The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

แม่ย่านางกับความเชื่อของชาวเรือ
โดย นางสาวผการัตน์ เต็มเปี่ยม
สาขาวิจัยศิลปะ วัฒนธรรม และการออกแบบ คณะศิลปกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search

บทความ - แม่ย่านางกับความเชื่อของชาวเรือ

แม่ย่านางกับความเชื่อของชาวเรือ
โดย นางสาวผการัตน์ เต็มเปี่ยม
สาขาวิจัยศิลปะ วัฒนธรรม และการออกแบบ คณะศิลปกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น

แม่ย่านางกับความเช่ือของชาวเรือ

บทความโดย : นางสาวผการัตน์ เตม็ เปยี่ ม รหสั 577220001-3
นักศึกษาปริญญาเอก สาขา วจิ ยั ศลิ ปะและวัฒนธรรม
คณะศิลปกรรมศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยขอนแก่น

"อย่าใหม้ นั ขดั อยา่ ให้มันขอ้ ง ให้คล่อง ให้คลอ่ ง ให้แคล้วให้แคลว้ ทุกอยา่ ง

ออกถงึ ได้พบปลาทนั ที ใหส้ มปรารถนา จะใหร้ างวัลแกแ่ มย่ า่ นาง”

วลนี ้เี ปน็ วลีค้นุ เคยกันดขี องชาวเรอื ทจี่ ะพูดกบั แม่ย่านาง ก่อนออกเรือทกุ คร้ังเจ้าของเรือจะตอ้ งนา

ดอกไม้ ธูปเทียนมาบูชาทบ่ี ริเวณหัวเรอื หรอื โขนเรอื เสมอ เพราะแมย่ ่านางจะดลบันดาลใหช้ าวเรอื หรือผเู้ ปน็

เจา้ ของเรือมโี ชคลาภ หรอื ประสบความสาเร็จตามท่ีปรารถนา ถอื ปฏิบัตสิ บื ต่อกนั มาเป็นความเชื่อท่ีมมี าตัง้ แต่

