The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

รายงานแผน-DLIT-ครูวนิชนันท์

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by THEP MOVIE, 2020-10-12 00:35:11

รายงานแผน-DLIT-ครูวนิชนันท์

รายงานแผน-DLIT-ครูวนิชนันท์

Keywords: DLIT

คำนำ
ดว ยผูสอน นางวนชิ นนั ท มณฑล รบั ผดิ ชอบสอนรายวิชาภาษาไทย รหัสวิชา ท ๒๒๑๐๑ ชั้นมธั ยมศึกษาปท ่ี
๒ /๒ ภาคเรียนที่ ๑ ปการศึกษา ๒๕๖๓ โรงเรยี นเทพอุดมวทิ ยา ไดจัดทำแผนการจัดการเรียนรูบูรณาการ
รปู แบบการจดั การเรยี นรทู างไกล (DLIT) ดว ยรปู แบบ TEACHER - Model วิชาภาษาไทย รหัสวชิ า ท ๒๒๑๐๑
ชัน้ มัธยมศึกษาปท ี่ ๒ /๒ ภาคเรียนท่ี ๑ ปก ารศึกษา ๒๕๖๓ ใชสอนในวนั ที่ ๒๘ เดือนกันยายน พุทธศักราช
๒๕๖๓ ภาคเรียนท่ี ๑ ปก ารศกึ ษา ๒๕๖๓ และมาตรฐานวชิ าชีพครูไดก ำหนดให ครูตอ งมงุ มน่ั พฒั นาผูเ รยี น โดย
ใชแ ผนการสอนใหสามารถปฏิบัตไิ ดเ กิดผลจริง พัฒนาสอ่ื การเรียนการสอนใหมีประสิทธิภาพ เพ่อื ใหผเู รยี นบรรลุ
จุดประสงคข องการเรียนรู โดยมุงเนนใหผ ูเ รียนประสบผลสำเรจ็ ในการแสวงหาความรตู ามสภาพความแตกตาง
ของบคุ คล ดว ยการปฏบิ ัติจรงิ และสรุปความรูทง้ั หลายไดด วยตนเอง กอใหเ กิดคานิยมและนสิ ัยในการปฏิบตั ิจน
เปน บคุ ลิกภาพถาวรติดตวั ผูเรียนตลอดไป
ดงั นน้ั ขาพเจา จึงไดพ ฒั นาแผนการจดั การเรียนรบู ูรณาการรูปแบบการจดั การเรยี นรูทางไกลโดยใช
กระบวนการหอ งเรียนกลบั ดา นบน Platform DLIT ดวยรูปแบบ TEACHER – Model
บดั น้ี ขาพเจาไดจัดกิจกรรมการเรยี นรูเสร็จเรยี บรอยแลว ในการดำเนินการในคร้ังน้อี หวงั วา รายงานฉบบั นจ้ี ะ
มีประโยชนใ นการนำขอมลู ไปใชโรงเรียนตอไป

.....................................
นางวนิชนนั ท มณฑล
ตำแหนง ครวู ิทยฐานะครูชำนาญการ

สารบญั

เร่ือง หนา
วตั ถปุ ระสงคข องการรายงาน ๑
ขอบเขตการรายงาน ๑
เอกสารประกอบรายงาน ๑
กระบวนการดำเนินงาน ๑
กระบวนการจดั การเรียนรู (ใหม) ๑
ผลการใชแผนการจัดการเรยี นรู ๒
สรปุ ผลลพั ธจากการดำเนนิ งาน ๕
จุดเดน ของแผนการจัดการเรยี นรู ๕
จดุ ควรปรับปรงุ ของแผนการจดั การเรียนรู ๕
ส่งิ ท่ีควรปรับปรุงในปการศกึ ษา ๕
ปญ หาอุปสรรค/ขอเสนอแนะ ๕
ภาคผนวก ๗

แผนการจดั การเรยี นรู
แบบประเมินความพึงพอใจ
ประมวลภาพ



รายงานการใชแ ผนการจดั กิจกรรมการเรียนรู
รายวิชาภาษาไทย รหัสวิชา ท ๒๒๑๐๑ กลมุ สาระการเรียนรูภาษาไทย
โรงเรยี นเทพอดุ มวิทยา อำเภอสงั ขะ จังหวัดสุรินทร สำนกั งานเขตพ้ืนท่กี ารศกึ ษามัธยมศึกษา เขต ๓๓

๑. วัตถุประสงคของการรายงาน
๑.๑ เพ่ือศึกษาผลการใชแ ผนการจัดการเรียนรูว ิชาภาษาไทย รหัสวิชา ท ๒๒๑๐๑ ภาคเรยี นที่ ๑ ปการศกึ ษา
๒๕๖๓ ระดับช้ันมธั ยมศกึ ษาปที่ ๒ /๒
๑.๒ เพือ่ ประเมนิ ความพงึ พอใจของนักเรยี นทมี่ ตี อ การจัดการเรยี นการสอน โดยใชแผนการจัดการเรยี นรู ภาษาไทย
รหัสวิชา ท ๒๒๑๐๑ ภาคเรียนท่ี ๑ ปก ารศกึ ษา ๒๕๖๓ ระดับชนั้ มธั ยมศึกษาปท่ี ๒/๒

๒. ขอบเขตการรายงาน
๒.๑ แผนการจัดการเรยี นรวู ิชาภาษาไทย รหสั วชิ า ท ๒๒๑๐๑ ภาคเรยี นท่ี ๑ ปก ารศึกษา ๒๕๖๓ ระดบั ช้ัน
มธั ยมศึกษาปท ่ี ๒ /๒ จำนวน ๑ แผน
๒.๒ นกั เรยี นระดับชน้ั มัธยมศึกษาปที่ ๒ /๒ ภาคเรียนท่ี ๑ ปก ารศกึ ษา ๒๕๖๓ จำนวน ๓๐ คน

๓. เอกสารประกอบการรายงาน
แผนการจัดการเรียนรูวิชาภาษาไทย รหัสวิชา ท ๒๒๑๐๑ ภาคเรียนที่ ๑ ปก ารศึกษา ๒๕๖๓ ระดับช้ัน

