The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

มนต์เสน่ห์แห่งวิถีชีวิตหาบเร่แผงลอยในงานบุญธาตุหลวง
โดย ทิพย์ธิดา ชุมชิต
สาขาวิจัยศิลปะและวัฒนธรรม คณะศิลปกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search

บทความ - มนต์เสน่ห์แห่งวิถีชีวิตหาบเร่แผงลอยในงานบุญธาตุหลวง

มนต์เสน่ห์แห่งวิถีชีวิตหาบเร่แผงลอยในงานบุญธาตุหลวง
โดย ทิพย์ธิดา ชุมชิต
สาขาวิจัยศิลปะและวัฒนธรรม คณะศิลปกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น

มนต์เสน่ห์ของวถิ ีชีวติ หาบเร่แผงลอยในงานบุญธาตุหลวงแห่งนครเวยี งจันทน์
นางสาวทิพยธ์ ิดา ชุมชิต

ชนชาติลาวมีชื่อเรียกว่า “ ลาว ” (LAO) หรือ “ ลาวะ ” (LAOW) ซ่ึงมีผูค้ นอยู่กนั อย่างกระจดั
กระจายทัว่ แหลมสุวรรณภูมิท้ังของลุ่มแม่น้าโขงและลุ่มแม่น้าเจ้าพระยา ทางทิศเหนือแผ่ขยายไปถึง
เขตยนู าน, เสฉวน ทางใตแ้ ผข่ ยายจรดแหลมมลายู ทางทิศตะวนั ออกจรดมณฑลกวางสี, กวางตุง้ และทาง
ทิศตะวนั ตกถึงคธประเทศ ปัจจุบนั คือแควน้ อสั สัม ประเทศอินเดีย (บุนมี เทบสีเมือง, 2553) ซ่ึงดินแดน
แห่งน้ีอุดมสมบูรณ์ดว้ ยทรัพยากรธรรมชาติ ประชาชนลาวน้ันมีความขยนั หมน่ั เพียร มีมูลเช้ือแห่งการ
ก่อสร้าง ต่อสู้เพ่ือปกป้องรักษาประเทศชาติ แม่นเจา้ ฟ้างุ่มวรี กษตั ริย์ ไดร้ วบรวมเขตน้าแดนดินใหเ้ ป็นกลุ่ม
เป็ นกอ้ นอนั เดียวกนั และสถาปนาอาณาเขตลาวลา้ นชา้ งให้สวา่ งราศี ปะเทศลาวในระบบศกั ดินาน้นั ได้มี
กษตั ริยห์ ลายองค์ที่ถูกขนานนามว่าวีรกษตั ริย์ เช่น เจา้ ฟ้างุ่ม, เจา้ ไชยเชษฐาธิราช, เจา้ สุริยวงศาและเจา้
อนุวงศ์ (สมชาย นิลอาธิ,2545) ในดินแดนแห่งน้ีแต่ละยุคแต่ละสมยั ไดผ้ า่ นววิ ฒั นาการทางดา้ นการรบกบั
คู่ต่อสู้ ทางด้านการปกครองท่ีหลากหลายรูปแบบ จนในท่ีสุด อาณาเขตแห่งน้ีได้แบ่งออกเป็ น 3
อาณาจกั ร คือ อาณาจกั รหลวงพระบาง อาณาจกั รจาปาสัก และอาณาจกั รเวียงจนั ทน์ ซ่ึงก็คือนครหลวง
เวยี งจนั ทน์ในปัจจุบนั (มะหาสีลา วรี ะวงศ,์ 2544)

