระองค์เปลี่ยนไปจากเจ้าชายส่นู กั บวช
ได้ปรากฏหลกั ฐานชดั ในไตรภมู ิกถา ซงึ่ กลา่ วถงึ อานสิ งส์แหง่ การบาเพญ็ บารมีไว้ ความวา่

ครัง้ เม่ือพระพทุ ธเจ้าเรานีส้ ร้างสมภารเป็นพระญาเวสสนั ดร อนั อวย
ทานช้างเผือก (ช่ือ) ปัจจยั นาเคนทร์แกพ่ ราหมณ์ทงั้ หลาย อนั มาแตเ่ มือง
ก(ลิ)งคราฐด้วยใจสทั ธาด้วยบญุ สมภารบารมี อนั นนั้ ตจู งึ ได้มาเป็นพระรัศมี
อนั ขาว แลตไู ด้ไปกอ่ น (หน้า) ทา่ นด้วยบญุ สมภารเราดง่ั นี ้

(ราชบณั ฑิต, 2544: 206)

2

แม้มหาเวสสนั ดรชาดกจะเป็ นเรื่องราวพระโพธิสตั ว์ผู้บาเพ็ญทานบารมีก็ตาม หากพิจารณาจะ
พบวา่ แท้จริงพระชาตนิ ีบ้ าเพญ็ ทกุ บารมีเพียงแตม่ ีทานบารมีเป็นหวั ขบวน ทศบารมีนนั้ ประกอบด้วย

๑) พระเตมีย์ ทรงบาเพ็ญเนกขมั มบารมี คือ การออกบวช
๒) พระมหาชนก ทรงบาเพญ็ วริ ิยะบารมี คือ ความเพียร
๓) พระสวุ รรณสาม ทรงบาเพ็ญเมตตาบารมี คอื ความเมตตา
๔) พระเนมริ าช ทรงบาเพ็ญอธิษฐานบารมี คือ ความมีจติ ท่ีตงั้ มน่ั
๕) พระมโหสถ ทรงบาเพ็ญปัญญาบารมี คือ ความมีปัญญา
๖) พระภรู ิทตั ทรงบาเพญ็ ศีลบารมี คอื การรักษาศีล
๗) พระจนั ทกมุ าร ทรงบาเพญ็ ขนั ตบิ ารมี คอื ความอดทน
๘) พระนารทพรหม ทรงบาเพญ็ อเุ บกขาบารมี คือ การมีอเุ บกขา
๙) พระวธิ ูรบณั ฑิต ทรงบาเพญ็ สจั จะบารมี คอื การมีสจั จะ
๑๐) พระเวสสนั ดร ทรงบาเพ็ญทานบารมี คอื การให้ทาน

(นริศร์ เล่ียมทอง, 2548: 14)

จะเห็นได้ว่าตวั ละครเอกมีเชือ้ สายกษัตริย์ และการท่ีจะเป็ นพระมหากษัตริย์ของไทยไมว่ ่าจะสมยั
ใดก็ล้วนแตท่ รงธรรมทงั้ สนิ ้ สอดคล้องกบั ศรีศกั ร วลั ลิโภดม (2554: 69) กลา่ ววา่ ระบอบการปกครองสมยั
กรุงศรีอยธุ ยาแม้จะได้รับอิทธิพลจากขอมแต่อิทธิพลทางพระพทุ ธศาสนา นิกายเถรวาทก็มีมากเช่นกัน
ดังนัน้ ควรเรียกว่า สมมติราช เพราะมิใช่องค์อวตารของเทวราชองค์ใด หากเป็ นพระมหาสมมติราช
หมายถึง ผ้ทู รงคณุ ธรรมท่ีได้รับการยอมรับจากบคุ คลทวั่ ไปแล้วยกยอ่ งเป็ นพระมหากษัตริย์ ซง่ึ ผ้ทู ่ีเป็ นแบบ
ฉบบั ของสมมตริ าช คือ พระโพธิสตั ว์ในชาดก โดยเฉพาะพระเวสสนั ดร หวั ใจยิ่งใหญ่ของผ้เู ป็ นสมมติราช
คือ การให้หรือทานบารมี เฉกเช่นพระเวสสนั ดร เพราะการให้ทานนนั้ เป็ นการเช่ือมความสมั พนั ธ์ระหว่าง
มนษุ ย์กบั มนษุ ย์ ขจดั ชอ่ งวา่ งระหวา่ งชนชนั้ ปกครองกบั ราษฎร ดงั ท่ีทราบกนั ดีวา่ พระเวสสนั ดรนนั้ เป็ นพระ
ชาตสิ ดุ ท้ายของพระโพธิสตั ว์ก่อนท่ีจะเสวยพระชาตเิ ป็นองคพ์ ระสมั มาสมั พทุ ธเจ้า

ความข้างต้นนา่ จะพอให้เห็นถึงความสาคญั และความจีรังของมหาเวสสนั ดรชาดก ดงั นนั้ บทความ
เรื่องนี ้ขอนาเสนอ 3 ประเด็น ได้แก่ 1)พฒั นาการมหาเวสสนั ดรชาดก อธิบายถึงรูปแบบและวตั ถปุ ระสงค์
ของชาดกเรื่องนีใ้ นแตล่ ะสมยั 2) ความเชื่อเม่ือฟังแห่งมหาเวสสนั ดร จะกล่าวถึงการเทศน์มหาชาติ และ
3) ฮปู แต้มผะเหวดสิมอีสานกลไกไขขานแกน่ พระธรรม โดยนาเสนอผลการลงพืน้ ที่ภาคอีสาน ซึ่งผ้เู ขียนจบั
ประเด็นเร่ืองการวาดเร่ืองราวพระเวสสนั ดรแบบอีสานบนฝาผนังสิม ซึ่งสะท้อนถึงจิตใจของชาวอีสาน
อยา่ งแท้จริง

3

พัฒนาการมหาเวสสันดรชาดก

เม่ือกล่าวถึงพัฒนาการของมหาเวสสันดรชาดก สาหรับเนือ้ หานัน้ มิได้เปลี่ยนแปลงใด ๆ แต่
รูปแบบการประพันธ์หรือฉันทลกั ษณ์ กลับมีพฒั นาการอย่างให้เห็นได้ชัด เพราะมีความเก่ียวเน่ืองกับ
วตั ถุประสงค์ของการแต่ง นอกจากนี ้วรรณศลิ ป์ ในการประพนั ธ์ก็มีความแตกตา่ งตามอจั ฉริยภาพทางกวี
แตล่ ะบคุ คลและความนิยมแตล่ ะสมยั สิทธา พินิจภูวดล และปรียา หิรัญประดิษฐ์ (2555: 42-43, 48)ได้
อธิบายถงึ ความเป็นมาของมหาชาตคิ าหลวงและกาพย์มหาชาตไิ ว้อยา่ งชดั เจน ดงั นี ้

มหาชาติคาหลวง เป็ นวรรณคดีท่ีสมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ โปรดให้ประชุมนักปราชญ์
ราชบณั ฑิตแปลแต่งจากคาถาพันเมื่อปี ขาล จ.ศ.844 หรือประมาณ พ.ศ.2025 วรรณคดีเล่มนีถ้ ือเป็ น
มหาชาติที่เก่าแก่ท่ีสุดของไทย “ไม่ได้แต่งสาหรับพระเทศน์ แต่แต่งสาหรับนักสวดใช้สวดให้อุบาสก
อบุ าสิกาฟังเวลาไปอยบู่ าเพ็ญกศุ ลท่ีในวดั สมเด็จฯ กรมพระยาดารงราชานภุ าพ ทรงอธิบายไว้ในหนงั สือ
บนั ทกึ สมาคมวรรณคดี วา่ ‚เมื่อกรุงเก่าเสียแตพ่ มา่ ข้าศกึ นนั้ ต้นฉบบั หนงั สือ มหาชาติคาหลวง สญู หาย
เสีย 6 กัณฑ์ คือ กัณฑ์หิมพานต์ 1 ทานกัณฑ์ 1 จุลพน 1 มัทรี 1 สักรบรรพ 1 ฉกษัตริ ย์ 1
พระบาทสมเดจ็ พระพทุ ธเลิศหล้านภาลยั จึงโปรดให้ประชมุ นกั ปราชญ์ ราชบณั ฑิตในกรุงรัตนโกสินทร์แตง่
กณั ฑ์ท่ีขาดขนึ ้ ใหมเ่ ม่ือปี จอ จ.ศ. 1176 (พ.ศ.2358) จงึ มีฉบบั บริบรู ณ์มาจนทกุ วนั นี‛้

