The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

64-1_นางสาวธารวิมล วงศ์โอษฐ์_การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนด้านการอ่านค่าความต้านทาน โดยใช้แบบฝึกเสริมประสบการณ์ ของนักเรียนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ ปวช.1 แผนกอิเล็กทรอนิกส์ วิทยาลัยเทคนิคมีนบุรี

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by Tranwimol wongoat, 2021-10-28 02:50:31

64-1_นางสาวธารวิมล วงศ์โอษฐ์_การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนด้านการอ่านค่าความต้านทาน โดยใช้แบบฝึกเสริมประสบการณ์ ของนักเรียนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ ปวช.1 แผนกอิเล็กทรอนิกส์ วิทยาลัยเทคนิคมีนบุรี

64-1_นางสาวธารวิมล วงศ์โอษฐ์_การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนด้านการอ่านค่าความต้านทาน โดยใช้แบบฝึกเสริมประสบการณ์ ของนักเรียนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ ปวช.1 แผนกอิเล็กทรอนิกส์ วิทยาลัยเทคนิคมีนบุรี

รายงานการวจิ ยั ในชนั้ เรยี น

ชื่อเรอื่ ง การพัฒนาผลสมั ฤทธท์ิ างการเรยี นด้านการอ่านคา่ ความต้านทาน โดยใช้
แบบฝึกเสริมประสบการณ์ ของนักเรียนระดับประกาศนียบตั รวิชาชีพ ปวช.1
แผนกอิเล็กทรอนิกส์ วทิ ยาลยั เทคนคิ มนี บรุ ี

Development of Resistance Reading Achievement Using practice
exercises of vocational certificate one department of electronics,

Minburi technical college.

ธารวิมล วงศโ์ อษฐ์
Tranwimol Wongoat

วิทยาลัยเทคนิคมีนบุรี สถาบนั การอาชีวศึกษา
กรงุ เทพมหานคร
สำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศกึ ษา
กระทรวงศึกษาธกิ าร

II

กิตตกิ รรมประกาศ

รายงานวิจัยในชั้นเรียน เรื่อง การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนด้านการอ่านค่าความ
ต้านทาน โดยใช้แบบฝึกเสริมประสบการณ์ ของนักเรียนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ ปวช.1 แผนก
อิเล็กทรอนิกส์ วิทยาลัยเทคนิคมีนบุรีน้ี ขอขอบใจนักเรียนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นปีที่ 1
แผนกวิชาช่างอิเล็กทรอนิกส์ วิทยาลัยเทคนิคมีนบุรี ปีการศึกษา 2564 ที่ให้ความร่วมมือในการเป็น
กลมุ่ ตวั อย่าง ทำให้ข้าพเจ้าได้เก็บขอ้ มลู ในการวจิ ัยนีไ้ ดอ้ ย่างครบถ้วน

คุณค่าและประโยชน์อันพึงมีจากรายงานการวิจัยในชั้นเรียนฉบับนี้ ข้าพเจ้าขอมอบแด่ บิดา
มารดา และผู้มีพระคุณทุกทา่ นดว้ ยความเคารพยงิ่

นางสาวธารวิมล วงศโ์ อษฐ์

III หนา้
I
สารบัญ II
III
กิตตกิ รรมประกาศ
สารบัญ 1
สารบัญตาราง 1
บทที่ 1 บทนำ 1
1
1.1 ความเปน็ มาและความสำคญั ของปัญหา 2
1.2 วตั ถุประสงคข์ องการวิจัย 2
1.3 สมมตฐิ านของการวจิ ยั
1.4 ขอบเขตของการวิจัย 3
1.5 ประโยชน์ทค่ี าดวา่ ไดร้ บั จาการวจิ ัย 4
1.6 นิยามคำศพั ท์ 5
บทท่ี 2 แนวคดิ ทฤษฎีและงานวิจยั ทีเ่ กยี่ วข้อง 8
2.1 แบบฝึกเสรมิ ทักษะ 8
2.2 การพฒั นาผลสัมฤทธิ์
2.3 ทฤษฎที ี่เกยี่ วข้องกบั การเรยี นรู้ 10
2.4 ตวั ตา้ นทาน 10
2.5 งานวิจยั ทเ่ี ก่ยี วข้อง 11
บทที่ 3 วิธดี ำเนนิ การงานวจิ ยั 12
3.1 ประชากรและกล่มุ ตัวอยา่ ง
3.2 เครื่องมอื ทใ่ี ชใ้ นการเก็บรวบรวมข้อมูล 14
3.3 การเกบ็ รวบรวมขอ้ มลู 15
3.4 วเิ คราะหข์ อ้ มลู
บทที่ 4 ผลการวิเคราะห์ขอ้ มลู 17
4.1 ผลวิจัย 18
4.2 การวิเคราะหข์ อ้ มูล 19
บทที่ 5 อภิปรายและขอ้ เสนอแนะ
5.1 อภปิ ราย 20
5.2 ขอ้ เสนอแนะ
บรรณานุกรม
ภาคผนวก
ภาคผนวก ก แบบฝึกเสรมิ ประสบการณ์

IV

สารบญั

ภาคผนวก ข แบบทดสอบ หนา้
ประวตั ผิ ู้เขยี น 28
30

V หนา้
11
สารบญั ตาราง 14

ตารางท่ี 15
3.1 เกณฑก์ ารประเมนิ การใหค้ ะแนนการทดลองการต่อวงจรเรียงกระแส
4.1 ผลการเปรียบเทยี บผลสมั ฤทธท์ิ างการเรยี นในการทดสอบครัง้ ที่ 1 15

และการทดสอบครง้ั ท่ี 2 16
4.2 ผลการวิเคราะห์ขอ้ มลู ความถี่ร้อยละ ของจำนวนนักเรยี นทผ่ี ่านเกณฑ์ใน

การทดสอบทง้ั 2 ครัง้
4.3 การวิเคราะห์คา่ เฉลยี่ และส่วนเบ่ียงเบนมาตรฐานของนกั เรยี นใน

การทดสอบท้ัง 2 ครั้ง
4.4 การเปรยี บเทยี บผลสมั ฤทธิ์ในการทดสอบคร้งั ท่ี 2 กบั เกณฑ์

บทท่ี 1
บทนำ

1.1 ความเป็นมาและความสำคัญของการวิจัย
ในปัจจุบันพบว่าการศึกษาในระดับอาชีวศึกษาหรือเทคนิคเริ่มมีนักเรียนสนใจที่จะเข้าศึกษา

เพื่อมาประกอบอาชีพตามที่ตนเองสนใจพบว่าปัจจุบันมีนักเรียนที่เลือกเรียนในระดับอาชีวศึกษาหรือ
เทคนิคมีจำนวน 674,113 คนของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาทั้งหมด (กระทรวงพัฒนาสังคมและความ
มัน่ คงของมนุษย.์ 2558)

จากการศึกษานักเรียนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ ปวช.1 แผนกวิชาช่างอิเล็กทรอนิกส์
จำนวน 20 คน มีการเรียนในวิชางานไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์เบื้องต้น มีการเรียนรู้เกี่ยวกับตัว
ต้านทานและนำไปใช้ในการประกอบวงจรแต่ผู้เรียนนั้นมีปัญเกี่ยวกับการอ่านค่าความต้านทาน จึงไม่
สามารถเลอื กใชง้ านค่าความต้านทานไดอ้ ย่างถกู ตอ้ งซึง่ มีผลตอ่ การนำไปใช้งานตอ่ ในอนาคต ทตี่ ้องนำ
อุปกรณ์ไปใช้ประกอบวงจรอิเล็กทรอนิกส์อื่นๆร่วมด้วยจึงได้มีการจัดทำ แบบฝึกเสริมประสบการณ์
ข้นึ มาเพื่อนักเรยี นไดม้ ีประสบการณ์ในการอ่านคา่ ความต้านทานเพิ่มมากขึน้

การเรียนการสอนในระบบการเรียนการสอนมีมากมายหลายรูปแบบ จุดมุ่งหมายเพื่อให้มี
การพัฒนาผเู้ รียนท้ังทางดา้ นดา้ นวิชาการ ดา้ นทกั ษะกระบวนการ ด้านความรคู้ วามสามารถ เพ่ือให้
นักเรียนได้มีความสามารถทางด้านอิเล็กทรอนิกส์และวงจรไฟฟ้า เพื่อให้นักเรียนไม่เกิดความเบื่อ
หน่ายกับการเรียนการสอนแบบเก่า ๆ จึงได้นำการเรียนการสอนแบบผ่านชุดฝึกอิเล็กทรอนิกส์หรือ
โปรแกรมในการทดลองวงจรไฟฟ้ามาให้นักเรียนได้ลองใช้เพื่อจะได้คุ้นเคย ในการวิจัยได้ทำเป็น
ข้นั ตอนและเปน็ ท่สี นใจของนกั เรียน เพื่อให้นกั เรียนเรยี นอยา่ งมคี วามสขุ และมปี ระสิทธภิ าพ
1.2. วตั ถุประสงค์ของการวิจัย

1. เพื่อพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชางานไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์เบื้องต้น เรื่อง การ
อ่านค่าความต้านทาน โดยใช้แบบฝกึ เสริมประสบการณ์

2. เพ่อื ศึกษาวิธกี ารแกป้ ัญหาการอา่ นค่าความต้านทาน
1.3. สมมุติฐานการวจิ ยั

1.นักเรียนที่เรียนด้วยแบบฝึกเสริมประสบการณ์สามารถอ่านค่าความต้านทานได้สูงกว่า
เกณฑ์
1.4. ขอบเขตของการวิจัย
1) กลมุ่ เปา้ หมาย

ประชากร นักเรียนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ ปวช.1 แผนกวิชาช่างอิเล็กทรอนิกส์
จำนวน 40 คน

2

กล่มุ ตวั อย่าง นักเรียนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ ปวช.1 แผนกวิชาช่างอิเล็กทรอนิกส์
จำนวน 20 คน
2) ตวั แปร

ตัวแปรต้น แบบฝึกเสริมประสบการณ์ วิชางานไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์เบื้องต้นเรื่อง การ
อ่านคา่ ความต้านทาน

ตวั แปรตาม ผลสัมฤทธท์ิ างการเรียน วชิ างานไฟฟ้าและอเิ ลก็ ทรอนกิ สเ์ บื้องตน้ เรือ่ ง การอ่าน
ค่าความตา้ นทาน
3) ขอบเขตเนอื้ หา

