The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

บันทึกข้อความรายงานการใช้แผนครูนพรัตน์

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by THEP MOVIE, 2020-10-09 11:21:22

รายงานการใช้แผนครูนพรัตน์

บันทึกข้อความรายงานการใช้แผนครูนพรัตน์

คำนำ

ดวยผูสอน นางสาวนพรัตน สายสิน รับผิดชอบสอนรายวิชา ฟสิกส 3 ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 5 กลุมสาระการ
เรียนรูวิทยาศาสตร โรงเรียนเทพอุดมวิทยา ไดจัดทำแผนแผนการจัดการเรียนรูบูรณาการรูปแบบการจัดการเรียนรู
ทางไกล (DLIT) ดวยรูปแบบ TEACHER - Model วิชาฟสิกส 3 ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 5 ใชสอนในวันที่ 22 เดือน
กรกฎาคม พุทธศักราช 2563 ภาคเรียนที่ 1 ปการศึกษา 2563 และ มาตรฐานวิชาชีพครูไดกำหนดให ครูตองมุงม่ัน
พัฒนาผูเรียน โดยใชแผนการสอนใหส ามารถปฏบิ ตั ิไดเ กดิ ผลจรงิ พัฒนาสอื่ การเรยี นการสอนใหมีประสิทธิภาพ เพ่อื ให
ผูเรียนบรรลุจุดประสงคของการเรียนรู โดยมุงเนนใหผูเรียนประสบผลสำเร็จในการแสวงหาความรูตามสภาพความ
แตกตางของบุคคล ดวยการปฏิบัติจริงและสรุปความรูทั้งหลายไดดวยตนเอง กอใหเกิดคานิยมและนิสัยในการปฏิบัติ
จนเปนบุคลกิ ภาพถาวรติดตวั ผเู รียนตลอดไป

ดังนั้น ขาพเจาจึงได ไดพัฒนาแผนการจัดการเรียนรูบูรณาการรูปแบบการจัดการเรียนรูทางไกลโดยใช
กระบวนการหอ งเรยี นกลับดา นบน Platform DLIT ดวยรูปแบบ TEACHER – Model

บดั น้ี ขา พเจาไดจดั กจิ กรรมการเรียนรูเสรจ็ เรยี บรอยแลว ในการดำเนินการในคร้ังนี้อหวังวารายงานฉบับน้ีจะ
มีประโยชนใ นการนำขอมลู ไปใชโ รงเรยี นตอ ไป

.....................................

สารบญั หนา
1
เรื่อง 1
วตั ถุประสงคข องการรายงาน 1
ขอบเขตการรายงาน 1
เอกสารประกอบรายงาน 1
กระบวนการดำเนินงาน 2
กระบวนการจัดการเรียนรู (ใหม) 6
ผลการใชแผนการจดั การเรยี นรู 6
สรปุ ผลลัพธจากการดำเนินงาน 6
จุดเดน ของแผนการจดั การเรยี นรู 6
จุดควรปรับปรงุ ของแผนการจดั การเรยี นรู 6
สงิ่ ที่ควรปรบั ปรงุ ในปก ารศึกษา 8
ปญ หาอุปสรรค/ขอเสนอแนะ
ภาคผนวก

แผนการจดั การเรียนรู
แบบประเมินความพึงพอใจ
ประมวลภาพ

1

รายงานการใชแผนการจดั กจิ กรรมการเรียนรู
รายวชิ า ฟส กิ ส 3 รหสั วชิ า ว 32203
กลุมสาระการเรียนรวู ชิ าวิทยาศาสตร

โรงเรยี นเทพอดุ มวทิ ยา อำเภอสังขะ จงั หวัดสรุ ินทร
สงั กดั สำนกั งานเขตพนื้ ที่การศกึ ษามัธยมศึกษา เขต 33

1. วัตถุประสงคของการรายงาน
1.1 เพือ่ ศกึ ษาผลการใชแผนการจัดการเรียนรรู ายวิชาฟส ิกส 3 รหสั วิชา ว 32203 ปก ารศึกษา 2563 ชัน้
มัธยมศกึ ษาปที่ 5
1.2 เพื่อประเมินความพงึ พอใจของนักเรียนทีม่ ีตอ การจัดการเรียนการสอน โดยใชแผนการจดั การเรียนรูร ายวชิ า
ฟส ิกส 3 รหสั วชิ า ว 32203 ปก ารศึกษา 2563 ช้นั มธั ยมศึกษาปท ่ี 5
2. ขอบเขตการรายงาน
2.1 แผนการจดั การเรียนรรู ายวิชาฟสิกส 3 รหัสวิชา ว 32203 ปก ารศกึ ษา 2563 ช้ัน มธั ยมศกึ ษาปท ี่ 5 จำนวน 1
แผน
2.2 นกั เรยี นระดบั ชั้น มัธยมศกึ ษาปท่ี 5 ภาคเรียนท่ี 1 ปการศึกษา 2563 จำนวน 32 คน
3. เอกสารประกอบการรายงาน
แผนการจัดการเรียนรรู ายวิชาฟส ิกส 3 รหสั วิชา ว 32203 ปก ารศกึ ษา 2563 ช้ัน มธั ยมศึกษาปท ่ี 5 จำนวน 1
แผน (ดังแนบ)
4. กระบวนการดำเนนิ งาน
หลกั การ F4
F1 : Find คน ควา หาความรแู ละแหลงเรยี นรู
F2 : Feel ทำความเขาใจในเนื้อหา
F3 : Flipped Classroom หองเรียนกลับดานดานบน Platform DLIT
F4 : Fulfill บรรลจุ ดุ ประสงคข องการเรยี นรู
5. กระบวนการจดั การเรยี นรู (ใหม)
รูปแบบการสอนแบบ TEACHER Model
1. T : Target (กำหนดเปาหมายการเรียนรูร วมกนั )
การจดั การเรยี นการสอนทแี่ บงนกั เรยี นเปนกลมุ การเรยี นรเู ปนกลุมเพ่อื ชวยเหลอื เพ่ือนเปนรายบคุ คล เปน
การเรียนการสอนที่ผสมผสานระหวางการจัดการเรยี นรแู บบรวมมือและการเรียนการสอนรายบคุ คลเขา ดว ยกัน เนน
การสนองความแตกตางระหวางบคุ คล โดยใหน กั เรียนทำกจิ กรรมการเรยี นดวยตนเองตามความสามารถและสงเสรมิ 2

ความรว มมอื ภายในกลมุ มกี ารแลกเปลย่ี นประสบการณการเรียนรู และปฎิสัมพันธท างสังคม
2. E : Engage (พัฒนากระบวนการคดิ ข้นั สงู ) (Question Driving)
การจดั การเรียนการสอนทีใ่ หน ักเรียนเรียนรูด ว ยตนเองผาน Application ทช่ี ือ่ วา Edpuzzle ผสมผสาน
จดั การเรียนรูแบบรว มมอื โดยใหนกั เรียนทำกจิ กรรมดว ยตนเองตามความสามารถ และมแี ลกเปลยี่ นประสบการเรยี นรู
ซ่งึ กนั และกนั