กาพย์มหาชาติ วรรณคดีเลม่ นีเ้ ป็ นวรรณคดีพทุ ธศาสนาเช่นเดียวกบั มหาชาติคาหลวง สมเด็จฯ
กรมพระยาดารงราชานุภาพได้ทรงอธิบายไว้ว่า “กาพย์มหาชาติ ข้าพเจ้าเข้าใจว่า ประชุมนักปราชญ์
ราชบณั ฑิตแต่งขึน้ เม่ือในแผ่นดินสมเด็จพระเจ้าทรงธรรม ระหว่าง พ.ศ. 2145 จน พ.ศ.2170 ด้วยมี
เนือ้ ความในหนังสือพระราชพงศาวดารกล่าวไว้ในแผ่นดินนัน้ ได้แต่ง มหาชาติคาหลวง อีกครัง้ หนึ่ง ”
กาพย์มหาชาติ ที่เป็ นสานวนครัง้ กรุงเก่านนั้ สูญหายมาก ที่ค้นพบมีเพียง ๓ กัณฑ์คือ กัณฑ์วนประเวศ
กัณฑ์กุมาร และกัณฑ์สักรบรรพ เนือ้ หาแต่ละกัณฑ์ก็เช่นเดียวกับมหาชาติคาหลวง แต่วิธีการแต่ง
แตกตา่ งกนั กล่าวคือ ยกคาถามคธแล้วแปลเป็ นภาษาไทยด้วยร่าย โดยประสงค์ให้พระสงฆ์ใช้เทศน์ให้
ประชาชนเข้ าใจเป็ นสาคญั

จาก 2 เรื่องข้างต้น ผ้เู ขียนขอยกตวั บทประพนั ธ์ให้เห็นถงึ ความแตกตา่ ง เพื่อผ้อู า่ นจะได้พิจารณา
ถงึ วตั ถปุ ระสงค์ของแตล่ ะเร่ืองมากขนึ ้ ซงึ่ บทท่ีจะยกตวั อยา่ งนี ้เป็นบทชมธรรมชาตขิ องมหาชาตคิ าหลวง
และกาพย์มหาชาติ

4

มหาชาติคาหลวง

ปตตฺ ชีวา จ กกุ ฺกฏุ า คาไก่ ไตร่โตรดตา่ ง กิ่งกระชา่ งเฉกไมแ่ มน
อสนา เจตถฺ ปปุ ผฺ ิตา ประดดู่ ื่นหมื่นแสน ดกดาดแดนด้าวอาศรม
กฏุ ชา สรฬานีปา เตงแต้วมกู มนั ช้อย สรลสยดสร้อยราเพยลม
โกสมพฺ า ลพชุ ชา ธวา กรเบา สาลอสรล ตรแบกลมตรบดั โบย
สาลา จ ปปุ ผฺ ิตา ตตถฺ รังร่มดวงบานโรย ศาลารื่นเมื่อลมโชย
ปลาลขลสนฺนิภา ดอกไม้อนั บานโรย โกยกลกู่ ลาดคือลาญใน
ตสฺสาวิทเู ร โปกฺขรณี สระโบษขรณี ใกล้กฎุ เี จ้าจอมไตร
ภมู ิภาเค มโนรเม เปนที่จาเริญใจ นา้ สระใสหมดมลุ ทิน
ปทมุ ปุ ปฺ ลํฺฉนนฺ า อาเกียรณ์อบุ ลบทั ม์ สโรชรัตนรวยริน
เทวานมิว นนฺทเน พยงสระสาอางอินทร อนั ชื่อนนั ทโบษขร
อเถตถฺ ปปุ ผฺ รสมตฺตา รศมาลยบานหื่นหอมขจร กบสร้อยสระสร
ตระหลบคืออบชลธาร

(ราชบณั ฑิตยสถาน, 2554: 469)

จากบทประพนั ธ์ข้างต้นจะเห็นได้วา่ นาบาลีตงั้ แล้วแปลเป็ นภาษาไทยโดยใช้อินทรวิเชียร
ฉนั ท์เป็นลกั ษณะคาประพนั ธ์ ซง่ึ พิจาณาจากความท่ีแปลแล้ว อาจมีการขยายเพ่ิมเตมิ จากบาลีแตก่ ็นบั วา่
เพิ่มเตมิ น้อยมากเม่ือเทียบกบั กาพย์มหาชาติ

กาพย์มหาชาติ
เวปลล นามปพพุ ต จะได้ทอดพระเนตรเขาแก้วอนั ปรากฏ ชื่อวิบลุ ยบรรพตภูผา นานาทิช
คณากิณฺณ อนั ดาษดาด้วยตรุณรุกขชาติ เป็ นฉตั รชนั้ ท่ีพนมมาศหม่ไู ม้ สึตจฺฉาย ย่อมเย็นชะชือ้ ชิดไป
เป็นบรมสขุ สาราญ จากที่นนั้ ไปจะได้เห็นธารแถวนที ชื่อเกตมุ ดีดดุ นั้ แทรกศิลาหลนั่ ไหลหลง่ั เป็ นธารทอ่
ทดถัง่ ธารา คมุภีร เป็ นซอกซึง้ ศิลาฦกลา้ นา้ นนั้ เย็นไสไหลฉ่าชะฉ่าเชี่ยวตระหลบโลดลดเลีย้ วชลาลน่ั
เสียงกระครึกคร่ันโครมครื่น สปุ ตติ ฺถ ทงั้ ท่าก็ราบร่ืนร่มสบาย มจฺฉอากิณฺณ อาเกียรณ์ไปด้วยปลาสร้อย
สวายวา่ ยเลน่ เหลา่ มจั ฉาชาตอิ ยเู่ ย็นยอ่ มอาศยั

(ราชบณั ฑิตยสถาน, 2554: 28)

5

เม่ือพิจารณาบทชมธรรมชาตขิ องกาพย์มหาชาติจะเห็นได้ว่า แม้มีบาลีแตก่ ารแปลเป็ นภาษาไทย
นนั้ จะขยายความยาวกว่ามหาชาติคาหลวง คาประพนั ธ์ที่ใช้เป็ นร่าย อ่านแล้วเข้าใจง่านกว่ามหาชาติ
คาหลวง ซงึ่ ก็ตรงตามจดุ ประสงค์สาหรับการแตง่ กาพย์มหาชาติเพื่อใช้เทศน์ให้ราษฎรทวั่ ไปได้ฟัง หลงั จาก
นนั้ ก็มีมหาเวสสนั ดรชาดกสานวนกลอนเทศน์เกิดขนึ ้ มากมายหลายสานกั อาทิ

มหาชาตกิ ลอนเทศน์
ปางเม่ือสมเดจ็ พระผสุ ดียอกรชลุ ีขนึ ้ เหนืออตุ มางคศโิ รตม์วา่ พระพทุ ธเจ้าข้า จงทรงพระกรุณาโปรด
ขอประทานโทษเจ้าเวสสนั ดร หล่อนกระทาละเมิดจิตผิดกระทรวง อันนีก้ ็ล่วงพระราชอาชญา ฝ่ าละออง
องค์อสิ เรศ ยกพญาศรีเศวตบวรพิเศษเอกฉนั ทนั ต์หิรัญรัศมีมอบให้ไปเป็ นทาน โทษก็ถึงกาจดั จากราชฐาน
บ้านเมือง เกล้ากระหม่อมก็คิดเคืองไม่รู้หาย หากว่าเป็ นเชือ้ สายจึ่งสงั เวช ขอพระป่ิ นปกเกศได้โปรดเกล้า
อน่ึงเล่ากญุ ชรลา้ คเชนทรกษัตริย์อื่นหม่ืนนคร ไม่หาได้เป็ นศรีวงั เวียงชยั มงคลเมือง พระโอรสก็รุ่งเรืองสุด
กษัตริย์ จะกาจดั ให้พลดั พรากจากราชธานินทร์ ใชว่ ่าคชนาคนิ ทร์จะคืนวงั พระองค์ช่างเช่ือฟังคาคนอนั ชวั่
โฉด ชาวเมืองมันกล่าวโทษพลอยโกรธตอบ เสียกาแล้วจะซา้ กอบกระมังนะพระทูลเกล้า พระคุณเอ่ย
อยา่ ได้เบาพระทยั ได้ใคร่ครวญ ครัน้ จอแจเข้าเมื่อจวนสิจนใจ อสั ดรกญุ ชรชยั นนั้ หรือจะชว่ ยลกู กบั เมียดอก
จะม้วยด้วยพระองคไ์ ด้ พระคณุ เอย่ อยา่ เพอ่ เศร้าเสียพระทยั เร่งร้อนรน ด้วยช้างต้นมงคลขวญั เมือง

(มหาชาตสิ านกั วดั ถนน ทานกณั ฑ์: 47 อ้างถึงใน ศริ ิพร เศรษฐพฤทธิ์, 2551: 29-30)

บทเทศน์ข้างต้นเป็ นสว่ นหนง่ึ ของกณั ฑ์ทานกัณฑ์ เหมาะสาหรับการเทศน์ให้พทุ ธศาสนิกชนทวั่ ไป
รับฟัง เพราะไม่มีคาบาลี และการขยายความอธิบายความตา่ ง ๆ ใช้ภาษาท่ีเข้าใจง่ายกว่า กาพย์มหาชาติ
ซ่ึงกาพย์มหาชาตินนั้ แม้ว่าจะเป็ นมหาเวสสนั ดรชาดกเพ่ือใช้ในการเทศน์เรื่องแรก แตก่ ็ได้สญู หายเหลือ
เพียง 3 กัณฑ์ ดงั ที่กลา่ วไว้เบือ้ งต้น ในสมยั ต่อมาสานวนต่าง ๆ ก็เกิดขึน้ จานวนมากจนถึงปัจจบุ นั อาทิ
เทศน์มหาชาติทานองแหล่กัณฑ์ทศพรของพระราชวิจิตรปฏิภาณ (2550) นอกจากนี ้บทชมไม้ดอก จาก
มหาเวสสนั ดรชาดก (เทศนา) ซ่ึงราชบณั ฑิตยสถาน (2554) ได้รวบรวมไว้ในหนงั สือวรรคทองในวรรณคดี
ไทย ล้วนเป็นบทท่ีมีความไพเราะและงดงามทงั้ การสรรคาและพรรณนาความ

