The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

พระธาตุยาคูแห่งเมืองฟ้าแดด : ประเพณี ความเชื่อต่อศิลปะทวารวดีบนแผ่นดินอีสาน

บทความโดย สาขาศิลปะ วัฒนธรรม และการออกแบบ คณะศิลปกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search

พระธาตุยาคูแห่งเมืองฟ้าแดด : ประเพณี ความเชื่อต่อศิลปะทวารวดีบนแผ่นดินอีสาน

พระธาตุยาคูแห่งเมืองฟ้าแดด : ประเพณี ความเชื่อต่อศิลปะทวารวดีบนแผ่นดินอีสาน

บทความโดย สาขาศิลปะ วัฒนธรรม และการออกแบบ คณะศิลปกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น

พระธาตยุ าคแู หงเมอื งฟา แดด : ประเพณี ความเชือ่ ตอศลิ ปะทวารวดบี นแผนดนิ อสี าน

ภาคอสี านเปนทรี่ าบสงู ท่ถี ูกยกตัวขึ้นทาํ ใหเ กดิ ขอบสงู ทางดา น ทศิ ตะวนั ตกและดานใต

ของภูมภิ าค แลวพืน้ ท่ี จะคอยๆลาดเอยี ง เขา สูตอนกลางและตะวันออกของภมู ิภาคในท่สี ุด

สว นบรเิ วณตอนกลาง จะมีแองแบบกะทะหงาย (Syncline) สองแอง ใหญคือ แองโคราช (Korat Basin)

และ แองสกนคร (Sakonnakhon Basin) โดยมีเทอื กเขาภพู านเปน แนวกั้นระหวา งแองทง้ั สอง

พ้ืนทภ่ี ายในภมู ิภาคสว นใหญจ ะเปนทรี่ าบดอนตื้น (Rolling Plain) ทถ่ี ูกนา้ํ ทวมในฤดฝู น และแหง แลง

ในฤดแู ลง (อดศิ ักดิ์ โสมอินทร. 2525 ) พิสิฐ เจรญิ วงศ ไดกลา วถึงความเปน มาของอีสานวา

อสี านเปนดินแดนเกา แกที่มีความเจริญทางวัฒนธรรมมาชานานตง้ั แตยุคกอนประวตั ิศาสตร ดังจะเห็น

ไดจ ากการพบซากเมืองโบราณและมีโบราณวตั ถปุ รากฎอยทู ่วั แผน ดนิ แหงนี้ การศกึ ษา และวิจยั ของ

นักโบราณคดีและนักประวัติศาสตรไ ดพบวา ชุมชนกอ นประวตั ิศาสตรใ นอสี านรจู ัก การผสมหลอ โลหะ

มาใชไ มต่ํากวา 3,600 ปมาแลว(พสิ ฐิ เจริญวงศ.2521) โดยศรศี กั ร วลั ลโิ ภดม ไดก ลาววา

ชุมชนโบราณสวนใหญที่ตง้ั อยูตามแมน าํ้ โขง แมนาํ้ มูลและแมน้ําชี นัน้ มี วัฒนธรรม ทีป่ รากฏเดนชดั

ในพทุ ธศตวรรษท่ี 12-16 ซ่งึ เปน ยุคหวั เลีย้ วหัวตอ ของสมยั ประวตั ศิ าสตรอ ีสาน

และจากหลักฐานทางโบราณคดสี ามารถสรปุ ไดวา วฒั นธรรมที่ไดรับ อิทธิพลจากขอมในเขตอีสานใต ไดแ ก

อุบลราชธานี สรุ ินทร ศรสี ะเกษ ซ่ึงปรากฏในรปู ของเทวสถาน ศวิ ลงึ คแ ละโคนนทิ

สวนวัฒนธรรมท่ปี รากฏในบริเวณจังหวดั กาฬสินธุ ขอนแกน ชัยภมู นิ น้ั ไดร บั เอา วฒั นธรรมแบบ ทวารวดี

มาจากภาคกลางของไทย โดยปรากฏหลักฐานซึง่ เปนศลิ ปกรรมในพุทธศาสนา

เชน พระพุทธรปู และใบเสมาหนิ ตอมาราวพทุ ธศตวรรษที่ 20-21 วฒั นธรรมท้ังสองสายก็ผสมผสานกัน