3. A : Assess (ประเมินความเขา ใจ)
ผสู อนใหผ ูเ รยี นไดทำกจิ กรรมการเรยี นดวยตนเองและแลกประสบการณการเรยี นรูกับเพ่ือนในกลุม ผูสอนมี
การประเมินความเขาใจโดยใชแ บบฝกหดั พรอ มเฉลย
4. C : Challenge (ทาทายดว ยปญ หาท่ซี ับซอนย่ิงขนึ้ )
ผูส อนใหผ ูเรียนทำแบบฝกหดั ยากยง่ิ ขึน้ เพื่อทดสอบทักษะของผเู รียน โดยใหผ ูเ รยี นเรยี นรดู ว ยตนเอง
5. H : Help (ครเู ขา ไปชวยเหลือผูเรยี น)
เมือ่ ผูเ รียนมีขอ สงสยั ผูส อนเขาไปแนะนำผเู รียนใหเ กดิ เขาใจในเน้ือหานัน้ มากขึน้
6. E : Expand and share (แบง ปนความรู)
เมอื่ ผเู รียนเรยี นรูแบบฝกหดั ผเู รียนนำแบบฝกหดั มาแลกเปลยี่ นประสบการณก ารเรยี นรู และนำมาแกไ ขให
ถกู ตอ ง
7. R : Reflect (สะทอนผล)
สะทอ นผลการจัดการเรียนรโู ดยครแู ละนักเรยี นรว มกันสรปุ ความรทู ่เี รียนมา พรอ มท้งั รว มอภปิ รายในกลมุ
สาระการเรยี นรเู พอื่ หาวธิ ีการหรอื แนวทางการจดั การเรียนรูใหมๆ เพอ่ื แกไ ขปญ หาการจดั การเรยี นรูห รอื เพมิ่
ประสทิ ธภิ าพการจดั การเรยี นรู
6. ผลการใชแ ผนการจัดการเรียนรู
6.1 ผลสมั ฤทธท์ิ างการเรยี นของนกั เรยี นโดยการใชแ ผนท2ี่ 2 เร่อื ง คลื่น ของวิชาฟส กิ ส รหัส ว 32203 ชัน้
มธั ยมศึกษาปท่ี 5 ภาคเรยี นที่ 1 ปการศึกษา 2563
ตารางที่ 1 ผลสัมฤทธิท์ างการเรียนของนกั เรยี น เรื่อง คลนื่ ของรายวิชาฟส ิกส รหัส ว 33203 ชัน้ มัธยมศกึ ษาปที่ 5
ภาคเรียนที่ 1 ปการศึกษา 2563 สอนโดยครนู พรตั น สายสิน
คะแนน คะแนน
เลขท่ี ชอ่ื – สกลุ กอ นเรียน หลังเรยี น ความกา วหนา แปลผล
(รอ ยละ) (รอ ยละ) คะแนนรอยละ
1 นายชัชพิสฐิ ยวนจิตร 17 77 60 สูงขึ้น
2 นายนฤดม ชาตสิ นั ตกิ ลุ 20 82 62 สงู ขึ้น
3 นายนิติพงศ สมบรู ณ 25 82 57 สูงขน้ึ
4 นายนกุ ูลกจิ มีชยั 12 70 58 สูงขน้ึ
5 นายสนั ติ อยูปูน 11 84 73 สูงขน้ึ
6 นายอภสิ ิทธ์ิ จนิ ดาวงศ 3 70 67 สูงขึ้น
7 นางสาวเกศมณี ทองสมี า 16 80 64 สูงขึ้น
8 นางสาวโชติกา สายแสงจันทร 29 80 51 สงู ขึ้น
9 นางสาวโยษิตา ปด ภยั 2 75 73 สูงข้นึ
10 นาวสาววจิ ติ รา ศริ ไิ ทย 24 84 60 สงู ขึ้น
11 นางสาวสพุ ัตรา มดี ี 23 82 59 สูงขน้ึ
12 นางสาวสุรัสวดี ยวนจติ ต 7 83 76 สงู ขึ้น
13 นายคมกริช ยวนจิตต 15 75 60 สูงขนึ้
14 นายดนัย คำฝอย 11 70 59 สูงขน้ึ
15 นายภวศิ หลวงรกั ษ 12 83 71 สงู ขึ้น
16 นายธรี ภัทร ยง่ิ หาญ 15 88 73 สูงข้ึน

เลขท่ี ชอื่ – สกลุ คะแนน คะแนน ความกาวหนา แปลผล
กอนเรยี น หลังเรยี น คะแนนรอยละ สูงขึ้น
17 นายอภสิ ิทธิ์ ชื่นบาน (รอยละ) (รอยละ) สงู ขน้ึ
18 นางสาวจิราวรรณ ท่อี ุปมา 63 สงู ขนึ้
19 นางสาวณิชกานต ปง อุทา 19 82 62 สูงขน้ึ
20 นางสาวนฤภร ดวงดี 19 81 69 สูงขึน้
21 นางสาวพาขวัญ ชาญเชี่ยว 12 81 73 สงู ข้นึ
22 นางสาวสุจติ รา ทองทา 15 88 72 สงู ขึ้น
23 นางสาวอตินุช ยวนจิตต 17 89 73 สงู ข้นึ
24 นายภัทรพงศ ทีดี 17 90 58 สงู ขึ้น
25 นางสาวมชั ชุวิญญ สวุ ชิ า 27 85 70 สงู ขึ้น
26 นายเวชสิทธ์ิ ศรเี จรญิ 20 90 66 สงู ขึ้น
27 นายพพิ ฒั น สูญชัย 21 87 72 สูงขน้ึ
28 นายอรรณพ ดาวสุก 12 84 64 สูงขน้ึ
29 นางสาวเปรมวดี บญุ เนอ่ื ง 17 81 71 สูงขึ้น
30 นางสาวรุงนภา นาคไชยะ 15 86 78 สงู ขึ้น
31 นางสาวสวุ นันท ประทมุ เลศิ 11 89 50 สูงขน้ึ
32 นางสาวสุภัคค ผาปสมิ มา 20 70 45 สูงข้ึน
คาเฉล่ยี 27 72 45
30 75 49 4
27 76

6.2 ความพึงพอใจของนักเรียนที่มีตอการจัดการเรยี นการสอน วชิ าฟสิกส รหัสวชิ า ว32203 ปการศกึ ษา 2563
ชัน้ มัธยมศกึ ษาปท่ี 5

ตารางที่ 2 ความพึงพอใจของนกั เรียนทมี่ ีตอ การจดั การเรียนการสอน วิชาฟส กิ ส รหัสวชิ า ว32203 ปก ารศึกษา
2563 ชั้น มัธยมศึกษาปท ี่ 5

ท่ี รายการ ระดบั ความพึงพอใจ
คา เฉลี่ย S.D. แปลผล
ดา นเนื้อหา
1 มีความยากงายพอเหมาะ 4.34 4.40 มาก
2 มีประโยชนน าสนใจ 4.37 4.44 มาก
3 เหมาะสมกบั เวลา 4.54 4.62 มาก
รวม 4.42 มาก
ดา นการจัดกจิ กรรมการเรยี นการสอน
4 จัดกจิ กรรมการเรียนการสอนหลายรปู แบบนาสนใจ 4.19 4.68 มาก