ดงั ตวั อยา่ ง
ยมโดยประดดู่ อกออกสลอนสลบั มะลลุ ีกระดงั งา กระทมุ่ ทองแทงทวยทงั้ กรวยกร่าง จิกแจงดอก
กระจ่างแลช้างน้าว กิ่งก้านก็ก่ายก้าวเกี่ยวประสาน สุรกีพิกุลกาญจน์แก้วเกดกรรณิการ์แกม มหาหง
ประยงค์แย้มย่ีเขง่ เขมพรรณพดุ ตานก็บานเตม็ แตล่ ้วนเหลา่ กหุ ลาบตลบดง รวยๆ ลาดวนทรงสร้อยสคุ นธา
หอมประท่ินกลิ่นโยธกาตระการใจ จาปาออกดอกไสวเรณูนวลล้วนกาหลงเหล่าบนุ นาคกากะทิงกระถิน
กล่นิ หอมหลากล้วนวิเศษ

(ราชบณั ฑิตยสถาน, 2554: 498)

6

พฒั นาการมหาเวสสนั ดรชาดก สาหรับการเทศน์นนั้ ยงั คงมีพฒั นาการอย่างตอ่ เน่ืองเพราะวดั ท่ีมี

นกั เทศน์ก็จะพฒั นากลอนเทศน์อยู่เนือง ๆ หรืออาจใช้บทเดิมเพ่ือเทศนามหาชาติ ทางหนึ่งท่ีนับว่าเป็ น

พัฒนาการเชิงระบบการเผยแพร่อย่างสูงสุดในรัชกาลปัจจุบนั คือ การบรรจุมหาชาติกลอนเทศน์หรือ

ร่ายยาวมหาเวสสันดรซ่ึงเป็ นสานวนที่รวบรวมกวีผู้มีชื่อไว้

ลงในหนงั สือเรียนวิชาภาษาไทย ระดบั ชนั้ มธั ยมศกึ ษาปี ท่ี 5

วรรณคดีวิจักษ์ แม้ว่าจะคัดสรรมาพียงกัณฑ์เดียวก็ตาม

ที่สาคัญกาหนดให้เป็ นบทอาขยานที่นักเรียนจาเป็ นต้อง

ท่องจาเพื่อให้อารมณ์เข้าถึงความรู้สึกของนางมทั รีที่ต้องเสีย

พระกณั หาพระชาลีไป ซ่งึ สานวนนีผ้ ้แู ตง่ คือ เจ้าพระยาคลงั

(หน) ความวา่

...‛จึ่งตรัสว่าโอ้โอ๋เวลาปานฉะนีเ้ อ่ยจะมิดกึ ด่ืน จวน

จะสนิ ้ คนื คอ่ นรุ่งไปเสียแล้วหรือกระไรไมร่ ู้เลย พระพายราเพย

พดั มารี่เร่ือยอยเู่ ฉื่อยฉิว อกแม่นีใ้ ห้ออ่ นหิวสดุ ละห้อย ทงั้ ดาว

เดือนก็เคลื่อนคล้อยลงลบั ไม้ สดุ ที่แม่จะติดตามจ้าไปในยาม

นี ้ฝงู ลิงคา่ งบา่ งชนะท่ีนอนหลบั ก็กลิง้ กลบั เกือกตวั อย่ยู วั้ เยีย้

ทงั้ นกหกก็งวั เงียเหงาเงียบทกุ รวงรัง แตแ่ ม่เที่ยวเซซงั เสาะแสวงทกุ แหง่ ห้องหิมเวศทวั่ ประเทศทกุ ราวป่ า สดุ

สายนยั นาที่แมจ่ ะตามไปเล็งแล สดุ โสตแล้วท่ีแมจ่ ะซบั ทราบฟังสาเนียง สดุ สรุ เสียงที่แมจ่ ะร่าเรียกพิไรร้อง

สุดฝี เท้าท่ีแม่จะเยือ้ งย่องยกย่างลงเหยียบดิน ก็สุดสิน้ สุดปัญญาสุดหาสุดค้นเห็นสุดคิด จะได้พานพบ

ประสบรอยพระลกู น้อยแตส่ กั นิดไม่มีเลย จง่ึ ตรัสวา่ เจ้าดวงมณฑาทองทงั้ คขู่ องแมเ่ อ๋ย หรือว่าเจ้าทิง้ ขว้าง

วางจิตไปเกิดอื่น เหมือนแมฝ่ ันเม่ือคนื นีแ้ ล้วแล...‛ (กระทรวงศกึ ษาธิการ, 2548: 35)

แม้มหาชาติคาหลวงจะเป็ นภาษาที่เข้าใจยาก แต่ปัจจุบนั ก็ยงั ประกอบพิธีสวดมหาชาติ สิทธา
พินิจภูวดล และปรียา หิรัญประดิษฐ์ (2555: 42) ได้กลา่ วไว้ว่า ประเพณีนีย้ งั มีมาตราบเทา่ ทกุ วนั นี ้ เวลา
นกั ขตั ฤกษ์เช่นเข้าพรรษา ยงั เป็ นหน้าท่ีขุนทินบรรณาการ ขนุ ธารกานนั กบั ผ้ชู ่วยอีก 2 คน ขึน้ นงั่ เตียง
สวดในพระอโุ บสถวดั พระศรีรัตนศาสดาราม สวดมหาชาติคาหลวงโดยทานองอย่างเก่าถวายเวลาเสด็จ
พระราชดาเนนิ ไปบาเพญ็ พระราชกศุ ล”

ด้วยเหตนุ ี ้พฒั นาการมหาเวสสนั ดรชาดกตงั้ แตอ่ ดีตจนถึงปัจจบุ นั แม้เนือ้ หาจะไม่ได้เปล่ียนไปแต่
สังคมที่เปล่ียนนัน้ ก็ส่งผลต่อการรับรู้และการเข้ าถึงคาสอนและแก่นแท้ ของมหาเวสสันดรชาดก
เพราะฉะนนั้ การที่จะให้วรรณคดีนีค้ งอย่หู ากปราศจากการแปรเปล่ียนวิถีก็ย่อมสญู หายไปตามกาลเวลา

7

แต่เม่ือยังคงอยู่ก็ต้องพิจารณาต่อว่าคุณค่าและสาคัญนัน้ ยังเต็มเปี่ ยมเท่าเดิมหรือไม่ แม้ตอนนีม้ หา
เวสสนั ดรชาดกจะมีบทบาทใหมใ่ นสถานศกึ ษาก็ตาม ซง่ึ ยงั คงเป็นเร่ืองท่ีชวนศกึ ษาและค้นหาคาตอบตอ่ ไป

ความเช่ ือเม่ ือฟั งมหาเวสสันดร

หลงั จากได้รู้จกั กบั พฒั นาการของมหาเวสสนั ดรชาดกมาพอสงั เขป สว่ นนีจ้ ะอธิบายถึงความเช่ือที่
มีตอ่ การฟังมหาเวสสนั ดรชาดก ชื่อท่ีรู้จกั เป็นสว่ นใหญ่ คือ การฟังเทศน์มหาชาติ ตอนหนง่ึ ในวรรณคดีเรื่อง
พระมาลยั คาหลวงเป็นหลกั ฐานยืนยนั ชดั เจนที่แสดงให้เห็นถงึ ความสาคญั และเครื่องบชู าการฟังเทศน์
มหาชาติ ความวา่

ภนเฺ ต ชมฺพทู ีปมนสุ สฺ า พระเมตไตรยพจนาดถ์ แตว่ รบาทมาลยั
ชาวมนษุ ย์ในแหลง่ หล้า ทาบญุ ญาเป็ นประมาณ แล้วเขานธิ านปรารถนา
ดงั่ ฤๅข้าขอแจ้ง พระมาลยั แถลงตอบสาร ชาวมานษุ ยฐานทงั้ หลาย ทาบญุ
หมายมากมวล แล้วอทุ ศิ สว่ นกศุ ลสง่ ถึงพระองค์ทกุ เมอ่ื เขาคิดเพ่อื จะขอพบ
ใคร่ประสบเม่ือสาเร็จ จะตรัสสรรเพชรดาญาณ หวงั ข้ามสงสารสตั ตา เขา
ปรารถนาเป็ นนิตย์ ใคร่พบบิตรครัง้ นนั้ เขาวา่ เดชอนั กศุ ลา คอื ผลทานาศลี สาร
แม้นจะสงั สรณาการตราบใด ขออยา่ ไปนรกานต์ จงพบพระศรีอาริย์เมตไตรย
เมอ่ื เธอจะได้อบุ ตั ิ ในโลกตรัสเป็ นพระ ขออาตมะจงพบ ให้ได้ประสบพระบาทา
เขาปรารถนาทกุ คน เมอื่ บาเพ็ญกศุ ลเสร็จการ ทวั่ ทงั้ สถานแหลง่ หล้า เขาราพงึ
คนงึ ถ้าทา่ นท้าวทกุ คน ฯ

