The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

เจ้าอนุวงษ์ : กษัตริย์องค์สุดท้ายแห่งล้านช้างเวียงจันทร์ สปป.ลาวการกอบกู้เอกราชอันล้มเหลวแต่เป็นที่รัก

บทความโดย สาขาศิลปะ วัฒนธรรม และการออกแบบ คณะศิลปกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search

บทความ - เจ้าอนุวงษ์ : กษัตริย์องค์สุดท้ายแห่งล้านช้างเวียงจันทร์ สปป.ลาวการกอบกู้เอกราชอันล้มเหลวแต่เป็นที่รัก

เจ้าอนุวงษ์ : กษัตริย์องค์สุดท้ายแห่งล้านช้างเวียงจันทร์ สปป.ลาวการกอบกู้เอกราชอันล้มเหลวแต่เป็นที่รัก

บทความโดย สาขาศิลปะ วัฒนธรรม และการออกแบบ คณะศิลปกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น

เจาอนุวงษ : กษตั รยิ องคส ดุ ทา ยแหง ลา นชา งเวยี งจันทร สปป.ลาว
การกอบกเู อกราชอนั ลมเหลวแตเ ปน ทร่ี ัก

“เจา อนวุ งศเ รายงั จบั ไมไดแ ละไมร ูจะกลบั มาต้ังบานเมืองอีกเมอื่ ใด เมืองเวียงจันทรไมค วรเปน

เมืองอีกตอไปใหเ ปน ภยั อนั ตรายตอไทยใหกลับไปทําลายใหพนิ าศอยาใหเ ปนบา นเปนเมอื งได”

พระเจา แผนดนิ ไทยรัชกาลที่ 3 ทรงตรัสรบั สัง่ กับแมทพั เปนการตอกยาํ้ ถงึ ความตอ งการใหเ วียงจนั ทรน ้นั ยอ ยยบั

หายไป แมกอนหนานน้ั ไทยจะเผาทําลายเวยี งจนั ทรม าแลว สองครง้ั ก็ตาม...

ชาตลิ าวไดตงั้ ถิน่ ฐานอยูในแหลมอนิ โดจนี ซึ่งแตก อ นเรยี กวาแหลมทองหรือสุวรรณภมู ิ นับเปนเวลาหลาย

ศตวรรษท่ีดนิ แดนแหงนอ้ี ุดมสมบูรณดว ยทรพั ยากรธรรมชาติ โดยมี เจา ฟา งมุ เปนผูรวบรวมเขตน้ําดินแดนใหเปน

กลุม เดยี วกนั และสถาปนาอาณาจักรลาวลานชางใหสงา งาม(สมชาย นิลอาธิ.2545)ทอดคลองกับดวงไช หลวงพะสี

ท่ีกลาววา พระเจาฟางุมแหลงหลา ธรณี เปน ผรู วบรวมประเทศลาว ประเดิมพทุ ธวฒั นธรรมใหร งุ เรืองในลาว

(ค.ศ.1353-1393) ตํานานเมอื งหลวงพระบาง บอกใหรูวา ภายหลังที่ขนุ รอไดม าปกครองเมอื งเชยี งทองหรือหลวง

พระบางในทุกวันนม้ี กี ษัตรยิ ท ใี่ สนามกษัตริย “ขุน” 15 องค และ “ทา ว” 6 องค พระเจา ฟางุมไดพ ชิ ิตหวั เมืองใหญ

บนดนิ แดนลาวแลว รวบรวมปกเขตแดนเปน ของพระองค จากนน้ั ดวยความเขม แข็งของกรงุ ศรอี ยธุ ยา จึงเปนเหตุให

พระองคนําลพ้ี ลลงไปทางรอยเอ็ด มงุ สูกรงุ ศรอี ยุธยา โดยกษัตริยอ ยุธยาขอความดีนําพระเจา ฟางุม เพราะตางกม็ า

จากเชื้อบรมเหมอื นกนั (ดวงไช หลวงพระส.ี มปป)โดยมหาสลี า วรี ะวงษไดขยายความตอนพระเจา ฟางมุ ทรงไปตี