เนื้อหาตามหลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ ประเภทช่างอุตสาหกรรม สาขาอิเล็กทรอนิกส์
พุทธศักราช 2562
4) ระยะเวลาการทดลองเกบ็ ข้อมลู

ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2564 จำนวน 2 สัปดาห์ สัปดาห์ละ 4 ชั่วโมง รวมเป็น 8 ชั่วโมง
1.5. ประโยชนท์ ีไ่ ดร้ ับจากการวจิ ยั

1.เพือ่ เปน็ แนวทางการแกไ้ ขหรอื ปรับปรุงวิธกี ารเรียนการสอน
2.ผลสัมฤทธท์ิ างการเรยี นในดา้ นการอา่ นคา่ ความต้านทานสงู ข้ัน
1.6.นิยามศัพท์เฉพาะ
1. นักเรียน หมายถึง นักเรียนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพปีที่ 1 แผนกช่างอิเล็กทรอนิกส์
วิทยาลัยเทคนิคมีนบุรี ที่ลงทะเบียนเรียนวิชา งานไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์เบื้องต้น (20100-1005)
ในปกี ารศึกษา 2563
2. ประสิทธิภาพ (efficiency) คือ ผลสำเร็จที่พิจารณาในแง่ของเศรษฐศาสตร์ ที่มีตัวบ่งชี้
ได้แก่ ความประหยัด หรือคุ้มค่า (ประหยัดต้นทุน ประหยัดทรัพยากร ประหยัดเวลา) ความทันเวลา
และ มคี ุณภาพ (ทงั้ กระบวนการ ได้แก่ Input Process และ Output)

บทที่ 2
แนวคิด ทฤษฎแี ละงานวจิ ยั ทเี่ กี่ยวข้อง

ในการวิจัยเรื่อง “การพัฒนาทักษะการต่อวงจรเกี่ยววงจรเรียงกระแส” ผู้วิจัยได้ศึกษา
เอกสารและงานวจิ ัยทเี่ กีย่ วขอ้ งเพ่อื เป็นแนวทางในการศกึ ษาในขนั้ ต่อไปโดยศกึ ษาองค์ประกอบดังน้ี

2.1 แบบฝกึ เสรมิ ทักษะ
2.2 การพฒั นาผลสัมฤทธิ์
2.3 ทฤษฎีทเ่ี กย่ี วข้องกับการเรียนรู้
2.4 ตวั ตา้ นทาน
2.5 งานวิจยั ทีเ่ ก่ยี วข้อง

2.1 แบบฝึกเสริมทักษะ
แบบฝกึ เสรมิ ทักษะ

ชัยยงค์ พรหมวงศ์ (2535 : 16) ให้ความหมาย แบบฝึกเสริมทักษะว่า หมายถึง สิ่งท่ี
นักเรียนต้องใช้ควบคู่กับการเรียน ซึ่งมีลักษณะเป็นแบบฝึกที่ครอบคลุมกิจกรรมที่นักเรียนพึง
กระทา อาจกาหนดแยกเป็นแตล่ ะหน่วย หรอื อาจรวมเล่มกไ็ ด้

ลักษณา อินทะจักร (2538 : 161) ให้ความหมาย แบบฝึกเสริมทักษะว่า หมายถึง แบบ
ฝึกทค่ี รสู รา้ งขน้ึ โดยมีจดุ มงุ่ หมายเพ่ือใหน้ ักเรียนเกดิ การเรียนร้อู ย่างแท้จรงิ

ศศธิ ร ธญั ลักษณานันท์ (2542 : 375) ใหค้ วามหมายแบบฝึกเสรมิ ทกั ษะว่า หมายถึง แบบ
ฝึกเสริมทักษะที่ใช้ฝึกความเข้าใจ ฝึกทักษะต่าง ๆ และทดสอบความสามารถของนักเรียนตาม
บทเรียนท่ีครูสอนว่า นกั เรยี นเขา้ ใจและสามารถนาไปใชไ้ ดม้ ากนอ้ ยเพยี งใด

กู๊ด (Good 1973 : 224, อ้างถึงใน ลักษณา อินทะจักร 2538 : 160) ให้ความหมาย
แบบฝึกเสริมทักษะว่า หมายถึง งานหรือการบ้านที่ครูมอบหมายให้นักเรียนทา เพื่อทบทวนความรู้
ที่ไดเ้ รียนมาแล้ว และเปน็ การฝกึ ทักษะการใชก้ ฎใชส้ ูตรตา่ ง ๆ ท่ีเรียนไป

พจนานุกรม เวบสเตอร์ (Webster 1981 : 64) ให้ความหมายแบบฝึกเสริมทักษะว่า
หมายถึง โจทย์ปัญหา หรือตัวอย่างที่ยกมาจากหนังสือ เพื่อนามาใช้สอนหรือให้ผู้เรียนฝึกฝนทักษะ
ต่าง ๆ ให้ดขี นึ้ หลงั จากทเี่ รยี นบทเรยี นไปแล้ว

ดังนั้น จึงอาจกล่าวได้ว่า แบบฝึกเสริมทักษะ หมายถึง งานหรือกิจกรรมที่ครูสร้าง
ขึ้น โดยมรี ูปแบบกิจกรรมที่หลากหลาย มจี ดุ มุ่งหมายเพ่อื ฝกึ ให้นกั เรยี นมีความรคู้ วามเขา้ ใจบทเรียน
ได้ดียิ่งขึ้น และช่วยฝึกทักษะต่าง ๆ ให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้อย่างแท้จริง อาจจะให้นักเรียนทาแบบ
ฝึกขณะเรยี นหรอื หลังจากจบบทเรียนไปแล้วกไ็ ด้
ลักษณะท่ีดีของแบบฝกึ เสริมทกั ษะ

4

การสร้างแบบฝึกเสริมทักษะให้มีประสิทธิภาพต้องมีหลักในการสร้างที่สอดคล้องกับลักษณะ
ทดี่ ีของแบบฝกึ เสรมิ ทักษะด้วย ซงึ่ มผี รู้ ้ไู ด้เสนอแนะไวด้ งั น้ี

นติ ยา ฤทธ์โิ ยธี (2520 : 1) ไดก้ ล่าวถึงลกั ษณะทดี่ ีของแบบฝกึ เสรมิ ทกั ษะไว้ว่า แบบฝึกเสริม
ทักษะต้องเกี่ยวข้องกับสิ่งที่เรียนมาแล้ว เหมาะสมกับระดับวัย หรือความสามารถของเด็ก มีคาชี้แจง
สั้นๆที่ทาให้เด็กเข้าใจวิธีทาได้ง่าย ใช้เวลาเหมาะสมหรือใช้เวลาไม่นาน และเป็นสิ่งที่น่าสนใจและท้า
ทายให้แสดงความสามารถ

สามารถ มีศรี (2530 : 28) กล่าวว่า แบบฝึกเสริมทักษะที่ดีต้องเกี่ยวกับบทเรียนที่เรียน
มาแล้วเหมาะสมกับวัยของผู้เรียน มีคาสั่งและคาอธิบาย มีคาแนะนาการใช้แบบฝึกเสริมทักษะ มี
รูปแบบทนี่ ่าสนใจและมีกิจกรรมทห่ี ลากหลายรปู แบบ

โรจนา แสงรุ่งระวี (2531 : 22) กล่าวว่า แบบฝึกเสริมทักษะที่ดีนอกจากมีคาอธิบายชัดเจน
แล้วควรเปน็ แบบฝกึ ส้ัน ๆ ใชเ้ วลาในการฝึกไม่นานเกนิ ไปและมีหลายรูปแบบ

ฉะนั้น จึงอาจกล่าวได้ว่า แบบฝึกเสริมทักษะที่ดี ครูผู้สร้างจะต้องยึดหลักจิตวิทยา ใช้
ส านวนภาษาที่ง่าย เหมาะสมกับวัย ความสามารถของผู้เรียน มีกิจกรรมหลากหลาย มี
คาสั่ง คาอธิบาย และคาแนะนาการใช้แบบฝึกเสริมทักษะที่ชัดเจนเข้าใจง่าย ใช้เวลาในการฝึกไม่นาน
และที่สาคัญมีความหมายตอ่ ชีวิต เพอ่ื นาไปใชใ้ นชีวิตประจาวันได้

2.2 การพัฒนาผลสัมฤทธ์ิ
ผลสมั ฤทธทิ์ างการเรียนเปน็ ความสามารถของนักเรียนในด้านตา่ ง ๆ ซึ่งเกิดจากนกั เรยี นได้รับ

ประสบการณ์จากกระบวนการเรียนการสอนของครู โดยครูต้องศึกษาแนวทางในการวัดและ
ประเมินผล การสร้างเครื่องมือวัดให้มีคุณภาพนั้น ได้มีผู้ให้ความหมายของผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนไว้
ดงั นี้

สมพร เชื้อพันธ์ (2547, หน้า 53) สรุปว่า ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาคณิตศาสตร์ หมายถึง
ความสามารถ ความสาเร็จและสมรรถภาพด้านตา่ ง ๆ ของผู้เรยี นที่ไดจ้ ากการเรียนรอู้ นั เป็นผลมาจาก
การเรียนการสอน การฝึกฝนหรือประสบการณ์ของแต่ละบุคคลซึ่งสามารถวัดได้จากการทดสอบด้วย
วธิ ีการตา่ ง ๆ

พิมพนั ธ์ เดชะคุปต์ และพเยาว์ ยนิ ดสี ขุ (2548, หนา้ 125) กลา่ วว่า ผลสัมฤทธท์ิ างการเรยี น
หมายถึงขนาดของความสาเร็จท่ไี ด้จากกระบวนการเรยี นการสอน

ปราณี กองจินดา (2549,หน้า 42) กล่าว่า ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน หมายถึง ความสามารถ
หรือผลสาเร็จที่ไดร้ ับจากกจิ กรรมการเรียนการสอนเป็นการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมและประสบการณ์
เรียนรู้ทางด้านพุทธิพิสัย จิตพิสัย และทักษะพิสัย และยังได้จาแนกผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนไว้ตาม
ลกั ษณะของวตั ถุประสงคข์ องการเรยี นการสอนที่แตกตา่ งกนั

5

ดังน้ันจึงสรุปไดว้ ่าผลสมั ฤทธิท์ างการเรยี น หมายถงึ ผลทเ่ี กิดจากกระบวนการเรยี นการสอนที่
จะทาให้นักเรียนเกิดการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรม และสามารถวัดได้โดยการแสดงออกมาทั้ง 3 ด้าน
คือ ด้านพุทธพิ ิสยั ดา้ นจติ พิสัย และดา้ นทักษะพิสยั

