The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

หมู่บ้านสารสนเทศ บ้านหนองสระ ตำบลเลาขวัญ อำเภอเลาขวัญ จังหวัดกาญจนบุรี

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by Data Publication and Utilisation Group [CDD], 2021-03-18 22:59:32

(กาญจนบุรี) หมู่บ้านสารสนเทศ บ้านหนองสระ

หมู่บ้านสารสนเทศ บ้านหนองสระ ตำบลเลาขวัญ อำเภอเลาขวัญ จังหวัดกาญจนบุรี

สรุปบทเรยี นผลการดาเนนิ งาน

หมู่บ้านต้นแบบการจัดการสารสนเทศเพือ่ การพฒั นาคุณภาพชีวิต
ปี 2561

บา้ นหนองสระ
หมู่ท่ี 15 ตาบลเลาขวญั
อาเภอเลาขวัญ จงั หวัดกาญจนบรุ ี

จัดทาโดย
สานกั งานพฒั นาชมุ ชนอาเภอเลาขวญั

จงั หวดั กาญจนบุรี

2

คำนำ

เอกสารสรุปบทเรียนผลการดาเนินงานหมู่บ้านต้นแบบ การจัดการสารสนเทศเพ่ือการพัฒนา
คุณภาพชีวิต ปี ๒๕61 บ้านหนองสระ หมู่ท่ี 15 ตาบลเลาขวัญ อาเภอเลาขวัญ จังหวัดกาญจนบุรี จัดทาข้ึน
เพือ่ เปน็ การสรุปผลการดาเนนิ งานและสรปุ องค์ความรูท้ ่ีได้จากการดาเนินงานในการขับเคลื่อนหมู่บ้านต้นแบบ
การจดั การสารสนเทศเพ่ือการพฒั นาคณุ ภาพชีวติ ซึ่งคนในชุมชนและภาคีพัฒนาต่าง ๆ ได้ร่วมกันแลกเปลี่ยน
เรียนรู้ กาหนดความต้องการ การจัดทาสารสนเทศ รวมถึงการเผยแพร่และบารุงรักษาสารสนเทศเพ่ือการ
พฒั นาคุณภาพชีวติ ของประชาชนในหมบู่ ้านและชุมชน

คณะผู้จดั ทาขอขอบพระคุณผู้ท่ีมีส่วนเกี่ยวข้องทุกท่าน ท่ีมีส่วนช่วยในการส่งเสริมและสนับสนุน
ใหเ้ อกสารสรุปบทเรียนฯ ฉบับนี้สาเร็จลงได้ด้วยดี และหวังเป็นอย่างยิ่งว่าเอกสารสรุปบทเรียนฉบับนี้จะเป็น
ประโยชน์สาหรับผทู้ ี่สนใจและนาประสบการณด์ ังกลา่ วไปปรับใชเ้ พ่ือการพัฒนาต่อไป

ผู้จัดทา

สำรบัญ 3

เร่ือง หนำ้

คานา ๓
สารบัญ ๔
ขอ้ มลู ทว่ั ไปของหมู่บ้าน ๑๙
กระบวนการ ขน้ั ตอน และวิธกี ารทางานหมูบ่ ้านตน้ แบบสารสนเทศฯ ๒๐
ผลของการจดั การหมู่บ้านต้นแบบเพอ่ื การพฒั นาคุณภาพชีวิต ๒๑
ปญั หาอปุ สรรค แนวทางแก้ไข ขอ้ เสนอแนะ
ภำคผนวก

4

บทนำ
ขอ้ มูลทว่ั ไปของหมบู่ ำ้ น

ประวัตคิ วำมเปน็ มำ

เร่ิมแรกในสมัยก่อนหมู่บ้านหนองสระอยู่ติดกับ
หมู่บ้านพุบอนต่อมามีประชากรมากข้ึนเลยแยกหมู่บ้าน

ออกมาจากบ้านพุบอนโดยหมู่บ้านหนองสระแต่เดิมมีสระ
ใหญ่สองสระจึงตั้งชื่อว่าหมู่บ้านหนองสระแต่ปัจจุบันสระ