โพธิสตฺโต ชมฺพูทีปมนุสฺสานํ พระเมตไตรยพงั สาร เธอเบิกบาน
หฤทยั โสมนสั ส์ใสศรัทธา ภิรมยาปราโมทย์ ด้วยมนษุ ย์โสดสร้างกุศล ท้าว ธ
กลา่ วกลสารสงั่ พระมายงั มนษุ า เมื่อเธอจะคลานิวตั ร ยงั ชมพทู ีปัถคืนคง ขอ
พระองค์จงนาสาร ข้าบรรหารกลา่ วแถลง เธอจงแจ้งแก่เวไนย แม้นผ้ใู ดจะใคร่
พบ จงเคารพตามโอวาท ให้ทามหาชาติเนืองนนั ต์ เครื่องสง่ิ ละพนั จงบชู า ให้
จบในทิวานนั้ ตงั้ ประทีปพนั บูชา ดอกปทุมาถ้วนพนั บวั เผื่อนผนั อินทนิลา
ดอกมณฑาโดยจง เทียนแลธงฉัตรา เครื่องบูชาทงั้ นี ้ จงถ้วนถ่ีสิ่งละพนั คน
ทลทิ นนั้ ตามสม โดยนิยมจะบชู า พระคาถาถ้วนพนั ให้สดบั ธรรม์เคารพ จน
จวบจบอทุ าหรณ์ พระเวสสนั ดรนฤบาล ปัจฉิมกาลสมโพธิ สมภารโสดอนั อดุ ม
เป็ นทส่ี ดุ สมในชาตนิ นั้ บชู าพระธรรมจงครบ จงึ จะได้ประสบองค์ ข้า เม่ือจะลง
มาอบุ ตั ิ จะได้ดารัสโพธิญาณ อนั โอฬารอลงั การ์ อนั ฝงู มนสุ สาเหล่านนั้ เขา
จ่ึงจะทนั ศาสนา เฉพาะพกั ตราวิมลพรรณ ก็จะได้ถึงอรหนั ต์ธรรมวิเศษ โดย
ประเภทกศุ ลา อนั เขาสา่ สมมา นนั้ แล ฯ

( เจ้าฟ้ าธรรมาธิเบศร, 2550: 107- 109)

8

ตวั บทข้างต้นสอดคล้องกบั เหตสุ าคญั 3 ประการอนั เป็นเคร่ืองส่อให้พทุ ธศาสนกิ ชนแหแ่ หนกระทา
มหาทาน ฟังเทศน์มหาชาตกิ นั อยา่ งตอ่ เน่ือง ภาควิชาภาษาไทยและภาษาตะวนั ออก (2531: (9)-(10))
กลา่ วไว้ในประเพณีมีเทศน์มหาชาติ สรุปความได้วา่

1) เชื่อกนั วา่ เป็นพระพทุ ธวจนะซงึ่ สมเดจ็ พระผ้ทู รงพระภาคเจ้า ได้ตรัสประทานแด่
พระภิกษุสงฆ์และพทุ ธบริษัทที่วดั นิโครธาราม

2) เช่ือกนั วา่ พระศรีอาริยเมตไตรย ได้มีเทวโองการสง่ั พระมาลยั เถระไว้ หากผ้ใู ด
ปรารถนาจะพบพระศาสนาของพระองคต์ ้องสดบั ฟังเวสสนั ดีชาดกอนั ประกอบด้วย
พระคาถาพนั ในวนั เดยี วให้จบและให้บชู าด้วยประทีปธูปเทียนธงฉตั รดอกไม้นานา
พรรณ ดอกบวั ดอกอบุ ล จงกลนี ราชพฤกษ์ ดอกผกั ตบ ให้ครบถ้วนสงิ่ ละพนั

3) เชื่อกนั วา่ มหาชาตนิ ี ้พระผ้เู ทศนาจะแสดงธรรมด้วยนา้ เสียงและทานองท่ีไพเราะ
ทาให้ผ้รู ่วมฟังทกุ คนได้มีความสขุ เกิดความบนั เทิงเริงใจ ทงั้ ส่งิ ทานทงั้ มวลในพิธี ท่ีได้
ถวายเสียงเซ็งแซส่ าธุการก็จะได้เห็นทนั ตา ผ้ทู ี่หวงั ความปี ตกิ ็จะมีความอิ่มเอม

พระครูพิมลธรรมภาณ (2556: ออนไลน์) นาเสนอ อานิสงส์การฟังเทศน์มหาชาติ ไว้อยา่ งนา่ สนใจ
ดงั นี ้ผ้ใู ดก็ตามท่ีตงั้ ใจฟังเทศน์มหาชาตใิ ห้จบเพียงวนั เดยี วครบบริบรู ณ์ ทงั้ 13 กณั ฑ์จะเป็นเหตใุ ห้สาเร็จ
ตามความปรารถนาทกุ ประการดงั นี ้

1) จะมีโอกาสได้พบพระพทุ ธเจ้า พระนามวา่ ศรีอริยเมตไตย
2) เม่ือดบั ขนั ธ์ไปเกิดในสคุ ตโิ ลกสวรรค์ จะเสวยทพิ ยสมบตั มิ โหฬาร
3) เม่ือตายไปแล้วจะไมต่ กนรก
4) เมื่อถงึ ยคุ พระพทุ ธเจ้าพระนามวา่ ศรีอริยเมตไตย จะได้จตุ ไิ ปเกิดเป็นมนษุ ย์
5) ได้ฟังธรรมเฉพาะพระพกั ตร์พระพทุ ธองค์ จะได้ดวงตาเห็นธรรมเป็นพระอริยบคุ คล

นอกจากนี ้ บุญกิริยาวัตถุ 10 ประการ ผู้ใดได้ปฏิบัติอย่างใดอย่างหน่ึงหรือครบ 10
ประการแล้ว ผลบญุ ยอ่ มเกิดแก่ผ้ไู ด้กระทามากตามบญุ นนั้ จะเป็ นการดียิ่งหากมีการเตรียมกาย วาจา ใจ
ให้สะอาดบริสุทธ์ิ มีสติสมาธิก็ย่ิงได้รับบุญมหาศาลตามความละเอียดประณีตท่ีเข้าถึงขึน้ ไปอานิสงส์
ประจากณั ฑ์สาหรับการทาทาน เป็นดงั นี ้

กณั ฑ์ทศพร
ผ้บู ชู ากณั ฑ์ทศพร จะได้รับทรัพย์สมบตั ดิ งั ปรารถนา ถ้าเป็นสตรีจะได้สามีช่ืนชอบเจริญใจ
ถ้าเป็นบรุ ุษจะได้ภรรยาเป็นท่ีปรารถนา ทงั้ จะได้บตุ รหญิงชาย วา่ นอนสอนงา่ ย มีรูปกายงดงาม ประพฤติดี
กิริยาวาจาเรียบร้อยทกุ ประการ