2.3 ทฤษฎีที่เก่ยี วข้องกับการเรียนรู้
การเรียนรู้ หมายถึงการเปลี่ยนพฤติกรรม ซึ่งเป็นผลเนื่องมาจากประสบการณ์ที่คนเรามี

ปฏิสัมพันธ์กับสิ่งแวดล้อม หรือจากการฝึกหัดรวมทั้งการเปลี่ยนปริมาณความรู้ของผู้เรียน งานท่ี
สำคัญของครูก็คือช่วยนักเรียนแต่ละคนให้เกิดการเรียนรู้ หรือมีความรู้และทักษะตามที่หลักสูตรได้
วางไว้ ครูมีหน้าที่จัดประการณ์ในห้องเรียน เพื่อจะช่วยให้นักเรียนเปลี่ยนพฤติกรรมตามวัตถุประสงค์
ของแต่ละบทเรียน นักจิตวิทยาได้พยายามทำการวิจัยเกี่ยวกับการเรียนรู้ของทั้งสัตว์และมนุษย์ และ
ไดค้ น้ พบหลกั การทใ่ี ช้ประยุกต์ เพ่ือการเรยี นร้ใู นโรงเรยี นได้ ทฤษฎขี องการเรยี นรู้มหี ลายทฤษฎีแตจ่ ะ
ขอนำมากล่าวเพียง 3 ทฤษฎี คอื

1. ทฤษฎกี ารเรียนรู้พฤติกรรมนยิ ม
2. ทฤษฎกี ารเรียนรู้พทุ ธิปญั ญานิยม
3. ทฤษฎกี ารเรยี นรู้ทางสงั คมเชิงพุทธปิ ัญญา
1. ทฤษฎีการเรียนรพู้ ฤติกรรมนยิ ม
ความคิดพื้นฐานของทฤษฎีการเรียนรู้พฤติกรรมนิยม 1.พฤติกรรมทุกอย่างเกิดขึ้นโดยการ
เรียนรู้และสามารถจะสังเกตได้ 2.พฤติกรรมแต่ละชนิดเป็นผลรวมของการเรียนที่เป็นอิสระหลาย
อย่าง 3.แรงเสรมิ (Reinforcement) ชว่ ยทำให้พฤติกรรมเกดิ ขนึ้ ได้ นักจติ วิทยาได้แบง่ พฤตกิ รรมของ
มนุษย์ออกเป็น 2 ประเภท คือ 1. พฤติกรรมเรสปอนเดนต์ (Respondent Behavior) หมายถึง
พฤติกรรมที่เกิดขึ้นโดยสิ่งเร้าเมื่อมีสิ่งเร้าพฤติกรรมตอบสนองก็จะเกิดขึ้น ซึ่งสามารถจะสังเกตได้
ทฤษฎีที่อธิบายกระบวนการเรียนรู้ประเภทนี้ คือ ทฤษฎีการเรียนรู้การวางเงื่อนไขแบบคลาสสิก
(Classical Conditioning Theory) 2. พฤติกรรมโอเปอแรนต์ (Operant Behavior) เป็นพฤติกรรม
ที่บุคคลหรือสัตว์แสดงพฤติกรรมตอบสนองออกมา โดยปราศจากสิ่งเร้าที่แน่นอน และพฤติกรรมนี้มี
ผลต่อสิ่งแวดล้อม ส่วนทฤษฎีการเรียนรู้ที่ใช้อธิบาย Operant Behavior เรียกว่า ทฤษฎีการเรียนรู้
การวางเงื่อนไขแบบการกระทำ (Operant Conditioning Theory) ซึ่งทฤษฎีนี้เน้นว่าต้องการให้
Operant Behavior คงอยู่ตลอดไป
การประยกุ ต์ใชใ้ นดา้ นการเรยี นการสอน
1. ในแง่ของความแตกต่างระหว่างบุคคล ความแตกต่างทางด้านอารมณ์มีแบบแผน การ
ตอบสนองไดไ้ ม่เทา่ กัน จำเปน็ ต้องคำนึงถงึ สภาพทางอารมณผ์ เู้ รยี นวา่ เหมาะสมที่จะสอนเนอื้ หาอะไร
2. การวางเงอ่ื นไข เป็นเรอ่ื งท่เี กยี่ วกบั พฤตกิ รรมทางด้านอารมณ์ด้วย โดยปกติผสู้ อนสามารถ
ทำให้ผเู้ รียนร้สู กึ ชอบหรือไม่ชอบเน้อื หาทเ่ี รียนหรอื สิ่งแวดล้อมในการเรียน

6

3. การลบพฤติกรรมที่วางเงื่อนไข ผู้เรียนที่ถูกวางเงื่อนไขให้กลัวผู้สอน เราอาจช่วยได้โดย
ป้องกันไมใ่ ห้ผู้สอนทำโทษเขา

4. การสรุปความเหมือนและการแยกความแตกต่าง เช่น การอ่านและการสะกดคำ ผู้เรียนท่ี
สามารถสะกดคำว่า "round" เขาก็ควรจะเรียนคำทุกคำที่ออกเสียง o-u-n-d ไปในขณะเดียวกันได้
เช่นคำว่า found, bound, sound, ground, แต่คำว่า wound (บาดแผล) นั้นไม่ควรเอาเข้ามารวม
กบั คำที่ออกเสียง o - u - n - d และควรฝกึ ใหร้ ูจ้ กั แยกคำนอี้ อกจากกลุ่ม
2. ทฤษฎีการเรียนรูพ้ ทุ ธปิ ัญญานิยม (Constructivism)

ทฤษฎี Constructivism มีหลักการที่สำคัญว่า ในการเรียนรู้ผู้เรียนจะต้องเป็นผู้กระทำ
(active) และสร้างความรู้ ความเชื่อพื้นฐานของ Constructivism มีรากฐานมาจาก 2 แหล่ง คือจาก
ทฤษฎีพัฒนาการของพีอาเจต์ และวิก็อทสกี้ ทฤษฎี Constructivism จึงแบ่งออกเป็น 2 ทฤษฎี คือ
1. Cognitive Constructivism หมายถึงทฤษฎีการเรียนรู้พุทธิปัญญานิยม ที่มีรากฐานมาจากทฤษฎี
พัฒนาการของพีอาเจต์ ทฤษฎีนี้ถือว่าผู้เรียนเปน็ ผูก้ ระทำ (active) และเป็นผู้สร้างความรู้ขึน้ ในใจเอง
ปฏิสัมพันธ์ทางสังคมมีบทบาทในการก่อให้เกิดความไม่สมดุลทางพุทธิปัญญาขึ้น เป็นเหตุให้ผู้เรียน
ปรับความเข้าใจเดิมที่มีอยู่ให้เข้ากับข้อมูลข่าวสารใหม่ จนกระทั่ง เกิดความสมดุลทางพุทธิปัญญา
หรือเกิดความรู้ใหม่ขึ้น 2. Social Constructivism เป็นทฤษฎีที่มีพื้นฐานมาจากทฤษฎีพัฒนาการ
ของวิก็อทสกี้ ซึ่งถือว่าผู้เรียนสร้างความรู้ด้วยการมีปฏิสัมพันธ์ทางสังคมกับผู้อื่น (ผู้ใหญ่หรือเพื่อน)
ในขณะที่ผู้เรียนมีส่วนร่วมในกิจกรรมหรืองาน ในสภาวะสังคม (Social Context) ซึ่งเป็นตัวแปรที่
สำคัญและขาดไมไ่ ด้ ปฏิสมั พนั ธท์ างสังคมทำใหผ้ ู้เรยี นสร้างความรู้ดว้ ยการเปลี่ยนแปรความเข้าใจเดมิ
ใหถ้ กู ตอ้ งหรือซับซ้อนกว้างขวางข้นึ
ความคิดพ้ืนฐานของทฤษฎีการเรยี นรูพ้ ทุ ธปิ ัญญานิยม

1.ผู้เรยี นสร้างความเข้าใจในสิ่งที่เรยี นรดู้ ว้ ยตนเอง
2.การเรียนรูส้ ่งิ ใหมข่ ึน้ กบั ความรเู้ ดิมและความเข้าใจที่มีอยใู่ นปจั จุบนั
3.การมปี ฏสิ ัมพนั ธท์ างสงั คมมคี วามสำคัญตอ่ การเรียนรู้
4.การจัดสิ่งแวดล้อม กิจกรรมที่คล้ายคลึงกับชีวิตจริง ทำให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้อย่างมี
ความหมาย
การนำไปประยกุ ต์ใช้ในการเรยี นการสอน
1. กระบวนการค้นพบการเรียนรู้ด้วยตนเอง เป็นกระบวนการเรียนรู้ที่ดีมีความหมายสำหรับ
ผู้เรยี น
2. การวิเคราะห์และจัดโครงสร้างเนื้อหาสาระการเรียนรู้ให้เหมาะสม เป็นสิ่งจำเป็นที่ต้องทำ
กอ่ นการสอน
3. การจัดหลักสูตรแบบเกลียว (Spiral Curriculum) ช่วยให้สามารถสอนเนื้อหาหรือ
ความคิดรวบยอดเดียวกันแก่ผู้เรียนทุกวัยได้ โดยต้องจัดเนื้อหาความคิดรวบยอดและวิธีสอน ให้
เหมาะสมกับขัน้ พัฒนาการของผเู้ รียน

7

4. ในการเรียนการสอนควรส่งเสริมให้ผู้เรียนได้คิดอย่างอิสระให้มาก เพื่อช่วยส่งเสริม
ความคดิ สร้างสรรค์ของผู้เรียน

5. การสร้างแรงจูงใจภายในให้เกิดขึ้นกับผู้เรียนเป็นสิ่งจำเป็นในการจัดประสบการณ์การ
เรียนรใู้ หแ้ ก่ผู้เรยี น

6. การจัดกระบวนการเรียนรู้ให้เหมาะสมกับขั้นพัฒนาการทางสติปัญญาของผู้เรียนจะช่วย
ใหผ้ เู้ รยี นเกิดการเรียนรู้ไดด้ ี