(ศรศี ักร วัลลโิ ภดม.2533) จากหลกั ฐานการคนพบใบเสมาหินท่ี อําเภอกมลาไสย จงั หวัดกาฬสินธุ

สอดคลองกบั คํากลาวของศรีศกั ร วัลลิโภดม โดย ศักดชิ์ ยั สายสิงหขยายความวา ศนู ยกลางของศลิ ปะ

ทวารวดีในเขตอีสานเหนือคือ เมืองฟา แดดสงยาง ซ่งึ เปนเมืองทม่ี ีคูนาํ้ คนั ดินลอ มรอบลักษณะเดยี วกบั

ภาคกลางของไทย และพบหลักฐานดายศิลปกรรมทสี่ าํ คัญคือใบเสมาสลกั ภาพเลาเร่ืองในพุทธศาสนา

(ศักดช์ิ ัย สายสิงห. 2547) เมืองฟา แดดสงยาง ตง้ั อยูใ นเขต ตําบลหนองแปน หางจากตัวจังหวัด 19

กิโลเมตร ตามทางหลวงหมายเลข 214 ( กาฬสนิ ธุ – รอ ยเอ็ด )ระยะทาง 13 กิโลเมตรถงึ อําเภอกมลาไสย

เล้ยี วขวาตามทาง หลวงหมายเลข 2367 ระยะทาง 6 กโิ ลเมตร แลว เล้ยี วขวา เขา ซอย อีกประมาณ 400

เมตร เมอื งฟา แดดสงยางหรอื ที่เรียกเพ้ียนเปน ฟา แดดสงู ยาง บางแหง เรียก

เมอื งเสมาเน่อื งจากแผนผงั ของเมืองมีรูปรางคลายใบเสมา เปนเมืองโบราณที่มคี นั ดนิ ลอมรอบ 2 ชั้น

ความยาวของคันดินโดยรอบประมาณ 5 กโิ ลเมตร คนู าํ้ จะอยตู รงกลางคนั ดนิ ทั้งสอง จาก หลกั ฐาน

โบราณคดีท่คี น พบ ทาํ ใหทราบวา มีการอยอู าศัยภายในเมอื งมาตง้ั แตสมยั กอ นประวตั ศิ าสตร

แลวไดเ จรญิ รงุ เรืองมากขน้ึ ในสมัยทวารวดีราวพุทธศตวรรษท่ี 13 -15 ดังหลักฐานทางพทุ ธศาสนา

ท่ีปรากฏโดยทัว่ ไปทั้งภายในและนอกเมือง เชน ใบเสมาหนิ ทราย จาํ หลักภาพเรือ่ งชาดก

และพทุ ธประวัตจิ ํานวนมากบางสวนเกบ็ ไวท ี่วัดโพธชิ์ ยั เสมารามซ่ึงอยภู ายในเมืองบางแหง อยใู น

ตําแหนงด้ังเดิมท่พี บ และบางสว นก็นําไปเก็บรกั ษาและจัดแสดงที่พิพิภัณฑสถานแหงชาติ ขอนแกน

นอกจากนัน้ ยงั มีซากศาสนสถานกระจดั กระจายอยทู ัว่ ไปภายในเมืองและนอกเมือง เชน พระธาตยุ าคู

และกลุมเจดยี บริเวณศาสนสถานที่โนนวดั สงู โนนฟา หยาด และโนนฟาแดด กรมศิลปากร

ไดป ระกาศขึ้นทะเบียนเมอื งฟาแดดสงยางเปน โบราณสถานเม่ือวันท่ี 27 กันยายน 2479

ในชือ่ ทมี่ าของคําวา เมอื งฟา แดดสงยางนนั้ ไมม หี ลักฐานใดๆ ที่กลาวถึงชอ่ื เดมิ ของเมอื งโบราณแหง น้ี

การเรยี กเชอ่ื เมืองโบราณแหงน้ีจึงอนโุ ลมเรยี กตามชื่อในตํานานทองถิ่นผนวกกบั ลกั ษณะเดน ของหมู

บานคอื ตน ยางสูงใหญเปนเมอื งฟาแดดสงยางหรือฟาแดดสงู ยาง ซ่งึ อาจกอใหเ กดิ ความเขา ใจผดิ