9

กณั ฑ์หมิ พานต์
ผ้บู ชู ากณั ฑ์หิมพานต์ ยอ่ มได้ในส่ิงที่ปรารถนาทกุ ประการ ครัน้ ตายไปแล้วจะได้ไปบงั เกิด
ในสคุ ตภิ มู ิ เสวยสมบตั อิ นั โอฬาร มีบริวารแวดล้อมบารุงบาเรออย่เู ป็ นนิตย์ ครัน้ จตุ จิ ากสวรรค์แล้วจะลงมา
เกิดในตระกูลขตั ติยะหรือตระกูลพราหมณ์อนั บริบูรณ์ด้วยทรัพย์ศฤงคาร บริวารมากมายนานาประการ
เชน่ โค กระบือ ช้าง ม้า รถ ยานพาหนะ เป็นต้น ประกอบด้วยความสขุ กายสบายใจทกุ ๆอิริยาบถ
กณั ฑ์ทานกณั ฑ์
ผ้บู ชู ากณั ฑ์ทานกณั ฑ์ จะบริบรู ณ์ด้วยแก้วแหวนเงินทอง ทาส ทาสี และสตั ว์สองเท้าสี่เท้า
ครัน้ ตายแล้วจะได้ไปเกิดในฉกามาพจรสวรรค์ มีนางเทพอปั สรแวดล้อมมากมาย เสวยสขุ อย่ใู นปราสาท
แล้วด้วยแก้ว 7 ประการ
กณั ฑ์วนประเวศน์
ผ้บู ชู ากณั ฑ์วนประเวศน์ จะได้รับความสขุ ทงั้ โลกนีแ้ ละโลกหน้า จะได้เป็ นบรมกษัตริย์ใน
ชมพทู วีปเป็นผ้ทู รงปรีชา เฉลียวฉลาด สามารถปราบอริราชศตั รูให้ย่อยยบั ไป
กณั ฑ์ชชู ก
ผู้บูชากัณฑ์ชูชก จะได้บังเกิดในตระกูลกษัตริย์ ประกอบด้วยสมบตั ิอันงดงามกว่าชน
ทงั้ หลายจะเจรจาปราศรัยก็ไพเราะเสนาะโสต แม้จะได้สามีภรรยาและบุตรธิดา ก็ล้วนแตม่ ีรูปทรงงดงาม
สอนงา่ ย
กณั ฑ์จลุ พน
ผ้บู ชู ากณั ฑ์จลุ พน แม้จะบงั เกิดในภพใดๆ จะเป็ นผ้สู มบรู ณ์ด้วยทรัพย์บริวาร จะมีอทุ ยาน
อนั ดารดาษด้วยดอกไม้หอมตลบไป แล้วจะมีสระโบกขรณีอนั เต็มไปด้วยปทมุ ชาติ ครัน้ ตายไปแล้วก็ได้
เสวยทพิ ย์สมบตั ใิ นโลกหน้าสืบไป
กณั ฑ์มหาพน
ผู้บูชากัณฑ์มหาพน จะได้เสวยสมบตั ิในดาวดึงส์ และจะได้ จุติมาเป็ นกษัตริย์ มีทรัพย์
ศฤงคารบริวารมาก มีอทุ ยานและสระโบกขรณีเป็ นที่ประพาส เป็ นผ้บู ริบรู ณ์ด้วยศกั ดานภุ าพเฟ่ื องฟ้ งุ ไปทว่ั
อีกจกั ได้เสวยอาหารทพิ ย์เป็นนิตย์นิรันดร
กณั ฑ์กมุ าร
ผู้บูชากัณฑ์กุมาร ย่อมประสบความสาเร็จในส่ิงท่ีพึงปรารถนา ครัน้ ตายไปได้เกิดใน
ฉกามาพจรสวรรค์ ในสมยั ท่ีพระศรีอริยเมตไตรยมาอบุ ตั กิ ็จะได้พบศาสนาของพระองค์ จะได้ถือปฏิสนธิใน
ตระกลู กษัตริย์ ตลอดจนได้สดบั ตรับฟังพระสทั ธรรมเทศนาของพระองค์แล้วบรรลพุ ระอรหตั ผลพร้อมด้วย
ปฏิสมั ภิทาทงั้ 4 ด้วยบญุ ราศที ี่ได้อบรมไว้

10

กณั ฑ์มทั รี
ผู้บูชากัณฑ์มทั รี เกิดในโลกหน้าจะเป็ นผู้มงั่ คง่ั สมบูรณ์ด้วยทรัพย์สมบตั ิ มีอายุยืนยาว
ทงั้ ประกอบด้วยรูปโฉมงดงามกวา่ คนทงั้ หลาย จะไปในที่ใดๆก็จะมีแตค่ วามสขุ ทกุ แหง่ หน
กณั ฑ์สกั กบรรพ
ผ้บู ชู ากณั ฑ์สกั กบรรพ จะได้เป็นผ้เู จริญด้วยลาภ ยศ ตลอดจนจตรุ พิธพรทงั้ 4 ประการ
ได้แก่ อายุ วรรณะ สขุ ะ พละ ตลอดกาล
กณั ฑ์มหาราช
ผ้บู ชู ากณั ฑ์มหาราช จะได้มนษุ ยสมบตั ิ สวรรคส์ มบตั ิ และนิพพานสมบตั ิ เม่ือเกิดเป็น
มนษุ ย์จะได้เป็นพระราชา เมื่อจากโลกมนษุ ย์ไปก็จะได้ไปเสวยทพิ ย์สมบตั ใิ นฉกามาพจรสวรรค์ มีนางเทพ
อปั สรเป็นบริวาร ครัน้ บารมีแกก่ ล้าก็จะได้นิพพานสมบตั ิอนั ตดั เสียซง่ึ ชาตชิ รา พยาธิ มรณะ พ้นจากโอฆะ
ทงั้ สาม มีการโมฆะ เป็นต้น
กณั ฑ์ฉกษัตริย์
ผ้บู ชู ากณั ฑ์ฉกษัตริย์ จะได้เป็นผ้เู จริญด้วยพร 4 ประการทกุ ชาติ
กณั ฑ์นครกณั ฑ์
ผ้บู ูชากัณฑ์นครกัณฑ์ จะได้เป็ นผ้บู ริบรู ณ์ด้วยวงศาคณาญาติ ข้าทาสชายหญิง ภรรยา
สามี หรือบิดามารดา เป็ นต้น อยู่พร้ อมหน้ากันโดยความผาสุก ปราศจากโรคาพาธทงั้ ปวง จะทาการใด
ก็พร้อมเพรียงกนั ยงั การงานนนั้ ให้สาเร็จลลุ ว่ งไปด้วยดี

ความเชื่อเม่ือได้ฟังเทศน์มหาชาตนิ นั้ จะเห็นว่า มงุ่ หมายเพื่อโลกหน้าอนั ดีกวา่ โลกนี ้เพราะบคุ คล
ที่อยใู่ นโลกปัจจบุ นั หา่ งไกลพระสมั มาสมั พทุ ธเจ้า การฟังมหาชาตจิ งึ เป็ นทางอนั ประเสริฐท่ีจะก้าวข้ ามเพื่อ
เข้าส่แู ดนนิพพานอยา่ งฉับพลนั เพราะหากได้ส่ยู คุ พระศรีอริยเมตไตรยเมื่อใด โอกาสที่จะได้ฟังธรรมจาก
พระองค์ก็มีมากเทา่ นนั้ ความเช่ือเหล่านีอ้ าจเป็ นกศุ โลบายของพทุ ธศาสนาท่ีมงุ่ หวงั ให้พุทธศาสนิกชนไม่
ฝักใฝ่ ทางต่า แตใ่ นทางกลบั กนั ก็มีความเส่ียงที่จะลมุ่ หลงและปฏิบตั ผิ ิดได้ เพราะการมงุ่ มน่ั ทาอยากโหยหา
และหิวโหยย่อมไม่เรียกว่าได้บุญ ดงั นนั้ ความเช่ือเร่ืองการฟังเทศน์มหาชาติในส่วนนีน้ ่าจะเป็ นแนวทาง
การชวนคิดและให้ทันจิตของตนว่าปรารถนาจะเข้าสู่ยุคทอง จะต้องครองตนเช่นไร แต่มีเส้นทางมหา
เวสสนั ดรเป็ นแนวทางเสริมเท่านนั้ เพราะ ทาน ก็ไม่อาจเท่าการรักษาศีล และการรักษาศีลก็ไม่เทา่ การมี
ปัญญา

11

ฮูปแต้มผะเหวดสมิ อีสานกลไกไขขานแก่นพระธรรม

สองส่วนที่ผ่านมานนั้ เน้นภาพกว้างของมหาเวสสนั ดรชาดก แตใ่ นสว่ นนีผ้ ้เู ขียนตงั้ ใจที่จะนาเสนอ
จดุ เดน่ ของมหาเวสสนั ดรภาคอีสาน เพราะพืน้ ชาวอีสานมีวิถีท่ีเรียบง่าย รู้รับ รู้แบ่งปัน และรู้ทนั จิต เหตทุ ่ี
กล่าวได้เช่นนีเ้ พราะสถาปัตยกรรมทางพระพุทธศาสนาของชาวอีสานหรือที่เรียกว่า สิม เป็ นแหล่งเรียนรู้
ความคดิ และจติ ใจชนั้ ยอด ไมเ่ หมือนภาคกลางท่ีมงุ่ เน้นความงามเป็นสาคญั

“ผรู้ ู้บางคนมีทรรศนะว่า ฮูปแตม้ ในสิมอีสาน ไม่ใช่ส่ิงทีย่ ่ิงใหญ่ ยิ่งหาก
นําไปเปรียบเทียบกบั ศิลปะถํ้าซึ่งมีมากกว่าหา้ พนั ปี ดว้ ยแลว้ ฮูปแตม้ ก็เป็นเพียง
ผลงานของชาวบา้ นทีเ่ ขียนเมือ่ ร้อยกว่าปี ทีผ่ า่ นมา และเป็นเพียงงานของชาวบา้ น
ทีเ่ คยบวชเรียน มีความรู้และพอมีฝี มืออยู่บา้ ง บา้ งก็เลียนแบบหรือจดจํามาจาก
กรุงเทพฯ แลว้ พยายามทําตามแบบอย่างใหด้ ีเท่าทีพ่ อจะทําได้ ฮูปแตม้ ไม่สวยงาม
และมีคณุ ค่าทางศิลปกรรมมากมายนกั แต่เป็นงานทีม่ ีความจริงใจ จึงควรศึกษา
ในดา้ นวฒั นธรรมมากกว่าในแง่มมุ ศิลปกรรม”

(สมุ าลี เอกชนนยิ ม, 2548: เลา่ ทมี่ า)

