The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

นางอัปสรา : นาฏยลักษณ์จากภาพศิลาจำหลักประติมากรรมจามโบราณ

บทความโดย บุญจันทร์ เพชรเมืองเลย
สาขาวิจัยศิลปะ วัฒนธรรม และการออกแบบ
คณะศิลปกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search

นางอัปสรา : นาฏยลักษณ์จากภาพศิลาจำหลักประติมากรรมจามโบราณ

นางอัปสรา : นาฏยลักษณ์จากภาพศิลาจำหลักประติมากรรมจามโบราณ

บทความโดย บุญจันทร์ เพชรเมืองเลย
สาขาวิจัยศิลปะ วัฒนธรรม และการออกแบบ
คณะศิลปกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น

นางอัปสรา : นาฏยลักษณจากภาพศลิ าจาํ หลักประตมิ ากรรมจามโบราณ

บุญจนั ทร เพชรเมอื งเลย

อาณาจักรจามปาโบราณต้ังอยูบริเวณตอนกลางชายฝ!งทะเลของประเทศเวียดนามปจจุบัน
ในประวัติศาสตรจามปานับต้ังแตบทบาทของศิลปวัฒนธรรมอินเดียแพรเข,ามารวมพุทธศตวรรษท่ี 10-11
จามปาต,องทําสงครามกบั เขมรทางตะวันตกและเวียดนามทางเหนือตลอด ในท่ีสุดจามปาก็ถูกกลืนโดยชนชาติ
ทมี่ ีวัฒนธรรมแบบจีนและ เวยี ดนาม จึงทาํ ให,ศลิ ปะจามปาจงึ มีลักษณะคล,ายทางอนิ เดียและสายจีนมาก ที่เห็น
เดนชัดที่สุด คือ ประติมากรรมในงานสถาปตยกรรม อาจกลาวได,วาลักษณะเดนท่ีสุดของจามปา คือ ศิลปะ
ด,านประติมากรรม นัน่ เอง (สุรสวสั ดิ์ ศุขสวสั ด์ิ, 2543)

ประติมากรรมของจามนั้นมีอยูหลากหลายชนิด แตที่เปAนเอกลักษณของประติมากรรมจาม ท่ีมีแนว
การสร,างที่ไมมีแม,แตในอินเดีย คือ การสร,าง ศิวลึงคศิลาบนฐานโยนีทรงกลม แล,วรองรับด,วยฐานสี่เหล่ียม
อีกชั้นหน่ึง เรียกวา เปAนศิลปะแบบจาเก่ียว มีอายุในราวพุทธศตวรรษที่ 15 ถึง 16 ท่ีรอบฐานส่ีเหลี่ยม
ทางหน่ึงสลกั เปAนภาพนนู ต่าํ เปAนนางอปั สรกาํ ลังรายราํ (พพิ ิธภณั ฑประตมิ ากรรมจามเมอื งดานัง, 2551)

ภาพท่ี 1 ศลิ ปะแบบจาเกยี่ ว

จากภาพท่ี 1 จะเห็นได,วา นางอัปสรามีความสําคัญมากตอศิลปะในยุคจามปามาก ซ่ึงนางอัปสรา
มีประวัติเร่ืองราวอยูวา นางเกิดมาจากการกวนเกษียรสมุทรตามคัมภีรวิษณุปุราณะมีนาม อ่ืน ๆ อันได,แก
สุรสุนทรี วิทยาธรี สุรางคนาง (เมียเทวดาท่ัวไป) สมุทาตมชา (สตรีผู,เต็มไปด,วยความมัวเมาหรือในความ
เพลิดเพลนิ ) นางอปั สราเปนA เทพฝIายสตรชี ้นั ลาง เปAนสตรที ม่ี ีความงดงาม ประดบั ประดาด,วยเคร่ืองทรงที่วิจิตร
แตไมมีเทวดาหรอื อสรู ตนรับเปนA คคู รอง พวกนางจึงทําหน,าท่ีสร,างความร่ืนรมยบนสวรรค ขับกลอมดนตรีและ
บําเรอกามแกเทวดาทั้งหลาย นอกจากความงามที่ชายใดได,พบจนคล่ังไคล,แล,ว ในคัมภีรอถรรพเวทยังมีมนต
แก,การลุมหลงมัวเมาในการพนันอันเกิดจากนางอัปสราอีกด,วย อาจกลาวได,วานางอัปสราเปAนเทพที่มีความ
งดงามมาก แตกลับมีชอื่ เสียงแงลบวาความลมุ หลงมวั เมาตางลว, นเกิดจากมนตราของนางอัปสราท้ังสนิ้
(พลอยชมพู ปุณณวานชิ ศิริ, 2556)

เปAนไปได,หรือไมวาด,วยอัตลักษณทารายรําของนางอัปสราท่ีปรากฏอยูบนภาพจําหลักของฐานโยนี
หรือตามสถาปตยกรรม อื่น ๆ ในเวียดนามก็ตามทําให,เกิดแนวคิด การเลียนแบบชุดการแสดง ที่เกี่ยวข,องกับ
นางอัปสราข้ึนเรียกวา ระบํานางอัปสรา ซ่ึง เครือจิต ศรีบุญนาค และคณะ (2553) ได,ศึกษาวิจัยเก่ียวกับ
การผสมผสานทางวัฒนธรรม และได,ศึกษาพบระบําอัปสรา ในเวียดนามใต, และพบระบําอัปสราจาม ที่มีการ
ผสมผสานทางวัฒนธรรมที่ผานกระบวนการขัดเกลาทางสังคมและวัฒนธรรม เปAนงานสร,างสรรคท่ีนํา
วัฒนธรรมเดิมผานระบบคิดสร,างวัฒนธรรมให,มีชีวิต เชน ระบําอัปสราของกัมพูชา ซึ่งเปAนพื้นท่ีที่พบ

สถาปตยกรรมขอมโบราณที่เช่ือมโยงเข,าสูระบบการศึกษา มีการพลิกฟLMนวัฒนธรรมความเช่ือเดิมให,สอดคล,อง
กบั วิถชี ีวิตของคนในท,องถ่ิน เพ่ิมความสัมพันธท่ีดีในชุมชนมีผลตอด,านเศรษฐกิจ การปกครอง และวัฒนธรรม
ทน่ี าํ ภาพศิลาจาํ หลักนางอัปสราของจามโบราณ มาประดษิ ฐเปนA ลักษณะการแสดงเฉพาะ เรยี กวา
“นาฏยลักษณ”
เปรยี บเทยี บท!ารําจากภาพศิลาจําหลักนางอปั สรา กับทา! รําระบําอปั สรา

ภาพที่ 2 ทารํา มอื ซ,ายไปทางขวาของลําตวั มือขวาหักขอ, ศอก งอเขายอตวั ลงของนางอัปสราทีพ่ ิพธิ ภณั ฑ
ประตมิ ากรรมจามนครดานงั และทาราํ ตัวเอกในระบํานางอัปสราทีเ่ วทกี ารแสดงของกอนเข,าชม
ปราสาทหนิ หม่เี ซิน

ภาพที่ 3 ทารํา เรียงตัวซ,อนกัน ยกแขน งอศอกของนางอปั สราทพี่ พิ ิธภณั ฑประติมากรรมจามนครดานัง และ
ทาราํ ตวั เอกในระบํานางอัปสราทเ่ี วทีการแสดงของกอนเข,าชมปราสาทหนิ หมี่เซนิ






Click to View FlipBook Version