อดีตกาล

ความเชอื่ เป็นธรรมชาตทิ เ่ี กดิ ขน้ึ กบั มนษุ ย์ และ

ถือว่าเป็นวัฒนธรรมของมนุษย์อย่างหน่ึง การดารงชีวิต

ของมนุษย์ในสมัยโบราณที่มีความเจริญทางด้านวิชาการ

น้ อ ย ค ว า ม เ ช่ื อ จึ ง เ กิ ด จา ก ก า รเ กิ ด ขึ้น แ ล ะ ก า ร

เปล่ียนแปลงของธรรมชาติท่ีมนุษย์เช่ือว่าเป็นการบันดาล

ให้เกิดขึ้นจากอานาจของเทวดา พระเจ้า หรือภูตผีปีศาจ

ดังนั้นเมื่อเกิดปรากฏการณ์ต่างๆ ข้ึน เช่น ฝนตก ฟ้าร้อง

ฟ้าผ่า แผ่นดินไหว ภูเขาไฟระเบิด อุทกภัย และวาตภัย

ต่างๆ ขึ้น ล้วนเป็นส่ิงท่ีมีอิทธิพลต่อชีวิตหรือความเป็นอยู่

ของมนุษย์ ซ่ึงยากที่จะป้องกันหรือแก้ไขได้ด้วยตัวเอง

บางอย่างเป็นเหตุการณ์ท่ีอานวยประโยชน์ แต่บาง

เหตุการณ์ก็เป็นอันตรายต่อชีวิตและความเป็นอยู่ของ

มนุษย์ มนุษย์จึงพยายามท่ีจะคิดหาวิธีการที่จะก่อให้เกิด

ผลในทางทีด่ ี และเกดิ ความสขุ ให้กบั ตนเอง เพือ่ กระทาต่อ

สิ่งท่ีมีอานาจเหนือธรรมชาติเหล่าน้ัน แม้แต่การสัญจรใน

สมัยโบราณ หากเป็นทางบก ก็เดินทางด้วยเท้าเปล่าหรือ

เกวียน ส่วนทางน้าก็เดินทางด้วยเรือ เพ่ือระลึกถึงบุญคุณ

ในพาหนะทอี่ านวยประโยชน์ให้แก่ชวี ิตจึงเกิดคติความเชื่อ

ผคู้ นท่มี วี ถิ ชี ีวิตผูกพันกับเรือ ใช้เรอื เป็นพาหนะในการ เรื่อง แม่ย่านาง ขึ้นกับทุกพาหนะ และมีการสืบทอดต่อ
กันมา จวบจนปัจจุบัน ต้ังแต่ราชสานักลงมาจนถึง
ดาเนนิ ชวี ติ การคมนาคม และประกอบอาชีพ

สามัญชน

แม่ย่านาง หรือ แม่ย่านนาง เป็นคาศัพท์

เฉพาะที่ใช้เรียกส่ิงศักดิ์สิทธิ์ ชาวเรือเชื่อว่า เรือประมงมี

แม่ย่านางเรือ ซึ่งเป็นวิญญาณสถิตอยู่ประจาเรือแต่ละ

ลา แมยานางเปนวิญญาณท่ีติดมากับตนไมท่ีเอามาทา

เรือ หรือผูทาเรือบวงสรวงเช้ือเชิญมา ซึ่งชาวเรือเช่ือ

กันวาอาศัยสิงสถิตอยูกับเรือบริเวณหัวเรือหรือโขนเรือ

เรียกกันวา แมยานางเรือซึ่งเปนส่ิงท่ีสาคัญที่สุดบนเรือ

สญั ลกั ษณบ์ อกให้รวู้ ่าเรอื ลาใดมแี ม่ยา่ นาง ก็คอื ทหี่ ัวเรือ

ชาวเรอื มคี วามเชือ่ ว่า แม่ยา่ นางจะสถติ อยู่ทหี่ ัวเรือหรือ จะผูกด้วยด้ายขาว ด้ายแดงและผ้าแดง ก่อนออกเรือทุก
โขนเรือ ครั้งจะต้องบูชากราบไหว้ แม่ย่านางทุกครั้งและเซ่น
สังเวยแม่ย่านางอยู่ก่อนเสมอก่อนท่ีจะนาเรือออกทา