7. การสอนความคิดรวบยอดให้แกผ่ ู้เรยี นเปน็ สง่ิ จำเป็น
8. การจัดประสบการณ์ให้ผู้เรียนได้ค้นพบการเรียนรู้ด้วยตนเองสามารถช่วยให้ผู้เรียนเกิด
การเรยี นรไู้ ด้ดี
3. ทฤษฎีการเรยี นรทู้ างสังคมเชิงพุทธปิ ัญญา
ทฤษฎีการเรียนรู้ทางสังคมเชิงพุทธิปัญญา (Social Cognitive Learning Theory) เป็น
ทฤษฎีของศาสตราจารย์บันดรู า แหง่ มหาวิทยาลัยสแตนฟอรด์ (Stanford) ประเทศสหรัฐอเมรกิ า บัน
ดูรามีความเชื่อว่าการเรียนรู้ของมนุษย์ส่วนมากเป็นการเรียนรู้โดยการสังเกตหรือการเลียนแบบ และ
เนื่องจากมนุษย์มีปฏิสัมพันธ์ (interact) กับสิ่งแวดล้อมที่อยู่รอบ ๆ ตัวอยู่เสมอบันดูราอธิบายว่าการ
เรียนรู้เกิดจากปฏิสัมพันธ์ระหว่างผู้เรียนและสิ่งแวดล้อมในสังคม ซึ่งทั้งผู้เรียนและสิ่งแวดล้อมมี
อทิ ธพิ ลตอ่ กนั และกนั
ความคิดพน้ื ฐานของทฤษฎกี ารเรียนรูท้ างสงั คมเชิงพทุ ธิปัญญา
1. บันดูรา ได้ให้ความสำคัญของการปฏิสัมพันธ์ของผู้เรียนและสิ่งแวดล้อม และถือว่าการ
เรียนรู้ก็เป็นผลของปฏิสัมพันธ์ระหว่างผู้เรียนและสิ่งแวดล้อม โดยผู้เรียนและสิ่งแวดล้อมมีอิทธิพลต่อ
กันและกัน บนั ดรู าได้ถือวา่ ท้งั บคุ คลทต่ี อ้ งการจะ เรยี นร้แู ละส่งิ แวดลอ้ มเป็นสาเหตขุ องพฤตกิ รรมและ
ไดอ้ ธิบายการปฏิสัมพนั ธ์ ดังน้ี
2. บันดูรา ได้ให้ความแตกต่างของการเรียนรู้ (Learning) และการกระทำ (Performance)
ว่าความแตกต่างนี้สำคัญมาก เพราะคนอาจจะเรียนรู้อะไรหลายอย่างแต่ไม่กระทำ บันดูราได้สรุปว่า
พฤตกิ รรมของมนุษย์อาจจะแบง่ ออกได้เป็น 3 ประเภท
2.1 พฤตกิ รรมสนองตอบทีเ่ กดิ จากการเรียนรู้ ผูซ้ ่งึ แสดงออก หรอื กระทำสมำ่ เสมอ
2.2 พฤติกรรมทีเ่ รยี นรู้แตไ่ ม่เคยแสดงออกหรือกระทำ
2.3 พฤตกิ รรมทีไ่ มเ่ คยแสดงออกทางการกระทำ เพราะไมเ่ คยเรยี นรจู้ รงิ ๆ
3. บนั ดรู า ไม่เชื่อวา่ พฤติกรรมทเี่ กดิ ขึ้นจะคงตัวอยู่เสมอ
การประยุกต์ในดา้ นการเรียนการสอน
1. ตั้งวัตถุประสงค์ที่จะทำให้นักเรียนแสดงพฤติกรรม หรือเขียนวัตถุประสงค์เป็นเชิง
พฤตกิ รรม
2. ผู้สอนแสดงตัวอย่างของการกระทำหลายๆตัวอย่าง ซึ่งอาจจะเป็น คน การ์ตูน ภาพยนตร์
วดิ ีโอ โทรทศั นแ์ ละส่ือสง่ิ พมิ พ์ต่างๆ

8

3. ผ้สู อนใหค้ ำอธบิ ายควบคไู่ ปกับการให้ตัวอย่างแต่ละคร้งั
4. ชี้แนะขั้นตอนการเรียนรู้โดยการสังเกตแก่นักเรียน เช่น แนะให้นักเรียนสนใจสิ่งเร้าที่ควร
จะใส่ใจหรอื เลือกใสใ่ จ
5. จัดให้นักเรียนมีโอกาสที่จะแสดงพฤติกรรมเหมือนตัวแบบ เพื่อจะได้ดูว่านักเรียนสามารถ
ที่จะกระทำโดยการเลียนแบบหรือไม่ ถ้านักเรียนทำได้ไม่ถูกต้องอาจจะต้องแก้ไขวิธีการสอนหรือ
อาจจะแกไ้ ขท่ตี วั ผูเ้ รียนเอง
6. ให้แรงเสริมแก่นักเรียนที่สามารถเลียนแบบได้ถูกต้อง เพื่อจะให้นักเรียนมีแรงจูงใจที่จะ
เรยี นรแู้ ละเป็นตัวอย่างแก่นกั เรียน

2.4 ตวั ต้านทาน
ตวั ต้านทาน หรือ รซี สิ เตอร์ (Resistor) หรอื เรยี กอีกชอื่ วา่ ตัว R เป็นอุปกรณ์อเิ ล็กทรอนิกส์

ทัว่ ไปนิยมเอามาประกอบเปน็ เครื่องใช้ไฟ้ฟ้า เช่น วงจรเครื่องรบั วทิ ยุ วงจรโทรทัศน์ วงจรเคร่ืองขยาย
เสียง เป็นต้น ตัวต้านทานที่ต่ออยู่ในวงจรไฟฟ้าทาหน้าทีใ่ นการต้านการไหลของกระแสไฟฟ้าไหลผ่าน
ทาด้วยลวดต้านทานหรือถ่านคาร์บอน เป็นต้น ในกรณีที่ มีความต้านทานมากจะยอมให้กระแสไฟฟ้า
ไหลผ่านได้น้อยลง หากกลับกัน หากมีความต้านทานน้อยจะยอมให้กระแสไฟฟ้าไหลผ่านได้มาก ลด
แรงดัน และจากัดการไหลของกระแสไฟฟ้าในวงจรตัวต้านทานมีรูปแบบและขนาดแตกต่างกันตาม
ลกั ษณะของการใช้งาน นอกจากน้ียงั แบ่งออกเป็นชนดิ ค่าคงที่ และ ชนิดปรับคา่ ได้

สญั ลกั ษณข์ องตัวตา้ นทาน

ชนิดของตัวตา้ นทานแบบตา่ งๆ
ตวั ตา้ ทานในปัจจุบนั ไดถ้ กู ออกแบบและผลติ ออกมาหลากหลายชนดิ โดยยึดเอาคา่ รปู แบบ

การใช้งานเปน็ หลัก ถกู แบ่งออกได้ 3 ประเภทดงั น้ี
1. ตวั ต้านทานแบบคา่ คงที่ (Fixed Resistor)
2. ตัวตา้ นทานแบบปรบั ค่าได้ (Adjustable Resistor)
3. ตัวต้านทานแบบเปลยี่ นค่าได้ (Variable Resistor)

2.5 งานวจิ ัยที่เก่ยี วข้อง
นิตยา วานิช และ พิศมัย หาญสมบัติ (2558 : บทคัดย่อ) การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพ่ือ

สรา้ งหาประสทิ ธิภาพ และศึกษาความพงึ พอใจทีม่ ีต่อชดุ เสรมิ ประสบการณ์เขยี นพยญั ชนะไทยสาหรบั

9

เด็กปฐมวัย ระดับชั้นบริบาล โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยราชภัฏอุตรดิตถ์ ภาคเรียนที่ 2/2556
ประชากร คือ นักเรียนปฐมวัยระดับชั้นบริบาล จานวน 50 คน ซึ่งได้มาจากการเลือกแบบเจาะจง
เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ ชุดเสริมประสบการณ์การเขียนพยัญชนะไทย แบบทดสอบวัด
ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน และแบบประเมินความพึงพอใจของนักเรียน การวิเคราะห์ข้อมูลและสถิติที่
ใชค้ ือคา่ รอ้ ยละ คา่ เฉลี่ย ค่าสถิตเิ บย่ี งเบนมาตรฐานและการทดสอบt-test ผลการวจิ ยั พบวา่ ชุดเสรมิ
ประสบการณ์การเขียนพยัญชนะไทย สาหรับเด็กปฐมวัยระดับชั้นบริบาล โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัย
ราชภัฏอุตรดิตถ์ จานวน 3 ชุด ได้แก่ 1. ชุดกิจกรรมเสริมความพร้อมเพื่อพัฒนาทักษะด้านการเขียน
พยัญชนะไทยดว้ ยกิจกรรมบริหารกล้ามเนือ้ มอื มัดเลก็ 2. ชุดกจิ กรรมพัฒนาทักษะการเขียนพยัญชนะ
ไทยด้วยกิจกรรมฝึกทักษะการเขียนตามรอยเส้นประ 3. ชุดกิจกรรมพัฒนาทักษะการเขียนพยัญชนะ
ไทยโดยใช้เครื่องมือฝึกเขียน “พร้อม ดี เยี่ยม” มีประสิทธิภาพ 82.57/82.83 ซึ่งมีประสิทธิภาพสูง
กว่าเกณฑ์ที่กาหนด 80/80 และความพึงพอใจของนักเรียนที่มีต่อชุดเสริมประสบการณ์การเขียน
พยัญชนะไทย อยู่ในระดับดมี าก อย่างมนี ัยสาคญั ทางสถติ ทิ ี่ระดับ .05

หทัยวรรณ จันทรอ์ ยู่ (2560 : บทคัดยอ่ ) การวิจัยครัง้ นี้มีวัตถุประสงคเ์ พือ่ พัฒนาชุดฝึกอบรม
แบบสร้างเสริมประสบการณ์การพูดภาษาอังกฤษด้วยบริบทท้องถิ่น สาหรับมัคคุเทศก์น้อยที่มี
ประสิทธิภาพ เปรียบเทียบความสามารถด้านการพูดภาษาอังกฤษก่อนเรียนและหลังเรียนโดยใช้ชุด
ฝึกอบรมและศึกษาความพึงพอใจของนักเรียนที่มีต่อชุดฝึกอบรม ประชากรที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่
นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ในโรงเรียนกลุ่มเครือข่ายตาบลคลองศก อาเภอพนม จังหวัดสุราษฎร์
ธานี กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวจิ ัย คือ นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 โรงเรียนบ้านบางปรุ จานวน 20
คน ได้มาดว้ ยวิธีการสุ่มอยา่ งง่าย โดยใชห้ น่วยโรงเรยี นในเครือขา่ ยในการสมุ่ ตวั อย่าง เคร่ืองมือท่ีใช้ใน
การวิจัยได้แก่ ชุดฝึกอบรมแบบสร้างเสริมประสบการณ์ทักษะการพูดภาษาอังกฤษด้วยบริบทท้องถ่ิน
สาหรับมัคคุเทศก์น้อย แบบทดสอบความสามารถด้านการพูดภาษาอังกฤษ มีค่าความยากระหว่าง
0.50-0.78 ค่าอานาจจาแนกระหว่าง 0.22-0.81 ค่าความเชื่อมั่นแบบทดสอบเท่ากับ 0.86 และ
แบบสอบถามความพึงพอใจต่อการฝึกอบรมโดยใช้ชุดฝึกอบรมมีค่าความเชื่อมั่นเท่ากับ 0.83
วิเคราะห์ขอ้ มูลโดยใช้สถิตพิ ื้นฐาน ได้แก่ ค่าร้อยละคา่ เฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และสถิติทดสอบ
ไดแ้ ก่ สถิติทดสอบที