มัธยมศกึ ษาปท ่ี ๒ /๒ จำนวน ๑ แผน (ดงั แนบ)
๔. กระบวนการดำเนินงาน

หลักการ F๔
F๑ : Find คน ควา หาความรูและแหลงเรียนรู
F๒ : Feel ทำความเขาใจในเนอื้ หา
F๓ : Flipped Classroom หองเรียนกลบั ดา นดา นบน Platform DLIT
F๔ : Fulfill บรรลุจดุ ประสงคข องการเรยี นรู
๕. กระบวนการจัดการเรยี นรู (ใหม)
รปู แบบการสอนแบบ TEACHER Model
๑. T : Target (กำหนดเปาหมายการเรยี นรรู ว มกนั )

การจดั การเรยี นการสอนท่ีแบงนักเรียนเปนกลุมการเรยี นรเู ปนกลมุ เพ่อื ชวยเหลือเพื่อนเปนรายบคุ คล เปน
การเรยี นการสอนทผ่ี สมผสานระหวา งการจัดการเรียนรแู บบรว มมอื และการเรยี นการสอนรายบคุ คลเขา ดว ยกนั เนน
การสนองความแตกตา งระหวา งบคุ คล โดยใหน ักเรยี นทำกจิ กรรมการเรยี นดวยตนเองตามความสามารถและสง เสริม
ความรวมมือภายในกลมุ มีการแลกเปลยี่ นประสบการณการเรียนรู และปฎสิ มั พนั ธทางสงั คม


๒. E : Engage (พัฒนากระบวนการคดิ ขนั้ สงู ) (Question Driving)

การจัดการเรยี นการสอนท่ีใหน ักเรียนเรยี นรูด วยตนเองผา น Application ท่ชี ่ือวา Edpuzzle ผสมผสาน
จัดการเรียนรูแบบรวมมอื โดยใหนกั เรียนทำกิจกรรมดวยตนเองตามความสามารถ และมีแลกเปลยี่ นประสบการเรียนรู
ซ่ึงกันและกนั

๓. A : Assess (ประเมินความเขา ใจ)
ผูสอนใหผเู รยี นไดท ำกิจกรรมการเรียนดว ยตนเองและแลกประสบการณก ารเรยี นรกู บั เพอื่ นในกลมุ ผสู อนมี

การประเมนิ ความเขาใจโดยใชแบบฝกหัด พรอ มเฉลย
๔. C : Challenge (ทา ทายดว ยปญ หาท่ีซบั ซอ นยง่ิ ขนึ้ )
ผสู อนใหผเู รยี นทำแบบฝก หัดยากย่งิ ขน้ึ เพอ่ื ทดสอบทกั ษะของผูเรียน โดยใหผ ูเรียนเรยี นรดู วยตนเอง
๕. H : Help (ครูเขาไปชวยเหลอื ผูเรยี น)
เมอ่ื ผูเรยี นมีขอสงสยั ผูส อนเขาไปแนะนำผูเรยี นใหเกิดเขาใจในเน้ือหานั้นมากขนึ้
๖. E : Expand and share (แบงปน ความร)ู
เมอ่ื ผูเรียนเรยี นรูแ บบฝก หัด ผูเ รยี นนำแบบฝก หัดมาแลกเปลย่ี นประสบการณการเรียนรู และนำมาแกไ ขให

ถูกตอง
๗. R : Reflect (สะทอ นผล)
สะทอนผลการจัดการเรยี นรูโดยครูและนกั เรียนรว มกันสรุปความรทู ีเ่ รยี นมา พรอ มทัง้ รวมอภิปรายในกลมุ

สาระการเรียนรเู พอื่ หาวธิ ีการหรอื แนวทางการจดั การเรียนรใู หมๆ เพื่อแกไขปญหาการจัดการเรียนรูหรอื เพม่ิ
ประสิทธภิ าพการจดั การเรยี นรู

๖. ผลการใชแผนการจดั การเรียนรู
๖.๑ ผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนของนกั เรยี นโดยการใชแผนท่ี ๖ หนว ยการเรยี นรทู ่ี ๖ ชอ่ื หนวยการแตงคำประพนั ธ
ประเภทกลอน เรื่องการแตงกลอนสภุ าพ รายวิชาภาษาไทย รหัสวชิ า ท ๒๒๑๐๑ชนั้ มัธยมศึกษาปท ่ี ๒/๒
ภาคเรยี นท่ี ๑ ปการศึกษา ๒๕๖๓

ตารางท่ี ๑ ผลสัมฤทธ์ิทางการเรยี นของนกั เรยี น แผนที่ ๖ หนวยการเรยี นรทู ่ี ๖ ชือ่ หนว ยการแตงคำประพันธ
ประเภทกลอน เรือ่ งการแตงกลอนสุภาพ
รายวิชาภาษาไทย รหัสวชิ า ท ๒๒๑๐๑ ช้ันมธั ยมศกึ ษาปท่ี ๒ /๒ ภาคเรียนที่ ๑ ปการศกึ ษา ๒๕๖๓ สอน โดย
ครูวนชิ นันท มณฑล

เลขท่ี ชือ่ -สกลุ คะแนน คะแนน ความกาวหนา
กอนเรยี น หลังเรียน
๑ เด็กชายชาญชัย ศรปี ระไหม (รอ ยละ) (รอยละ) คะแนนรอยละ
๒ เด็กชายเทวณั ผองใส
๓ เด็กชายพรี ะพงษ ศรีเจรญิ ๑๓ ๘๕ ๖๓
๔ เดก็ ชายมงคล ทนทอง ๑๕ ๘๙ ๗๕
๕ เดก็ ชายมงคล แกวสวาง ๑๗ ๘๘ ๗๑
๑๖ ๘๙ ๗๓
๑๔ ๘๗ ๖๙