กิจการต่างๆชาวเรือมีความเชื่อว่าหากให้ความเคารพ

นับถือ เซ่นไหว้เป็นประจาจะทาให้เจ้าของเรือและ

ลูกเรือมีสวัสดิมงคลต่อการประกอบอาชีพ มีความสุข

และปลอดภัย แม่ย่านางจะคุ้มครองทุกคนให้

ปลอดภัยในการเดินเรือและช่วยให้หาปลาได้มากๆ

ดังนั้น การบูชาแม่ย่านางจึงเป็นความเชื่อที่ถูกปลูกฝัง

ถ่ายทอดมาตั้งแต่บรรพบุรุษ จนกลายเป็นส่วนหน่ึงที่

แนบแน่นกับวถิ ชี วี ติ ของชาวเรือมาอยา่ งยาวนาน

พรศักด์ิ พรหมแก้ว(2529) ได้ให้ทัศนะว่า

ความเชื่อเรื่องผีแม่ย่านางน้ันมีมาตั้งแต่สมัยโบราณ

เช่นเดียวกับมีความเชื่อเร่ืองเทพเจ้า ภูตผีปีศาจ หรือ

วิญญาณเร้นลับสิงสถิตในธรรมชาติ หรือส่ิงก่อสร้าง

อ่ืนๆทั่วๆไป ความเชื่อเกี่ยวกับแม่ย่ายางน้ันจะมีมาก

ในกลุ่มชาวประมงทั้งที่เป็นชาวไทยพุทธหรือมุสลิม

เน่ืองจากกลุ่มชนนี้มีวิถีชีวิตท่ีผูกพันอยู่กับเรือ ดังนั้น

ความเป็นมาของแม่ย่านางจึงมีเน้ือความแตกต่างกัน

ไปตามความเช่ือของแต่ละกลุ่ม แตล่ ะกระแสความจะ

แตกต่างกันไปบ้างก็เฉพาะในรายละเอียดเท่านั้น จะ

เห็นได้ว่าความเชื่อตามประวัติน้ีเป็นหญิงสาวชาว

อินเดีย บ้างก็เชื่อว่าเป็นหญิงสาวแต่งกายแบบไทย

โบราณด้วยสีทับทิมสด หมสไบเฉียง แต่ชาวเรือ สัญลักษณบ์ อกใหร้ ู้วา่ เรอื ลาใดมแี ม่ยา่ นาง ก็คือ ทห่ี ัวเรือจะผกู
ส่วนมากจะมคี วามเชือ่ ตรงกันว่ามีผีแม่ย่านางอยูจ่ ริง ด้วยดา้ ยขาว ดา้ ยแดง ผา้ สามสีหรอื ผา้ เจด็ สี เพอ่ื แสดงความ
เคารพแกแ่ มย่ า่ นางและเพื่อเสรมิ สิรมิ งคลใหแ้ ก่เรือ
ความเชื่อเก่ียวกับประวตั ิของแม่ยา่ นางเรอื

ชญานี ประกอบชาติ(2552) กล่าวว่าความเชื่อเร่ืองแมยานางเรือ มีการสืบทอดต้ังแตบรรพบุรุษ มา

จนถึงปจจุบัน เมื่อมนุษยมีความเช่ือในส่ิงใดก็มักจะสรางเร่ืองราวข้ึนประกอบความเช่ือนั้น ดวยเหตุน้ีประวัติ