นครหลวงเวยี งจนั ทน์ เมืองเอกแห่งสาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว เป็นเมืองหน่ึงที่เก่าแก่
มีชื่อเสียงเป็ นที่กล่าวขานมาแต่คร้ังโบราณกาลและเป็ นเมืองท่ีมีความเกี่ยวโยงกบั ประวตั ิศาสตร์ของประเทศ
ลาวมาหลายร้อยปี หรืออาจมากกว่าพนั ปี การไดช้ ่ือมาของคาว่า “ เวียงจนั ทน์ ” ซ่ึงไดม้ าจาก 2 ทางคือ
ทางแรกเป็ นการอภิเษกของจนั ทรราชท่ีดอนซ่งดอนน้ันได้ช่ือว่า “ ดอนจนั ” ส่วนเมืองน้ีก็เลยเรียกว่า
“ เวียงจนั ทน์ ” ตามพระนามของจนั ทรราช ส่วนทางท่ีสองเกิดจากการที่ฤาษีสองตนไดเ้ อาหลกั ไมค้ ูณและ
ไมจ้ นั ทน์ฝังหมายไว้ จึงเรียกดอนวา่ ดอนจนั และเมืองก็ไดช้ ื่อวา่ เวยี งจนั ทน์ โดยเวียงจนั ทน์น้นั เริ่มจาก
การเป็ นหมู่บา้ นเล็กๆแลว้ ค่อยๆขยายเป็ นตวั เมือง และสรุปไดว้ า่ ช่ือเมืองน้นั มาจากไมจ้ นั ทน์ นอกจากน้ียงั
มีอีกหลายตานานท่ีได้กล่าวถึงผูส้ ร้างเมืองเวียงจันทน์ บ้างก็กล่าวว่าสร้างโดยท้าวบุรีจนั สร้างโดย
พระลกั ษณ์พระรามลาว(รามเกียรต์ิ) สร้างโดยทตรัตถะ แต่กไ็ ม่มีใครสามารถบอกไดว้ า่ ความจริงแลว้ เมือง
นครเวยี งจนั ทนใ์ ครเป็นผสู้ ร้างคนแรกกนั แน่ (ทรงฤทธ์ิ โพนเงิน,2553)

เวยี งจนั ทน์ไดแ้ บ่งการปกครองออกเป็ น 9 เมือง ไดแ้ ก่ จนั ทะบุรี, สีโคดตะบอง, ไซสดถา, สีสัด
ตะนาก, ทาดชายฟอง, ปากงึม, นาทรายทอง, ไซทานี และสังทอง (สุพาสน์ แสงสุรินทร์.2553) และ
นอกจากน้นั เวียงจนั ทน์ยงั มีสถานท่ีสาคญั ที่สามารถดึงดูดนกั ท่องเที่ยวให้หลง่ั ไหลมาในแต่ละปี เน่ืองดว้ ย
เวยี งจนั ทน์เป็นเมืองที่มีวฒั นธรรมเก่าแก่ผสมผสานกบั ความทนั สมยั อยา่ งลงตวั

ภาพที่ 1 หอพระแก้ว
เดิมเป็ นวดั ท่ีเป็ นประดิษฐานพระทบั มรกต (ในอดีต)
ปัจจุบนั กลายเป็ นพิพิธภณั ฑ์

ภาพท่ี 2 วดั สีสะเกด
มีลกั ษณะเด่นคือมีพระพทุ ธรูปใหญแ่ ละเลก็ เรียงรายอยมู่ ากท่ีสุด

ภาพที่ 3 ประตูชัย
สญั ลกั ษณ์แห่งชยั ชนะจากฝรั่งเศส

ภาพท่ี 4 วดั สีเมือง
เป็ นท่ีต้งั ของเสาหลกั เมืองประจานครเวยี งจนั ทน์

ภาพท่ี 5 พระธาตุหลวง
พระธาตุมีลกั ษณะการสร้างแบบอาณาจกั รลา้ นชา้ ง สี
ทองอร่ามและยงั เป็ นเคร่ืองหมายในดวงตราสาคญั ของประเทศ

ภราดร รัตนกุล (2537) กล่าววา่ องคพ์ ระธาตุหลวงต้งั อยภู่ ายในบริเวณวดั พระธาตุหลวง แห่งนคร
จนั ทบุรี ประเทศลาว ซ่ึงบริเวณท่ีต้งั ขององคพ์ ระธาตุหลวง เป็นหมูบ่ า้ นทาดหลวง (ธาตุหลวง) แตเ่ ดิมเป็ น
เพียงท่ีประดิษฐานเสาหินของอโศกมหาราชแห่งอินเดียท่ีเผยแผพ่ ระพุทธศาสนามาถึงที่น่ี องคพ์ ระธาตุน้นั
ลอ้ มรอบดว้ ยธาตุองคเ์ ล็ก ซ่ึงหมายถึง พระบารมี 30 ประการ ภายในขององคพ์ ระธาตุเล็กเหล่าน้ียงั มีองค์
เล็กท่ีอยภู่ ายใน หล่อดว้ ยทองคาหนกั องคล์ ะ 4 บาท และถว้ ยคาจารึกหวั ใจพระธรรมหรือหวั ใจอริยสัท 4

จารึกบนแผน่ ทองคาแต่ละแผ่น ส่วนรอบองคพ์ ระธาตุมีระเบียงคต (กมมะเลียน) กวา้ งดา้ นละ 75 เมตร
ยาว 91 เมตร เม่ือพระเจา้ ชัยเชษฐาธิราชสร้างพระธาตุหลวง หรือมีการบูรณะข้ึนมาแลว้ ไดถ้ วายยามว่า
“เจดียโ์ ลกจุฬามณี” ซ่ึงหมายถึง เจดียแ์ กว้ ของโลก กษตั ริยข์ องลาวทุกพระองคจ์ ะตอ้ งบูรณะพระธาตุตาม