๖ เดก็ หญิงกนั ตินันท บุญเพง็ ๒๔ ๙๓ ๘๑
๒๓
๗ เดก็ หญิงรตนพร สริ ิดี ๒๕ ๙๓ ๗๓
๙๑ ๖๒
๘ เดก็ หญงิ แกว ขวัญ สงิ หชยั ๒๓ ๙๐ ๖๔
๒๐ ๙๕ ๘๒
๙ เด็กหญงิ ญานกิ า พิกลุ ทอง ๒๖ ๙๕ ๖๗
๒๓ ๙๔ ๕๓
๑๐ เดก็ หญิงณัฐชา ศิลางาม ๓๖ ๙๖ ๗๙
๒๓ ๙๕ ๘๒
๑๑ เด็กหญงิ ธัญญารัตน สขุ อุม ๑๕ ๘๕ ๖๗
๓๔ ๘๙ ๖๕
๑๒ เด็กหญิงบุญยอร มาลาศรี ๒๓ ๙๕ ๗๐
๑๔ ๙๐ ๕๙
๑๓ เดก็ หญงิ บุญยานชุ มาลาศรี ๑๒ ๙๕ ๘๔
๑๓ ๙๘ ๘๔
๑๔ เดก็ หญิงบญุ ยาพร มาลาศรี ๒๔ ๙๖ ๖๔
๑๓ ๙๘ ๗๓
๑๕ เดก็ หญงิ ปฐมาวดี สุขอุม ๑๒ ๙๐ ๗๓
๑๑ ๙๕ ๖๗
๑๖ เด็กหญิงปทุมพร บญุ พยงุ
๑๒ ๙๕ ๘๔
๑๗ เดก็ หญงิ ปณุ ยาพร เนยี มงาม ๑๓ ๙๘ ๘๔
๒๔ ๙๖ ๖๔
๑๘ เดก็ หญิงเพ็ญนภา ดีทรัพย ๑๓ ๙๘ ๗๓
๑๒ ๙๐ ๗๓
๑๙ เด็กหญงิ ภัทรมน อินตะปญ ญา
๑๒ ๙๕ ๘๔
๒๐ เดก็ หญิงเยาวมาลย ทีด่ ี ๔๕.๐๐ ๙๕.๐๐ ๕๐.๐๐

๒๑ เด็กหญงิ วัชราภรณ ปุม แมน

๒๒ เด็กหญงิ ศศิธร ลำดวนหอม

๒๓ เด็กหญิงศศิวิมล สอนคำจนั ทร

๒๔ เดก็ หญงิ ศริ ลิ กั ษณ เกิดเช้อื

๒๕ เดก็ หญิงสุพรรษา ภมู พิ ัฒน

๒๖ เดก็ หญิงอลษิ า สนกุ แสน

๒๗ เด็กหญิงกญั ญารัตน ก่งิ แกว

๒๘ เด็กหญิงขวญั ฤดี ยิ่งหาญ

๒๙ เด็กหญิงอัศวภรณ แฝงกระโทก

๓๐ เดก็ หญงิ อรณุ ี โตะจรญั

คะแนนเฉลย่ี

จากตารางที่ ๑ พบวา ในภาพรวมนักเรียนไดคะแนนเฉลี่ยผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนกอนเรียนเทากับรอยละ
๔๕ และมีคะแนนเฉลี่ยหลงั เรยี นเพม่ิ ข้นึ คดิ เปนรอยละ ๙๕.๐๐ หรือมีคา เฉล่ียความกาวหนา คดิ เปนรอ ยละ ๕๐

๖.๒ ความพึงพอใจของนกั เรียนท่ีมตี อการจดั การเรยี นการสอน แผนท่ี ๖ หนวยการเรยี นรูที่ ๖ ชื่อหนว ยการแตง
คำประพันธประเภทกลอน เรอ่ื งการแตงกลอนสุภาพ รายวิชาภาษาไทยรหสั วิชา ท ๒๒๑๐๑ช้ันมธั ยมศึกษาปท่ี ๒ /๒
ภาคเรียนที่ ๑ ปก ารศกึ ษา ๒๕๖๓


ตารางท่ี ๒ ความพึงพอใจของนักเรียนทมี่ ีตอการจดั การเรยี นการสอน หนว ยการเรียนรูท ่ี ๖ เร่ืองการแตงกลอน
สภุ าพ รายวชิ าภาษาไทยรหัสวชิ า ท ๒๒๑๐๑ ช้ันมัธยมศกึ ษาปท ่ี ๒ /๒ ภาคเรียนที่ ๑ ปการศกึ ษา ๒๕๖๓

ที่ รายการ ระดบั ความพงึ พอใจ
คาเฉลยี่ S.D. แปลผล
ดา นเนอ้ื หา
๑ มคี วามยากงา ยพอเหมาะ ๔.๕๔ ๐.๔๒ มากท่สี ุด
๒ มีประโยชนน าสนใจ ๔.๕๗ ๐.๕๗ มากที่สดุ
๓ เหมาะสมกับเวลา ๔.๓๔ ๐.๒๐ มาก
รวม ๔.๔๒ ๐.๓๒ มาก
ดานการจดั กจิ กรรมการเรยี นการสอน
๔ จัดกจิ กรรมการเรยี นการสอนหลายรูปแบบนา สนใจ ๔.๑๙ ๐.๖๘ มาก
๕ จดั กิจกรรมสงเสรมิ กระบวนการกลมุ และการระดมพลัง ๔.๕๓ ๐.๔๓ มากท่ีสดุ

สมอง ๔.๖๗ ๐.๖๑ มากที่สุด

๖ จัดกจิ กรรมใหผ ูเรียนไดฝ กฝน คน ควา สงั เกต รวบรวม ๔.๕๔ ๐.๔๗ มากท่สี ุด
ขอ มูล วิเคราะห คดิ อยางหลากหลาย และสรางสรรค ๔.๒๙ ๐.๔๓ มาก
สามารถสรางองคค วามรูดว ยตนเอง
๔.๔๔ ๐.๕๐ มาก
๗ ครูเปนผชู ้ีแนวทางใหผเู รยี นคนหาคำตอบดวยตนเองโดย
ทำกิจกรรมกลมุ ๔.๕๒ ๐.๔๗ มากทีส่ ุด
๔.๒๙ ๐.๕๓ มาก
๘ มกี ารสอดแทรกคุณธรรม จริยธรรม และใหแ รงเสริมดวย ๔.๑๙ ๐.๕๗ มาก
การยกยอ งชมเชย ๔.๓๕ ๐.๒๔ มาก

๙ ฝก ใหผูเรยี นมพี ฤติกรรมเปนประชาธปิ ไตย ยอมรบั ความ
คิดเห็นของผอู ื่น รจู กั หนา ท่ีของตนเอง เปนผนู ำและผู
ตามท่ดี ี

๑๐ ลำดบั ข้นั ตอนในการจัดกิจกรรมไมสับสน
๑๑ กจิ กรรมเหมาะสมกับเวลา
๑๒ มีความสุขสนกุ สนานกบั การเรียน
รวม