5 จัดกจิ กรรมสงเสรมิ กระบวนการกลมุ และการระดมพลงั 4.53 4.61 มาก
สมอง

6 จัดกจิ กรรมใหผ เู รยี นไดฝ กฝน คน ควา สังเกต รวบรวม
ขอ มูล วเิ คราะห คิดอยางหลากหลาย และสรา งสรรค
สามารถสรางองคค วามรูด วยตนเอง 4.27 4.37 มาก

7 ครเู ปน ผูช้ีแนวทางใหผเู รียนคน หาคำตอบดวยตนเองโดย 4.44 4.51 มาก
ทำกิจกรรมกลมุ

8 มกี ารสอดแทรกคณุ ธรรม จรยิ ธรรม และใหแ รงเสรมิ ดว ย 4.29 4.38 มาก
การยกยอ งชมเชย

9 ฝกใหผูเ รยี นมพี ฤติกรรมเปนประชาธิปไตย ยอมรับความ
คิดเห็นของผูอ ื่น รจู ักหนา ท่ขี องตนเอง เปน ผนู ำและผู
ตามทีด่ ี 4.44 3.51 มาก

10 ลำดบั ขน้ั ตอนในการจัดกจิ กรรมไมส บั สน 4.50 4.58 มาก
11 กิจกรรมเหมาะสมกบั เวลา 4.29 3.38 มาก
12 มีความสขุ สนกุ สนานกับการเรยี น 4.19 4.28 มาก
รวม 4.35 มาก

ท่ี รายการ ระดบั ความพงึ พอใจ
คา เฉลี่ย S.D. แปลผล

ดา นสอ่ื การเรยี นการสอน 4.49 5.56 มาก
13 สอ่ื สอดคลองกบั จุดประสงค 4.36 4.44 มาก
14 ใชสอ่ื ตรงเนือ้ หา 4.47 4.54 มาก
15 สื่อมีความชดั เจนนา สนใจ 4.46 4.52 มาก
16 สื่อใชจ า ย ไมยงุ ยาก ซับซอ น 4.46 4.52 มาก
17 ใชส่ือเหมาะสมกบั วยั ผเู รยี น 4.45 มาก
รวม

ดานการวัดผลประเมนิ ผล
18 มีการวัดผลการเรยี นรหู ลายรปู แบบ เนน การวดั ผลตาม
สภาพจริง และจากชิน้ งานท่ีมอบหมาย 4.54 4.62 มาก

19 สรา งเกณฑการประเมินอยา งชัดเจน 4.25 4.33 มาก
20 ผเู รยี นมสี ว นรวมในการประเมิน 4.36 4.44 มาก
รวม 4.38 มาก
4.33 มาก
เฉล่ยี รวม

จากตารางท่ี 1 พบวา ความคิดเห็นเกี่ยวกับการจัดการเรียนการสอนวิชาคณิตศาสตร 1 รหัสวิชา ค21101 ป
การศึกษา 2563 ชั้น มัธยมศึกษาปที่ 1 ภาคเรียนที่ 1 ปการศึกษา 2563 คาเฉลี่ยรวมเทากับ 4.39 อยูในระดับมาก
ดานเนื้อหาผลการประเมินมีคาเฉลี่ยเทากับ 4.42 อยูในระดับมาก ดานการจัดกิจกรรม การเรียนการสอน ผลการ
ประเมนิ มีคา เฉล่ยี เทากบั 4.35 อยใู นระดบั มาก ดา นส่ือการเรยี นการสอน ผลการประเมิน มีคา เฉลี่ยเทา กบั 4.45 อยู
ในระดบั มากทีส่ ดุ ดานการวดั และประเมนิ ผล ผลการประเมิน มีคาเฉล่ยี เทา กับ 4.38 อยใู นระดับมาก

หมายเหตุ ระดับคุณภาพ
4.50 - 5.00 หมายถงึ มากทส่ี ดุ
3.50 - 4.49 หมายถึง มาก
2.50 - 3.49 หมายถึง ปานกลาง
1.50 - 2.49 หมายถึง นอ ย
1.00 - 1.49 หมายถงึ นอยท่สี ดุ

6
7. สรุปผลลพั ธจ ากการใชแ ผนการจัดการเรียนรู

ผลลัพธใ นการใชแผนอยใู นระดบั ดี สามารถพัฒนาผเู รยี นใหเ กดิ การเรียนรมู ีความรูค วามเขาใจในรายวชิ าที่
เรยี นได
8. จุดเดน ของแผนการจัดการเรียนรู

มีการจัดการเรียนการสอนโดยบูรณาการรูปแบบการจัดการเรียนรูทางไกลโดยใชกระบวนการหองเรียนกลับ
ดานบน Platform DLIT ดวยรูปแบบ TEACHER – Model ที่สามารถกระตุนนักเรียนใหมีสวนรวมไดดีมีการ
สอดแทรกคณุ ธรรมจรยิ ธรรม พรอ มปลูกฝงใหมีความรับผิดชอบตามหนาที่ท่ีไดร ับมอบหมาย เพื่อเปนการฝกใหผูเรียน
เรียนมคี ณุ ลกั ษณะเปนไปตามจุดประสงคก ารเรียนรู
9. จุดดอยของแผนการจัดการเรยี นรู

แบบฝก ทกั ษะยงั นอยเกินไป ผูเ รียนอาจขาดทกั ษะการคดิ คำนวณได
10. สิ่งทคี่ วรปรบั ปรุงในแผนถัดไป

ควรมีแบบฝก ทักษะทหี่ ลายหลากและสามารถพฒั นาทกั ษะของผเู รียน
11. ปญ หาอปุ สรรค/ขอ เสนอแนะ

นกั เรยี นบางคนยังขาดทักษะในการคูณ จึงทำใหท ำแบบฝก หัดไดชา

ลงชอ่ื .................................................ผูสอน
(นางสาวนพรัตน สายสิน)
ตำแหนง พนักงานราชการ

8

ภาคผนวก

ประมวลภาพการจดั การเรียนรบู รู ณาการรปู แบบการจัดการเรยี นรูทางไกล (DLIT) ดวยรปู แบบ TEACHER - Model
วิชาฟสิกส 3 ชน้ั มธั ยมศกึ ษาปท่ี 5 ใชส อนในวนั ที่ 22 เดือนกรกฎาคม พทุ ธศักราช 2563
ภาคเรยี นท่ี 1 ปการศกึ ษา 2563

ประมวลภาพการจดั การเรียนรบู รู ณาการรปู แบบการจัดการเรยี นรูทางไกล (DLIT) ดวยรปู แบบ TEACHER - Model
วิชาฟสิกส 3 ชน้ั มธั ยมศกึ ษาปท่ี 5 ใชส อนในวนั ที่ 22 เดือนกรกฎาคม พทุ ธศักราช 2563
ภาคเรยี นท่ี 1 ปการศกึ ษา 2563

แบบประเมินความพงึ พอใจการจดั การเรียนรูบ ูรณาการรปู แบบการจดั การเรียนรทู างไกล (DLIT)
ดวยรปู แบบ TEACHER - Model
วชิ าฟสิกส ช้ันมัธยมศกึ ษาปที่ 5
ภาคเรียนท่ี 1 ปก ารศกึ ษา 2563