ประเพณีท่ีสืบตอ่ กนั มา
การบูรณะพระธาตุหลวงไดเ้ ร่ิมข้ึนใหม่อีกคร้ังในปี พ.ศ. 2519 ลกั ษณะรูปทรงของพระธาตุหลวง

องคใ์ หม่มาจากคติจกั รวาล อนั มีเขาพระสุเมรุเป็ นแกนกลาง โดยไดเ้ ร่ิมจากระเบียงและประตูทางเขา้ ท้งั 4
ทิศ ซ่ึงเปรียบไดก้ บั กาแพงจกั รวาล ภายในระเบียงมีลานประทกั ษิณรายรอบ ส่วนฐานองคพ์ ระธาตุลดหลนั่
กนั 3 ช้นั ซ่ึงหมายถึง โลกธาตุ 3 ภูมิ คือ มนุษยโ์ ลก เทวโลก และพรหมโลก เหนือฐานช้นั ที่ 3 เป็ น
องคร์ ะฆงั คลา้ นสถูป ที่สาญจิ ประเทศอินเดีย แต่ต่ากวา่ ฐานบลั ลงั ก์เป็ นกลีบบวั ขนาดใหญ่ รองรับยอด

พระธาตุ ทรงดอกบวั สี่เหล่ียมแบบเดียวกนั กบั ทรงของพระธาตุพนม ลงรักปิ ดทองลอ้ มรอบดว้ ยธาตุบริวาร

อีก 30 องค์ รูปลกั ษณ์ขององคพ์ ระธาตุหลวงท่ียืนตระหง่านงาม น้นั แลดูเสมือนหน่ึงป้อมปราการหลกั
เหนี่ยวอนั มน่ั คง (บุญยงค์ เกศเทศ, 2557) สอดคลอ้ งกบั แนวคิดของ นริศนา แทบศรี (2557) ซ่ึงกล่าวถึง
ลกั ษณะของพระธาตุหลวงว่า พระธาตุหลวงน้ันมีลกั ษณะคล้ายป้อมปราการ เพราะมีการสร้างระเบียง
สูงข้ึนโอบ ลอ้ มองคพ์ ระธาตุไว้ ซ่ึงโดยรอบจะเป็นสญั ลกั ษณ์ที่แสดงถึงความศกั ด์ิสิทธ์ิของพระพทุ ธศาสนา
ปรากฏอยูม่ ากมาย และนอกจากน้ียงั มีพระบรมรูปสมเด็จพระเจา้ ไชยเชษฐาธิราช ต้งั อยู่บนฐานสูง พระ
หตั ถ์ทรงถือพระแสงดาบวางพาดไวบ้ นพระเพลา ซ่ึงเล่ากนั วา่ พระแสงดาบเล่มน้ีทาหนา้ ที่ปกป้องพระธาตุ
หลวง ซ่ึงไดถ้ ือวา่ เป็นศูนยร์ วมจิตใจของประชาชน ทาใหป้ ระชาชนน้นั มีความเลื่อมใสศรัทธาจึงมีประเพณี
บุญนมสั การพระธาตุหลวงเกิดข้ึน

ประเพณีบุญนมัสการพระธาตุหลวงน้ี ชาวลาวได้ทาสืบต่อกันมาต้ังแต่โบราณกาล โดยมี
พระมหากษตั ริยเ์ ป็ นประมุขของชาติเป็ นประธาน จดั ข้ึนในวนั ข้ึน 13 ค่าเดือน 12 จนถึงวนั ข้ึน 15 ค่า
เดือน 12 (นริศรา แทบศรี, 2554) ซ่ึงบรรยากาศภายในงานน้นั มีผูค้ นมากมายที่ไปทาบุญถวายทานต่างๆ
ส่วนทางดา้ นการคา้ ไดม้ ีการจดั บูทสินคา้ ต่างๆรวมท้งั พ่อคา้ แม่ขายท่ีหาบเร่แผงลอยอยูก่ นั เต็มบริเวณพ้ืนท่ี
น้นั อาชีพคา้ ขายเป็นอาชีพที่อยคู่ ูก่ บั วถิ ีชีวติ ของคนลาวมาต้งั แต่อดีต