ที่ รายการ ระดบั ความพึงพอใจ
คา เฉลี่ย S.D. แปลผล

ดา นสอ่ื การเรียนการสอน
๑๓ ส่ือสอดคลองกับจดุ ประสงค
๔.๕๙ ๐.๕๕ มากที่สุด

๑๔ ใชส ื่อตรงเนอ้ื หา ๔.๓๖ ๐.๒๖ มาก

๑๕ สอื่ มีความชัดเจนนาสนใจ ๔.๕๗ ๐.๖๘ มากท่ีสดุ

๑๖ สอ่ื ใชจา ย ไมยุง ยาก ซับซอน ๔.๔๖ ๐.๒๐ มาก

๑๗ ใชสือ่ เหมาะสมกบั วัยผูเรียน ๔.๔๖ ๐.๔๒ มาก

รวม ๔.๔๖ ๐.๒๕ มาก

ดานการวัดผลประเมินผล
๑๘ มกี ารวดั ผลการเรียนรูหลายรปู แบบ เนนการวดั ผลตาม
สภาพจรงิ และจากชน้ิ งานทีม่ อบหมาย ๔.๖๔ ๐.๓๒ มากที่สุด

๑๙ สรางเกณฑก ารประเมินอยางชัดเจน ๔.๒๕ ๐.๔๗ มาก
๒๐ ผูเรียนมีสวนรวมในการประเมนิ ๔.๓๖ ๐.๕๓ มาก
รวม ๔.๔๘ ๐.๓๕ มาก
๔.๒๘ ๐.๒๘ มาก
เฉลยี่ รวม

จากตารางที่ ๒ พบวา ความคิดเห็นเก่ยี วกับการจดั การเรียนการสอนแผนท่ี ๖ หนว ยการเรยี นรูที่ ๖ชื่อหนวย
การแตงคำประพันธประเภทกลอน เรื่องการแตงกลอนสุภาพ รายวิชาภาษาไทยรหัสวิชา ท ๒๒๑๐๑ ชั้น
มธั ยมศกึ ษาปท ่ี ๒ /๒ภาคเรยี นท่ี ๑ ปก ารศึกษา ๒๕๖๓ คา เฉลีย่ รวมเทา กับ ๔.๒๘ อยใู นระดับมาก ดานเนอ้ื หาผลการ
ประเมินมีคาเฉลี่ยเทากับ ๔.๔๒ อยูในระดับมาก ดานการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน ผลการประเมิน มีคาเฉล่ีย
เทากับ ๔.๓๕ อยูในระดับมาก ดานสื่อการเรียนการสอน ผลการประเมิน มีคาเฉลี่ยเทากับ ๔.๔๖ อยูในระดับมาก
ดา นการวดั และประเมนิ ผล ผลการประเมิน มีคาเฉลย่ี เทากบั ๔.๔๘ อยใู นระดบั มาก

หมายเหตุ ระดับคุณภาพ
๔.๕๐ - ๕.๐๐ หมายถงึ มากที่สดุ
๓.๕๐ - ๔.๔๙ หมายถึง มาก
๒.๕๐ - ๓.๔๙ หมายถงึ ปานกลาง
๑.๕๐ - ๒.๔๙ หมายถึง นอ ย
๑.๐๐ - ๑.๔๙ หมายถงึ นอยทสี่ ุด


๗. สรุปผลลัพธจากการใชแผนการจัดการเรยี นรู

ผลลัพธในการใชแผนอยูใ นระดับดี สามารถพฒั นาผูเ รียนใหเกดิ การเรียนรูมคี วามรคู วามเขาใจในรายวิชาที่
เรียนได
๘. จุดเดน ของแผนการจดั การเรยี นรู

มีการจัดการเรียนการสอนโดยบรู ณาการรูปแบบการจัดการเรียนรูทางไกลโดยใชก ระบวนการหองเรียนกลับ
ดานบน Platform DLIT ดวยรูปแบบ TEACHER – Model ที่สามารถกระตุนนักเรียนใหมีสวนรวมไดดีมีการ
สอดแทรกคุณธรรมจรยิ ธรรม พรอ มปลูกฝง ใหม คี วามรับผิดชอบตามหนาที่ทีไ่ ดรบั มอบหมาย เพือ่ เปน การฝก ใหผูเรียน
เรียนมคี ณุ ลกั ษณะเปน ไปตามจุดประสงคก ารเรยี นรู
๙. จุดดอยของแผนการจดั การเรียนรู

แบบฝก ทักษะยังนอ ยเกินไป ผเู รียนยงั ขาดทกั ษะพนื้ ฐานการใชเทคโนโลยีในบางสวน
๑๐. สง่ิ ท่ีควรปรบั ปรุงในแผนถดั ไป

ควรมีแบบฝกทกั ษะท่หี ลายหลาก และใหผ ูเรียนฝกฝนทกั ษะการใชเ ทคโนโลยขี ั้นพนื้ ฐาน เพอ่ื พัฒนาทักษะ
ของผูเรยี นใหเ รียนรไู ดเ รว็ ยงิ่ ขึ้น
๑๑. ปญ หาอุปสรรค/ขอ เสนอแนะ

นักเรียนบางคนยังขาดทกั ษะในการใชภ าษาใหเกดิ ความสละสลวย จงึ ทำใหทำแตง กลอนไดช า ไมไ พเราะ

ลงชอื่ .................................................ผสู อน
(นางวนชิ นันท มณฑล)

ตำแหนง ครู วิทยฐานะครชู ำนาญการ



ภาคผนวก


ประมวลภาพการจดั การเรียนรูบูรณาการรูปแบบการจัดการเรียนรทู างไกล (DLIT) ดวยรปู แบบ TEACHER - Model
แผนท่ี ๖ หนวยการเรยี นรูที๖่ ชอ่ื หนวยการแตง คำประพันธประเภทกลอน เรือ่ งการแตง กลอนสุภาพ รายวิชา
ภาษาไทยรหสั วิชา ท ๒๒๑๐๑ ช้ันมัธยมศกึ ษาปท่ี ๒/๒ ภาคเรยี นท่ี ๑ ปก ารศกึ ษา ๒๕๖๓

แบบประเมินความพึงพอใจการจัดการเรียนรูบรู ณาการรูปแบบการจัดการเรียนรูทางไกล (DLIT)
ดว ยรูปแบบ TEACHER – Model เรื่องการแตง กลอนสภุ าพรายวชิ าภาษาไทยรหัสวิชา ท ๒๒๑๐๑
ช้ันมัธยมศึกษาปท่ี ๒ /๒ภาคเรียนที่ ๑ ปการศึกษา ๒๕๖๓