ผลการวิจัยพบว่า ชุดฝึกอบรมแบบสร้างเสริมประสบการณ์การพูดภาษาอังกฤษด้วย
บริบทท้องถิ่น สาหรับมัคคุเทศก์น้อย มีประสิทธิภาพเท่ากับ 84.96/84.77 ความสามารถด้านทักษะ
การพูดภาษาอังกฤษหลังเรียนด้วยชุดฝึกอบรมหลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียนอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติท่ี
ระดบั 0.05 และความพงึ พอใจของนกั เรียนทม่ี ีตอ่ ชดุ ฝึกอบรมอย่ใู นระดับมาก

บทท่ี 3
วธิ ดี ำเนนิ การวิจยั

การวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงทดลอง เพื่อศึกษาผลการทดสอบการอ่านค่าตัวต้านทานเพ่ือ
นำไปใช้งานในวิชางานไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์เบื้องต้น ของนักเรียนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ
ปวช.1 แผนกวิชาช่างอิเล็กทรอนิกส์จำนวน 20 คน วิทยาลัยการอาชีพวิเศษชัยชาญ เพื่อให้การ
ดำเนินการวิจยั เป็นไปตามวตั ถุประสงค์ของการวิจยั ซ่งึ ขัน้ ตอนวจิ ัยได้ดำเนินการดงั ต่อไปน้ี
3.1 ประชากรและกลุ่มตวั อยา่ ง
ประชากร นักเรียนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ ปวช.1 แผนกวิชาช่างอิเล็กทรอนิกส์จำนวน
40 คน
กล่มุ ตัวอย่าง นักเรียนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ ปวช.1 แผนกวิชาช่างอิเล็กทรอนิกส์ จำนวน
20 คน
3.2 เครอ่ื งมอื ทีใ่ ชใ้ นการเกบ็ รวบรวมข้อมลู
นวตั กรรม

แบบฝึกเสริมประสบการณ์ เรื่อง การอ่านค่าความต้านทาน (ใบงาน เรื่อง การอ่านค่าความ
ต้านทาน ภาคผนวก ข)

เครอ่ื งมือทใ่ี ช้ในการวิจัยในครั้งน้ี
1. แบบฝึกเสริมประสบการณ์ วิชางานไฟฟา้ และอิเลก็ ทรอนกิ ส์เบื้องต้น เรื่อง การอ่านคา่ ความ

ต้านทาน
2. แผนการจัดการเรียนรู้
3. แบบทดสอบวดั ผลสัมฤทธ์ิ ทางการเรยี น

11
ตารางที่ 3.1 เกณฑ์การประเมนิ การให้คะแนนการทำแบบฝึกเสริมประสบการณ์

รายการ คำอธบิ ายคณุ ภาพ

ประเมนิ ดีมาก(8) ด(ี 6) พอใช้(4) ปรบั ปรุง(2)

1.การใชร้ หสั ค่า ใชร้ หัสค่าสีได้ ใชร้ หัสคา่ สีได้ ใชร้ หสั คา่ สีได้ ใชร้ หัสคา่ สีได้
สี ถูกต้อง ถูกต้องแตซ่ กั ถาม ถูกตอ้ งแต่เปิด ถกู ตอ้ งแต่เปดิ
ตารางตลอดเวลา
บางคร้งั ตาราง

2. รูปแบบการ อ่านได้ถกู อา่ นได้ถูกรปู แบบ อ่านไดถ้ กู รูปแบบ อ่านไดถ้ กู รปู แบบ
อา่ นคา่ ตัว รปู แบบ และยงั ไมค่ รบ แตต่ ้องเปดิ คูม่ ือ แต่ตอ้ งเปดิ คู่มือ
ตา้ นทาน
ท้ังหมด บา้ ง ตลอดเวลา

3. การใช้ ใชเ้ ครอ่ื งมอื ถกู ใชเ้ ครือ่ งมอื ถูกวิธี ใชเ้ คร่ืองมอื ถกู วธิ ี ไม่สามารถใช้
เครือ่ งมือวดั วิธีและอา่ นค่า แตอ่ า่ นคา่ บน แตอ่ า่ นคา่ บน เครือ่ งมือไดเ้ ลย
ค่าตวั ตา้ นทาน บนเคร่อื งมอื ได้ เครอื่ งมือไดบ้ า้ ง เครอื่ งมอื ต้องใช้
คมู่ อื ตลอด
ถูกต้อง

4. การแปลงคำ แปลงคำ แปลงคำอุปสรรค แปลงคำอปุ สรรค ไม่สามารถแปลง
อปุ สรรคของ อปุ สรรคของตวั ของตวั ตา้ นทาน ของตัวตา้ นทาน คำอุปสรรคของตัว
ความต้านทาน ไดแ้ ต่ยงั ตอ้ งเปิด ไดแ้ ตย่ งั ตอ้ งเปิด
ต้านทานได้ ตารางตลอด ต้านทานได้
ถกู ตอ้ ง ตารางบา้ ง

5. ผลการ แสดงผลทดลอง แสดงผลการ แสดงผลการ ไมไ่ ดส้ ามารถ
ทดลอง ได้ชัดเจนและ ทดลองไดแ้ ต่ ทดลองได้ไม่ แสดงผลการ
ถูกตอ้ งตามที่ ข้อมลู ไมค่ รบ ทดลองไมไ่ ด้
กำหนดไว้ ตามท่ตี ้องการ ชดั เจน

3.3 การเกบ็ รวบรวมขอ้ มูล/รูปแบบการทดลองและข้นั ตอนการทดลอง
การศึกษาครั้งนี้เป็นการศึกษาแบบกลุ่มตัวอย่างกลุ่มเดียวและมีการวัดผลการทดลอง 2 ครั้ง

ก่อนเรียนและหลังเรียนโดยวัดการอ่านค่าความต้านทานกับการเรียนแบบใช้แบบฝึกเสริม
ประสบการณ์ โดยมรี ายละเอียดดงั น้ี



12

X คือ แบบฝึกเสริมประสบการณ์ วิชางานไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์เบื้องต้น
เรอื่ ง การอา่ นคา่ ความต้านทาน

1 คือ แบบวัดผลก่อนเรียน วิชางานไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์เบื้องต้น เรื่อง
การอ่านคา่ ความต้านทาน

2 คือ แบบวัดผลหลังเรียน วิชางานไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์เบื้องต้น เรื่อง
การอ่านค่าความต้านทาน
การเกบ็ รวบรวมข้อมูล

1. สอนกล่มุ ตัวอยา่ ง ดว้ ยวธิ สี อนโดยแบบฝึกเสริมประสบการณ์
2. นำแบบทดสอบที่ผ่านการแก้ไขแลว้ มาจดั สอบเพือ่ วัดผลสมั ฤทธ์หิ ลังเรียน
3. เก็บรวบรวมข้อมูล เช่น เวลาของคนที่ทำเสร็จคนแรก เวลาของคนที่ทำเสร็จคนสุดท้าย
คะแนนสอบของแต่ละคน ความถกู ตอ้ งในการทำการทดลอง เป็นตน้
3.4 การวิเคราะหข์ อ้ มูล
สถิติทใ่ี ชใ้ นการวิเคราะห์ขอ้ มลู
1. หาความถแ่ี ละร้อยละทผ่ี า่ นเกณฑ์ (6 คะแนน) ของแต่ละกลุ่ม

จากสูตร = 100



การทดสอบครง้ั ท่ี 1 ผา่ นเกณฑ์ 8 คน ( = 8)จากนักเรียนทัง้ หมด 20 คน ( = 20)

การทดสอบครัง้ ที่ 2 = 8 100

20

= 40 %
ผ่านเกณฑ์ 18 คน ( = 18) จากนกั เรยี นทง้ั หมด 20 คน ( = 20)

= 18 100

20

= 90 %

2. หาระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน โดยหาค่าเฉลี่ย (Mean) และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน
(Standard deviation) มีสูตรดังน้ี

13

̅ = ∑


∑( − ̅)2
. . = √ ( − 1)

X̅ แทน คา่ เฉล่ีย
S.D. แทน สว่ นเบยี่ งเบนมาตรฐาน
X แทน คะแนนของนักเรยี น
n แทน จำนวนนกั เรียนในกลุ่มตัวอยา่ ง

บทที่ 4
ผลการวิเคราะห์ข้อมูล

ผลจากการศึกษา เปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนด้านการอ่านค่าความต้านทาน โดยใช้
แบบฝึกเสริมประสบการณ์ ของนักเรียนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นปีที่ 1 แผนกอิเล็กทรอนิกส์
วิทยาลัยเทคนิคมีนบุรี จำนวน 20 คน ผู้วิจัยได้นำข้อมูลที่เก็บรวบรวมมา ทำการวิเคราะห์ข้อมูลโดย
วิธีการทางสถิติ โดยเสนอผลการวเิ คราะหข์ อ้ มูลตามลำดับขัน้ ตอนต่อไปน้ี

1. สอนกล่มุ ตวั อยา่ ง ด้วยวธิ สี อนโดยชดุ ฝกึ ทกั ษะการตอ่ วงจร
2. นำแบบทดสอบทผี่ ่านการแก้ไขแลว้ มาจัดสอบเพอื่ วดั ผลสมั ฤทธิ์หลังเรยี น
3. เก็บรวบรวมข้อมูล เช่น เวลาของคนที่ทำเสร็จคนแรก เวลาของคนที่ทำเสร็จคนสุดท้าย
คะแนนสอบของแต่ละคน ความถูกตอ้ งในการทำการทดลอง เป็นต้น
4.1 ผลวิจัย
จากการวิเคราะหข์ อ้ มูลสามารถนำเสนอผลการวิจยั ไดด้ ังน้ี