ใหญ่ไม่มีแล้ว เพราะได้นาดินมาถมเพ่ือเพื่อใช้เป็นท่ีสา
ธารณาประโยชน์หมบู่ ้าน

ข้อมูลดำ้ นภูมิประเทศ
บา้ นหนองสระ มลี กั ษณะภมู ปิ ระเทศเปน็ ภูเขาและ

ท่รี าบสูง ลักษณะดนิ เปน็ ดินรว่ น ไม่เค็มมาก ดินคอ่ นข้างดี

สมบรู ณ์ พ้ืนที่ส่วนใหญใ่ ชท้ าการเกษตรเชน่ อ้อย มนั สาปะหลงั ซ่ึงทาไดใ้ นฤดูฝน แต่กม็ ีบางสว่ นของพน้ื ที่ท่ี
สามารถขุดเจาะนา้ บาดาลมาใช้เพ่ือการเกษตรได้ ก็สามารถที่จะปลกู พืชล้มลุกได้ เช่น ปลูกข้าวโพด
หนอ่ ไมฝ้ ร่ัง พริก ฤดูกาลโดยท่วั ไปมี 3 ฤดู ได้แก่ ฤดูฝน ฤดหู นาว และฤดรู อ้ นซ่ึงอากาศจะรอ้ นจัดมาก จงึ
ทาการเพาะปลูกในช่วงนี้ได้

ทต่ี งั้ อำณำเขต
ทิศเหนือ ติดต่อกบั บ้านหนองกระทุ่ม หมูท่ ี่ 7 ต.เลาขวัญ
ทิศใต้ ติดตอ่ กับ บ้านพบุ อน หมู่ที่ 3 ต.เลาขวัญ
ทิศตะวันออก ตดิ ตอ่ กับ บา้ นพบุ อน หมู่ที่ 3 ต.เลาขวัญ
ทิศตะวนั ตก ตดิ ต่อกับ บ้านเขานางสางหวั หมทู่ ่ี 12 ต.เลาขวญั

ที่ต้ัง

บ้านหนองสระ ตง้ั อยใู่ นตาบลเลาขวัญ อาเภอเลาขวญั จังหวัดกาญจนบรุ ี ห่างจากอาเภอเลาขวัญไป

ทางทิศใต้ ระยะทาง 8 กิโลเมตร

กำรเมอื งกำรปกครอง

คณะกรรมกำรหมู่บ้ำน

1. นายเคียง ทองแก้ว ผู้ใหญ่บา้ น

2. นายจาเนยี ร แก้วสกุ ไส ผ้ชู ว่ ยผู้ใหญ่บา้ น

3. นางหรรษา ทองแกว้ ผู้ช่วยผู้ใหญ่บา้ น

4. นายชัยวฒั น์ บญุ มี กรรมการหมูบ่ ้าน

5. นายสมชาย จนี แสง กรรมการหมู่บ้าน

6. น.ส.หงษ์ทอง ศรบี ุญมี กรรมการหมบู่ า้ น

7. นางศรเี มือง จีนแสง กรรมการหมบู่ ้าน

5

8. น.ส.พยงค์ จีนแสง กรรมการหมบู่ า้ น
9. นางธัญญารตั น์ หะระพนั ธ์ กรรมการหม่บู ้าน

สมำชิกองคก์ ำรบริหำรส่วนตำบล
1. นายสมชาย จนี แสง

2. น.ส.หงษท์ อง ศรีบญุ มี

ประชำกร

จานวนครัวเรอื น 155 ครวั เรอื น จานวนประชากร 689 คน
แยกเป็นชาย 334 คน เปน็ หญงิ 355 คน

ข้อมูลลกั ษณะทวั่ ไปของหมบู่ ำ้ น 3,768 ไร่
- มีพื้นทท่ี ั้งหมด
2,882 ไร่
- ใช้ทาการเกษตร 5 ไร่
- ที่ดินสาธารณะ - แห่ง
- มโี รงเรียนระดบั ประถมศกึ ษา
1 แหง่
- มีวัด 1 แห่ง
- มีท่ีอ่านหนังสอื พิมพป์ ระจาหมบู่ า้ น
- แหง่
- โรงสี 1 แห่ง
- หอกระจายขา่ ว 1 แห่ง
- ศาลาประชาคมหมู่บ้าน

สภำพทำงสงั คม
สภาพความเป็นอยู่ของประชาชนยังเป็นสังคมแบบถ้อยทีถ้อยอาศัยกันอยู่ โดยมีวัดสุวรรณคีรี (เขาปู)

แห่งเดยี วเปน็ ศนู ยร์ วมจติ ใจของคนในหมูบ่ ้าน เปน็ วัดขนาดกลาง จะมีการทาศาสนกิจอย่างต่อเน่ืองตลอดท้ังปี
โดยเฉพาะในชว่ งเทศกาลเขา้ พรรษาจะมกี ิจกรรมใหเ้ ยาวชนไดบ้ าเพญ็ สาธารณะประโยชน์ เช่น กิจกรรมทาบุญ
ตกั บาตร ไหวพ้ ระสวดมนต์ ฝกึ นง่ั สมาธิ เปน็ ต้น