เอาเมืองรอยเอด็ กอ นยกทัพเขากรงุ ศรอี ยธุ ยา วา ในคราวนน้ั พระเจา ฟางมุ มหาราช ทรงหยุดประทับท่เี วียงจนั ทร

แลวก็ทรง กําหนดไปตเี อากรงุ ศรีอยธุ ยา รวมพลได 48,00 คน ชา ง 500 เชือก เสดจ็ ยกทพั ออกจากเวยี งจนั ทร

ตเี อาหัวเมอื งตา งๆรายทาง จบั เจาเมอื งเหลา น้ันขังไวทีร่ อ ยเอ็ด เสรจ็ แลว จงึ สงราชสานสถ งึ พระรามาธบิ ดอี ูท อง

วาจักรบหรอื วาสิง่ ใด พระรามาธบิ ดอี ทู องเกิดความกลวั เกรง จึงยกเขตแดนบางสวนให พรอ มเครอ่ื งราชบรรณาการ

แลว พระเจาฟา งุมจงึ ยกทพั กลบั เวียงจนั ทรและมพี ิธีฉลองชยั ทีเ่ วยี งจนั ทรเปน เวลา 7 วัน 7 คนื (มหาสลี า

วีระวงษ. 2539) โดยในสมัยน้นั เวยี งจันทรย งั มใิ ชนครหลวง หากแตเปน หลวงพระบาง พระเจาฟางุมเสดจ็ สรุ คต

(ค.ศ.1373) เมื่ออายุได 57 ป กาลลว งเลยมาจน ป ค.ศ.1530 สมเด็จพระไชยเชษฐาธริ าช ทรงพจิ รณาเหน็ วา

พระมหานครเชียงทองเปน ทีค่ บั แคบ มีภเู ขาลอมทุกดานจักขยายเมอื งไดย าก อีกประการคอื อยูใ กลลานนา ซ่ึง

พมา กาํ ลังแผขยายเขา มา สวนเมอื งเวยี งจันทรนนั้ เปน นครหลวงใหญทีท่ ํามาหากนิ กวา งขวาง อุดมดว ยขาวปลา

อาหาร สมควรจะต้งั เปนมหานครอนั ใหญไ ด ทรงจนิ ตนาการดั่งนี้แลว จงึ ปรึกษากบั เสนาอาํ มาตยทงั้ หลาย เสนา

อาํ มาตยก็พรอมกนั เหน็ ดวย ดังนน้ั พระองคจ งึ มอบเมืองเชยี งทองใหพ ระสงฆอยเู ฝา รกั ษา สวนพระองคทรง

อัญเชญิ เอาพระแกวมรกตและพระเเขกคาํ และสมบตั ิทง้ั มวลยกจตรุ งคเสนาโยธาทวยหาญลงมาอยูเวยี งจนั ทรแ ละ

ขนานนามมหานครแหง ใหมวา“พระนครจันทบรุ ีศรสี ัตนาคนหุตอุตมราชธาน”ี (แกนจันทร สิรวิ ัทน.2539) ทั้งน้ีสจุ ิตต

วงเทศนไดใหแนวคิดไววา เวยี งจนั ทรไ มใชดินแดนใหมแ ตเปนบริเวณทม่ี ีการพฒั นาทางวฒั นธรรมและสังคม

มาหลายพนั ป ความสําคญั ของเวียงจนั ทรย ังเหน็ ไดจ ากเอกสารจีนโบราณระบชุ อื่ เวินตัน (Ventan) วาเปนบานเมือง

สาํ คญั แตโบราณและนา จะตรงกบั คําวา เวยี งจนั ทรม ากกวา อยา งอนื่ หลังพ.ศ.1500เวียงจนั ทรไ ดม คี วามเกี่ยวของกบั

อีสานและอาณาจักรขอมมากข้นึ โดยเฉพาะกบั ขอมดงั จะเห็นไดจ ากภาพสลัก“กองทัพสยาม”ท่ีระเบียง

ประวตั ศิ าสตรของปราสาทนครวดั ซ่งึ อาจารยศ รีศกั ร วัลลโิ ภดมเสนอหลกั ฐานวาเปน กองทัพสยามจากลุม น้ําโขง