ตารางท่ี 4.1 ผลการเปรยี บเทียบผลสัมฤทธ์ทิ างการเรียนในการทดสอบคร้งั ที่ 1
และการทดสอบครั้งที่ 2

แบบทดสอบครั้งท่ี 2 แบบทดสอบคร้งั ท่ี 2

คนที่ ( 10 คะแนน ) ( 10 คะแนน ) 2

( 1) ( 1)2 ( 1) ( 1)2

1 6 36 8 64 2 4

2 6 36 10 100 4 16

3 4 16 7 49 3 9

4 5 25 7 49 2 4

5 7 49 10 100 3 9

6 2 4 8 64 6 36

7 3 9 5 25 2 4

8 3 9 6 36 3 9

9 5 25 8 64 3 9

10 4 16 8 64 4 16

11 6 36 6 36 0 0

12 7 49 10 100 3 9

13 4 16 9 81 5 25

15

ตารางท่ี 4.1 ผลการเปรียบเทียบผลสัมฤทธ์ทิ างการเรียนในการทดสอบคร้ังท่ี 1
และการทดสอบครง้ั ท่ี 2 (ตอ่ )

แบบทดสอบครงั้ ท่ี 2 แบบทดสอบคร้งั ที่ 2

คนท่ี ( 10 คะแนน ) ( 10 คะแนน ) 2

( 1) ( 1)2 ( 1) ( 1)2

14 3 9 9 81 6 36

15 5 25 10 100 5 25

16 5 25 10 100 5 25

17 7 49 9 81 2 4

18 8 64 10 100 2 4

19 7 49 10 100 3 9

20 2 4 5 25 3 9

∑x = 100 ∑x = 553 ∑x = 166 ∑x = 1421 ∑x = 66 ∑x = 262

4.2 การวิเคราะห์ข้อมลู

ตารางที่ 4.2 ผลการวิเคราะห์ข้อมลู ความถร่ี อ้ ยละ ของจำนวนนกั เรียนทผี่ ่านเกณฑ์
ในการทดสอบท้ัง 2 คร้งั

กลุ่มนักเรียน n คะแนน จำนวนนกั เรียนที่ จำนวนนักเรียนท่ีคะแนน
เต็ม คะแนนผ่านเกณฑ์ ผา่ นเกณฑ์ (รอ้ ยละ)
การทดสอบครงั้ ท่ี 1 20
การทดสอบครง้ั ที่ 2 20 10 8 40
10 18 90

จากตารางท่ี 1 พบวา่

• การทดสอบครงั้ ที่ 1 ทผี่ ่านเกณฑ์มที ัง้ หมด 8 คน คดิ เป็น 40 % ไม่ผ่านเกณฑ์ 12 คน คิดเป็น
60 %

• การทดสอบครั้งที่ 2 ที่ผ่านเกณฑ์มีทั้งหมด 18 คน คิดเป็น 90 % ไม่ผ่านเกณฑ์ 2 คน คิด
เป็น 10 %
สรุป นักเรียนที่เรียนด้วยแบบฝึกเสริมประสบการณ์มีผลสัมฤทธิ์ผ่านเกณฑ์มากกว่าการ

ทดสอบครงั้ ที่ 1

16
ตารางที่ 4.3 การวิเคราะห์คา่ เฉลีย่ และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานของนกั เรยี นในการทดสอบท้งั 2 ครั้ง

กล่มุ นักเรียน ̅ n SD
การทดสอบคร้งั ที่ 1 5 20 1.75

การทดสอบครั้งท่ี 2 8.3 20 1.70

จากตารางที่ 2 พบวา่
ผลการการวิเคราะห์ข้อมูล การหาค่าเฉลี่ยและส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานของคะแนนการ

ทดสอบทั้ง 2 ครั้ง ทั้งหมด 20 คน คะแนนเฉลี่ยของนักเรียนกลุ่มทดลองคือ 5 คะแนนเฉลี่ยของ
นักเรียนกลุ่มควบคุมคือ 8.3 และค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานของนักเรยี นกลุ่มทดลองคือ 1.75 ค่าส่วน
เบี่ยงเบนมาตรฐานของนกั เรยี นกลุ่มควบคมุ คือ 1.70

สรปุ นกั เรยี นทเ่ี รยี นดว้ ยชดุ ฝกึ ทกั ษะการตอ่ วงจร มีคะแนนค่าเฉล่ียสูงกวา่ นักเรยี นในการ
ทดสอบครงั้ ท่ี 1 และมคี า่ ส่วนเบยี่ งเบนมาตรฐานต่ำกวา่ นกั เรยี นในการทดสอบครัง้ ที่ 2

ตารางที่ 4.4 การเปรยี บเทยี บผลสมั ฤทธิ์ในการทดสอบคร้งั ที่ 2 กบั เกณฑ์

กลมุ่ นกั เรียน n ̅ SD df tคำนวณ tตาราง

กล่มุ ทดลอง 20 8.3 1.7 21 2.22* 0.30*

เกณฑ์ 6

จากตารางที่ 3 พบว่า tคำนวณ≥ tตาราง
สรุป นักเรียนที่เรียนด้วยแบบฝึกเสริมประสบการณ์ มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนสูงกว่าเกณฑ์

อยา่ งมนี ยั สำคญั ทางสถิตทิ ่ี 0.05

บทท่ี 5
อธปิ รายและเสนอแนะ

5.1 อธิปราย
การวิจัยในชั้นเรียน เรื่องการพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนด้านการอ่านค่าความต้านทาน

โดยใช้แบบฝึกเสริมประสบการณ์ ของนักเรียนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นปีที่ 1 แผนก
อเิ ล็กทรอนกิ ส์ วิทยาลยั เทคนคิ มนี บรุ ี จำนวน 20 คน โดยการวจิ ัยในคร้ังนีเ้ กดิ ขึ้นจากปัญหาในการนำ
ตัวต้านทานมาใช้งานไม่ได้ เนื่องจากอ่านค่าตัวต้านทานไม่ถูกต้อง ทางผู้วิจัยได้คิดวิธีแก้ปัญหา คือ
โดยใช้แบบฝึกเสริมประสบการณ์เพื่อให้นักเรียนสามารถอ่านค่าความต้านทานได้ถูกต้อง เครื่องมือที่
ใช้ในการวิจัย ประกอบด้วย การสอนโดยใช้แบบฝึกเสริมประสบการณ์ เรื่อง การอ่านค่าความ
ต้านทาน เพื่อวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักศึกษาวิเคราะห์ข้อมูลโดยการหาค่าร้อยละค่าเฉลี่ย (
̅), ส่วนเบยี่ งเบนมาตรฐาน (S.D.) และการทดสอบด้วยสถติ ทิ ี(t – test for dependent samples)

นวัตกรรมที่ใช้ในการแก้ปัญหาการพัฒนาการอ่านค่าความต้านทาน วิชางานไฟฟ้าและ
อิเล็กทรอนิกส์เบื้องต้น โดยใช้แบบฝึกเสริมประสบการณ์ เมื่อเริ่มทำการวิจัยทางผู้สอนได้ทำการ
อธิบายเนื้อหาและการอ่านค่าความต้านทาน ให้นักเรียนกลุ่มตัวอย่าง ทำแบบทดสอบ เรื่องการอ่าน
ค่าสีความต้านทาน คะแนนเต็ม 10 คะแนน โดยกำหนดเกณฑ์ไว้การผ่านการทดสอบที่ 6 คะแนน
โดยผลการทดสอบครั้งที่ 1 นักเรียนกลุ่มตัวอย่าง จำนวน 20 คน คือ มีนักเรียนที่ผ่านเกณฑ์การ
ทดสอบจำนวน 8 คน คิดเป็น 40 % ค่าเฉลี่ยของผลการทดสอบ คือ 5 มีค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน
1.75 หลังจากนั้นทำการใช้แบบฝึกเสริมประสบการณ์ ทดสอบครั้งที่ 2 กับนักเรียนกลุ่มตัวอย่าง
จำนวน 20 คน ทำแบบทดสอบ เรื่องการอา่ นค่าสีความต้านทาน คะแนนเต็ม 10 คะแนน โดยกำหนด
เกณฑ์การผา่ นการทดสอบไวท้ ี่ 6 คะแนน โดยผลการทดสอบนกั เรียนกลุ่มทดลอง จำนวน 20 คน คอื
มีนักศึกษาผ่านเกณฑ์การทดสอบจำนวน 18 คน คิดเป็น 90 % ค่าเฉลี่ยของผลการทดสอบ คือ 8.30
มคี ่าคา่ ส่วนเบยี่ งเบนมาตรฐาน 1.70

การทำวิจัยในครั้งนี้ สรุป ได้ว่านักเรียนกลุ่มตัวอย่าง ที่ใช้วิธีการสอนประกอบการใช้แบบฝึก
เสริมประสบการณม์ ผี ลสมั ฤทธิท์ างการเรียนสูงข้ึน โดยเป็นไปตามวัตถุประสงคข์ องการวิจัย

5.2 ข้อเสนอแนะ
การวิจัยในชั้นเรียน เรื่องการพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนด้านการอ่านค่าความต้านทาน

โดยใช้แบบฝึกเสริมประสบการณ์ ของนักเรียนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นปีที่ 1 แผนก
อิเล็กทรอนิกส์ วิทยาลัยเทคนิคมีนบุรี จำนวน 20 คน ผลที่ออกมาทำให้นักเรียนมีความเข้าใจในการ
เรียนและเกิดทักษะ กระบวนการคิด โดยใช้สื่อการสอนแบบฝึกเสริมประสบการณ์เพื่อให้นักเรียนได้
เข้าใจหลักการอ่านค่าความต้านทานและการนำไปใช้งาน ตลอดจนสามารถจะนำความรู้ ไปพัฒนาตอ่

18

ในสาขางานที่เกี่ยวข้อง กับการใช้วงจรและเพื่อให้ได้ผลสัมฤทธิ์ที่ดียิ่งขึ้นไปอีก ควรพัฒนาแบบฝึกหัด
ใหค้ รอบคลุมในรายวชิ าเพือ่ ให้นกั ศึกษาเขา้ ใจในบทเรียนมากย่ิงขนึ้