ท่ี รายการ ระดบั ความพงึ พอใจ 1
54 32
ดา นเนื้อหา
1 มีความยากงายพอเหมาะ
2 มปี ระโยชนนา สนใจ
3 เหมาะสมกบั เวลา
ดา นการจัดกิจกรรมการเรยี นการสอน
4 จัดกจิ กรรมการเรยี นการสอนหลายรูปแบบนาสนใจ
5 จดั กิจกรรมสงเสริมกระบวนการกลมุ และการระดมพลัง

สมอง

6 จดั กจิ กรรมใหผ เู รยี นไดฝกฝน คน ควา สังเกต รวบรวม
ขอมลู วเิ คราะห คิดอยางหลากหลาย และสรา งสรรค
สามารถสรางองคค วามรูดว ยตนเอง

7 ครูเปนผูชีแ้ นวทางใหผ เู รียนคน หาคำตอบดว ยตนเองโดย
ทำกิจกรรมกลมุ

8 มีการสอดแทรกคุณธรรม จรยิ ธรรม และใหแ รงเสรมิ ดว ย
การยกยองชมเชย

9 ฝก ใหผ ูเรียนมพี ฤติกรรมเปนประชาธิปไตย ยอมรับความ
คิดเหน็ ของผูอ ่ืน รจู ักหนาท่ีของตนเอง เปนผูนำและผู
ตามทด่ี ี

10 ลำดบั ขั้นตอนในการจัดกจิ กรรมไมสบั สน
11 กิจกรรมเหมาะสมกบั เวลา
12 มีความสุขสนุกสนานกับการเรียน

ที่ รายการ 5 ระดบั ความพึงพอใจ 1
4 32

ดา นสอ่ื การเรยี นการสอน
13 ส่อื สอดคลองกับจุดประสงค

14 ใชส ่ือตรงเนื้อหา

15 ส่ือมคี วามชดั เจนนา สนใจ

16 สอ่ื ใชจ าย ไมยงุ ยาก ซับซอ น

17 ใชส ื่อเหมาะสมกบั วัยผูเ รยี น

ดานการวัดผลประเมนิ ผล
18 มีการวัดผลการเรยี นรูหลายรปู แบบ เนนการวดั ผลตาม

สภาพจรงิ และจากช้ินงานที่มอบหมาย

19 สรา งเกณฑการประเมนิ อยางชัดเจน

20 ผูเรยี นมสี ว นรวมในการประเมนิ

ขอเสนอแนะ
..........................................................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................................................
*หมายเหตุ

5 หมายถึง มากท่ีสดุ
4 หมายถงึ มาก
3 หมายถึง ปานกลาง
2 หมายถงึ นอย
1 หมายถึง นอ ยทสี่ ุด

แผนการจัดการเรียนรูท่ี 22

กลุม สาระการเรียนรู วทิ ยาศาสตร รายวิชาฟส กิ ส 3 รหัสวิชา ว๓32203 ชัน้ มธั ยมศกึ ษาปท ่ี 5
หนวยการเรยี นรูที่ 10 ชอ่ื หนวย แสงเชงิ คล่ืน เร่ือง การเลี้ยวเบนของแสงผานสลติ เดีย่ ว รวมท้ังคำนวณ
ปริมาณตา ง ๆ ที่เกี่ยวของ เรื่อง คลนื่ เวลา 2 ช่ัวโมง
สอน วันท่ี ๕ ตุลาคม ๒๕๖๓ เวลา 10.20 – 12.00 น. ครผู ูสอน นางสาวนพรัตน สายสนิ

1. มาตรฐานการเรยี นรู
ว 6.2 เขาใจการเคลื่อนทแ่ี บบฮารม อนิกอยางงา ย ธรรมชาตขิ องคล่นื เสียงและการไดยนิ ปรากฏการณท่ี

เกย่ี วของกับเสียง แสงและการเห็น ปรากฏการณที่เกีย่ วของกับแสงรวมท้ังนำความรูไปใชประโยชน

2. ผลการเรยี นรู
4. สังเกตและอธิบายการสะทอน การหักเห การแทรกสอด และการเล้ยี วเบนของคลื่นผวิ น้ำ รวมทงั้ คำนวณ

ปรมิ าณตา ง ๆ ท่เี กี่ยวขอ ง
3. จุดประสงคการเรยี นรู

3.1 ดา นความรู (K)
1) อธิบายการแทรกสอดของคล่นื ผวิ น้ำได

3.2 ดา นกระบวนการ (P)
1) ทดลองและสังเกตการแทรกสอดของคลืน่ ผวิ นำ้ ได

3.3 ดา นเจตคติ (A)
1) ใฝเ รยี นรู และมีความรับผดิ ชอบ

4. สาระสำคญั
พฤติกรรมของคล่นื คลน่ื แสดงพฤติกรรมการสะทอนเมื่อกระทบสิ่งกดี ขวางหรือรอยตอ ของตวั กลางท่ีตา งกนั
การสะทอ นของคลื่นเปน ไปตามกฎการสะทอน คือ มมุ สะทอ นเทากับมมุ ตกกระทบ คลน่ื สะทอนในเชือกจะ
กลบั เฟสเมื่อปลายเชือกตรงึ แนน และคลน่ื สะทอนในเชอื กมเี ฟสคงเดมิ เมื่อปลายเชอื กอสิ ระ
คล่ืนเกดิ การหักเหเมือ่ เคลอ่ื นที่ผานรอยตอของตวั กลางทต่ี างกนั โดยคลื่นมคี วามถี่คงท่ี แตอตั ราเร็วคลืน่
sin 1 1
เปล่ยี นไปเปน ไปตามกฎการหักเห แทนดว ยสมการ sin 2 = 2

เมื่อคล่นื สองขบวนเคลือ่ นทมี่ าพบกันเกดิ การแทรกสอดกนั ถาคลืน่ จากแหลง กำเนิด S1 และ S2 มีความถี่เทากัน
เฟสตรงกนั แอมพลจิ ดู เทา กนั เม่ือแทรกสอดกันเกดิ ตำแหนง ท่รี วมแบบเสรมิ เรยี กวา ปฏบิ ัพ และแบบหักลาง เรียกวา
บพั โดยตำแหนง ท่เี กดิ ปฏิบัพเปน ไปตามสมการ | 1 − 1 | = เมื่อ n = 0, 1, 2, 3, …
และตำแหนงทเ่ี กดิ บัพเปน ไปตามสมการ | 1 − 1 | = � = 12� เม่ือ n = 1, 2, 3, …

คลน่ื อาพันธสองขบวนเคลือ่ นทส่ี วนทางกันจะเกิดการแทรกสอดเกิดเปน ปฏบิ ัพและบัพที่อยูนิ่ง โดยมรี ะยะ
ระหวางบัพท่ีถัดกนั และปฏบิ พั ทถ่ี ดั กนั เทากบั คร่ึงหนง่ึ ของความยาวคลน่ื เรียกวา คลนื่ นิ่ง