ทม่ี ีเวยี งจนั ทร เปนศนู ยก ลาง (สจุ ิตต วงษเทศ.2549)นอกจากน้นั พระไชยเชษฐาธริ าชเจายงั ทรงสรา งพระธาตหุ ลวง

ในป ค.ศ. 1566 โดยทรงพระราชราํ พงึ วา การปกครองใหร ม เยน็ เปน สุขนนั้ จําเปน ตอ งใชหลกั พระพทุ ธศาสนา

เมอ่ื สรา งเสร็จก็ขนานนามพระธาตนุ ี้วา“พระธาตุเจดียโ ลกจฬุ ามณี”ซง่ึ ในสมยั น้ีเองทพ่ี ระพทุ ธศาสนาไดเ จริญรงุ เรือง

มาก นอกจากจะสรา งพระธาตเุ จดียแ ละวดั วาอารามแลว พระองคย ังทรงลอพระพทุ ธรปู องคส าํ คัญๆ ขึน้ อาทิ

พระองคต ้ือ พระสกุ พระเสริม พระใส(พระเสรมิ อยูว ัดปทมุ วนั กรงุ เทพพระใสอยวู ดั โพธิ์ชัย หนองคาย

สวนพระสกุ วาจมอยใู นนา้ํ ท่ที า ขา มเวนิ สุก ในตอนท่ไี ทยจะเอาลงกรงุ เทพ) ทรงฤทธิ์ โพนเงิน

ไดก ลาวสรุปถงึ ชว งหลังจากสรา งพระธาตหุ ลวงวาในปลายรชั สมยั สมเด็จพระไชยเชษฐาธิราชเจาหัวเมืองลาว

ฝายใตแถบเมอื งอตั ตะปอ สาละวนั และจําปาสกั เกิดแขง็ เมอื ง สมเด็จพระไชยเชษฐาธริ าชเจา จงึ ยกทพั ไป

ปราบแตถกู กลลวง ทาํ ใหกองทพั ของพระองคต กอยูในวงลอ มระหวา งชอ งเขาและถูกโจมตแี ตกพาย สวนพระองค

เสด็จหนเี ขา ปา และหายสาปสญู ไปในป พ.ศ.2114 (ค.ศ.1571)แกน จนั ทร สิริวทั นไ ดก ลา วถงึ ความตอนนีว้ า เพราะ

การหักหลงั ของพระยานครจงึ เปนเหตุใหสมเด็จพระไชยเชษฐาธิราชเจา ทรงหายสาปสญู ไป(คงเปนวา พระยานคร

เองที่เปน ผูลอบสงั หารพระองค) สมเดจ็ พระไชยเชษฐาธริ าชเจา ทรงพระราชสมภพเมือ่ ป ค.ศ.1534 ไดเสวย

ราชสมบตั เิ ปนพระมหากษัตริยอยู 24 ป ก็เสด็จสวรรคตท่ีเมืองโองการ(อัตตะปอ ) เม่อื พระชนมายุได 38 ป โดยมีราช

โอรสองคห นง่ึ มนี ามวา พระหนอเมอื ง(แกน จนั ทร สริ ิวทั น.2539)

ภายหลังจากรัชสมยั พระไชยเชษฐาธริ าชเจา ราชอาณาจกั รลา นชาง เวียงจันทรก ร็ ะสา่ํ ระสา ยเรอื่ ยมา

เน่อื งเพราะการแยงชงิ อาํ นาจกันในราชวงษ กอปรกบั มีสงครามกบั พมา ซ่ึงรกุ เขามาตเี วียงจันทรถ ึงสามครัง้

สองคร้งั ในรัชสมยั พระไชยเชษฐาธริ าชเจา และครัง้ ทีส่ ามในสมยั พระสมุ ังคลาไอยโกโพธสิ ตั ว ซง่ึ ครง้ั นีเ้ องทท่ี าํ ให

อาณาจักรลานชา งเวยี งจันทรตกเปน ประเทศราชของพมา (ทรงฤทธิ์ โพนเงิน.2553)และในปค.ศ.1690ประเทศ