วถิ ีชีวติ แบบด้งั เดิมของลาวน้นั ส่วนมาก เพาะปลูกขา้ วเป็ นหลกั เมื่อสิ้นสุดฤดูกาล ชาวบา้ นจะทา
ตะกร้าและภาชนะท่ีใช้ในการทานอาหาร ผูช้ ายจะซ่อมแซมบ้านเรือนและจบั ปลา ถา้ เหลือกินก็ขายใน

ขณะท่ีผูห้ ญิงจะทอผา้ ตามลวดลายแบบด้งั เดิมท่ีสืบต่อมาหลายรุ่น (ลิปทวั ริซึม, 2557) ต่อมาเมื่อประเทศ
ลาวได้เปิ ดประตูสู่อาเซียนปี 2558 การประกอบอาชีพของประเทศลาวสามารถแบ่งออกได้เป็ นดังน้ี

1) อาชีพเกษตรกรรม 50% ของประเทศ 2) อาชีพอุตสาหกรรม (โรงงาน การท่องเที่ยว การให้บริการ
ต่างๆนานา) 30% 3) อาชีพอื่นๆ 20% (สะอาด, 2557) อาชีพคา้ ขายหรืออาชีพหาบเร่แผงลอยก็เป็ นอีก
หน่ึงอาชีพที่มกั พบเห็นบ่อยๆตามงานบุญ ซ่ึงมีแหล่งขอ้ มูลหลายท่ีที่ให้ความหมายเก่ียวกบั คาว่า “ หาบเร่
แผงลอย ”

พจนานุกรมราชบณั ฑิตยสถาน พ.ศ. 2545 ไดใ้ หค้ วามหมายของคาวา่ “ หาบ ” ไวว้ า่ “ เอาของ
หอ้ ยปลายคานสองขา้ งแลว้ แบกกลางคานพาไป ” ส่วนคาวา่ หาบเร่ ราชบณั ฑิตยสถานอธิบายไวว้ า่ คือ “ ผู้
ท่ีหาบของไปแร่ขาย ” (ราชบณั ฑิตยสถาน, 2545) ซ่ึงในปุบนั อาจมีเคร่ืองทุ่นแรงเช่น รถเขน็ รถจกั รยาน
เป็ นตน้ ส่วนคาวา่ “ แผงลอย ” ตามพจนานุกรมราชบณั ฑิตยสถาน พ.ศ. 2545 ให้ความหมายวา่ “ ที่ท่ีจดั
ไวใ้ นถนนสาธารณะ รวมถึง แผล แคร่ พ้ืนดิน ” (ราชบณั ฑิตยสถาน, 2545) ซ่ึงสอดคลอ้ งกบั ขอ้ บญั ญตั ิ
ของกรุงเทพมหานคร (2519) แต่ไม่ไดร้ ะบุคาจากดั ความของคาวา่ “ หาบเร่ ” แต่ให้ความหมายของคาวา่
“ ผูเ้ ร่ขาย ” หมายถึง ผูน้ าอาหาร นาแข็ง เร่ขายในท่ีต่างๆไม่ว่าทางบกหรือทางน้า ส่วน “ แผงลอย ”
หมายถึง ท่ีท่ีซ่ึงจดั ไวใ้ นถนนสาธารณะ รวมถึง แทน่ โตะ๊ แผง หรือส่ิงของอื่นๆ

จากการให้ความหมายของคาวา่ หาบเร่และแผงลอย กล่าวโดยสรุปคือ หาบเร่ น้นั หมายถึงการเร่
ขายของอาจจะใช้วิธีการหาบหรือใช้ รถเข็น รถจกั รยาน ส่วนคาวา่ แผงลอย น้นั หมายถึงการต้งั ขายของ
โดยมีสถานท่ีท่ีจดั ไว้ เช่น แทน่ โตะ๊ แผง เป็นตน้

จากการสัมภาษณ์แม่คา้ ท่ีหาบเร่ขายในงานบุญธาตุหลวง พบวา่ ส่วนมากจะขายไดไ้ ม่ค่อยดีท้งั ๆที่
มีนักท่องเที่ยวท้ังในและต่างประเทศมากนั อย่างล้นหลาม สาเหตุเกิดจากการท่ีมีผูด้ ูแลความระเบียบ
เรียบร้อยหรือท่ีเรารู้จกั กนั ในนาม “ เทศกิจ ” ท่ีคอยกีดกนั แมค่ า้ ที่เร่ขายของตามทางเดิน จึงทาใหพ้ วกแม่คา้
เหล่าน้นั ตอ้ งเปล่ียนทาเลบ่อยคร้ัง ทาใหข้ ายของไดไ้ มด่ ีเท่าท่ีควร (แม่ที หนองแตง, ผใู้ ห้สัมภาษณ์) สินคา้
ท่ีพอ่ คา้ แมค่ า้ นามาขายน้นั มีหลากหลายชนิด