ของแมยานางจึงมหี ลายกระแสความทง้ั ในเชงิ เทพนิยายและเชงิ วทิ ยาศาสตร ดงั นี้

เชิงเทพนยิ าย
ในสมัยกอนชาวเรือมีความเช่ือกันวาทุกสิ่งทุกอยางบนโลกรวมทั้งมนุษยเกิดจากพระอินทรเปนผูดล
บันดาลใหเกิดขึ้นมาและกาหนดชะตาของมนุษย เม่ือมนุษยไดรับความเดือดรอนจึงตองรองทุกขไปยังพระ
อินทรบนสวรรค ซ่ึงพระองคจะรับรูไดจากที่ประทับของพระองค จะแข็งกระดางข้ึนเอง และพระองคจะชวย
คลายความทุกขของมนุษยใหหมดสิ้นไป แตเม่ือมนุษยมาเกิดมากขึ้น ความเดือดรอนก็มากขึ้นเชนกัน ทาให
พระอินทรหมดความอดทนเนื่องจากปญหาของมนษุ ยมากเกินที่พระองคจะชวยไดอยางทั่วถึง ในขณะเดียวกัน
นางฟาตนหนึง่ ก็ไดรับทราบถึงปญหาและความเดือดรอนของมนุษย ดวยจิตใจเมตตาและอยากจะชวยปดเปา
ความเดอื ดรอน ของมนุษยใหหมดสน้ิ ไป พระอินทรจึงสงนางฟาองคน้ีใหมาเกิดในโลกมนุษย ซึง่ จะเปนผูที่คอย
ปดเปาความทุกขของมนุษยแทนพระอินทร โดยนางฟาองคน้ีไดไปเกิดเปนหญิงสาวชาวอินเดีย ท่ีมี
ความสามารถพิเศษในการจาความในชาติกอนของตนเองได เวลาผานลวงเลยมาหญิงสาว ชาวอินเดียผูน้ีไดมี
โอกาสทองเท่ียวไปในมหาสมุทรดวยเรือประมง คร้นั ถงึ เวลากลับเขาฝงก็เกิดพายโุ หมกระหํน่าอยางรุนแรงเกิน
ที่เรือประมงจะตานคล่ืนํน้าของทองทะเลไดและจวนจนลมเต็มที อกี ท้ังยังพัดพาเอาเรือหลงทาง เหลาบรรดาผู
ท่ีรวมเดินทางมากับหญิงสาวชาวอินเดียตางก็พากันกลัวตาย และพากันรองขอใหหญิงสาวชาวอินเดียผูน้ันช
วยออนวอนใหพระอินทรชวยเหลือพวกตน นางก็รับปากและขอความชวยเหลือไปยังพระอินทร ซึ่งพระอินทร
ใหความชวยเหลอื โดยมีเง่ือนไขวาจะตองแลกชวี ิตของนางกับความปลอดภยั ของทุกคนในเรือ โดยใหชวี ิตของ
นางแกเรือและอาศัยอยูกับเรือตลอดไป ดวยความเมตตาของนางจึงยอมแลกชีวิตใหแกเรือ ทันใดนั้นรางของ
นางก็หายวับไปทางหัวเรือ และคลื่นลมก็สงบลงไปพรอมกับรางของนาง ทุกคนบนเรือรอดชีวิตและเรือก็
เดินทางกลับไดโดยปลอดภัย หลังจากน้ันนางก็เขาฝน ใหผูที่รวมเดินทางรับรูวานางเปนผูที่คอยพิทักษเรือให
ปลอดภัยและนาโชคมาสูเรือ จึงขอใหบูชาเซนสรวงนางและนางก็จะคอยพิทักษรักษาเรืออื่นๆทุกลาที่บูชา
นางดวย ต้ังแตนน้ั มาความเชือ่ เรอื่ งแมยานางประจาหัวเรอื กเ็ ช่อื สืบตอๆกนั มาถึงปจจุบนั
เชิงวิทยาศาสตร
ชาวเรือในสมัยกอน กอนที่จะลากเรือลงํน้าจะตองใชเชือกเถาวัลยที่ใชพันตนตะเคียนดึงหัวเรือใหเรอื
เคล่ือนที่ เชือกเถาวัลยเรียกกันวาเชือกยานาง เม่ือใชเชือกยานางดึงหัวเรือ บอยๆเขา จึงเรียกบริเวณหัวเรือ
เปนยานาง อีกท้ังไมท่ีนามาใชทาเรือนั้นมักจะใชไมตะเคียน ซึ่งชาวบานมีความเชื่อกันวาไมตะเคียนเปนไม
ศักดิ์สิทธ์ิที่มีผีตะเคียนสิงสถิตอยู ทาใหความเช่ือเก่ียวกับเรื่องผียังคงติดมากับเรือดวย ซึ่งเรียกช่ือไปตามช่ือ
ของเถาวัลยทใ่ี ชพนั หัวเรือเปนผียานางหรือผแี มยานาง
จากความเช่อื ท้ังในเชิงเทพนิยายและเชิงวทิ ยาศาสตร์ มีสงิ่ ทีเ่ หมอื นกันอยู่ น่นั คือ ท้งั สองความเช่ือนั้น
เช่ือเหมือนกันว่ามีวิญญาณอยู่บริเวณหัวเรือหรือโขนเรือ เป็นวิญญาณผีผู้หญิงที่จะบันดาลโชคลาภหรือความ
หายนะมาสู่เรือได้ จึงมีแนวปฏิบัติในขณะอยู่บนเรือ เพื่อให้การเดินเรือเป็นไปอย่างราบร่ืนปลอดภัยและทามา
หากินประสบความสาเร็จ เจรญิ รุ่งเรือง
ความเช่อื เร่อื งขอ้ หา้ มเกี่ยวกับแม่ยา่ นางเรือ
ชาวเรือมีข้อห้ามปฏิบัติเพื่อเป็นการเคารพแม่ย่านางเรือและยังเป็นกลอุบายที่แฝงไว้เพื่อความมี
ระเบียบวินัยของชาวเรือและความปลอดภัยของคนที่อยู่ในเรือ ซึ่งชาวเรือทุกคนจะต้องปฏิบัติอย่างเคร่งครัด
ทสี่ ดุ มขี อ้ หา้ มดังตอ่ ไปน้ี
- ห้ามทะเลาะ ดา่ ทอกันขณะอยใู่ นเรือ
- หา้ มทาใหเ้ รอื สกปรก รกไปด้วยสิ่งปฏกิ ูล
- ห้ามดืม่ สุราก่อนออกเรือ หรือขณะอยบู่ นเรอื
- ห้ามเลน่ การพนนั ทุกชนิดบนเรือ