ท่ี รายการ ระดับความพงึ พอใจ
๕ ๔ ๓ ๒๑
ดา นเนื้อหา
๑ มคี วามยากงา ยพอเหมาะ
๒ มีประโยชนน า สนใจ
๓ เหมาะสมกบั เวลา
ดา นการจัดกจิ กรรมการเรียนการสอน
๔ จดั กจิ กรรมการเรยี นการสอนหลายรูปแบบนา สนใจ
๕ จดั กจิ กรรมสง เสริมกระบวนการกลุม และการระดมพลงั

สมอง

๖ จดั กิจกรรมใหผูเรยี นไดฝกฝน คนควา สงั เกต รวบรวม
ขอ มูล วิเคราะห คดิ อยา งหลากหลาย และสรา งสรรค
สามารถสรา งองคความรดู ว ยตนเอง

๗ ครเู ปน ผชู ้แี นวทางใหผูเ รียนคน หาคำตอบดวยตนเองโดย
ทำกิจกรรมกลุม

๘ มกี ารสอดแทรกคุณธรรม จริยธรรม และใหแ รงเสรมิ ดวย
การยกยองชมเชย

๙ ฝก ใหผูเรียนมีพฤติกรรมเปนประชาธปิ ไตย ยอมรับความ
คดิ เหน็ ของผอู ่ืน รูจกั หนา ทขี่ องตนเอง เปน ผนู ำและผู
ตามทีด่ ี

๑๐ ลำดับข้ันตอนในการจัดกจิ กรรมไมสบั สน
๑๑ กิจกรรมเหมาะสมกับเวลา
๑๒ มีความสขุ สนุกสนานกับการเรียน

๑๐

ท่ี รายการ ๕ ระดับความพึงพอใจ ๑
๔ ๓๒
ดา นสอ่ื การเรยี นการสอน
๑๓ สื่อสอดคลองกบั จุดประสงค
๑๔ ใชส่อื ตรงเน้อื หา
๑๕ สือ่ มคี วามชัดเจนนา สนใจ
๑๖ สอ่ื ใชจาย ไมยุงยาก ซบั ซอ น
๑๗ ใชส ือ่ เหมาะสมกับวยั ผูเรียน

ดา นการวัดผลประเมินผล
๑๘ มีการวัดผลการเรียนรูห ลายรปู แบบ เนนการวัดผลตาม

สภาพจริง และจากชิน้ งานท่มี อบหมาย

๑๙ สรา งเกณฑก ารประเมินอยางชดั เจน
๒๐ ผูเรียนมีสวนรวมในการประเมนิ

ขอ เสนอแนะ
..........................................................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................................................

หมายเหตุ
๕ หมายถึง มากทีส่ ุด
๔ หมายถงึ มาก
๓ หมายถึง ปานกลาง
๒ หมายถึง นอย
๑ หมายถึง นอ ยท่ีสุด

๑๑

แผนการจดั การเรียนรทู ่ี ๖

กลมุ สาระการเรยี นรูภาษาไทย ชนั้ มัธยมศกึ ษาปท ่ี ๒/๒
วชิ าภาษาไทย รหัสวิชา ท ๒๒๑๐๑
หนวยการเรยี นรทู ่ี ๖ ชื่อหนว ยการแตง คำประพนั ธป ระเภทกลอน เวลาเรียน ๕ ช่วั โมง
เร่ือง การแตงคำประพนั ธประเภทกลอนสุภาพ เวลา ๒ ชว่ั โมง
ใชสอนวนั ท่ี ๒๘ เดือน กันยายน พ.ศ. ๒๕๖๓ ภาคเรียนท่ี ๑ ปการศกึ ษา ๒๕๖๓

๑. มาตรฐานการเรยี นรู/ตัวชีว้ ัด
๑.๑ มาตรฐานการเรียนรู
ท ๔.๑ : เขาใจธรรมชาตขิ องภาษาและหลกั ภาษาไทย การเปลี่ยนแปลงของภาษา และพลังของภาษา ภมู ิ

ปญญาทางภาษาและรกั ษาภาษาไทยไวเปน สมบตั ิของชาติ
๑.๒ ตวั ชีว้ ดั
ท ๔.๑ ม.๒/๓ : แตง คำประพันธป ระเภทกลอนสุภาพ

๒. จดุ ประสงคการเรียนรู
๒.๑ ดานความรู (K)
๑.นักเรยี นเหน็ ความสำคัญของการแตงคำบทรอยกรองประเภทกลอนสุภาพและอธิบายลกั ษณะทั่วไปของ
กลอนสุภาพได
๒. นักเรียนมคี วามรูความเขาใจฉนั ทลักษณคำประพนั ธแ ละบอกสมั ผสั ของกลอนสุภาพได
๒.๒ ดานทักษะ (P)
๑.นักเรียนแบงวรรคตอนการอา นและอานบทกลอนของนกั เรยี นไดถ ูกตอ ง
๒. นักเรียนมีความกระตอื รอื รน ในการเรียนรูและยอมรับฟงความคิดเห็นของผอู ืน่
๓. นักเรยี นมีความสามคั คีชว ยเหลอื ซึ่งกันและกันในกลุม
๔. นกั เรียนสามารถหาคำคลองจองและใชภาษาไดส ละสลวยถกู ตองตามฉันทลกั ษณ

๑๒

๒.๓ ดา นเจตคติ (A)
๑. นกั เรียนเห็นคณุ คา และมเี จตคตทิ ่ีดีตอ วชิ าภาษาไทยและบทรอ ยกรองประเภทกลอนสุภาพ
๒. นกั เรยี นมีความต้ังใจทาํ งานเพอ่ื ความสําเรจ็ ของตนเองและกลมุ
๓.นกั เรียนสามารถแตง บทรอยกรองประเภทกลอนสภุ าพไดต ามหวั ขอที่กาํ หนด

๓. สมรรถนะ
๓.๑  ความสามารถในการสอ่ื สาร
๓.๒  ความสามารถในการคิด
๓.๓  ความสามารถในการแกปญ หา
๓.๔  ความสามารถในการใชท กั ษะชีวติ
๓.๕  ความสามารถในการใชเทคโนโลยี