คล่ืนเกดิ การเลย้ี วเบนเม่อื เคลือ่ นท่ีพบขอบของสง่ิ กดี ขวางหรอื ชองแคบ แลว มคี ลนื่ แผออกจากของของสิ่งกีดขวาง
ไปทางดว นหลังได
5. สาระการเรยี นรู

5.1 ความรู
แหลงกำเนิดสองแหลงอยูมนตัวกลางเดียวกัน ใหคลื่นตอเนื่องที่มีแอมพลิจูด ความถี่ และความยาวคลื่น

เทากัน มีเฟสเริ่มตนตรงกันหรือตางกันคงที่ จัดเปนแหลงกำเนิดอาพันธ (coherent sources) เมื่อแหลงกำเนิดคลื่นนี้
แผค ลนื่ ออกมา ดังรปู

คลื่นทีเ่ คลื่อนที่ออกมาจะเกดิ การแทรกสอดกัน โดยบางจุดจะเกิดการแทรกสอดแบบหักลางกันสนทิ เปน
จุดบัพ คาการกระจัดลัพธของตัวกลางที่จุดนี้จะเปนศูนย และเกิดจุดที่มีการแทรดสอดแบบเสริมกันที่จุดปฏิบัพ
คา การกระจัดลพั ธของตวั กลางทจ่ี ดุ นจ้ี ะมีขนาดเปน 2 เทาของแอมพลิจดู ของคลน่ื ท่อี อกมาจากแหลงกำเนดิ สวนตำแหนง
อื่นๆ ที่เหลอื จะเปน การแทรกสอดท่ไี มไดหักลา งกันสนิทและเสรมิ กนั มากท่สี ดุ

เมื่อคลื่นสองขบวนเคลื่อนที่มาพบกันเกิดการแทรกสอดกัน ถาคลื่นจากแหลงกำเนิด S1 และ S2
มีความถี่เทากัน เฟสตรงกัน แอมพลิจูดเทากัน เมื่อแทรกสอดกันเกิดตำแหนงที่รวมแบบเสริม เรียกวา ปฏิบัพ และแบบ
หักลาง เรียกวา บัพ โดยตำแหนงที่เกิดปฏิบัพเปนไปตามสมการ | 1 − 1 | = เมื่อ n = 0, 1, 2, 3, …
และตำแหนง ที่เกดิ บัพเปน ไปตามสมการ | 1 − 1 | = � = 21� เม่ือ n = 1, 2, 3, …

5.2 กระบวนการ
1) ความสามารถในการสอื่ สาร (อา น ฟง พดู เขยี น)
2) ความสามารถในการคดิ (สังเกต วเิ คราะห จัดกลมุ สรุป)

3) ความสามารถในการแกป ญหา (-)
4) ความสามารถในการใชท กั ษะชีวิต (ทำงานกลมุ และความรบั ผดิ ชอบ)
5) ความสามารถในการใชเ ทคโนโลยสี ารสนเทศ (ใชก ารสบื คน ผา นคอมพวิ เตอร)
5.3 คุณลักษณะและคานยิ ม
ใฝเรยี นรู และมคี วามรบั ผดิ ชอบ
6. บรู ณาการ
6.1 บูรณาการ PLC นักเรียนแตละกลุมแลกเปลี่ยนเรียนรูเลาสูกันฟงถึงความรูที่ไดจากการทำกิจกรรม และ
ปญ หาทีเ่ กิดขึ้นระหวา งการทำกจิ กรรม
7. กจิ กรรมการเรยี นรู
ขน้ั ตอนการเรยี นรู
ขั้นที่ 1 ขน้ั สรางความสนใจ
1.1 ครูทบทวนความรูเดิม เรื่อง การแทรกสอดแบบหักลาง การแทรกสอดแบบเสริมกัน กรณี คลื่น
ตอเนื่องที่มีแอมพลิจูด ความถี่ และความยาวคลื่นเทากัน มีเฟสเริ่มตนตรงกันหรือตางกันคงที่ และการเกิด
คลน่ื น่งิ
1.2 จากที่นักเรียนไดศึกษาจากวีดีโอ DLIT โดยใชแอฟพิเคชัน Edpuzzle ตามลิงคนี้
https://edpuzzle.com/assignments/5f64778e762b3640a4e3681b/watch

ขั้นท่ี 2 ขน้ั สำรวจและคน หา
2.1 นกั เรียนแบงกลุมๆ ละ 5-6 คน โดยคละเพศ คละความสามารถ
2.2 นกั เรียนแตละกลุมศึกษาใบกจิ กรรม 9.4 เรอ่ื ง การแทรกสอดของคล่ืนผิวน้ำ
2.3 ครแู จงจุดประสงคการเรยี นรู อุปกรณ และขน้ั ตอนการทดลองอยางละเอียด
2.4 นักเรยี นรบั อุปกรณการทดลอง พรอ มตดิ ต้ังอปุ กรณ
2.5 นักเรียนแตละกลุม ทำการทดลอง สังเกตและบันทกึ ผลการทดลอง

ขน้ั ที่ 3 ขน้ั อธบิ ายและลงขอสรุป
3.1 ครสู ุมนกั เรยี น 2 คน ออกมานำเสนอสรปุ ท่ีไดจากการศึกษาหนา ช้นั เรียน
3.2 ครนู ำนักเรยี นอภิปรายเพ่ือนำไปสกู ารสรปุ โดยใชค ำถามตอ ไปน้ี
1) นักเรียนแตละกลุมไดผลการทำกิจกรรมเหมือนหรือแตกตางกันอยางไร (แนวการตอบ

ไดผลเหมือนกัน)
2) จากภาพคลน่ื ตอเนื่องวงกลมทสี่ รา งโดยปุมกำเนิดคล่นื ท้งั สองปรากฏเปนแถบมืด แถบ

มดื นเี้ กิดขน้ึ ไดอ ยา งไร (แนวการตอบ ตำแหนง ทีเ่ ปน แถบมดื และแถบสวา ง คือจุดทค่ี ลนื่ จากปุมกำเนดิ คลน่ื ทัง้

สองไปรวมกันแบบหกั ลา งและเสริมกันตามลำดบั )
3) การรวมกันของคลืน่ ท่เี กดิ จากแหลงกำเนดิ อาพนั ธทีม่ ีแอมพลจิ ูดเทากนั เมอ่ื รวมกนั จะ

อะไร (แนวการตอบ เม่ือรวมกันจะเกดิ บพั และปฏิบพั )
4) ปมุ กำเนิดคลื่นสองปมุ ตดิ อยูกับคานกำเนิดคลน่ื เดยี วกันจงึ ทำใหเกดิ คล่ืนผิวนำ้ มีคา ใด

เทา กัน (แนวการตอบ ความถี่ คลนื่ ผา นตัวกลาง อัตราเรว็ ความยาวคล่นื ส่ันแรง และแอมพลจิ ูดเทากัน)
5) ตำแหนง ทเี่ ปนบพั และปฏบิ ัพเหลานี้ ไมเ คลอ่ื นท่ี แสดงวาเกดิ คลนื่ ใด (แนวการตอบ คลืน่