- ห้ามเสพสังวาส (ร่วมเพศ) ในเรอื

- ห้ามใส่รองเท้าในเรอื

- หา้ มเหยยี บโขนหวั เรือ

- หา้ มนาสง่ิ ของใด ๆ วางทีห่ ัวเรือ

- ห้ามลบหลู่ ดหู มิ่นเรอื ลาอ่ืน ๆ

- หา้ มลักขโมยสง่ิ ของบนเรือ

- ฯลฯ

การถือปฏิบัติตามข้อห้ามต่างๆ อย่าง

เคร่งครัดก็เพื่อเป็นการป้องกันมิให้แม่ย่านางเรือ

โกรธและเป็นการแสดงความเคารพ นอกจากข้อ

ห้ามตา่ งๆแลว้ นน้ั การเซน่ สรวงบูชาแม่ยา่ นางเรือก็

ถอื เป็นสิ่งสาคญั และขาดมิได้เชน่ กัน (สุรชยั ฉายศิร

พันธ์,2539) แม้ผู้ท่ีไม่ค่อยมีความเชื่อเร่ืองแม่

ย่านางเรือก็ไม่กล้าที่จะเมินเฉย จะต้องปฏิบัติ

เช่นเดียวกัน จนกลายเป็นประเพณี หรือ พิธีกรรม

อย่างหนึ่งของชาวเรอื ไปแลว้

ความเชื่อเรอ่ื งพิธกี รรมเกยี่ วกับแม่ยา่ นางเรือ

สว่ นของหวั เรือหรือโขนเรอื จะตอ้ งติดตง้ั อยา่ งแขง็ แรง พิธีบวงสรวงเซ่นไหว้ แม่ย่านาง เรือ
ท่ีสุด เนอ่ื งจากเปน็ สว่ นที่จะรองรบั แรงกระแทกจากคลืน่ ชาวเรือนิยมเซ่นสรวงบูชา ตั้งแต่เริ่มต้นการสร้าง
เรอื (ต่อเรือ-ขดุ เรือ) ตอ้ งดูฤกษ์งามยามดี ก่อนท่จี ะ
หรือการชนกับสงิ่ ตา่ ง ๆ ท่ีอาจเกดิ ขน้ึ ได้ นาเรือลงสู่แม่น้าครั้งแรก และระหว่างออกเรือทา

กิจการต่างๆ เชอื่ ว่าจะนาโชคชยั มาสู่เรือ และทาให้

กิจการประสบความสาเรจ็ ด้วยดี การเซ่นสรวงบูชา

แม่ย่านางเรือกระทาได้หลายโอกาส เช่นการออก

เรือคร้ังแรก ซ่ึงถือว่าสาคัญมาก บ้างก็เชิญหมอมา

ทาขวัญเรือ มีการบูชาด้วยอาหารต่างๆ มีข้าว แกง

ขนมต่างๆ และเอาผ้าแดงต่างว่าเป็นสีทับทิมสดมา

ผูกที่หัวเรือ มีการจุดธูปบูชา จุดประทัดและ

ประพรมน้าจันทน์บริเวณหัวเรือและเอาน้าลูบหัว

เรือเพื่อปลุกให้แม่ย่านางตื่น ซึ่งจะได้คอยพิทักษ์

การเซ่นสรวงบชู าแมย่ ่านางเรอื ดว้ ยผลไม้ตา่ งๆ ดอกไม้ ธูป รักษาเรือ โดยเชื่อว่าถ้าทาเช่นนั้นจะทาให้มีโชคชัย
เทียน พวงมาลัยดอกไม้ และมผี ้าสามสี สาหรบั ผูกหวั เรอื และถ้าไม่ทาเช่นน้ันจะมีความหายนะแก่ลาเรือของ
หรอื โขนเรอื เพอ่ื เป็นสิรมิ งคลแก่เรอื ของตน ตนได้ (พรศักด์ิ พรหมแก้ว,2529)