๔. คุณลักษณะอนั พึงประสงค
๔.๑  รักชาติ ศาสน กษัตริย
๔.๒  ซ่ือสัตยสจุ ริต
๔.๓  มีวินยั
๔.๔  ใฝเ รยี นรู
๔.๕  อยอู ยางพอเพียง
๔.๖  มงุ มัน่ ในการทำงาน
๔.๗  รักความเปนไทย
๔.๘  มจี ิตสาธารณะ

๕. หลักฐานการเรยี นรู
๕.๑ ภาระงาน
๑. การถามตอบ
๒. การทำใบงาน
๓. การทำงานกลมุ
๕.๒ ชิน้ งาน
แบบฝก ทักษะ ท่ี ๖.๑ เร่อื ง บทรอยกรองประเภทกลอนสภุ าพ ผานระบบการเรียนออนไลน Edupuzzle
ใบงานท่ี ๖.๒ เรื่องฉนั ทลักษณข องกลอนสภุ าพ
ใบงานที่ ๖.๓ เรอื่ งขอ คิดจากกลอนสุภาพ - แตง กลอนสุภาพไดค นละ ๑ บท

๖. สาระสำคญั /ความคดิ รวบยอด
กลอนเปนคำประพันธประเภทที่เรียบเรียงตามฉันทลักษณ มีลักษณะบังคับในดานคณะและสัมผัส คำประพันธ

ประเภทกลอนมหี ลายชนดิ การศกึ ษาคำประพนั ธป ระเภทกลอนเปนการรักษาวัฒนธรรมทางภาษาใหคงอยตู อ ไป

๑๓

๗. สาระการเรียนรู
๑. ฉันทลักษณข องกลอนสภุ าพ
๒. การเรียกชอ่ื กลอน

๘. กระบวนการจัดการเรียนรู
การบูรณาการรูปแบบการจดั การเรยี นรทู างไกลโดยใชกระบวนการหองเรียนกลับดานบนแพลตฟอรม
DLIT ดวยรูปแบบ TEACHER – Model

ช่ัวโมงที่ ๑-๒

T : Target (กำหนดเปา หมายการเรยี นรู))

๑. ครูแจง หนวยการเรยี นรู มาตรฐานการเรยี นรูและตัวช้ีวัดชว งชนั้ และจดุ ประสงคการเรยี นรูใหน กั เรียน
ทราบ
๑.๑) ครูนำแผนภมู ติ วั อยางกลอนสภุ าพ ท่ีมีสัมผัสคลอ งจองงาย ๆ มคี วามไพเราะมาเปด โปรแจคเตอรห รือ
นำมาอานใหนักเรยี นดแู ละฟง เชน
มสี ลึงพึงบรรจบใหครบบาท อยาใหข าดส่ิงของตองประสงค
จงมักนอ ยกินนอ ยคอยบรรจง อยา จายลงใหมากจะยากนาน
ไมควรซ้ือกอ็ ยาไปพไิ รซอื้ ใหเปนมอื้ เปนคราวทง้ั คาวหวาน
เมื่อพอแมแกเฒา ชรากาล จงเล้ียงทานอยา ใหอดระทดใจ
( สุภาษิตสอนหญิง : สนุ ทรภู )
๑.๒ นกั เรยี นรว มกนั พจิ ารณาคำสัมผสั คลองจองจากบทรอยกรอง แลวบอกคำสัมผัสคลอ งจองในแตละคำ
กลอน ใหถกู ตอ ง ดงั น“้ี บาท” สัมผัสกบั “ขาด” “บรรจง” สัมผสั กับ “ลง”“ซอื้ ”สมั ผสั กับ “มือ้ ” “กาล”
สมั ผัสกับ “ทาน”
( ครใู ชหลักความพอประมาณเพอื่ สำรวจพืน้ ฐานความรูข องนักเรียนในเรื่องคำสัมผัสคลอ งจองซงึ่ เปนหัวใจ
ของการแตง บทรอ ยกรองใหเกิดความไพเราะได )
(แนวตอบคำถาม ดังนี้ นกั เรียนรไู ดอยา งไรวาคำเหลา นเ้ี ปนคำสัมผัสคลองจอง” โดยครูสุม ใหนกั เรียน ตอบ
ประมาณ ๕-๖ คน จากนั้นครูจึงสรปุ ความรูท ถ่ี ูกตองอีกคร้ังหนงึ่ ใหน ักเรยี นเขาใจยิง่ ข้นึ ( คำตอบที่ถูกตองคือ
เปนคำทีม่ เี สยี งสระและมาตราตัวสะกดเดียวกัน ) ( ครูใชเหตุผลในการใหความรูเ รอื่ งคำสมั ผัสคลองจองเพอ่ื
นำไปใชใ นการแตง บทประพนั ธต า ง ๆ )
๑.๓) ครูและนกั เรียนสนทนาเกีย่ วกับเนอ้ื ความทีป่ รากฏในสุภาษิตสอนหญงิ
๑.๔) นกั เรียนพิจารณาคำประพันธ และอารมณท ี่ปรากฏในคำประพันธขา งตน
๒. ครูถามนักเรยี นดว ยชดุ คำถาม
(“Q๑:ครถู ามนักเรยี นวาบทประพันธด งั กลาวแตงดวยคำประพันธประเภทใด นักเรยี นทราบไดอ ยา งไร
(มเี หตผุ ล)
แนวคำตอบ กลอนสภุ าพ เพราะลักษณะบงั คบั คณะ ถูกตองตามฉันทลกั ษณ
๓. ครูใหนักเรยี นดูภาพ แผนผงั กลอนสุภาพ

๑๔
Q๒: กลอนสภุ าพ ๑ บทมกี ีว่ รรค วรรคละกี่คำ

แนวคำตอบ ๑ บทมี ๔วรรค วรรคละ ๗-๙ คำ
Q๓: กลอนสุภาพ ๑ บท มี ๔ วรรค เรียกชอื่ อยา งไร

แนวคำตอบ วรรคท่ี ๑ เรียกวาวรรค สดบั วรรคท่ี ๒ เรียกวา รบั วรรคท่ี ๓ เรียกวา วรรครอง
วรรคท่ี ๔ เรยี กวา วรรคสง

๔. ครใู หนกั เรยี นอาสาสมัครออกมาชตี้ ำแหนงคำสัมผสั คำคลอ งจอง

E : Engage (พฒั นากระบวนการคิด)