นงิ่ )
3.3 นักเรยี นและครูรว มกันอภปิ รายและสรุปผลการทำการทดลอง จนสรปุ ได ดงั นี้
จากการทำการทดลอง พบวา ปุมกำเนิดคลื่นสองปุมติดอยูกับคานกำเนิดคลื่นเดียวกัน ทำให

เกิดคลื่นผิวน้ำ ดวยความถี่เดียวกัน คลื่นผานตัวกลางเดียวกัน อัตราเร็วเทากัน ความยาวคลื่นเทากัน สั่นแรง
เทากนั แอมพลจิ ดู เทา กัน เปน แหลง กำเนิดอาพนั ธ เม่อื คล่นื จากแหลงกำเนิดท้งั สองมาพบกนั จึงเกิดจุดท่ีคล่ืน
มารวมกันแบบเสริม เปนจุดปฏิบัพ และจุดที่คลื่นรวมกันแบบหักลาง เปนจุดบัพ ซึ่งตำ แหนงที่เปนบัพ
และปฏิบพั เหลาน้ี ไมเ คลือ่ นท่ี จึงเปนคลื่นน่งิ สะทอน
ขนั้ ท่ี 4 ข้นั ขยายความรู

4.1 ครอู ธบิ ายใหความรเู พมิ่ เติม ดังน้ี
เมื่อคลื่นสองขบวนเคลื่อนทีม่ าพบกันเกิดการแทรกสอดกัน ถาคลื่นจากแหลงกำเนดิ S1 และ

S2 มีความถี่เทากนั เฟสตรงกัน แอมพลิจูดเทากัน เมื่อแทรกสอดกนั เกิดตำแหนง ทีร่ วมแบบเสริม เรียกวา ปฏิ
บัพ และแบบหักลาง เรียกวา บัพ โดยตำแหนงที่เกิดปฏิบัพเปนไปตามสมการ | 1 − 1 | = เมื่อ
n = 0, 1, 2, 3, …และตำแหนงที่เกิดบัพเปนไปตามสมการ | 1 − 1 | = � = 21� เมื่อ n = 1,
2,3, …

4.1 ครูอธบิ ายใหความรจู ากคำถามชวนคดิ
- การแทรกสอดกนั ของคล่ืนทจ่ี ุดอน่ื ๆ ท่ไี มใชจ ดุ ท่ีสันคลืน่ (หรือทองคลื่น) ซอนทับกับสันคล่ืน

(หรือทอ งคลน่ื ) เปนการแทรกสอดแบบใด (แนวคำตอบ เปน การแทรกสอดแบบหักลาง)
- หากเฟสเริ่มตนของคลื่นจากแหลงกำเนิดทั้งสองมีคาตางกัน 180 องศา หรือมีเฟสตรงขาม

กัน เงื่อนไขของการแทรกสอดแบบเสริมกับแบบหักลางจะเปลี่ยนแปลงหรือไม อยางไร เพราะเหตุใด
(แนวคำตอบ หากเฟสเรม่ิ ตนของคลื่นจากแหลงกำเนดิ ทง้ั สองมีคา ตางกัน 180 องศา หรอื มเี ฟสตรงขาม เงอ่ื นไข
ของการแทรกสอดเปลี่ยนไป โดยที่แนวกลางเปนการแทรกสอดแบบหักลาง เนื่องจากหนาคลื่นแรกที่พบกัน
แทรกสอดแบบหักลางกัน)

- ในรปู 9.26 แสดงเสนแนวการแทรกสอดกัน แสดงคา ∆r สงู สุดเทากบั 2 λ มีแนวการแทรก
สอด ที่คา ∆r มากกวา 2 λ หรือไม เพราะเหตุใด (แนวคำตอบ ไมมี เนื่องจากแหลงกำเนิดคลื่นทั้งสองเปน
แหลงกำเนิดอาพันธแ ละอยหู างกนั 2 λเทานน้ั )

- หากเฟสเร่มิ ตนของคล่ืนจากแหลงกำเนดิ ท้งั สองมีคา ตางกัน 180 องศาหรอื มเี ฟสตรงขามกัน
เสนแนวการแทรกสอดกันของคล่ืนที่จุดซ่ึงมีระยะหางจากแหลงกำเนิดท้ังสองเทากัน จะเกิดการแทรกสอดแบบ
ใด (แนวคำตอบ เกดิ การแทรกสอดแบบหักลา ง)
ขัน้ ที่ 5 ขั้นประเมินผล

5.1 นักเรียนสงใบกิจกรรม เร่ือง การแทรกสอดของคล่นื ผวิ น้ำ
8. สื่อการเรยี นรู/แหลง เรียนรู

8.1 หนงั สอื เรยี นรายวิชาเพิ่มเตมิ วิทยาศาสตร (ฟสกิ ส) ชนั้ มธั ยมศึกษาปท ี่ 5 เลม 3 (ฉบบั ปรบั ปรงุ พ.ศ.2560)
8.2 อินเทอรเนต็
8.3 ใบกจิ กรรม เรือ่ ง การแทรกสอดของคล่นื ผวิ นำ้
8.4 ชุดกจิ กรรม เรื่อง การแทรกสอดของคลืน่ ผวิ นำ้
9. การวัดและประเมนิ ผล
จุดประสงคการเรียนรู วิธีการวัด เคร่ืองมือ เกณฑการประเมิน

ดา นความรู (K) 1) ตรวจใบกจิ กรรม เรือ่ ง 1) ใบกจิ กรรม เรือ่ ง การ 1) นักเรียนสามารถ
1) อธบิ ายการการแทรกสอดของ การแทรกสอดของคลนื่ ผิว แทรกสอดของคลนื่ ผวิ น้ำ สรุปผลการทดลองได
คลืน่ ผิวน้ำได น้ำ
ดานกระบวนการ (P) 1) ตรวจใบกิจกรรม เรือ่ ง ระดบั ดีผา นเกณฑ
1) ทดลองและสงั เกตการแทรก การแทรกสอดของคลืน่ ผวิ 1) ใบกจิ กรรม เรือ่ ง การ 1) นักเรยี นสามารถทำ
สอดของคลืน่ ผวิ นำ้ ได น้ำ การแทรกสอดของคลืน่ ใบกจิ กรรมไดระดบั ดี
ดานคุณลักษณะ (A) 1) ตรวจการสง ใบกิจกรรม ผวิ น้ำ ผา นเกณฑ
1) ใฝเ รยี นรู และมีความ 1) ใบกจิ กรรม เร่อื ง การ 1) นกั เรียนไดร ะดับดี
รบั ผิดชอบ แทรกสอดของคลืน่ ผวิ น้ำ ผา นเกณฑ

10. เกณฑก ารประเมินผลงานนักเรยี น
เกณฑก ารประเมนิ แบบ Rubrics ของการทำกจิ กรรม เรื่อง การแทรกสอดของคลนื่ ผวิ น้ำ