เหตใุ ดจงึ กล่าวว่า ฮปู แต้มในสิมอีสาน ไม่ใช่ส่ิงที่ย่ิงใหญ่ คาวา่ “ยิ่งใหญ่”นนั้ วดั จากอะไร เกณฑ์
ทางเวลา ขนาดของสมิ ลวดลายอนั วจิ ิตร หรือมลู คา่ การสร้าง ส่งิ เหลา่ นีล้ ้วนเป็นเปลือกนอกที่ฉาบความคดิ
จติ ใจและแกน่ ธรรมที่ซอ่ นอยใู่ นฮปู แต้มทงั้ สนิ ้

เมื่อคนภาคกลางได้ยินได้ฟังหรือได้อา่ น คาว่า สิม คงสงสยั ว่าหมายถึงอะไร แตห่ ากเข้าใจภาษา
บาลี ก็จะคลายความสงสัยนนั้ ทนั ที เพราะคาว่า “สิม” มีความหมายเช่นเดียวกับคาว่า “โบสถ์” หรือ
“อุโบสถ” ของทางภาคกลาง ซ่ึงกร่อนเสียงมาจากคาว่า “สีมา” หมายถึงขอบเขตหรืออาณาเขตของ
พระสงฆ์ที่กาหนดขนึ ้ เพื่อใช้ทาสงั ฆกรรม (วิโรฒ ศรีสโุ ร, 2536: 69) แตส่ ิมอีสานกบั โบสถ์ภาคกลางกลบั มี
รูปลกั ษณ์ท่ีแตกตา่ งกันอย่างเห็นได้ชดั สิมอีสานม่งุ เน้นการใช้งานแตโ่ บสถ์ภาคกลางให้ความสาคญั กับ
ความอลงั การ อยา่ งไรก็ตามแม้สิมอีสานจะมีรูปลกั ษณ์ที่ไม่ได้วิจิตรบรรจงหรือย่ิงใหญ่เทา่ โบสถ์ภาคกลาง
แตส่ มิ ในอีสานก็มีลกั ษณะท่ีนา่ สนใจ เชน่ สมิ โปร่งหรือสมิ โถงแบบไม่มีเสารับปี กนก สิมทึบสร้างด้วยอิฐถือ
ปนู แบบไมม่ ีเสารับปี กนก สิมทึบสร้างด้วยอิฐถือปนู แบบมีเสารับปี กนก เป็ นต้น (วิโรฒ ศรีสโุ ร, 2536: 439-
449) หากจะกลา่ วถงึ ทกุ สมิ ในอีสานจงึ เป็นเรื่องยากเพราะสิมในอีสานมีจานวนมาก ดงั นนั้ บทความฉบบั นี ้
จะใช้ข้อมลู จากการศกึ ษาดงู านศิลปะและวฒั นธรรมอีสาน เม่ือวนั ที่ 23-26 ตลุ าคม 2557 ประกอบด้วย
สิมในวดั สนวนวารี วดั บ้านลาน วดั สระบวั แก้ว วดั ศาลาลอย วดั นกออก วดั พระธาตุ วดั บ้านดงบงั วดั ป่ า
เลไลย์ และวดั ประตชู ยั

12

สิมแต่ละหลังนัน้ อุดมไปด้วยศิลปะหลากหลายแขนง ไม่ว่าจะเป็ น จิตรกรรม ประติมากรรม
สถาปัตยกรรม และวรรณคดีวรรณกรรม รื่นฤทยั สจั จพนั ธ์ุ (2549: 73) กล่าวไว้วา่ ศลิ ปะแตล่ ะแขนงนนั้ จะ
สอ่ งทางให้แก่กนั หมายถึง ศลิ ปะสาขาตา่ งๆ จะเกือ้ หนนุ และคอยยา้ ความหมายเดมิ และสร้างความหมาย
ใหมใ่ ห้ศลิ ปะสาขาอื่น ดงั นนั้ ฮปู แต้มหรือภาพเขียนนนั้ จดั อยใู่ นศลิ ปะแขนงจติ รกรรม ซง่ึ มีความสมั พนั ธ์กบั
วรรณกรรมอย่างยิ่ง โดยเฉพาะวรรณกรรมทางพระพทุ ธศาสนา เช่น ไตรภูมิพระร่วง พระมาลยั คาหลวง
ทศชาติชาดก และวรรณกรรมประจาภูมิภาค อาทิ ภาคอีสานมีวรรณกรรมท่ีปรากฏเป็ นจิตรกรรมในสิม
ส่วนใหญ่ คือ สงั สินไซ ชื่อเรียกของภาคกลาง คือ สงั ข์ศิลป์ ชยั หรือเรื่องพะลกั พะลาม ภาคกลางรู้จกั กนั ดี
ในเร่ืองรามเกียรติ์ เป็ นต้น แต่จากการศึกษาดูงานศิลปะและวัฒนธรรมอีสานครัง้ นี ้ กลับพบเรื่องพระ
เวสสนั ดรมากท่ีสดุ

พระเวสสันดร หากออกเสียงตามสาเนียงอีสาน จะออกเป็ น “ผะเหวดสันดอน หรือ ผะเหวด
สน่ั ด้อน” (อทู่ อง ประศาสน์วินิจฉยั , 2551: 151) แตส่ ว่ นใหญ่ก็จะนิยมเรียกว่า “ผะเหวด” ซึ่งกล่าวถึงพระ
ชาติสุดท้ายของพระโพธิสตั ว์ในการบาเพ็ญทานบารมี ก่อนจะทรงจุติเป็ นพระสมั มาสมั พทุ ธเจ้า จึงเรียก
พระชาตินีอ้ ีกช่ือว่า "มหาชาติชาดก" ประกอบด้วย 13 กัณฑ์ ได้แก่ 1)กัณฑ์ทศพร 2)กณั ฑ์หิมพานต์ 3)
กณั ฑ์ทานกณั ฑ์ 4)กณั ฑ์วนปเวสน์ 5)กณั ฑ์ชชู ก 6)กณั ฑ์จลุ พน 7)กณั ฑ์มหาพน 8)กณั ฑ์กมุ าร 9)กณั ฑ์มทั รี
10)กัณฑ์สกั กบรรพ 11)กัณฑ์มหาราช 12)กณั ฑ์ฉกษัตริย์ และ 13)กัณฑ์นครกณั ฑ์ (ประสิทธิ์ ศรีสมุทร,
2546: 63-64) เรื่องผะเหวดในสิมแตล่ ะหลงั นนั้ จะไม่ได้เรียงตามกณั ฑ์เช่นเดียวกบั โบสถ์ในภาคกลาง แต่
การเริ่มเร่ืองนิยมจากทิศเหนือ ไปทิศตะวนั ตก อาทิ ภายในสิมวดั สนวนวารี เร่ิมจากผนงั ด้านทิศเหนือต่อ
เรื่อยไปทิศตะวนั ตก ทิศใต้ และทิศตะวนั ออกจนสดุ ผนงั และต้องไปจบเร่ืองท่ีผนงั ด้านหลงั ฝ่ังพระประธาน
คอื ทศิ ตะวนั ตก ดงั รูป

13

เมื่อพจิ ารณาหลงั พระประธาน จะเห็นวา่ ฮปู แต้มแบง่ เป็ น 2 ช่วง คือ ช่วงบนกบั ชว่ งล่าง โดยมีเส้น
คนั่ ชว่ งบนจะแบง่ เป็ น 3 กณั ฑ์ เรียงจากขวาไปซ้าย ได้แก่ กณั ฑ์จลุ พน กณั ฑ์มหาพน และเร่ิมเข้าสกู่ ณั ฑ์
กมุ าร ตอนชชู กนอนรอให้ถึงเช้าเสียก่อนเพราะหากเข้าไปทลู ขอพระกมุ ารทงั้ สองพระองค์คงไม่ได้แน่นอน
เน่ืองจากพระมทั รีอยใู่ นอาศรมด้วย และชว่ งลา่ งจะเห็นได้วา่ เป็ นขบวนแห่ มีช้างและม้า นนั่ คือ กณั ฑ์ท่ี 13
กณั ฑ์นครกณั ฑ์ ลกั ษณะเชน่ นีไ้ มไ่ ด้ผิดแบบธรรมเนียมแตอ่ ยา่ งใด เพราะสิมท่ีมีฮปู แต้มของอีสานเกือบทกุ
แหง่ เป็ นอย่างนี ้ (กลั ญาณี กิจโชตปิ ระเสริฐ, 2545: online) แม้แตว่ ดั บ้านลานก็เช่นกนั หากพิจารณาดงั
รูปตอ่ ไปนีซ้ งึ่ เป็นภาพทางทิศตะวนั ตก พบวา่

5

64

3
1

2

หมายเลข 1 กณั ฑ์ชชู ก หมายเลข 2 กณั ฑ์จลุ พน หมายเลข 3 กณั ฑ์มหาพน หมายเลข 4 กณั ฑ์
กมุ าร หมายเลข 5 กณั ฑ์มทั รี และหมายเลข 6 กณั ฑ์มหาราช ดผู ิวเผินเหมือนว่าเรียงตามลาดบั กณั ฑ์ แต่
กณั ฑ์ท่ีหายไป คือ กณั ฑ์สกั กบรรพ เป็ นกณั ฑ์ที่ 10 มาก่อนกณั ฑ์มหาราช แตเ่ ม่ือเดินไปทางขวามือหรือ
ทางทศิ ใต้มมุ ผนงั ตอ่ จากหมายเลข 2 ของภาพนีจ้ ะเป็ นกณั ฑ์สกั กบรรพทนั ที สะท้อนให้เห็นว่าผ้ทู ่ีจะดภู าพ
เข้าใจ ต้องมีพืน้ ความรู้เพราะการเขียนภาพไมไ่ ด้มีกรอบหรือแบบแผนท่ีต้องเคร่งครัดเหมือนงานช่างหลวง