ดำ้ นประเพณี
ประเพณวี นั ออกพรรษา สืบทอดกนั มาอย่างช้านาน ซึง่ จะจดั วนั ข้ึน 15 ค่า เดือน 11 ชาวบ้านจะไป

ทาบุญที่วัด โดยวันเข้าพรรษาจะจัดต้ังแต่ วันขึ้น 15 ค่า
เดือน 11 ไปจนถึงวันแรม 1 ค่า เดือน 12 วันแรกจะเป็น
การทาบญุ ปกติ วนั ทส่ี อง จะมกี ิจกรรมตักบาตรเทโว โดยจะมี

เด็กๆ แต่งตัวเป็นนางฟ้าถือพุ่มเงินลงมาจากอุโบสถ นาหน้า
พระพุทธ พระธรรม และพระสงฆ์ และริมทางเดินก็จะมี

ชาวบา้ นนาอาหารแหง้ มาใส่บาทให้กบั พระสงฆ์

6

สภำพสังคม / กำรศึกษำ
สภาพบ้านเรือน/การจัดบา้ นเรือนเปน็ ระเบียบ ถกู สุขลักษณะ ครอบครัวอบอุ่น มีความม่ันคงถาวร มี

การจัดบ้านเรือนเปน็ ระเบยี บเรียบรอ้ ย มีการจัดทาถงั ขยะตามครัวเรอื น
- ประชาชนในหมูบ่ ้านคนท่ีมีอายุ 35 ปขี น้ึ ไปมีการตรวจสุขภาพประจาปี คิดเป็นรอ้ ยละ 100
- เดก็ และเยาวชนได้รับการศกึ ษาภาคบงั คับ คิดเป็นรอ้ ยละ 100
- ประชาชนท่มี อี ายุ 15 – 60 ปี อ่านออกเขียนได้ คดิ เป็นร้อยละ 100
- ประชาชนไม่ติดสุรา/ไมต่ ิดบหุ ร่ี คิดเปน็ ร้อยละ 75
- ประชาชนในหมบู่ า้ นปฏิบตั ิกจิ ทางศาสนาอย่างน้อยสัปดาหล์ ะ 1 ครง้ั คิดเปน็ ร้อยละ 80
- ครวั เรือนในหมูบ่ า้ นเปน็ สมาชิกกลุม่ ท่ีตง้ั ขึ้น คดิ เป็นรอ้ ยละ 100
- ประชาชนในหมู่บ้านคดิ มสี ว่ นร่วมแสดงความคดิ เห็น คิดเป็นร้อยละ 100
- นักเรยี นเรยี นต่อทศ่ี ูนยก์ ารศกึ ษานอกโรงเรียน(ศบอ.) คดิ เปน็ ร้อยละ 100

สภำพทำงเศรษฐกจิ /รำยได้ของประชำกร
- ครวั เรือนมกี ารออมร้อยละ 95 ของครัวเรือนทง้ั หมด
- ชาวบา้ นสว่ นใหญ่ ทาการเกษตรใช้เน้อื ทีท่ ั้งหมด 2,882 ไร่ คิดเปน็ ร้อยละ 76.49
- ผลผลติ ท่จี าหนา่ ยสตู่ ลาดภายในและภายนอกชุมชน ไดแ้ ก่ นวดแผนโบราณ, แมพ่ ันธข์ ้าวโพด
- ครัวเรือนทมี่ ีรายได้สงู กว่า 38,000 บาท/คน/ปี จานวน 155 ครัวเรือน รายได้เฉล่ียของประชากร

ของหมู่บ้าน จานวน 58,635 บาท/คน/ปี

7

ท่ี ช่ือกลมุ่ /องค์กร กลุม่ เศรษฐกิจชมุ ชน หมำย
จดั ตง้ั เมอื่ จำนวน จำนวนเงนิ ทุน ช่ือประธำนกลุ่ม เหตุ
1 กองทนุ หมบู่ ้าน ปี พ.ศ. สมำชิก
2 กองทนุ กข.คจ. 2544 162 คน 220,000 บาท น.ส.หงษท์ อง ศรีบญุ มี
3 กลุ่มนวดแผนโบราณ 2549 69 คน 280,000 บาท นายเคียง ทองแกว้
4 กองทุนแม่ของแผ่นดนิ 2549 25 คน 28,000 บาท น.ส.นา้ ทิพย์ เมืองจันทร์
5 ฌาปนกิจชุมชน 2561 62 คร. 3,500 บาท นายเคยี ง ทองแกว้
2542 120 คน 12,000 บาท นายเคียง ทองแกว้