ประเดน็ การ คานำ้ หนัก แนวทางการใหค ะแนน
ประเมนิ คะแนน
ดานความรู 3 สรปุ ผลการทดลองไดถ กู ตอ งครบถว น
(K) 2 สรุปผลการทดลองคอนขา งถกู ตองครบถวน
1 สรปุ ผลการทดลองไดค อนขางถกู ตอ ง
ดา น 3 บนั ทึกผลกจิ กรรมไดถูกตองครบถวน
กระบวนการ 2 บันทกึ ผลกิจกรรมคอนขา งถกู ตอ ง
(P) 1 บันทกึ ผลกจิ กรรมไดค อนขางถกู ตอ ง
ดา น 3 ทำภาระงานท่ีไดรบั มอบหมายเสรจ็ ภายในเวลาที่กำหนด และเรยี บรอยถกู ตอ งครบถวน
คุณลกั ษณะ 2 ทำภาระงานท่ีไดรบั มอบหมายเสรจ็ ภายในเวลาทก่ี ำหนด แตงานยังผิดพลาดบางสว น
(A) 1 ทำภาระงานที่ไดร บั มอบหมายเสร็จ แตล า ชา และเกดิ ขอผดิ พลาดบางสวน

ระดับคะแนน 3 หมายถงึ ระดบั ดีมาก
คะแนน 2 หมายถึง ระดับดี
คะแนน 1 หมายถงึ ระดับพอใช
คะแนน

การประเมนิ การทำกิจกรรม เรอื่ ง การแทรกสอดของคล่ืนผวิ นำ้
จดุ ประสงคการเรียนรู
ที่ ชื่อ - นามสกลุ ดานความรู (K) ดานกระบวนการ (P) ดานคุณลักษณะ (A) รวม ระดับ
คะแนน คณุ ภาพ

1 33 39

2
3
4
5
6
7
8
9
10
11
12
13
14
15
16
17
18
19
20
21
22
23
24
25
26
27
28
29
30
31
32
ระดับคณุ ภาพ
คะแนน 9 หมายถงึ ระดับดมี าก
คะแนน 7-8 หมายถึง ระดบั ดี
คะแนน 5-6 หมายถงึ ระดบั ปานกลาง
คะแนน 3-4 หมายถึง ระดับปรับปรุง

บันทึกหลงั การสอน

หนวยการเรยี นรทู ่ี.......................................................................................................................................................
แผนการสอนที.่ ................................เร่ือง...................................................................................................................
วันท่.ี ................................................เดอื น........................................................พ.ศ......................................
ผลการจดั การเรยี นรู

……………………………………………………………………………………………………………………………………….…………………...
……………………………………………………………………………………………………………………………………….…………………...
……………………………………………………………………………………………………………………………………….…………………...
……………………………………………………………………………………………………………………………………….…………………...

ปญหา / อุปสรรค

……………………………………………………………………………………………………………………………………….…………………...
……………………………………………………………………………………………………………………………………….…………………...
……………………………………………………………………………………………………………………………………….…………………...
……………………………………………………………………………………………………………………………………….…………………...

ขอเสนอแนะ/แนวทางแกป ญ หา

……………………………………………………………………………………………………………………………………….…………………...
……………………………………………………………………………………………………………………………………….…………………...
……………………………………………………………………………………………………………………………………….…………………...

ลงชือ่ .............................................ครผู ูสอน
(นางสาวนพรัตน สายสิน)

ใบกจิ กรรม 9.4 การแทรกส…อ…ด…ข…อ..ง/…ค…ล…นื่ …ผ..ิว/…น…ำ้ ….

1. รายช่ือสมาชิกที่ …………………………………………………….. ชั้น …………………………………
ชอ่ื ……………………………………………………………………………....................................เลขที.่ ..................
ชื่อ……………………………………………………………………………....................................เลขท.ี่ ..................
ชื่อ……………………………………………………………………………....................................เลขท่.ี ..................
ชื่อ……………………………………………………………………………....................................เลขท.่ี ..................
ชื่อ……………………………………………………………………………....................................เลขที.่ ..................
ชอ่ื ……………………………………………………………………………....................................เลขท่.ี ..................

2. จุดประสงคก ารทำกิจกรรม
สังเกตและอธบิ ายการแทรกสอดของคล่ืนผวิ น้ำ

3. วสั ด-ุ อปุ กรณ 1 ชุด
1. ชดุ ถาดคล่นื 1 เครือ่ ง
2. หมอ แปลงโวลตต่ำพรอมสายไฟ 1 แผน
3. กระดาษขาว

4. วิธที ำกจิ กรรม
1. ตง้ั ถาดคลน่ื ใหอยูในแนวระดับ ใสนำ้ ในถาดคลืน่ จัดปุมกำเนิดคล่ืนอันกลางและปมุ ดา นขางอันใดอันหนึง่ ใหแ ตะผิวน้ำ
2. ทำใหเกิดคลื่นตอเนื่องวงกลมสองขบวนที่เหมือนกันทุกประการแผออกไป สังเกตภาพที่เกิดขึ้นบนแผนกระดาษที่เปน
ฉาก

5. ผลการทำการทดลอง

6. คำถามทา ยการทดลอง
1) จากภาพคลนื่ ตอ เน่อื งวงกลมทีส่ รางโดยปมุ กำเนดิ คล่ืนทัง้ สองปรากฏเปน แถบมืด แถบมดื นเี้ กิดขนึ้ ไดอยางไร

ตอบ ตำแหนง ที่เปนแถบมดื และแถบสวาง คอื จดุ ที่คลืน่ จากปมุ กำเนดิ คล่ืนท้ังสองไปรวมกันแบบหักลา งและเสริมกนั

ตามลำดบั ไมมกี ารเปลีย่ นแปลง แต เปลี่ยนแปลงไป โดยความยาวคลน่ื นอยลง

2) การรวมกันของคลน่ื ท่ีเกิดจากแหลง กำเนดิ อาพันธท่ีมีแอมพลิจดู เทา กัน เม่อื รวมกนั จะอะไร
ตอบ เม่ือรวมกันจะเกิดบพั และปฏิบพั เขตนำ้ ลกึ และเขตนำ้ ตืน้ ถา หนาคลนื่ ตกกระทบทำมุมกับรอยตอ ทิศทางการ

3) ปุมกำเนดิ คลื่นสองปุมติดอยกู ับคานกำเนดิ คลืน่ เดยี วกนั จงึ ทำใหเกิดคลืน่ ผวิ น้ำมคี าใดเทากัน

ตอบ ความถ่ี คลน่ื ผา นตัวกลาง อัตราเร็ว ความยาวคลืน่ สน่ั แรง และแอมพลจิ ูดเทา กนั นอ ยกวาคลื่นหกั เห

4) เมือ่ คล่นื จากแหลงกำเนิดทั้งสองมาพบกัน จงึ เกิดจุดท่ีคล่นื มารวมกันและเกดิ จุดทค่ี ลื่นรวมกนั แบบหักลาง เรยี กวาจัดน้ัน
วา จดุ อะไรตามลำดบั
ตอบ จดุ ท่คี ล่นื มารวมกัน เรียกวา แบบเสริม เปน จุดปฏิบัพ และจดุ ทคี่ ล่ืนรวมกนั แบบหกั ลา ง เปน จดุ บพั ม

จากการทดลองพบวา เมื่อหนา คลื่นผานบริเวณรอยตอระหวา งเขตนำ้ ลึกเขา สูน ้ำตน้ื ถา หนา คลน่ื ขนานกบั