ความไม่เคร่งครัดของการลาดบั เร่ืองราวนี ้ เป็ นความมักง่ายของช่างอีสานหรือไม่ ประเด็นนี ้
นา่ สนใจและชีช้ วนให้คดิ อยา่ งยง่ิ เพราะฮปู แต้มของสมิ ทกุ หลงั จะมีระบบที่คล้ายกนั แม้แต่สิมวดั ศาลาลอย
หลงั ใหม่ท่ีอาจารย์วิโรฒ ศรีสุโร ออกแบบนนั้ บานประตไู ม้ที่แกะสลกั เป็ นเรื่องผะเหวดก็ไม่ได้เรียงลาดบั
เชน่ กนั แม้จะเป็นสิมในปัจจบุ นั ก็ตาม เหตผุ ลเรื่องความตา่ งทางเวลานีย้ ่ิงสนบั สนนุ ความสาคญั เชิงคณุ คา่
ของวรรณกรรมมากขนึ ้ วา่ ไม่ได้เป็ นเพียงเร่ืองราวให้ญาติโยมท่ีมาวดั เพียงแตด่ รู ูปภาพแล้วผา่ นไปหรือจา

14

เรื่องราวได้แล้วไม่สนใจ แต่ผะเหวดในสิมอีสานกลับมีเสน่ห์ชวนให้คิดตาม สอดคล้องกับความคิดของ
สุมาลี เอกชนนิยม (2548: 13-14) กล่าวถึงฮูปแต้มในสิมไว้ว่าใช้รูปเป็ นส่ือสอนใจคนดูและให้
ความเพลิดเพลนิ ฮปู แต้มบนผนงั สิมมาจากภมู ปิ ัญญาและฝี มือของชา่ งแต้มท่ีสง่ั สมเรียนรู้กนั มาในทกุ ด้าน
ฮปู แต้มเหล่านนั้ สะท้อนความคิดของช่างแต้มอย่างตรงไปตรงมา และส่ิงท่ีบรรจุอย่ใู นผลงานของชา่ ง คือ
ความศรัทธาและความตงั้ ใจ

คาถามตอ่ ไปท่ีควรจะเกิดขึน้ ในบทความนี ้คือ แล้วทาไมคนอีสานถึงให้ความสาคญั กับเรื่องราว
ของผะเหวดนกั ทงั้ ท่ีชาดกหรือวรรณกรรมเก่ียวกับพระพทุ ธเจ้ามีจานวนมาก เหตผุ ลหนึ่งก็น่าจะมาจาก
เร่ืองพระมาลยั คาหลวง ท่ีมีพระอริยสงฆ์องค์หนึ่งนามว่า พระมาลยั ได้ขึน้ สวรรค์เพื่อไปพบพระศรีอาริย์
แล้วพระองค์ทรงชีแ้ นะหนทางสยู่ คุ ของพระองค์ โดยการฟังเทศน์มหาชาตใิ ห้จบภายในวนั เดียว นอกจากนี ้
การท่ีพระเวสสนั ดรทรงปฏิบตั ิตนเป็ นแบบอย่างในเร่ืองการให้ นนั้ ถือเป็ นตวั อยา่ งท่ีดีที่ลกู อีสานทกุ คนควร
เรียนรู้และปฏิบตั ิตาม คนภาคอ่ืนชอบว่า คนอีสานขีข้ อ ด้วยเพราะเขาไม่เข้าใจคนอีสานอย่างแท้จริง คน
อีสานแม้จะขออะไรใครอยา่ งงา่ ยดายแตไ่ มไ่ ด้หมายความวา่ พวกเขาจะไมร่ ู้จกั เป็ นฝ่ ายให้ ดงั นนั้ ธรรมเนียม
การขอของคนอีสานจงึ ควบคกู่ บั ธรรมเนียมการให้เสมอ (อทู่ อง ประศาสน์วนิ จิ ฉยั , 2551: 151-152)

ด้วยเหตนุ ี ้การแต้มหรือการวาดผะเหวดในสิมอีสาน จึงเป็ นกลไกหนึ่งที่ทาหน้าที่กระต้นุ ความคิด
จิตใจ ของฆราวาสท่ีมีความศรัทธาและตงั้ ใจจะปฏิบตั ิธรรมตลอดจนพระภิกษุสงฆ์ที่อยู่ในวัดแห่งนัน้
เพ่ือให้เข้าถึงแก่นพระธรรมแห่งพระพุทธศาสนา โดยใช้ ฮูปแต้มเป็ นส่ือกลางในการพิจารณา เพราะใน
วรรณคดีวรรณกรรมล้วนมีตวั ละครโลดแล่น เพราะฉะนนั้ ฮปู แต้มได้แสดงเป็ นภาพออกมาแล้วชวนให้คิด
ต่อจากเรื่องราวที่มีอยู่ การท่ีฆราวาสและพระภิกษุได้เห็นภาพผะเหวดก็ย่อมทบทวนและคิดตาม
โดยเฉพาะการจดั วางภาพท่ีไมล่ าดบั เหตกุ ารณ์ ถือได้วา่ เป็นแบบฝึกชนั้ ยอดในการหาเหตผุ ลของการเป็ นไป
แต่ละตัวละคร ว่าทุกข์ท่ีเกิดขึน้ เป็ นเช่นไร และดับลงอย่างไร เพราะวรรณคดีวรรณกรรมทาให้เราเข้า
ใจความเป็ นมนษุ ย์ เรียนรู้เข้าใจชีวิตคนอ่ืน และเข้าใจความหลากหลายของสงั คมได้ (ร่ืนฤทยั สัจจพนั ธ์ุ
,2549: 24) ซง่ึ ฆราวาสและภิกษุทงั้ หลายที่อยชู่ ีวิตอยใู่ นวดั นนั้ ๆ เม่ือได้ดไู ด้ศกึ ษาฮปู แต้มผะเหวดก็ยอ่ มจะ
ตระหนกั ถงึ หวั ใจพระธรรมมากขนึ ้ ตามบทบาทและหน้าท่ีของตน ดงั ท่ี สนิท ตงั้ ทวี (2527: 21-23) กลา่ วถึง
ระเบียบของมนษุ ย์ 2 สถานะ ได้แก่

1) โลกิยภูมิ คือ สถานะที่มนษุ ย์เป็ นเพียงปถุ ชุ นไมส่ ามารถละกิเลสได้ทงั้ หมด แตก่ ็ต้องมี
ศลี ธรรมเป็นวินยั ในการดารงชีวิต ไมเ่ บยี ดเบียนผ้อู ื่น ตงั้ ตนอยใู่ นหลกั การ 3 ประการ ประกอบด้วย
(1) เว้นจากการทจุ ริตทงั้ กาย วาจา และใจ (2) ประกอบสจุ ริตด้วยกาย วาจา และใจ (3) ทาใจของ
ตนให้ผอ่ งใส ไมห่ ลงในโลภ โกรธ และหลง

15

2) โลกุตรภูมิ โลกตุ รภูมิ คือ สถานะที่มนุษย์ผ้ปู รารถนาจะพ้นจากกิเลสทงั้ หลาย เข้าหา
พระอนตุ ตรสมั มาสมั โพธิญาณหรือท่ีเรียกวา่ สาเร็จเป็นพระอรหนั ตข์ ีณาสพสปู่ รินพิ พาน ซ่ึงจะต้อง
มีวิธีการปฏิบตั ิเริ่มตงั้ แต่การเข้าครองผ้ากาสาวพัสตร์ รับศีล 227 ข้อ อันเป็ นวินัยบญั ญัติของ
พระภิกษุสงฆ์ และเริ่มดาเนินตามหลกั 3 ประการ ได้แก่ (1) ศีล คือ การประพฤติทางกายและ
วาจาให้เรียบร้อยด้วยธรรมเป็นสจุ ริตตามหลกั การท่ีกล่าวมาแล้ว (2) สมาธิ คือ การสารวมจิต การ
บงั คบั ใจ ทาใจให้สงบแน่วแน่ (3) ปัญญา คือ การได้ความรู้เข้าถึงคลองธรรมชนั้ สูงตามแนว
อริยสจั ส่ี