เอกสารอา้ งอิง

นงนชุ เพยี รไม่คลาย. (2557). การพัฒนาทกั ษะการจดจาคาศัพท์โดยการฝกึ เขยี นคาศพั ท์. (เอกสาร
งานวิจยั ในชั้นเรยี น). กรุงเทพมหานคร: โรงเรียนอัสสัมชญั แผนกประถม

นติ ยา วานิช และ พิศมยั หาญสมบัติ. (2558). ชุดเสริมประสบการณก์ ารเขยี นพยญั ชนะไทยสาหรบั
เดก็ ปฐมวัยระดบั ช้นั บรบิ าล โรงเรียนสาธิตมหาวทิ ยาลัยราชภัฏอุตรดติ ถ์. วารสารวิชาการ
เครอื ขา่ ยบณั ฑติ ศกึ ษา มหาวิทยาลัยราชภัฏภาคเหนือ, 4(6)

สมพร เชอ้ื พันธ.์ (2547). การเปรียบเทยี บผลสมั ฤทธิท์ างการเรยี นคณิตศาสตรข์ องนกั เรยี นชัน้
มัธยมศึกษาปที 3่ี โดยใช้วธิ กี ารจัดการเรียนการสอนแบบสรา้ งองคค์ วามรู้ด้วยตนเองกับ
จดั การเรยี นการสอนตามปกต.ิ วทิ ยานิพนธ์ ค.ม.
(หลกั สูตรและการสอน). พระนครศรอี ยุธยา : บัณฑติ วทิ ยาลยั สถาบันราชภั
พระนครศรอี ยธุ ยา. ถา่ ยเอกสาร

พมิ พนั ธ์ เตชะคปุ ต.์ (2548). การเรียนการสอนท่ีเนน้ ผู้เรียนเปน็ ศูนยก์ ลาง. กรุงเทพฯ :
เดอะมาสเตอร์กรุ๊ป แบเนจเม็นท์.

ปราณี กองจนิ ดา. (2549). การเปรยี บเทียบผลสมั ฤทธทิ์ างการเรยี นคณิตศาสตรแ์ ละ
ทักษะการ คิดเลขในใจของนกั เรยี นทไ่ี ดร้ ับการสอนตามรปู แบบซิปปาโดยใช้
แบบฝกึ หัดท่ีเนน้ ทกั ษะการคิดเลขในใจกับนักเรยี นที่ไดร้ บั การสอนโดยใชค้ ่มู อื
คร.ู วทิ ยานิพนธ์ ค.ม.(หลักสูตร และการสอน). พระนครศรีอยธุ ยา : บณั ฑติ
วิทยาลยั มหาวทิ ยาลัยราชภฏั พระนครศรีอยธุ ยา. ถา่ ยเอกสาร.

ภาคผนวก ก

แบบฝกึ เสริมประสบการณ์

21

แบบฝึกเสริมประสบการณ์

ชื่อวิชา งานไฟฟ้าและอิเลก็ ทรอนิกส์เบื้องตน้ หน่วยที่ 4

ชอ่ื หนว่ ย ตวั ตา้ นทาน สอนสัปดาห์ที่ 5

ชื่อเรื่อง/ชอ่ื งาน ตวั ตา้ นทาน จานวนชั่วโมง 4

ชอ่ื ……………………….………………………………………รหสั นกั ศึกษา.........…….............ระดับชั้น……………….

1. วัตถปุ ระสงค์เชงิ พฤติกรรม (เพอ่ื ให้นกั เรยี นความสามารถ) 1 ชุด
1. อ่านค่าความตา้ นทานและค่าผดิ พลาดของตวั ต้านทานได้ 1 เครอื่ ง
2. อ่านค่าความตา้ นทานดว้ ยมลั ติมิเตอรไ์ ดถ้ ูกต้อง 2 ตัว

2. เครื่องมือและอปุ กรณ์
1. โฟโต้บอรด์
2. มัลติมเิ ตอร์
3. ตวั ตา้ นทาน 10kΩ 1 ตวั , 20kΩ

ทฤษฎีเบอื้ งตน้
ตัวต้านทาน (Resistor) เป็นอุปกรณ์ที่ใช้ในการต้านทานการไหลของกระแสไฟฟ้า เพื่อทาให้

กระแสและแรงดันภายในวงจรได้ขนาดตามที่ต้องการ สัญลักษณ์ของตัวต้านทานที่ใช้ในการเขียน
วงจรมอี ย่หู ลายแบบดงั แสดงในรูปที่ 1

รปู ท่ี 1 แสดงสัญลกั ษณ์ของตวั ต้านทาน

1. หน่วยของตัวตา้ นทาน
หน่วยของความตา้ นทานวัดเป็นหน่วย " โอหม์ " เขยี นแทนด้วยอกั ษรกรีกคือตวั " โอเมก้า "

(Ω) ค่าความต้านทาน 1 โอห์มหมายถึงการป้อนแรงดันไฟฟ้าขนาด 1 โวลต์ ไหลผ่านตัวต้านทานแล้ว
มกี ระแสไฟฟ้าไหลผา่ น 1 แอมแปร์

2. การอา่ นค่าความตา้ นทานแบบ 4 แถบสี และ 5 แถบสี

22

การอ่านความต้านทานแบบ 4 แถบสี

การอา่ นความต้านทานแบบ 5 แถบสี

ตัวอยา่ งการอา่ นคา่ ความตา้ นทาน 4 แถบสี

แถบสีท่ี 1 2 3 4
ทอง
สี น้าตาล ดา แดง
± %
ค่า 1 0 x102

วธิ กี ารอา่ นคา่ สี
10 x 100 ± % = 1000 โอห์ม คา่ ความผิดพลาด ± %
= 1 k คา่ ความผดิ พลาด ± %

23
การวดั ความตา้ นทาน

การวัดความต้านทานต้ังสวิตชเ์ ลือกย่านไปที่ Ω มที ัง้ หมด 5 ย่านวดั คอื ยา่ น x 1, x 10, x
100, x 1k และ x 10k (แลว้ แตม่ เิ ตอร์แตล่ ะร่นุ ) อ่านคา่ ความตา้ นทานทสี่ เกล Ω การวดั ปฏบิ ตั ดิ ังน้ี

1. โครงสร้างเบื้องต้นของโอห์มมิเตอร์ในมัลติมิเตอร์ ประกอบด้วยแบตเตอรี่ (ถ่านไฟฉาย) 2
ชดุ คือชุดแบตเตอร่ี 3 V (1.5 V x 2) ใชก้ บั ย่านวดั Ω ยา่ น x1, x10, x100 และ x1k ส่วนชุดแบตเตอร่ี
9 V ถูกต่ออนุกรมร่วมกับชุด 3 V เพื่อใช้งานย่านวัด Ω ย่าน x 10k แบตเตอรี่ ทั้ง 2 ชุด ต่ออนุกรม
ร่วมกับตัวต้านทานปรับค่าได้ 0 Ω ADJ และต่ออนุกรมร่วมกับชุดขดลวดเคลื่อนที่ของมิเตอร์
โครงสรา้ งเบ้อื งต้นของโอหม์ มเิ ตอร์ในมัลติมเิ ตอร์ แสดงดงั รปู ท่ี 4

รูปที่ 4 โครงสร้างเบ้อื งตน้ ย่านวัดโอห์มของมเิ ตอร์
2. สายวัดสีแดงเสียบเข้าที่ขั้วบวก (+) สายวัดสีดาเสียบเข้าที่ขั้วลบ (-COM) ของมิเตอร์ การ
วัดความต้านทานใช้สายวดั ทง้ั สองไปวดั ค่า
3. ก่อนนาโอห์มมิเตอร์ไปใช้วัดตัวต้านทานทุกครั้ง และทุกย่านที่ตั้งวัดโอห์ม ต้องปรับแต่ง
เข็มชี้ของมิเตอร์ชีค้ ่า 0 ก่อน ขณะช็อตปลายสายวัดดา , แดง เข้าด้วยกัน โดยปรับที่ปุ่ม 0 ADJ แสดง
ดังรปู ท่ี 5

รูปที่ 5 วัดความต้านทานด้วยมัลติมิเตอร์

24

ข้อควรระวงั ในการใชม้ ัลติมเิ ตอร์
มัลติมิเตอร์เป็นมิเตอร์ที่มีส่วนประกอบของอุปกรณ์หลายชนิด แต่ละชนิดมีขนาดเล็กและ

บอบบาง ย่ิงในส่วนเคล่ือนไหวประกอบร่วมเป็นเข็มช้มี ิเตอร์ยิ่งต้องระมัดระวงั อย่างมาก ตลอดจนการ
นาไปใช้งานก็ต้องระวังในเรื่องปริมาณไฟฟ้าที่ทาการวัด และอีกหลายสิ่งหลายอย่างสามารถกล่าว
โดยสรปุ เปน็ ข้อ ๆ ได้ดงั นี้

1. การวัดปริมาณไฟฟ้าต่าง ๆ ที่ไม่ทราบค่า ครั้งแรกควรตั้งย่านวัดในย่านสูงสุดไว้ก่อน เม่ือ
วัดค่าแล้วจึงค่อย ๆ ลดย่านวัดต่าลงมาให้ถูกต้องกับปริมาณไฟฟ้าที่ทาการวัดค่า และต้องต่อขั้ววัด
บวก (+) ลบ (-) ใหถ้ ูกต้อง

2. การตั้งย่านวัดปริมาณไฟฟ้าชนิดหนึ่ง แต่นาไปใช้วัดปริมาณไฟฟ้าอีกชนิดหนึ่งจะมีผลต่อ
การทาให้มลั ติมเิ ตอรช์ ารดุ เสยี หายได้ เชน่ ตง้ั ย่านวัดกระแสไฟฟา้ แต่นาไปวดั แรงดนั ไฟฟ้า เป็นต้น

3. ห้ามวดั ค่าความต้านทานด้วยย่านวัดโอห์มมิเตอร์ของมลั ตมิ ิเตอร์ ในวงจรท่กี าลังไฟฟ้าจ่าย
อยู่ เพราะจะทาให้ย่านวัดโอห์มของมัลติมิเตอร์ชารุดเสียหายได้ต้องตัดไฟจากวงจรก่อนและปลดขา
ตวั ต้านทานหรอื ขาอปุ กรณต์ วั ท่ตี ้องการวดั ออกจากวงจรเสียก่อน