ลา นชางอันมีอาณาเขตกวางใหญไพศาล และบา นเมืองวัดวาศาสนาทีม่ คี วามเจริญรุง เรืองดจุ เดอื นเพ็ญนน้ั

ก็คอ ยเศราไปราวกบั เดอื นขางแรม ท้งั นีเ้ พราะความเคลยี ดแคน แกก นั ของบรรดาผูม อี าํ นาจท้ังส่ีแหงนครเวยี งจันทร

คือ พระยาเมืองจนั ทร เจาองคหลอ เจา นนั ทราช เจาไชยองคเวซ่ึงภายหลังจากไดค รองเวียงจันทรก ็ใชพระนามวา

พระไชยเชษฐาธริ าชท่ี 2 จนลว งมาถึงสมยั พระเจาสริ บิ ญุ สารท่ที รงเสยี เวยี งจนั ทรแ กพระเจาตากสินในป ค.ศ.1779

ที่กองทพั ไทยเขายึดเอานครจาํ ปาศกั ดิไ์ ดแลวกย็ กทพั ขน้ึ มาลอ มเวียงจนั ทรไว กอ นที่จะเขาเมืองเกบ็ กวาดเอาสมบัติ

ทง้ั หลายรวมถึงพระแกวมรกตและจับเอาราชบตุ ตรีไปในขณะเดยี วกัน ซ่ึงเปนอนั วา ประเทศลาวลานชางท่ีแตก

ออกเปน 3 อาณาจักรมา ตัง้ แตป  ค.ศ.1707 กไ็ ดเ สยี เอกราชพรอมกนั ในป ค.ศ.1779(มหาสลี า วรี ะวงษ.2539 )

สัมฤทธิ์ บวั ศรสี วัสดิ์ กลาวตอไปวาราชอาณาจักรเวยี งจันทรไ ดม ีผูสบื ตอกันมาอกี คอื รัชกาลพระเจา นนั ทแสน

รัชกาลเจา อนิ ทวงศ และสมเดจ็ พระเจาอนุวงษซ ง่ึ มคี วามสําคัญตอลาวอยา งมาก เจา อนวุ งษเปนโอรสของ

เจาสิริบุญสาร พระองคทรงไปอยกู รุงเทพตง้ั แตพ ระชนม 11 ชนั ษา ในฐานะเปนตวั ประกันมิใหลาวกูอ สิ ระภาพ

ทรงประทบั อยูท่ไี ทย 16 ปแ ละสนิทชิดเชือ้ กับพระเจา แผน ดินไทยรัชกาลที่ 2 คือพระพทุ ธเลศิ หลานภาลัย

ตั้งแตทรงพระเยาวมาดวยกนั จนในป ค.ศ.1804 สมเดจ็ พระเจาอินทรวงศท รงเสด็จสวรรคต พระเจา แผนดนิ ไทย

จึงอภิเศกเจามหาอุปราชอนุวงษขึน้ เปนเจา แผนดนิ ในปนั้นเอง เวลาขน้ึ เสวราชสมบัตินั้นพระองคมพี ระชนม 37 ป

ระหวา งนั้นกช็ ว ยกองทพั ไทยตเี มอื งเชยี งตงุ เมอื งเชยี งรุง ไดท รงสรางพระราชวังโรงธรรมในเวยี งจนั ทรเ ปน อันมาก

ทัง้ ยงั ทรงสรา ง วดั สตสหสั สาราม หรอื วัดศรษี ะเกตุทกุ วนั นี้ ข้นึ ในป ค.ศ.1818 (สมฤทธ์ิ บวั ศรีสวสั ด.ิ์ 2539)สุจิตต

วงเทศนไดกลาวถงึ พระเจา อนุวงษวา ทรงเปน นกั รบทเ่ี ขม แข็งและมีความรกั อิสรภาพเปน ที่สุด พระองคจ งึ หาโอกาส

ที่จะปลดแอกจากความเปน ประเทศหวั เมืองข้นึ ของไทยตลอดมา แตก ม็ ิไดทรงจะประกาศสงครามใหมกี ารรบกัน