ตราบใดท่ีพระพทุ ธศาสนายงั คงอยคู่ ปู่ ระเทศไทย ผะเหวดหรือพระเวสสนั ดร ก็จะเป็ นวรรณกรรมท่ี
ได้รับความนิยมอยา่ งแพร่หลายสาหรับการแต้มหรือวาดเขียนบนผนงั สิมสืบไป โดยเฉพาะในแถบภมู ิภาค
อีสาน เพราะอตั ลกั ษณ์ของสิมอีสานนนั้ เป็ นลกั ษณะของสถาปัตยกรรมพืน้ บ้านที่มีรูปแบบเรียบง่าย หนกั
แนน่ แต่มีความสมถะ ส่อถึงคณุ ลกั ษณะแห่งความจริงใจ รู้จกั ใช้ของอย่างค้มุ คา่ ทกุ สว่ นดพู อดีพอเหมาะ
ไม่เล็กหรือใหญ่จนเกินไป ทงั้ หมดนีเ้ ป็ นคุณสมบตั ิเดน่ ของชาวอีสาน (วิสุทธิ์ ภิญโญวาณิชกะ, 2551:
online) ประกอบกบั สิมอีสานได้แฝงวิธีคิดอยา่ งแยบยลลงบนฮปู แต้มที่เลา่ เรื่องราวผะเหวดไมเ่ หมือนภาค
กลาง จงึ เป็นอีกหลกั ฐานหนงึ่ เพ่ือสนบั สนนุ วา่ ชาวพทุ ธภาคอีสานเข้าถงึ พระธรรมของพระสมั มาสมั พทุ ธเจ้า
ได้ลกึ ซงึ ้ กวา่ ชาวพทุ ธภาคกลาง เพราะสิมอีสานวางกลไกให้รู้คิดและชวนให้ เห็นธรรม สว่ นโบสถ์ภาคกลาง
ม่งุ เน้นความงามของลวดลายที่ประดบั ประดาเพื่อให้ใจร่มเย็น แตค่ วามเข้มข้นในการวิเคราะห์หรือเข้าถึง
พระธรรมคาสอน ลักษณะฮูปแต้มแบบอีสาน วัดได้ว่าความศรัทธาและความตัง้ ใจของฆราวาสและ
พระภิกษุนนั้ หากจะศกึ ษาผะเหวดในสิมแตล่ ะวดั แล้ว มใิ ชเ่ รื่องง่ายที่จะเข้าถึงได้ทนั ที แตต่ ้องใช้เวลาขบคดิ
และซมึ ซบั พระธรรมด้วยความเข้าใจจริง

บทสรุป
มหาเวสสันดรชาดกเป็ นวรรณคดีมรดกของไทยเร่ืองหน่ึง ท่ีมีอายใุ นแผ่นดินนีม้ ากกว่า 500 ปี

ความเก่าแก่อาจไม่ใช่เคร่ืองยืนยนั ว่าย่ิงใหญ่ แตก่ ารมีอยอู่ ยา่ งมีเกียรติในสงั คมโลกาภิวตั น์จะเป็ นเคร่ืองชี ้
ชดั ถึงความอลงั การของมหาเวสสนั ดรชาดกที่ยังเฉิดฉายในทุกภูมิภาคของไทย คงไม่ใช่ความงามของ
ถ้อยคา หรือความไพเราะจากเสียงเทศน์ แตเ่ ป็ นมณีอนั พิเศษท่ีทรงคา่ ทางปัญญาและจิตใจเสียมากกว่า
หรืออาจกลา่ วได้วา่ มหาเวสสนั ดรชาดกนนั้ เป็นรากเหง้าวฒั นธรรมไทยที่บรรพชนของเราได้ปลกู และฝังจน
หยงั่ รากลึกผนึกแผน่ ดินนีไ้ ว้ในทกุ มิติ โดยเฉพาะระบอบการปกครองกบั ระบบวิถีชาวบ้านได้ผสานกนั ผา่ น
ส่ือกลางที่ทรงพลงั คือ พระพทุ ธศาสนา หากจะแยกส่วนใดสว่ นหน่งึ ออกจากกนั ก็เรียกได้ว่า รือ้ โครงสร้าง
สงั คมไทย และเมื่อพิจารณาหวั ใจของชาวอีสานให้ถ้วนถี่ วรรณคดี ศาสนา และวิถีชีวิต ยังคงเป็ นเร่ือง
เดียวกนั และรอให้ชนรุ่นหลงั ใช้เป็นคนั ฉ่องสอ่ งตนตอ่ ไป

16

บรรณานกุ รม

กระทรวงศกึ ษาธิการ. (2548). หนงั สือเรียนสาระการเรียนรู้พืน้ ฐาน วรรณคดีวิจกั ษ์
ชนั้ มธั ยมศึกษาปี ที่ 5. กรุงเทพฯ: ครุ ุสภา.

กลั ญาณี กิจโชตปิ ระเสริฐ. (2545). ฮปู แต้มสมิ วนั สนวนวารีพฒั นาราม. สืบค้นเม่ือวนั ที่ 29
ตลุ าคม 2557 จาก http://www.oknation.net/blog/phaen/2007/10/18/entry-1

ธรรมาธิเบศร,เจ้าฟ้ า. (2550). พระมาลยั คําหลวง. พิมพ์ครัง้ ที่ 9. นนทบรุ ี: มหาวิทยาลยั
สโุ ขทยั ธรรมาธิราช.

นริศร์ เล่ียมทอง. (2548). ค่มู ือ มหาเวสสนั ดรชาดก. พิมพ์ครัง้ ที่ 2. กรุงเทพฯ: รวมสาส์น.
ประสทิ ธิ์ ศรีสมทุ ร. (2546). วรรณคดีเกีย่ วกบั พทุ ธศาสนา. กรุงเทพฯ: สหธรรมิก จากดั .
พิมลธรรมภาณ, พระครู. (2556). อานิสงส์การฟังเทศน์มหาชาติ. สืบค้นเม่ือวนั ที่ 4

มิถนุ ายน 2558 จาก http://www.mahachat.com/index.php/doc/184-2013-09-06-07-
02-32
ภาควชิ าภาษาไทยและภาษาตะวนั ออก. (2531). วรรณคดีวิจารณ์ (มหาเวสสนั ดรชาดก).
พิมพ์ครัง้ ท่ี 10. กรุงเทพฯ: มหาวทิ ยาลยั รามคาแหง.
มณีป่ิน พรหมสทุ ธิรักษ์. (2558). ‘มหาเวสสนั ดรชาดก’ ใน ๑๐๐ ปี วรรณคดีสโมสร. กรุงเทพฯ:
สานกั วรรณกรรมและประวตั ิศาสตร์ กรมศลิ ปากร.
ราชบณั ฑิตยสถาน. (2544). พจนานกุ รมศพั ท์วรรณคดีไทย สมยั สโุ ขทยั ไตรภูมิกถา ฉบบั
ราชบณั ฑิตยสถาน. กรุงเทพฯ: ราชบณั ฑิตยสถาน.
รื่นฤทยั สจั จพนั ธ์ุ. (2549). สนุ ทรียภาพแห่งชีวิต. กรุงเทพฯ: ณ เพชร สานกั พมิ พ์.
รื่นฤทยั สจั จพนั ธ์ุ. (2549). สนุ ทรียรสแห่งวรรณคดี. กรุงเทพฯ: ณ เพชร สานกั พิมพ์.
วโิ รฒ ศรีสโุ ร. (2536). สิมอีสาน. ขอนแก่น: เมฆาเพลส จากดั .
วิจิตรปฏิภาณ,พระราช. (2555). มหาชาติมหาเวสสนั ดรชาดก ฉบบั ทรงเครื่อง. กรุงเทพฯ:
ธรรมสภา
วิสทุ ธิ์ ภิญโญวาณิชกะ. (2551) .สิม : สถาปัตยกรรมพืน้ บา้ นอีสาน. สืบค้นเมื่อวนั ท่ี 29 ตลุ าคม
2557 จาก http://www.wisut.net/bureerum-article
ศรีศกั ร วลั ลิโภดม. (2554). พฒั นาการทางสงั คม-วฒั นธรรมไทย. กรุงเทพฯ: เมืองโบราณ.
ศริ ิพร เศรษฐพฤทธิ์. (2551). ลกั ษณะเด่นของมหาชาติกลอนเทศน์สํานวนเจ้าพระยาพระคลงั
(หน). วิทยานิพนธ์ปริญญาอกั ษรศาสตรมหาบณั ฑติ สาขาวชิ าภาษาไทย
บณั ฑิตวิทยาลยั . จฬุ าลงกรณ์มหาวทิ ยาลยั .
สนิท ตงั้ ทวี. (2527). วรรณคดีและวรรณกรรมศาสนา. กรุงเทพฯ: สานกั พมิ พ์โอเดียนสโตร์.

17

บรรณานกุ รม (ตอ่ )

สิทธา พินิจภวู ดล และปรียา หิรัญประดิษฐ์. (2555). เอกสารประกอบการสอนชดุ วิชา
วรรณคดีไทย หน่วยที่ 1-7. พมิ พ์ครัง้ ที่ 2. นนทบรุ ี: มหาวิทยาลยั สโุ ขทยั ธรรมาธิราช.

สมุ าลี เอกชนนิยม. (2548). ฮปู แตม้ ในสิมอีสาน งานศิลป์ สองฝ่ังโขง. กรุงเทพฯ: สานกั พิมพ์
มตชิ น.

อทู่ อง ประศาสน์วินจิ ฉยั . (2551). ซ่อนไวใ้ นสิม: ก-อ ในชีวิตอีสาน. กรุงเทพฯ: ฟลู สต๊อป.


Click to View FlipBook Version