ท่ีมไิ ดศ กึ ษา เฉพาะดานทคี่ ดิ วา ตาํ นานทองถน่ิ ประเภทอธบิ ายเหตุเปนเร่ืองจริงในประวัติศาสตร

(สาํ นักเทศบาลตําบลหนองแปน.2553)

ทวารวดที ่ีเมอื งฟา แดด

ความสาํ คัญของเมอื งฟา แดดน้ันเก่ยี วขอ งโดยตรงกับศลิ ปะสมัยทวารวดเี น่ืองจากมหี ลักฐาน
หลายอยาง ท่ีบง ชวี้ า เมืองฟาแดด เคยไดรับอทิ ธพิ ลสมยั ทวารวดี โดยศกั ดช์ิ ยั สายสิงห ไดศ ึกษา
อารยธรรมทวารวดีวา “ทวารวดี”เปนภาษาสนั สกฤตแปลวา ประกอบดวยประตู ซง่ึ อาจหมายถึงเมืองทา

และอาจเทยี บไดก บั คําวา ทวารกา ซ่งึ เปน เมืองของพระกฤษณะในเร่ือง มหาภารตะ นอกจากน้ี “ทวารวดี”
อาจหมายถึงอาณาจกั รหนึง่ ของภาคกลาง ทง้ั นที้ ุกอยางยังไมไ ดข อสรุป แตน ักวชิ าการก็

ยอมรับและใชค ําวา “ทวารวดี”กนั อยตู ลอดมา นอกจากนี้ ในป พ.ศ. 2427 แซม มวล บลี (Samuel Beal)
ยังไดแปลบนั ทึกของภิกษเุ หยี้ นจัง(Hiuan Tsang)หรือทร่ี ูจกั กนั ดีในนามพระถงั ซัมจ๋งั ซงึ่ เดนิ ทาง

ไปสบื ศาสนาในอินเดีย โดยทางบกในป พ.ศ. 1172 และกลับจีนในป พ.ศ. 1188 เอกสารเลมนี้ช่อื วา
“Siyuki : Buddhist records of Western world” โดยบันทึกไดก ลา วถึงหลกั ฐานท่เี ก่ียวกบั ดนิ แดนที่อยู

ระหวางพมา กบั เขมร คือบรเิ วณภาคกลางของไทย ปรากฏชอื่ โถ-โล-โป-ตี ซงึ่ นกั วิชาการตีความวา เปน
ชอื่ ของอาณาทีต่ รงกบั ภาษาสนั สกฤตวา จักรทวารวดี (Samuel Beal.1884) สอดคลองกบั การศึกษาใน

ป พ.ศ.2447 นายปอล เปลลิโยต( Pual Pelliot)นกั โบราณคดชี าวฝรั่งเศส ไดศ กึ ษาเรอ่ื งประวตั ิศาสตร
ราชวงศถ ัง (Siu T’ang Chou) โดยกลาวถึงชอ่ื อาณาจักรหนึ่งคอื ฉวนโลโปตี (Tchouan-lo-po-ti)

และในประวัติศาสตรเ กา สมัยราชวงศถงั (Kian T’ang Chou) มชี ื่อ โถ-โล-โป-ตี ซ่งึ ตรงกบั ทวารวดี
และยังต้งั อยใู นทีร่ าบลุมนํา้ เจา พระยานอกจากน้ีนายเปลลิโยตยังไดเสนอวา ชาวพืน้ เมืองทเี่ ปน เจา ของ

วฒั นธรรมนี้คอื คนมอญ - เขมรเพราะพบบันทึกมากมายเปนภาษามอญและเขมร(Paul Pelliot.1904)

แตจ อง บัวเซอลีเย มคี วามเหน็ ท่ีตา งออกไปวา ศลิ ปทวารดีมใิ ชของอาณาจกั รใดอาณาจกั รหนึง่ โดยได

ใหค วามเหน็ ไววา ทางทศิ ตะวันออกศิลปะทวารวดี ไดแ ผข ยายไปไกลจนถึงดนิ แดนแถบ จังหวดั เพชบรู

(เมือศรีเทพ) จงั หวัดกาฬสนิ ธุ (เมอื งฟาแดดสงู ยาง) และจงั หวัด ปราจนี บุรี (ดงศรีมหาโพธิ)