พระองคจ งึ ใชว ธิ กี ารกวาดตอนเอาคนลาวคืนมา เมื่อความทราบไปถงึ รัชกาลท่ี 3 พระนงั่ เกลา เจา อยหู วั จงึ ทรงสงั่

ทาํ ลายเวยี งจนั ทรค รัง้ ท่ีสอง(สุจิตต วงษเ ทศน.2549)ท้ังนอ้ี กี สาเหตุหน่งึ ทพี่ ระเจา อนวุ งษท รงคิดแขง็ ขนื ตอ ไทยอาจ

สบื เนือ่ งมาจากในป ค.ศ.1825 เจา อนวุ งศไดนาํ พาไพรพลลงไปรวมพธิ ีปลงศพเจา เลิศหลา นภาลัยเม่ือไปถงึ กถ็ ูก

รัชกาลที่ 3 บงั คบั ใหไ พรพ ลของพระเจา อนวุ งษไปตดั ตน ตาลท่เี มอื งสุพรรณบุรแี ละสมุทรปราการซงึ่ เปน ระยะทาง

ไกลมากทาํ ใหค นลาวเจ็บปวยลม ตายไปมาก เจา อนุวงศกย็ ่งิ เพมิ่ ความเคียดแคน มากขน้ึ (สมชาย นลิ อาธ.ิ 2545)

ฝายพระเจา แผนดนิ ไทยรชั กาลที่ 3 ไดล ว งรูว าเจาอนวุ งศน้ันทรงสะสมกาํ ลังไพรพ ลเพอื่ มาตีไทยอยู กท็ รงตกแตง

พระนครอยา งแข็งขนั ทงั้ ยงั ทรงสง กรมพระราชวงั บวรแมท พั ใหญใหไ ปตีทัพเจาอนวุ งศ เม่ือมาถึงโคราชแมท พั ใหญ

กส็ งั่ ใหพ ระยาราชสภุ าวดีตเี อาคายของพระยานรินทรแ มท ัพลาวจนพา ยแพ แมทัพไทยขา มฝงมาเวียงจันทรท าํ การ
เกบ็ เอาสมบัติตามราชวงั ตลอดจนบา นเรอื นแลวสงั่ ทหารตดั ตนไมกนิ ไดทั้งหมดแลวเอาไฟเผาเมอื ง
บงั คับใหคนลาวทําลายกาํ แพงเมอื งใหห มดจนเหลือแตซาก เมือ่ พระยาราชสภุ าวดเี ดินทางกลับมายังกรุงเทพฯ
จึงเขาเฝา พระเจาแผน ดนิ พระเจา แผน ดินตรัสวา “เจาอนวุ งศเรายงั จับไมไ ด ไมร จู ะกลับมาตง้ั บานเมอื งอีกเมื่อใด
เมอื งเวยี งจันทรไมควรเปน เมอื งอกี ตอ ไปใหเปนภัยอันตรายตอ ไทย ใหกลบั ไปทาํ ลายใหพนิ าศอยา ใหเ ปนบานเปน
เมืองได” ในป ค.ศ.1828 ทัพไทยไดขนึ้ มาทางหนองบวั แตย งั ไมท ันจะไดเผาทาํ ลายเวยี งจนั ทรก เ็ กิดตะลบุ อนกันกบั
ทัพพระเจาอนุวงศ เพลานน้ั พระเจา อนุวงศเ สยี ทา ก็ทรงหนไี ปแตเ จา นอ ยเมอื งพวนราชบตุ รเขยของเจา อนุวงศเ องท่ี
แจงตอ แมทัพไทยจนทาํ ใหพ ระเจา อนวุ งศน้ันโดนจับตวั และควบคุมไวอ ยางทรมานจนถึงแกค วามตายในหองขัง
(สมฤทธิ์ บัวศรสี วัสด.ิ์ 2539)โดยสัมฤทธ์ิ ไดใ หข อ คดิ เห็นบางประการเก่ยี วกบั ประวตั ศิ าสตรพระเจา อนุวงศว า เมอ่ื
นกึ ถงึ สภาพจติ ใจ ความรักชาติของคนลาวในสมยั น้ัน ผทู ม่ี ีนา้ํ ใจรกั ชาติอยางแทจริงกค็ อื สมเดจ็ พระเจา อนุวงศ
พระองคท รงเปน จอมวีรกษัตริยท กี่ ลาหาญ ทรงสละเลอื ดเน้อื ออกทําสงครามกชู าติ เพอื่ ใหบ า นเมอื งของตนนน้ั พน
จากการเปน ขา ทาสของคนอ่ืน แมส ุดทายแลว จะไมสําเร็จผล ทงั้ ยังทําใหพระองคไดร ับความทกุ ทรมานจนส้ิน
พระชนมช พี กต็ าม