5) ตำแหนงทเ่ี ปนบัพและปฏิบพั เหลานี้ ไมเ คลอ่ื นท่ี แสดงวาเกิดคล่ืนใด เปนจุดบัพ ม
ตอบ คลืน่ นิง่ จดุ ทค่ี ลื่นมารวมกัน เรยี กวา แบบเสรมิ เปนจดุ ปฏิบพั และจดุ ที่

7. สรุปผลการทดลอง
จากการทำการทดลอง พบวา ปุมกำเนิดคลื่นสองปุมติดอยูกับคานกำเนิดคลื่นเดียวกัน ทำใหเกิดคลื่นผิวน้ำ ดวย

ความถี่เดียวกัน คลื่นผานตัวกลางเดียวกัน อัตราเร็วเทากัน ความยาวคลื่นเทากัน สั่นแรงเทากัน แอมพลิจูดเทากัน เปน
แหลงกำเนิดอาพันธ เมื่อคลื่นจากแหลงกำเนิดทั้งสองมาพบกัน จึงเกิดจุดที่คลื่นมารวมกันแบบเสริม เปนจุดปฏิบัพ และจุด
ทค่ี ล่นื รวมกนั แบบหกั ลาง เปนจุดบพั ซง่ึ ตำ แหนงทเ่ี ปน บัพและปฏบิ ัพเหลาน้ี ไมเ คลอ่ื นที่ จึงเปน คลน่ื นง่ิ สะทอน

b
b
b

เฉลยใบกจิ กรรม 9.4 การแทรกสอดของคลื่นผวิ นำ้

1. รายชอ่ื สมาชิกท่ี …………………………………………………….. ชนั้ …………………………………
ชอ่ื ……………………………………………………………………………....................................เลขท่.ี ..................
ชื่อ……………………………………………………………………………....................................เลขท่.ี ..................
ช่ือ……………………………………………………………………………....................................เลขท.ี่ ..................
ชอื่ ……………………………………………………………………………....................................เลขที่...................
ชื่อ……………………………………………………………………………....................................เลขที่...................
ช่ือ……………………………………………………………………………....................................เลขที.่ ..................

2. จุดประสงคก ารทำกิจกรรม
สังเกตและอธบิ ายการแทรกสอดของคลนื่ ผวิ น้ำ

3. วัสดุ-อุปกรณ 1 ชดุ
1. ชดุ ถาดคล่ืน 1 เคร่อื ง
2. หมอ แปลงโวลตตำ่ พรอมสายไฟ 1 แผน
3. กระดาษขาว

4. วิธที ำกจิ กรรม
1. ตั้งถาดคลื่นใหอยใู นแนวระดับ ใสน ำ้ ในถาดคลน่ื จดั ปมุ กำเนดิ คลนื่ อนั กลางและปุม ดา นขางอันใดอนั หน่งึ ใหแ ตะผวิ น้ำ
2. ทำใหเกิดคลื่นตอเนื่องวงกลมสองขบวนที่เหมือนกันทุกประการแผออกไป สังเกตภาพที่เกิดขึ้นบนแผนกระดาษที่เปน
ฉาก

5. ผลการทำการทดลอง

6. คำถามทา ยการทดลอง
1) จากภาพคลนื่ ตอ เน่อื งวงกลมทีส่ รางโดยปมุ กำเนดิ คล่ืนทัง้ สองปรากฏเปน แถบมืด แถบมืดนเี้ กิดขนึ้ ไดอ ยางไร

ตอบ ตำแหนง ที่เปนแถบมดื และแถบสวาง คือจุดที่คลืน่ จากปมุ กำเนดิ คล่ืนทัง้ สองไปรวมกนั แบบหักลา งและเสริมกนั

ตามลำดับไมมกี ารเปลย่ี นแปลง แต เปลี่ยนแปลงไป โดยความยาวคลน่ื นอยลง

2) การรวมกันของคลน่ื ท่ีเกิดจากแหลง กำเนิดอาพันธที่มีแอมพลิจดู เทา กัน เม่อื รวมกนั จะอะไร
ตอบ เม่ือรวมกันจะเกิดบพั และปฏิบพั เขตน้ำลกึ และเขตนำ้ ตืน้ ถา หนาคลนื่ ตกกระทบทำมมุ กับรอยตอ ทิศทางการ

3) ปุมกำเนดิ คลื่นสองปุมติดอยกู บั คานกำเนิดคลืน่ เดยี วกนั จงึ ทำใหเกิดคลืน่ ผวิ น้ำมคี าใดเทากัน

ตอบ ความถ่ี คลน่ื ผา นตัวกลาง อัตราเร็ว ความยาวคลืน่ สน่ั แรง และแอมพลจิ ูดเทา กนั นอ ยกวาคลื่นหกั เห

4) เมือ่ คล่นื จากแหลงกำเนิดทั้งสองมาพบกัน จึงเกิดจุดท่ีคล่นื มารวมกันและเกดิ จุดทค่ี ลื่นรวมกนั แบบหกั ลาง เรยี กวาจัดน้ัน
วา จดุ อะไรตามลำดบั
ตอบ จดุ ท่คี ล่นื มารวมกนั เรียกวา แบบเสรมิ เปนจุดปฏิบัพ และจดุ ทคี่ ล่ืนรวมกนั แบบหกั ลา ง เปน จดุ บัพ ม

จากการทดลองพบวา เมื่อหนา คลนื่ ผานบริเวณรอยตอระหวา งเขตนำ้ ลึกเขา สูน ้ำตน้ื ถา หนาคลน่ื ขนานกบั

5) ตำแหนงทเ่ี ปนบัพและปฏิบพั เหลานี้ ไมเ คลอื่ นท่ี แสดงวาเกิดคล่ืนใด เปนจุดบัพ ม
ตอบ คลืน่ นิง่ จดุ ทค่ี ลื่นมารวมกัน เรยี กวา แบบเสรมิ เปน จดุ ปฏิบพั และจดุ ที่

7. สรุปผลการทดลอง
จากการทำการทดลอง พบวา ปุมกำเนิดคลื่นสองปุมติดอยูกับคานกำเนิดคลื่นเดียวกัน ทำใหเกิดคลื่นผิวน้ำ ดวย

ความถี่เดียวกัน คลื่นผานตัวกลางเดียวกัน อัตราเร็วเทากัน ความยาวคลื่นเทากัน สั่นแรงเทากัน แอมพลิจูดเทากัน เปน
แหลงกำเนิดอาพันธ เมื่อคลื่นจากแหลงกำเนิดทั้งสองมาพบกัน จึงเกิดจุดที่คลื่นมารวมกันแบบเสริม เปนจุดปฏิบัพ และจุด
ทค่ี ล่นื รวมกนั แบบหกั ลาง เปนจุดบพั ซ่งึ ตำ แหนงทเ่ี ปน บัพและปฏบิ ัพเหลานี้ ไมเคลอ่ื นที่ จึงเปน คลน่ื น่ิงสะทอน

b
b
b

ภาคผนวก

หอ งเรยี น Edpuzzle

Class code
hadebho

https://edpuzzle.com/classes/5f6320b7bf656840da711e6d


Click to View FlipBook Version