ตลอดจนกระทง่ั ลงไปทางทศิ ใต( ทเี่ มอื งไชยา จังหวัดสุราษฎรธานี และจังหวดั นครศรีธรรมราชฯลฯ)

การท่ีศิลปะทวารวดไี ดแ ผขยาย ออกไปไกลเชนนั้นก็มไิ ดห มายความวา ดนิ แดนอนั กวางขวาง เหลานี้ตกอยู

ภายใตก ารปกครองของอาณาจักรเพยี งอาณาจักรเดียว จากเหตุการณท างดา น

ประวัตศิ าสตรซ่งึ เราอาจทราบไดจ ากดนิ แดนตางๆเหลานี้ โดยเฉพาะจากเมือง ลําพนู และแหลมมลายู

ทาํ ใหเ ราไมอาจคิดไดวา “ศลิ ปทวารวดี” เปนศลิ ปของ อาณาจักรใดอาณาจกั รหนึง่ โดยเฉพาะ

หากแตเปนการแสดงถึงวัฒนธรรมแบบหนึง่ ทแ่ี พรห ลายดว ยการเผยแพรข องพระภิกษสุ งฆ ไปตาม

ทางคมนาคมของ ชาวบานซึ่งมีมากอ นแลว(Jean Boisselier.1974) การท่ีเราพบศลิ ปะ ทวารวดี

แผไ พศาลไปที่ดนิ แดนสยามประเทศ ยอมเปน องคพยานวา ในสมยั เมื่อพนั สีร่ อ ยปม านมี้ ีบาน เมืองอนั

ไดรับความเจรญิ ทัง้ ศลิ ปะวัฒนธรรมและศาสนาจากอินเดีย เจริญรุงเรอื งอยทุ วั่ ดินแดน แหลมทอง

นครนอ ยใหญไมต าํ่ กวา สบิ นครเหลา น้คี งครองความสําคัญทดั เทียมกนั ตา งอยูคนละถ่นิ ยอมแตกตาง

ทง้ั เช้ือชาติและพื้นฐานทางวฒั นธรรมดงั เชน นครทางภาคอีสานนยิ มสรา งใบเสมาขนาด สูงใหญ ทวมหัว

ทําดว ยศิลาทงั้ แทง จําหลักเร่ืองราวจากชาดกในพระพุทธศาสนา ขณะเดียวกันเรากไ็ ม

พบในกลุมภาคกลางเลย(ประยรู อุลุชาฎะ.2537) นอกจากนี้ ประยูร อุลุชาฎะยงั ขยายความวา ศิลปะ

เมืองฟาแดดสงยางน้ี เปนศลิ ปะทวารวดี แตม ใิ ชห มายความวา ทน่ี ่คี อื สว นหน่งึ ของอาณาจักรทวารวดี

อันปรากฏในบันทกึ ของพระถงั ซัมจงั๋ นั้น อาณาจักรทวารวดีท่กี ลาวในบนั ทกึ ควรจะอยลู มุ นา้ํ เจา พระยา

โดยตรง สวนเมอื งฟาแดดสงยางเปนอาณาจกั รอีกแหง หน่ึงซง่ึ อยรู วมสมยั กนั และตอ งเปนอาณาจกั ร

เกา แกซง่ึ ไดรับคติความเชื่อบางอยางตกทอดมาจากบรรพบรุ ุษในแถบลุมแมนาํ้ ชี ซ่งึ สงวน รอดบุญ ได

ตงั้ ขอ สังเกตในสว นของ “ทวารวดใี นภาคอีสานวา ” แมโ ดยท่วั ไปจะยอมรับกนั วา ทวารวดภี าคอีสานมี

ความเกีย่ วโยงสมั พันธทางศลิ ปกรรมทวารวดีทางภาคกลางกต็ าม แตมีนักวิชาการบางทา นกลา ววา

เหตุท่ศี ิลปะทวารวดีทัง้ สองแหง คลายกันนาจะมาจากการรบั เอาศลิ ปคปุ ตะของอินเดียมาใชใ นงานของ

ตนมากกวา (สงวน รอดบญุ .2521) รงุ โรจน ธรรมรุงเรอื ง ไดสรุป วาศลิ ปะทวารวดีท้งั สองแหง แมจ ะ

คลายกนั ในดานรูปแบบแตก ม็ ไิ ดห มายความในเชงิ อาํ นาจการเมอื งท่สี ื่อวา ทวารวดีทางภาคกลางมี