หลังจากนน้ั โลกก็เขา สูยคุ ลาอาณานคิ มของชาตติ ะวันตก ป พ.ศ.2436 หรือป ค.ศ.1893 ลา นชางกต็ กเปน
ฝง เวียงจันทรก ็ตกเปนของฝรั่งเศษทั้งหมด โดยรวมเขา เปนหัวเมืองข้ึน หรอื เขตอาณานคิ มของฝรัง่ เศษโดยตรง ซ่งึ
ทําใหน ครเวยี งจันทรถกู จดั เปนเมอื งหน่งึ ในแขวงเวียงจันทรเ ทา น้ันอยา งไรก็ตาม การทเ่ี วียงจันทรมีขา หลวงใหญก็
ทําใหไ ดร บั การทาํ นบุ ํารุง เฉพาะอยา งย่งิ ในป พ.ศ. 2472 สมาคมนกั ปราชฝร่ังเศษฝา ยเอเชียบูรพา ไดอ อกระเบียบ
รกั ษาโบราณสถาน โบราณวตั ถุ วดั วาอารามจนเกิดการบูรณะขน้ึ (ทรงฤทธ์ิ โพนเงิน.2553)

ในคร้ังอดตี สงครามถือเปน สิง่ ที่เกดิ ขึน้ ไดตลอด เพราะเปน ไปไมไดเลยทจ่ี ะสรางชาติโดยไมก อสงคราม

สักครงั้ อาณาจกั รลานชางทถี่ กู รวบรวมโดยพระเจา ฟางุม นน้ั มีประวตั ิศาสตรอ นั ยาวนาน ลวงเลยมาในรัชสมัย
ของพระไชยเชษฐาธริ าชพระองคก ท็ รงยา ยเมอื งหลวงมาทเ่ี วียงจันทร มคี วามเจริญรงุ เรืองทง้ั ทางดา นวฒั นธรรม
และศาสนา แตก ด็ ว ยมลู เหตุแหง สงครามเองที่ทาํ ใหภ าพจาํ ของความรงุ เรืองนน้ั ยอยยบั ไปถึงสองคร้ังเนอื่ งจาก

การเผาทําลายของสยามประเทศ รวมถึงในครง้ั พระเจาอนวุ งศท ที่ รงมพี ระทยั แนวแน ทจี่ ะปลดแอกลาวใหพน
จากการเปนเมอื งข้นึ ของไทย พระองคท รงตกเปนตวั ประกนั มาแตทรงพระเยาว ไดใชเวลาเหลานั้นศึกษาเลา เรยี น

ในราชวังไทย จนสนทิ ชิดเชอ้ื กบั รชั กาลที่ 2 เมื่อถงึ คราวตอ งกลับไปครองนครหลวงเวียงจนั ทร พระองคก ็ทรง
ทาํ นบุ าํ รุงบานเมอื งเปนอยา งดี ทัง้ ดา นศาสนา เศรษฐกจิ รวมถงึ การชว ยทพั ไทยตีเอาเมืองตา งๆ หากพจิ รณาใน

จุดน้ี ความตองการเอกราชของพระเจาอนุวงศน้ันยังผูกติดกับความกตญั ตู อ รชั กาลไทยอยู มไิ ดท รงอาฆาต
มาดรา ยหมายจะแกแคน ไทย จนขาดสติ หากแตความสํานึกคุญเหลา นั้น ก็เปน อันหมดลงในยคุ รัชกาลที่ 3 เพราะ