ทัศนีย์ ทานตวนิช(2535) ได้กล่าวถึงการ

ไหวแ้ มย่ า่ นาง ของชาวเรือ สรปุ ได้วา่ การไหว้แม่ย่านางเรือของชาวเรือจะกระทาในโอกาสต่างๆ ดังนี้

1. ทกุ คร้ังที่จะออกเรือ

2. ทกุ วนั พระ บางรายไหวเ้ ฉพาะวันขึ้น 15 ค่า

3. วนั ตรษุ จนี

4. วันสงกรานต์ของชาวเรือ ซ่งึ มักจะจดั หลงั วันท่ี 13 เมษายน ประมาณ 5-10 วัน (ส่วนมากจัดวันท่ี
19 เมษายน)

เคร่ืองบูชาแม่ย่านาง ได้แก่ ไก่ตัวผู้ ๑ ตัว เหล้า ๑ ขวด หัวหมู ๑ หัว ขนมโค (ขนมต้มขาว) ขนมถ่ัว
ขนมงา กล้วย ผลไม้อ่ืน ๆ ตามแต่จะหาได้ ปลามีหัวมีหาง ข้าวแกง แก้วเหล้า แก้วน้า ส่ิงเหล่าน้ีเตรียมใส่
ภาชนะให้เรียบร้อย แล้วเอาผ้าแดง ด้ายแดง ด้ายขาว ผูกหัวเรือ ใช้ธูป ๙ ดอกจุดไฟ พร้อมกับออกช่ือแม่
ย่านาง โดยกล่าวเชิญมารับเคร่ืองเซ่น เครื่องบูชา ขอให้ช่วยคุ้มครองป้องกันอันตรายทุกอย่างและช่วยนาโชค
ลาภมาให้ นอกจากการจัดเคร่ืองบูชา เคร่ืองเซ่นแม่ยา่ นางแล้ว จะตอ้ งจัดอาหารให้แก่บรวิ ารแมย่ ่านางอีกส่วน
หนึ่งด้วย โดยไม่รวมกับของแม่ย่านาง หลังจากน้ันตอ้ งจุดประทัด แล้วรีบเบ่ียงหัวเรือออกทะเล อาหารท่ีเหลือ
จากการบูชาแม่ย่านางแบ่งให้พรรคพวกบนเรือรับประทานก็เป็นอัน เสร็จพิธี ถ้าเจ้าของเรือเป็นคนจีน เคร่ือง
บูชาโดยเฉพาะไก่ ต้องนาไกเ่ ป็นลงไปในเรือ ใช้มีดเชอื ดคอไก่ รองเอาเลือดราดหวั เรือไปจนตลอดท้ายเรือ แล้ว
นาซากไก่ทิ้งน้า หา้ มเกบ็ ไปปรงุ เป็นอาหารรับประทานโดยเด็ดขาด
บทสรปุ