ภาพท่ี 6 ร้านขายเครื่องประดบั ภาพที่ 7 ร้านขายผ้าและผ้าถุง

ภาพท่ี 9 ร้านขายของเบ็ดเตลด็

ภาพท่ี 8 ร้านขายมะม่วง

ภาพท่ี 10 ร้านขายขนมปัง ภาพที่ 11 ร้านขายข้าวเกรียบ

การหาบเร่แผงลอยเป็ นเสมือนองคป์ ระกอบของงานบุญธาตุหลวง แห่งนครเวยี งจนั ทน์ ทุกๆปี ที่มี
งานจะเห็นพ่อคา้ แม่คา้ มาเร่ขายของกนั มากมาย เหมือนเป็ นการเพ่ิมสีสันและความอบอุ่นให้กบั งานบุญ
ผูค้ นบางส่วนบา้ งก็มาเพ่ือทาบุญถวายทาน บา้ งก็มาเพื่อหาซ้ือของกิน เพราะสะดวกแก่การซ้ือ มีของท่ี
หลากหลายใหเ้ ลือกสรร มางานบุญคราวน้ีไดท้ ้งั อ่ิมบุญและอิ่มทอ้ งไปพร้อมๆกนั อยา่ งเปรมจิต

เอกสารอ้างองิ
“ ข้อบัญญตั ิกรุงเทพมหานคร เรื่อง ควบคุมแผงลอย พทุ ธศักราช 2519 ”. (2529). กรุงเทพกิจจานุเบกขา.
ทรงฤทธ์ิ โพนเงิน. (2553). เวยี งจันทน์ 450 ปี . กรุงเทพฯ: สานกั พมิ พม์ ติชน.
นริศรา แทนศรี. “ ลาว ” และ “ พระธาตุหลวง ” [ออนไลน์] [อา้ งเมื่อ 17 พฤศจิกายน 2557] จาก
http://taw114.blogspot.com
บุญยงค์ เกศเทศ. พระธาตุหลวงนครเวยี งจันทน์ ตานานอาณาจักรล้านช้างกบั คติศรัทธาของคนไท – ลาว
[ออนไลน์] [อา้ งเมื่อ 17 พฤศจิกายน 2557] จาก www.thebestinsure.com
บุนมี เทบสีเมือง. (2553). ความเป็ นมาของชนชาติลาว การต้ังถนิ่ ฐานและสถาปนาอาณาจักร. กรุงเทพฯ:
สานกั พมิ พส์ ุขภาพใจ.
พฒั นาส่ือการเรียนรู้เรื่องอาชีพสู่อาเซียน. [ออนไลน์] [อา้ งเมื่อ 17 พฤศจิกายน 2557] จาก
web.saard.ac.th
ภราดร รัตนกุล. (2537). ศิลปแห่งลุ่มนา้ โขง. กรุงเทพฯ: สานกั พมิ พธ์ ีรกิจ เจา้ ของ.
มะหาสีลา วรี ะวง. (2544). ประวตั พิ ระเจย์ดีโลกะจุละมะนีหรือพระธาตุหลวงเวยี งจันทน์.
แม่ที หนองแตง. 5 พฤศจิกายน 2557. สมั ภาษณ์โดย นางสาวทิพยธ์ ิดา ชุมชิต. นครเวยี งจนั ทน์.
ราชบณั ฑิตยสถาน. (2546). พจนานุกรม ฉบบั ราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2545. กรุงเทพฯ: นานามีบุค๊ ส์
พบั ลิเคชน่ั ส์.
วถิ ีชีวติ แบบด้งั เดิมของ. [ออนไลน์] [อา้ งเม่ือ 17 พฤศจิกายน 2557] จาก
www.lpptourism.org/download/tradition_t.pdf
สุพาสน์ แสงสุรินทร์. (2553). รูปแบบและคตสิ ัญลกั ษณ์ของประติมากรรมประดับศาสนคาร ในนคร
หลวงเวยี งจันทน์. วทิ ยานิพนธ์ปริญญาปรัชญาดุษฎีบณั ฑิต สาขาวจิ ยั ศิลปะและวฒั นธรรม. บณั ฑิต
วทิ ยาลยั . มหาวทิ ยาลยั ขอนแก่น.
สมชาย นิลอาธิ. (2545). ประวตั ิศาสตร์ฉบับกระทรวงศึกษาธิการฯลาว. กรุงเทพฯ: สานกั พิมพม์ ติชน.


Click to View FlipBook Version