๑. ครูถามนักเรยี นดว ยชดุ คำถาม
Q๔ เราจะแตง กลอนสุภาพอยางไรใหไดไ พเราะ
แนวคำตอบ (การสมั ผัสสระ สัมผสั อักษร มีการสมั ผสั นอกและสัมผัสใน และสมั ผัสระหวา งบท
เลือกใชภ าษาท่ีสละสลวย)
๒. ครอู ธบิ ายใหนกั เรียนเขาใจลักษณะการเขียนกลอนใหไพเราะ ควรคำนงึ ถึงเสยี งวรรณยุกตในคำสุดทา ยของแตละ
วรรคตามความนยิ มดงั นี้
วรรคสดับหรือวรรคสลบั ใชเสยี งวรรณยุกตไ ดทุกเสียง เสยี งท่ีถอื วาไพเราะนอ ยคอื เสยี งสามญั
วรรครับ นยิ มใชเสียงจัตวา หรอื เสยี งเอก, เสยี งโท ไมควรใช เสียงสามญั
วรรครองนิยมเสยี งสามัญ ไมควรใชเสียงจตั วา
วรรคสง นยิ มเสียงสามญั ไมค วรใชเสียงจตั วา
การแตงคำประพันธป ระเภทกลอน มีความรูทว่ั ไปดงั น้ี
๑. คำ มีการกำหนดจำนวนคำที่แนนอนในแตละวรรคของแตละคำประพันธ บางคร้ังอาจมคี ำสองพยางค ถา
ตน ประสมสระเสยี งส้ันไมม ตี ัวสะกด เชน สนกุ ขนม คณะ อาจนับเปน หนง่ึ คำหรือสองคำก็ได
๒. คณะ เปน ลักษณะของคำประพนั ธ กลอน ๑ บท จะมี ๔ วรรค แตล ะวรรคจะมชี อ่ื เรยี กตา งกัน คอื วรรคท่ี
๑ วรรคสดับ วรรคท่ี ๒ วรรครบั วรรคที่ ๓ วรรครอง วรรคท่ี ๔ วรรคสงกลอน ๒ วรรคเทา กับ ๑ บาท ๒ บาทเทา กบั
๑ บท
๑. ครูถามนักเรียนดว ยชดุ คำถาม
Q๔ เราสามารถใชเคร่อื งมอื หรอื เวบ็ ไซตใ ดบางในการแตงบทรอยกรองประเภทกลอนสุภาพ
๓. ครูแบงนักเรยี นออกเปน ๕ กลุม กลมุ ละ ๖ คน คละกันตามความสามารถ คือ เกง ปานกลาง ออ น แลว
ครูชี้แจงใหสมาชิกทกุ คนรว มมือกนั ทำกิจกรรมในใบงานที่ ๖.๒ เร่ือง ฉนั ทลกั ษณข องกลอนสภุ าพ ใบงานที่ ๖.๓
ขอ คดิ จากกลอนสุภาพ โดยปฏบิ ตั ิหนาท่ีรวมกนั ดังนี้
- สมาชิกในกลุม แบงหนา ท่กี ัน ดงั น้ี คุณอำนวย คุณวางแผน คณุ รวบรวม และคุณนำเสนอ
- สมาชิกในกลุม รว มกนั คิดวิเคราะหส ถานการณท ่ีไดรบั มอบหมาย ใหแตล ะคนแตง กลอนสภุ าพคนละ ๑
บทตามทตี่ วั แทนจบั สลากหวั ขอเรื่องไดคอื พระคณุ แม กบั ปรชั ญาเศรษฐกิจพอเพียง แลวใหสมาชกิ ทุกคนเลอื กบท
กลอนท่ดี ที ส่ี ุดชว ยกนั เสรมิ แตงใหเกดิ ความไพเราะใชภาษาไดส ละสลวย เขียนลงในกระดาษบรูฟ หรือกระดาษแข็ง
- มอบหมายใหค ุณนำเสนอ และคณุ รวบรวม เปน ผูนำเสนอผลงานของกลุมตนเองหนาช้นั เรยี นจากน้นั
นำไปตดิ ไวท่ผี นัง

๑๕

A : Assess (ประเมินความเขา ใจ)
๔. แจกปากกาสใี หแ ตล ะกลุม อธบิ ายวธิ กี ารเดนิ ชมแลกเปลี่ยนเรยี นรผู ลงานของกลุมอนื่
๕. ใหนักเรียนแตล ะกลุมเดนิ เวยี นอา นผลงานของแตละกลุม
๖. ใหสัญญาณ โดยใหนกั เรยี นแตล ะกลมุ ลงความคิดเห็นวา ควรจะใหคะแนนเทา ไรจากคะแนนเตม็ ๑๐

ยกเวนการใหค ะแนนกลมุ ตวั เอง
๗. ใหน กั เรียนทำกิจกรรมเชน เดมิ จนครบทกุ กลมุ ตามเวลาที่กำหนด
๘. นำคะแนนแตล ะกลุม มารวมกนั อภิปรายหนา ช้ัน โดยครแู ละนักเรียนรว มกนั สรุปบทเรียนอีกคร้งั

C : Challenge (ทา ทายดวยปญ หาใหม)
๑. ครมู อบหมายใหน กั เรยี นไปศึกษาเน้อื หา และแบบฝกทักษะ ที่ ๖.๑ เรือ่ ง บทรอ ยกรองประเภทกลอน
สภุ าพ ผา นระบบการเรยี นออนไลน Edupuzzle พลเิ คชัน Edpuzzle
https://edpuzzle.com/join/finpogo และตอบคำถามผานวดี ีโอ เพอื่ จะทำกจิ กรรมในช่ัวโมงถัดไป
โดยมอบหมายงาน หวั ขอดังน้ี
๒.
- หวั ขอท่ี ๑ เรอ่ื ง แผนผงั กลอนสุภาพ
- หัวขอที่ ๒ เรอ่ื ง กำหนดวิธใี ชเสียงวรรณยุกตเ พ่อื ความไพเราะ
- หัวขอที่ ๓ เรอ่ื ง ใหนกั เรียนแตง กลอนสภุ าพหัวขอเรือ่ ง พระคณุ แม และ ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง

H : Help (ชว ยเหลอื ผูเรียน)
๑. ครทู บทวนเนื้อหาจากชัว่ โมงทีส่ อน และอธบิ ายเพิ่มเติมจากวดี โี อ ทีม่ อบหมายใหน ักเรียนไปดู หาก