อํานาจเหนอื ภาคตะวนั ออกเฉยี งเหนอื (รุงโรจน ธรรมรุงเรอื ง.2552)

พระธาตยุ าคู

เปน เจดยี ท ใ่ี หญท ่ีสุดในเมืองฟาแดดสงยาง ลักษณะเปน เจดียท รงแปดเหลี่ยมกอ ดว ยอิฐ

ปรากฏการกอสราง 3 สมยั ดวยกันคือสวนฐานเปน รูปสเี่ หล่ยี มยอ มมุ มีบนั ไดทางขึน้ 4 ทิศ มปี ูนปน

ประดบั สรา งในสมยั ทวารวดถี ดั ขึน้ มาเปน ฐานรูปแปดเหลยี่ มซง่ึ สรางซอนกันทับบนฐานเดมิ เปน

รูปแบบเจดียใ นสมัยอยธุ ยา สวนองคร ะฆังและสวนยอดสรา งในสมัยรตั นโกสินทรรอบๆ องคพ ระธาตุ

พบใบเสมาแกะสลักภาพนูนต่าํ เรอ่ื งพุทธประวัตชิ าวบาน เชื่อกันวาในองคพ ระธาตุบรรจอุ ัฐิ

ของพระเถระผใู หญท ีช่ าวเมอื งเคารพนบั ถือ สงั เกตไดจ ากเมอ่ื เมืองเชียงโสมชนะสงคราม ไดท ําลาย

ทุกส่ิงทกุ อยา งในเมืองฟาแดดแตไมไ ดท ําลายพระธาตยุ าคูจงึ เปนโบราณสถานทีย่ ังคงสภาพ คอนขาง

สมบูรณ

พระธาตุยาคู เปนโบราณสถานทสี่ าํ คญั แหงหน่ึงในบริเวณเมืองโบราณฟาแดดสงยาง ตั้งอยทู างทิศ

ตะวันออกเฉยี งเหนอื ของตวั เมืองจากการขุดดินขดุ แตง ของกรมศิลปากร เมอื่ พ.ศ. 2510 – 2511 พบวา

สวนฐานเดมิ ลึกจมดินลงไปจากฐานท่ีพบในปจจุบันอกี ช้นั หนงึ่ ลักษณะฐานกอ ดวยอิฐ มผี ังรปู

ส่เี หล่ยี มยอ มมุ ไม สบิ สอง ความสงู ประมาณ 1 เมตรเศษ และพบวามกี ารกอ สรา งฐานเพมิ่ เตมิ

ขนึ้ ใหมใ นสมัยอยุธยา ในลกั ษณะเปน ฐานเขยี ง ผังเปน รูปเหลยี่ มซอนกนั 3 ช้ัน ช้นั ท่ี 4 มีความสงู

มากกวา ทกุ ช้ันและมีสว นบนสอบเขา เล็กนอยสว นเรอื นธาตุ มลี กั ษณะ 8 เหลย่ี ม ดานบนสอบ เขาหา กนั

ดานบนทาํ เปน กลบี บัวหงายสวนยอด สอบเขาหากนั เปน ยอดแหลม ซึง่ บูรณะตอ เติมข้ึนใหมใน

สมัยรัตนโกสินทร ขนาดของเจดยี  ( พระธาตุ ) กวางประมาณ 16 เมตร สวนฐาน กอ อิฐ ไมส อ ปูน

สูงประมาณ 1 – 15 เมตร สว นท่ีเปนเรอื นธาตุ และยอดสงู 15 เมตร และมเี จดีย ( เจดียบรวิ าร )

เรียงรายดานทิศใต 3 องค (สํานกั เทศบาลตาํ บลหนองแปน.2553)

คาํ วา “ พระธาตุยาคู ” เปน คาํ ทีช่ าวบา นในทอ งถน่ิ เรียกพระธาตุองคน้ี ดว ยเชื่อวา
เปน พระธาตุ หรอื สถูป ทบ่ี รรจอุ ฐั ิของพระภิกษผุ ูใหญซ ่งึ เปนทีเ่ คารพนับถือของประชาชนในทอ งถ่นิ