4. ขณะพักการใช้มัลติมิเตอร์ทุกครั้งควรปรับสวิตช์เลือกย่านวัดไฟที่ย่าน 1,000 VDC เสมอ
เพราะเป็นย่านวัดที่มีค่าความต้านทานภายในมัลติมิเตอร์สูงสุด เป็นการป้องกันความผิดพลาดในการ
ใช้งานครั้งต่อไป เมื่อลืมตั้งย่านวัดที่ต้องการ ในมัลติมิเตอร์บางรุน่ อาจมีตาแหน่ง OFF บนสวิตซ์เลือก
ย่านวัด ให้ปรับสวิตช์เลือกย่านวัดไปที่ตาแหน่ง DFF เสมอ เพราะเป็นการตัดวงจรมิเตอร์ออกจาก
ขั้วตอ่ วดั

5. ถ้าต้องการหยุดการใช้งานมัลติมิเตอร์เป็นเวลานาน ๆ หรืองดใช้งานมัลติมิเตอร์ ควรปลด
แบตเตอรี่ที่ใส่ไว้ในมัลติมิเตอร์ออกมาจากมัลติมิเตอร์ให้หมด เพื่อป้องกันการเสื่อม ของแบตเตอรี่
และการเกิดสารเคมีไหลออกมาจากแบตเตอร่ี อาจกดั กร่อนอปุ กรณ์ต่าง ๆ ภายในมัลตมิ เิ ตอรจ์ นชารดุ
เสียหายได้ ในการเก็บมลั ตมิ ิเตอร์

6. ไมค่ วรเกบ็ มลั ติมิเตอร์ไว้ในบริเวณที่มีอณุ หภมู ิสงู หรอื มคี วามชน้ื สูง

ข้นั ตอนการทดลอง
1. ปรับสวิตซ์เลือกย่านการวัด (Selector switch) มาที่ย่านการวัดโอห์ม พร้อมทั้งทาการ

ปรบั แตง่ ป่มุ ปรบั Zero หรอื Ohm Adjust
2. วัดค่าความต้านทานจากตัวต้านทานตามตารางที่ 1 พร้อมบันทึกค่าที่อ่านได้จากมัลติ

มเิ ตอร์ลงในตารางที่ 1

25

ตารางท่ี 1 ตารางการบนั ทกึ การวดั ค่าความตา้ นทานที่ยา่ นวัดโอห์ม

ยา่ นวดั (Ω) 10kΩ 20kΩ
เขม็ ชที้ ีต่ าแหน่ง ค่าทว่ี ัดได้ เขม็ ช้ีท่ีตาแหน่ง ค่าทว่ี ัดได้

x10 1k 10k 2k 20k

x100 200 10k 100 20k

x1k 10 10k 20 20k

x10k 1 10k 2 20k

สรปุ ผลการทดลอง
ในการใช้มัลติมิเตอร์ในการวัดค่าแรงดัน กระแส หรือความต้านทาน ต้องเลือกยา่ นท่ีจะวดั ให้

ถูกต้อง ไม่ควรตั้งย่านวัดอีกย่านแล้วไปวันอีกย่าน เช่นตั้งย่านวัดแรงดันแต่ไปวัดย่านกระแส จากการ
ทดลองเป็นการใช้มัลติมิเตอร์วัดแรงดัน กระแส และตัวต้านทาน โดยการเปลี่ยนย่านวัดแต่ยังคงวัดท่ี
ตาแหน่งเดิมแลว้ ทาการเปรียบเทยี บ ดูข้อแตกตา่ งของแตล่ ะย่านทีไ่ ดเ้ ลอื กจะเหน็ ได้ว่าในการวัดหาค่า
ความต้านทานตัวหนึ่งนั่น สามารถที่จะตั้งย่านวัดได้หลายย่าน แล้วแต่การอ่านว่าตั้งย่านไหนแล้วจะ
งา่ ยต่อตวั เอง

แบบฝึกหดั ทา้ ยการทดลอง
EX.1

แถบสที ี่ 1 2 3 4
ทอง
สี นา้ ตาล ดา ส้ม
± %
ค่า 1 0 x103

วิธีการอ่านคา่ สี

10 x 1000 ± % = 10000 โอหม์ ค่าความผดิ พลาด ± %

= 10 k คา่ ความผดิ พลาด ± %

26

EX.2

แถบสที ่ี 1 2 3 4
ทอง
สี นา้ ตาล เขยี ว ส้ม
± %
ค่า 1 5 x103

วิธีการอ่านคา่ สี

15 x 1000 ± % = 15000 โอห์ม ค่าความผิดพลาด ± %

= 15 k คา่ ความผดิ พลาด ± %

EX.3

แถบสีท่ี 1 2 3 4
ทอง
สี น้าเงิน เทา แดง
± %
ค่า 6 8 x102

วิธกี ารอ่านคา่ สี

68 x 100 ± % = 6800 โอหม์ ค่าความผดิ พลาด ± %

= 6.8 k คา่ ความผดิ พลาด ± %

EX.4

แถบสีที่ 1 2 3 4

สี เหลือง มว่ ง เหลอื ง ทอง

ค่า 4 7 x104 ± %

วิธีการอา่ นคา่ สี

47 x 10000 ± % = 470000 โอหม์ คา่ ความผิดพลาด ± %

= 470 k ค่าความผดิ พลาด ± %

27

EX.5

แถบสีท่ี 1 2 3 4
ทอง
สี น้าตาล แดง สม้
± %
ค่า 1 2 x103

วิธกี ารอา่ นคา่ สี

12 x 1000 ± % = 12000 โอหม์ คา่ ความผดิ พลาด ± %

= 12 k คา่ ความผดิ พลาด ± %

EX.6

แถบสที ่ี 1 2 3 4

สี แดง เหลอื ง ม่วง ทอง

ค่า 2 4 x107 ± %

วิธีการอ่านคา่ สี

24 x 10000000 ± % = 240000000 โอห์ม ค่าความผิดพลาด ± %

= 240 M คา่ ความผิดพลาด ± %

ภาคผนวก ข

แบบทดสอบ

29

วทิ ยาลยั เทคนคิ มีนบรุ ี ระดับชนั้ ปวช.1
ข้อสอบการอ่านคา่ ตัวตา้ นทาน เวลา 30 นาที
วิชา งานไฟฟา้ และอเิ ล็กทรอนกิ ส์เบ้อื งตน้ (20100 - 1005)

คำสงั่ จงเลือกคำตอบทถี่ กู ทสี่ ดุ เพยี งข้อเดยี ว

1. ข้อใดถูกตอ้ งเกย่ี วกบั ชนิดของการอ่านคา่ แถบสขี องตัวต้านทาน

ก. 1 ชนดิ ได้แก่ 4 สีแถบสี ข. 1 ชนิด ได้แก่ 5 สแี ถบสี

ค. 2 ชนดิ ได้แก่ 4 สีแถบสี และ 5 แถบสี ง. 2 ชนิด ไดแ้ ก่ 3 สีแถบสี และ 5 แถบสี

2. ในการอา่ นค่าความตา้ นทานแบบ 4 แถบสี แถบสที ่ี 3 หมายถึงอะไร

ก. ตวั ตั้ง ข. ตัวพหุคณู

ค. คา่ ความคลาดเคล่ือน ง. ไมม่ ีข้อถกู

3. สแี ดง ในการอา่ นค่าความตา้ นทาน เปรียบไดก้ บั หมายเลขใด

ก. 2 ข. 3 ค. 3 ง. 4

4. สมี ่วง ในการอ่านคา่ ความต้านทาน เปรยี บไดก้ บั หมายเลขใด

ก. 5 ข. 6 ค. 7 ง. 8

5. สีทอง ในการอ่านคา่ ความต้านทาน มีค่าความคลาดเคลอื่ นเทา่ ใด

ก. + 5 % ข. + 10 % ค. + 15 % ง. + 20 %

6. สเี งิน ในการอา่ นค่าความตา้ นทาน มคี า่ ความคลาดเคลอ่ื นเท่าใด

ก. + 5 % ข. + 10 % ค. + 15 % ง. + 20 %

7. ในการอ่านคา่ ความต้านทานแบบ 5 แถบสี แถบสที ่ี 5 หมายถงึ อะไร

ก. ตวั ตัง้ ข. ตวั พหคุ ูณ

ค. ค่าความคลาดเคลอื่ น ง. ไม่มีข้อถูก

8. หน่วยวัดของตัวตา้ นทานคอื อะไร

ก. แอมป์ ข. โวลต์

ค. โอห์ม ง. โวลต-์ แอมป์

9. ถา้ นกั ศึกษาต้องการวดั ความตา้ นทาน ควรต้งั ย่านวัดไปทใ่ี ด

ก. โอห์มมเิ ตอร์ ข. วัตต์มเิ ตอร์

ค. โวลตม์ ิเตอร์ ง. แอมป์มเิ ตอร์

10. สเกลบนสดุ ของมิเตอร์ คอื ย่านวัดค่าของอะไร

ก. ยา่ นวดั D.C. แอมปม์ เิ ตอร์ ข. ยา่ นวดั A.C. โวลตม์ เิ ตอร์

ค. ยา่ นวัด D.C โวลต์มิเตอร์ ง. ย่านวดั โอห์มมิเตอร์

ประวัตผิ ูเ้ ขียน

ชื่อ-สกุล นางสาวธารวมิ ล วงศ์โอษฐ์
วนั -เดือน-ปเี กดิ 15 พฤศจิกายน 2538
สถานทเี่ กดิ โรงพยาบาลวานรนิวาส จังหวดั สกลนคร
ท่ีอยู่ปัจจุบนั 52 หมู่ 2 ตำบลสรา้ งคอม อำเภอสร้างคอม จังหวัดอุดรธานี 41260

ประวัตกิ ารศึกษา • ประถมศกึ ษา โรงเรยี นอนบุ าลสรา้ งคอม จังหวดั อุดรธานี
• ประถมศึกษา โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ์ จังหวัด
ปทมุ ธานี
• มธั ยมศกึ ษาตอนต้น โรงเรยี นอัมพรไพศาล จังหวดั นนทบรุ ี
• มัธยมศึกษาตอนปลาย โรงเรยี นอัมพรไพศาล จงั หวดั นนทบุรี
• ปริญญาตรี สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง
หลกั สตู รครศุ าสตรอ์ ุตสาหกรรมบัณฑติ (5 ป)ี สาขาวิชาครุศาสตรว์ ศิ วกรรม
• ปริญญาโท สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง
หลกั สตู รครุศาสตรอ์ ุตสาหกรรมมหาบณั ฑติ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้าสื่อสาร


Click to View FlipBook Version