ความบาดหมางใจกันข้นั รนุ แรง สงครามจึงกอ เกิดขน้ึ อีก แตด วยความเสยี เปรยี บเร่ืองกําลงั ไพรพ ล และศึกในท่ี
หาผไู วเนื้อเชอ่ื ใจลําบากจงึ สง ผลใหมหานครเวยี งจนั ทรต อ งถูกเผาทาํ ลายอีกครั้ง ผคู นถูกกวาดตอ นไปกรุงเทพฯ

ทง้ั สนิ้ เวยี งจนั ทรกลายเปน เมอื งราง แตผ คู นในลาวยงั คงรกั ศรทั ธาในพระเจาอนุวงศเ ชนเดมิ แมพ ระองคจะ
พา ยแพจ นถอื ไดว า ยอยยับกลับมาและทรมานจนส้ินพระชนชพี แตก ารทพี่ ระองคก ลาลุกขึ้นมาตอ สูเพือ่ อิสระภาพ

กบั ประเทศมหาอํานาจอยา งไทยน้ันเปน สงิ่ ทต่ี ราตรึงใจชาวลาวเสมอมา
บางคร้งั เราเรียกรองหาความเปนธรรมและกน ดา สาปแชงชาตมิ หาอํานาจตา งๆที่รกุ รานและฆาผคู นของเรา

อยางไมเหน็ คา จนลืมนกึ ไปวา ในมุมหนงึ่ เราเองก็เคยเปน ชาติมหาอาํ นาจทร่ี ุกเขา บานเมอื ง และเผาทาํ ลาย ปลน
ฆา ลาง ตดั ตน ไมใบหญา เผาไหมเปน จญุ ทาํ ลายความศรัทธาของเขาท้ังท่ีนับถือ ศาสนาเดยี วกนั กวาดตอนเขามา

เปน เชลยเชนกนั

เอกสารอางองิ

แกนจันทร สิริวัทน.ประวัตศิ าสตรลาว.ภาควิชาประวัติศาสตรแ ละโบราณคดี คณะมนุษยศ าสตรและสังคมศาสตร
มหาวทิ ยาลัยขอนแกน . 2539
ดวงไช หลวงพะสี เรียบเรยี ง บนุ สุวนั รัดตะนา แปล. ชาตลิ าวและวฒั นธรรมลาว. เอกสารแปลฉบบั ท่ี 1 ของ
มหาวิทยาลัยราชภฎั เชยี งราย จ.เชียงราย ประเทศไทย
สมชาย นลิ อาธิ. ประวตั ศิ าสตร ฉบับกระทรวงศึกษาธกิ ารฯลาว. สํานกั พิมพมติชน พิมพท ี่ บ.พิฆเณศ พร้นิ ทติ้ง
เซนเตอร จาํ กดั 2545.
สมฤทธ์ิ บัวศรีสวัสด.ิ์ ประวตั ศิ าสตรล าว.ภาควชิ าประวัตศิ าสตรและโบราณคดี คณะมนุษยศ าสตรแ ละสงั คมศาสตร
มหาวิทยาลยั ขอนแกน.2539
สจุ ติ ต วงษเ ทศ. พลงั ลาว ชาวอีสาน มาจากใหน. ปรบั ปรงุ จากหนงั สือ “เบง่ิ สังคมและวฒั นธรรมอสี าน” มตชิ น.
พมิ พคร้ังแรก : กรกฎาคม 2549
อภิชยั อัครปรดี .ี สบายดี ประเทศลาว. บจก.แอปปา พรนิ้ ต้งิ กรุป 2554
ทรงฤทธิ์ โพนเงนิ . เวียงจันทร 450 ป. กรุงเทพ มติชน.2553
มหาสลี า วรี ะวงษ. ประวัตศิ าสตรล าว.ภาควชิ าประวตั ิศาสตรแ ละโบราณคดี คณะมนุษยศาสตรและสงั คมศาสตร
มหาวทิ ยาลยั ขอนแกน . 2539


Click to View FlipBook Version