เมอื่ คร้งั ทีอ่ พยพเขามาตั้งหมบู า นคอื บา นกอม หรอื บานเสมา ปจจบุ นั ตรงบรเิ วณทตี่ ้ังเมืองโบราณ
ฟา แดดสงยาง ในปจ จุบนั ตอมาเมือ่ พ.ศ. 2539 ไดม กี ารขดุ แตงบริเวณรอบองคพ ระธาตยุ าคู

ไดพบซากเจดียบริวารเพม่ิ ขึ้นอกี 1 องค รวมเปน 4 องค ทาํ ใหเกดิ ขอสันนิษฐานใหมวา นาจะไมใ ช
พระธาตุ หรอื สถปู เจดียท ี่สรางขึ้นเพอ่ื บรรจอุ ัฐิของพระภกิ ษสุ ามญั ชน หากแตเปนสถูปเจดียทสี่ รา งข้นึ

เน่ืองดว ยองคสมเด็จพระสมั มา สมั พุทธเจา คําวา “ยาคู” เปน คําเรยี กสมณศักด์ขิ องพระสงฆ
ของภาคอีสานทีม่ ีแตโ บราณ เมอ่ื พระสงฆร ูปใดเปนผูประพฤตดิ ี ปฏิบตั ิชอบ มีคุณธรรม และบวช

มาแลวไมน อ ยกวา สามพรรษา ชาวบานจะนิมนตม าทาํ พธิ ี “ ฮดสรง ” จากน้นั ก็จะเล่ือนสมณศักดิเ์ ปน
ยาคู ยาชา เปนตน (สํานักเทศบาลตําบลหนองแปน.2553)

ประเพณแี ละความเชอื่ ตอพระธาตุยาคู

ประเพณี สวนที่เกีย่ วของกบั พทุ ธศาสนาในการทําบุญและพิธีกรรมนนั้ ชาวอสี านยังยึดมน่ั

และปฏบิ ัติอยู อยางเหนียวแนน ซ่งึ ไดร บั อิทธิพลตอกนั มาจากบรรพบรุ ษุ แมวา ความทนั สมยั จะเขา

มามีบทบาทก็ตาม และยังไดก ลาวถงึ ความเชือ่ ของชาวอสี านดั้งเดิมในเรื่องเกย่ี วกบั ส่ิงท่ีเหนือ ธรรมชาตผิ ี

เทวดา (ไพฑูรย มกี ศุ ล.2528) ชอบ ดสี วนโคกไดก ลาวไววา ความเชื่อของชาวอีสาน

มีความสําคญั เปนพิเศษตอ การพัฒนาดานตาง ๆ ของชาวอสี าน และ ไดกลายมาเปนพนื้ ฐาน

แหงอารยธรรมอีสาน เชน การกอ สรา งทอ่ี ยูอาศัยจารตี ประเพณี ศิลปะดนตรี วฒั นธรรม ดา น

อน่ื ๆยอ มมพี ้นื มาจากหลกั แหง ความเชื่อดัง้ เดมิ ทั้งสน้ิ (ชอบ ดีสวนโคก.2527) การถวายเคร่อื งสกั การะ

และสรงนา้ํ พระธาตยุ าคู พิธีนมัสการพระธาตยุ าคู เปน ประเพณที ี่ชาวบา นเสมาและหมบู าน

ใกลเคยี งไดถ อื ปฏบิ ตั ิตอกันมาเปนเวลานาน และถอื ปฏบิ ตั ิเปน ประจาํ ทกุ ป โดย จะจัดข้ึนปละ 1 ครั้ง

ในวันเพญ็ เดือนหก( วนั ขึน้ 15 ค่ํา เดอื น 6)โดยมีจุดมงุ หมาย เพอ่ื เปนการเคารพ เทดิ ทลู

ศาสนสถานท่ีสําคัญและศักดส์ิ ิทธทิ์ างพทุ ธศาสนาท่ีมใี นทอ งถิ่น พอถึงวันขน้ึ 15 ค่ํา เดอื น 6

พระภกิ ษุสงฆผูนาํ หมูบ า นพรอมทง้ั ประชาชนในหมบู า น จะพรอ มใจกันจดั เคร่อื งสกั การะและ

นมัสการองคพระธาตุยาคูตลอดจนมกี ารบวงสรวง แหเซง้ิ บัง้ ไฟไป ในทาํ นอง เปนการขอใหฝนฟา