นักเรียนมีขอสงสัยเพ่มิ เติมสามารถสอบถามได
๒. ครมู อบหมายใหน กั เรยี นไปศึกษาการเรียกชื่อกลอนตา งๆ เชนกลอนกลอนสกั วา กลอนดอกสรอ ย กลอน

บทละคร กลอนนิราศ วา แตละประเภทมลี ักษณะการใชคำขึน้ ตน และลงทายอยา งไร โดยศึกษาจาก youtube เพื่อ
ความเขา ใจยิ่งขึ้น

E : Expand and share (แบงปนความร)ู
๓. ครูใหนกั เรยี นนำสง ผลงานผาน facebook ของตนเองและแชรงานเขา มายัง หองเรยี น Google

Classroom
๔. ครูใหนักเรยี นแลกเปลีย่ นความรู โดยการศึกษากลอนจากท่เี พื่อนๆไดส ง มาในหอ งเรียนออนไลน Google

Classroom
๕. ครใู หน กั เรียนชวยกนั ใหคะแนนกลอนท่ีเพือ่ นๆ ไดชวยกันแตง โดยจดั อันดบั ๑-๓ จะไดร บั รางวลั จาก

ครูผสู อน

๑๖

R : Reflect (สะทอนผล)
๑. ครูและนักเรยี นรว มกันสรปุ เน้ือหา เรอื่ งการแตง บทรอ ยกรองประเภทกลอนสุภาพ
๒. ครูใหน ักเรยี นทำแบบประเมนิ กจิ กรรมการจดั การเรียนการสอน การใชแผนการจดั การเรียนรบู ูรณาการ

รูปแบบการจดั การเรียนรูทางไกล (DLIT) และ ทำแบบประเมิน Exit ticket

๙. ส่ือการจดั การเรียนรู
๙.๑ หนงั สอื เรยี นรายวชิ าภาษาไทย ชั้นมธั ยมศกึ ษาปที่ ๒ /๒จากบริษทั สำนักพิมพเ อมพนั ธ จำกดั
๙.๒ เว็บไซต Google
๙.๓ youtube

๑๐. แหลง เรียนรู
๑๐.๑ https://youtu.be/p-mPLcaqWdA
๑๐.๒ https://edpuzzle.com/join/finpogo
๑๐.๓ เครื่องคอมพิวเตอรท่ีเชอื่ มตออินเทอรเน็ต
๑๐.๔ หอ งเรียนออนไลน Google classroom

๑๑. การวดั และประเมินผล เครือ่ งมอื เกณฑ
วธิ กี าร
ใบงานท่ี ๖.๓ รอยละ ๖๐ ผา นเกณฑ
ตรวจใบงานที่ ๖.๓
ตรวจการแตง กลอนสภุ าพ แบบประเมนิ ผลงาน รอ ยละ ๖๐ ผานเกณฑ
สังเกตพฤติกรรมการทำงานกลุม
สังเกตความมวี ินัย ใฝเรยี นรู และ แบบสังเกตพฤติกรรมการทำงานกลมุ ระดบั คุณภาพ ๒ ผา นเกณฑ
มุงมั่นในการทำงาน
แบบประเมินคณุ ลักษณะอนั พงึ ระดบั คุณภาพ ๒ ผา นเกณฑ
ประสงค

๑๗
๑๒. บันทึกหลังการจัดการเรยี นรู

๑๒.๑ ผลการจดั การเรยี นรู
ดานความรู

..........................................................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................................................

ดานทกั ษะ/กระบวนการ
..........................................................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................................................

ดา นคณุ ลกั ษณะ
..........................................................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................................................

๑๐.๒ ปญหาทีพ่ บจากการจดั การเรียนรูและแนวทางแกไข
..........................................................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................................................

๑๐.๓ แนวทางในการพัฒนาตอไป
..........................................................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................................................

ลงช่ือ...........................................ผสู อน
(นางวนชิ นนั ท มณฑล)

บันทึกความเหน็ ของผูอ ำนวยการ
..........................................................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................................................

ลงชอ่ื
(นายบญุ สมชยั ฟองนวล)

ตำแหนง ผอู ำนวยการโรงเรยี นเทพอุดมวทิ ยา

๑๘
ใบงานที่ ๖.๑ เรื่องบทรอ ยกรองประเภทกลอนสุภาพ
คำชแี้ จง ใหน ักเรยี นแตล ะกลุมเพื่อทำใบงาน สมาชิกในกลุมรว มกนั ปฏบิ ตั ิตามลำดบั ขน้ั ตอนตอ ไปนี้
๑. ศกึ ษาหนว ยการเรยี นรทู ี่ ๖ การแตงบทรอ ยกรองประเภทกลอนสุภาพแลว รวมกนั อภปิ รายสักถาม ทำความ
เขา ใจและสรปุ สาระสำคัญเพ่อื รายงานหนา ชัน้ เรียนดังน้ี
กลุม ท่ี ๑ ความหมายของคำประพนั ธประเภทกลอน
กลุมท่ี ๒ ลกั ษณะขงอสัมผัสในและสมั ผัสนอก
กลุมที่ ๓,๔ ฉันทลกั ษณและแผนผังกลอนสุภาพ
กลมุ ท่ี ๕ หลักการแตงกลอนสภุ าพใหไพเราะ
๒. แตละกลุม สงตวั แทนรายงานการสรุปประเด็นสำคัญหนาชนั้ เรยี นเรียงตามลำดับกลมุ

๑๙
ใบงานท่ี ๖.๓ ขอ คิดจากกลอนสภุ าพ
คำชี้แจง หลังจากนกั เรยี นไดศึกษาขอ มูลจากใบงาน ท่ี ๖.๑ บทรอยกรองประเภทกลอนสุภาพ, ๖.๒ เร่ืองวแผนผัง
ฉนั ทลักษณเพ่มิ เติม ผานแอปพลิเคชัน Edpuzzle ตามล้งิ กน้ี https://edpuzzle.com/join/finpogo ใหนกั เรยี น
แตล ะกลมุ แตง กลอนสุภาพคนละ๑ บท ตามหวั ขอท่ีแตล ะกลมุ จับสลากไดหวั ขอเร่อื ง พระคณุ แม และปรัชญา
เศรษฐกิจพอเพียง แลว ใหท ุกคนเลือกกลอนท่คี ิดวาดีทส่ี ุดนำเสนอหนา ชัน้ เรียน
..........................................................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................................................


Click to View FlipBook Version