ความเช่ือเก่ียวกับแม่ย่านางเรือน้ัน เป็นความเช่ือท่ีสืบทอดมาต้ังแต่บรรพบุรุษจนถึงปัจจุบัน อยู่คู่กับ
ชาวเรือมาอย่างยาวนานและเหนียวแน่น ย่อมแสดงให้เห็นว่าความเช่ือเร่ืองแม่ย่านางเรือนั้น มีคุณค่า มี
ความหมายต่อการดาเนินชีวิตของชาวเรือ ความเชื่อจึงเป็นกลไกท่ีสาคัญในการกล่อมเกลาสังคม และการ
ควบคุมดูแลสังคม โดยผ่านพิธีกรรม ตานานหรือข้อห้ามข้อปฏิบัติต่างๆของชาวเรือ ถึงแม้ว่าความเข้าใจใน
ความหมายอนั แทจ้ ริงของพิธีกรรมเหล่าน้ี จะมีการคลาดเคลือ่ น หรือปรับเปลยี่ นรปู แบบไปบ้างตามยุคสมยั แต่
ก็เป็นส่ิงแสดงให้เห็นว่า สิ่งใดๆก็ตาม หากยังคงดารงอยู่สืบเนื่องได้ยาวนานน้ันย่อมต้องผ่านการทดสอบมา
หลายยุคหลายสมัย สามารถตอบสนองและสอดคลอ้ งวิถีชีวติ สภาพความเป็นอยู่ของชมุ ชน สังคมนั้นๆ ได้เป็น
อย่างดี ความเช่ือในเร่ืองแม่ย่านางเรือนี้จึงมีพลังอานาจในการควบคุมพฤติกรรมของชาวเรือ และเป็น
ตัวกาหนดความสัมพันธ์ของชาวเรือกับเรือ ชาวเรือกับธรรมชาติ และชาวเรือกับส่ิงท่ีเหนือธรรมชาติ ก็เพื่อ
ความปลอดภัยและเป็นศิริมงคลของคนที่อยู่ในเรือ และผู้ท่ีจะลงโดยสารบนเรือควรทราบไว้ถึงข้อปฏิบัติ ไม่
ควรลบหลู่ความเชือ่ ของชาวเรือในเรื่องนี้

____________________________________________________________________

เอกสารอา้ งอิง

ชญานี ประกอบชาติ(2552).พธิ ีกรรม การบชู าแมย่ ่านางเรือในกลมุ่ ชาวประมงพ้ืนบา้ นตาบลปากนา้ ปราณ อาเภอปราณบรุ ี

จังหวดั ประจวบคีรขี ันธ์ .ปรญิ ญาศิลปศาสตรบณั ฑติ . มหาวิทยาลัยศิลปากรวิทยาเขตสารสนเทศเพชรบรุ ี

ทัศนยี ์ ทานตวนชิ (2535). ความเชือ่ และพิธกี รรมของชาวประมงชายฝั่งทะเลตะวันออก.ม.ป.ท.

พรศกั ดิ์ พรหมแก้วและคณะ(2529). “แม่ย่านาง”ใน สารานกุ รมวฒั นธรรมภาคใต้ เล่ม7

พรศกั ดิ์ พรหมแก้วและคณะ(2539).ความเชือ่ พธิ กี รรมและวฒั นธรรมทีเ่ ก่ียวข้องกบั แมย่ ่านางของชาวประมง ในอาเภอเมอื ง

สงขลา จังหวัดสงขลา.ปริญญานิพนธ์ ศิลปศาสตรมหาบณั ฑติ วชิ าเอกไทยคดศี ึกษา.มหาวิทยาลัยศรนี ครินทรวิโรฒ

ภาคใต้

การศกึ ษา. (2551). แมย่ ่านาง ความเช่อื ของชาวประมง. สืบค้นวันที่ 22 พ.ค.2558, เข้าถงึ ขอ้ มลู ไดจ้ าก

http://www.kanzuksa.com/Radio.asp?data=54

หลวงไก่ วดั ดอนรวบ.(2556). ปาฏิหารยิ ์ แม่ยา่ นาง. สืบค้นวันท่ี 22 พ.ค.2558, เขา้ ถงึ ขอ้ มูลไดจ้ าก
http://mayanang.blogspot.com/

อะหน่ึง Oknation.(2551). แมย่ า่ นางเรอื ของชาวเล และ แม่บังเกดิ เกลา้ ของชาวลกู . สบื ค้นวนั ที่ 22 พ.ค.2558, เข้าถงึ
ข้อมลู ไดจ้ าก http://www.oknation.net/blog/print.php?id=244000


Click to View FlipBook Version