ตกตอ งตามฤดูกาลดว ย(สํานกั เทศบาลตาํ บลหนองแปน.2553)

แมจะไมม ขี อสรปุ แนชัดสรปุ ถงึ การแพรก ระจายมาของศิลปะทวารวดีในดนิ แดนฟา แดดสงยาง

แตเ นื่องดว ยความเชอ่ื ในการนบั ถือบรรพบุรษุ อยา งแนบแนน ของชาวอสี าน ก็ทาํ ใหค วามเชือ่ น้ันแปร
เปลี่ยนเปนพธิ ีกรรมท่ียดึ ถอื ปฏิบตั ิกนั สืบตอ มา จนเกิดเปน พธิ ีนมสั การพระธาตยุ าคู ที่จัดขนึ้ ทุกๆป
อาจกลาวไดว า คนอสี านนนั้ มคี วามเคารพลึกซึ้งถงึ สงิ่ ท่เี ปนตวั แทนของพระพุทธศาสนา และคุณสมบัติ

ดงั กลา วยงั เปน รากฐานสําคัญทท่ี ําใหค นอสี าน มีความนอบนอ มและเช่อื ในบาปบุญ คุณโทษ ตามหลกั คาํ
สอนแหง พระพทุ ธศาสนา

เอกสารอา งอิง

ศรศี ักร วัลลิโภดม, “อสี านสมยั ลพบุร”ี ใน ประวัติศาสตรและโบราณคดีภาคอสี าน.2533.
พสิ ฐิ เจรญิ วงศ, “เศรษฐกิจและส่งิ แวดลอ มสมัยโบราณท่ีบานเชยี ง” ใน การสัมนาประวตั ศิ าสตร
อสี าน เอกสารหมายเลข 2 หนา 1-7 มหาวิทยาลยั ศรนี ครินทรวิโรฒ มหาสารคาม.2521.
อดิศักดิ์ โสมอินทร, “ภมู ศิ าสตรอ สี าน” ศักด์ิแอนแอสโซซิเอท.2525.
ไพฑูรย มกี ุศล.ประวตั ิศาสตรไ ทยสมัยตน.พมิ พค รั้งท่3ี .มหาสารคาม:คณะสังคมศาสตร
มหาวทิ ยาลยั ศรนี ครนิ ทรวโิ รฒ มหาสารคาม, 2528.
ชอบ ดสี วนโคก, ประวตั ศิ าสตรเ ศรษฐกจิ ลมุ แมนํา้ ระหวา ง พ.ศ. 2475-2526 : กรณีสาม
หมูบ า นในจงั หวดั รอ ยเอด็ กาฬสนิ ธุแ ละขอนแกน. ขอนแกน: มหาวทิ ยาลัยขอนแกน,2527.
สาํ นกั งานเทศบาลตาํ บลหนองแปน ,ประวัตคิ วามเปน มาพระธาตุยาคู กองการศึกษา
ฝายพัฒนาการทองเท่ยี วเมืองฟา แดแสงยาง.2553
Jean Boisselier, “U-thong et son importance pour I’histoire de Thailand,”ศลิ ปะทวารวดี ตอนที่ 1,”
แปลโดย อุไรศรี วระศรนิ , (กรงุ เทพฯ : กรมศิลปกร, 2509 )
Samuel Beal, Siyuki : Buddhist records of Western world (Hiuan Tsang,London : Trubner), 1884.
Paul Pelliot, “Deux intineraires de Chine en Inde,”in Bulletin de I”Ecole Francaise d”Extreme-
Orient,vol. IV, 1904.
สงวน รอดบุญ. “อันเน่ืองมาจาก “แบบศลิ ปะในประเทศไทย.” เมืองโบราณ 4,3(เมษายน-มถิ นุ ายน
2521) : 33-39.
รงุ โรจน ธรรมรุงเรอื ง “เครื่องบวงสรวงบนใบเสมาทวารวดีอีสาน : พุทธบชู าและบูชาผี” ศลิ ปากร ๕๒, ๔
(กรกฎาคม-สงิ หาคม ๒๕๕๒) : ๕๐-๖๓.
ประยูร อลุ ุชาฎะ. ศิลปะโบราณในสยาม. กรงุ เทพฯ : เมืองโบราณ, ๒๕๓๗.


Click to View FlipBook Version