ข้อมลู ผลติ ภณั ฑ์ชุมชน

ชาวบ้านหนองสระ รวมตัวกันเป็นกลุ่มเพ่ือจัดทาผลิตภัณฑ์ชุมชน ซึ่งมีกลุ่มผลิตภัณฑ์ที่เด่น ๆ ได้แก่
น้ามันนวดตัว ตะกร้าสานพลาสติก ฯลฯ จาหน่ายทั้งในและนอกชุมชน มีการรวมตัวกันจัดตั้งกลุ่มนวดแผน
โบราณ ออกบรกิ ารนวดตามงานตา่ งๆ ทง้ั ในเขตอาเภอ และต่างจังหวัด และยังมีการเรียนรู้วิธีการทาสบู่แฟนซี
เพ่อื จาหน่ายในชมุ ชนอกี ดว้ ย

ขอ้ มลู แหล่งทอ่ งเท่ียว/ทรัพยำกรธรรมชำติและสิ่งแวดลอ้ ม

บ้านหนองสระเป็นหมู่บา้ นเลก็ ๆ ในอาเภอเลาขวัญ ในหมู่บา้ นจงึ ไมค่ อ่ ยมีสถานทีท่ ่องเทีย่ ว
แตใ่ นหมบู่ ้านจะมวี ดั สุวรรณคีรี (เขาปูน) ซง่ึ เป็นวดั สายปฏิบตั ธิ รรม มกี ารเปิดสอนธรรมะใหก้ บั เด็กนักเรยี น
ในชว่ งปิดเทอม และทุกๆ วนั พระกจ็ ะมีอบุ าสก อบุ าสกิ ามาจาศลี อยทู่ ี่วดั ถอื เป็นธรรมเนียมปฏิบตั สิ บื ตอ่ กัน
เร่ือยมา

8

เกียรติประวัติของหมู่บำ้ น
1. ไดร้ ับการประกาศใหเ้ ปน็ หม่บู ้านเศรษฐกจิ พอเพยี งต้นแบบ ปี 2560
2. ได้รบั การประกาศให้เปน็ หมู่บ้านประชาธิปไตยตัวอยา่ ง ปี ๒๕๕๒
3. หมู่บ้านมกี ารพฒั นาไปสหู่ มู่บา้ นเศรษฐกจิ พอเพยี ง ประชาชนทกุ หลังคาเรอื นมีการดาเนินชวี ติ
ตามแนวทางปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
4. เป็นหมูบ่ า้ นตน้ กล้ากองทุนแมข่ องแผน่ ดิน ปี 2561

คำขวัญประจำหมบู่ ำ้ น
“ วัดเป็นศนู ย์รวม ชุมชนรว่ มกจิ กรรม นอ้ มนาเศรษฐกจิ พอเพยี ง หลีกเล่ยี งอบายมขุ ”

กำรวเิ ครำะหศ์ ักยภำพชุมชน
จากการจดั เวทปี ระชาคมเพ่อื จัดทาแผน

ชุมชน ไดม้ ีการวิเคราะหศ์ ักยภาพชุมชนโดยการค้นหา
จุดแขง็ จุดอ่อน โอกาสและอปุ สรรคของหมบู่ ้านโดย
ใช้เทคนิค SWOT ได้ดงั น้ี

จดุ แข็ง
1. คนในชมุ ชนมคี วามสามคั คี
2. เปน็ หมู่บา้ นปลอดยาเสพตดิ
3. มกี ลุ่มอาชพี ท่ีเข้มแข็ง
4. มกี ารอนรุ กั ษว์ ัฒนธรรมประเพณที ้องถน่ิ
5. มีการทาเศรษฐกิจพอเพยี งทกุ ครวั เรือน
6. มีกฎระเบียบของหม่บู ้านทที่ ุกคนยอมรับ และถือปฏบิ ัตติ าม
7. มที รัพยากรท่อี ุดมสมบูรณ์
8. มีผู้นาที่เข้มแขง็

จุดอ่อน
1. คนในชุมชนเรม่ิ มกี ารบริโภคนยิ ม
2. คนในชมุ ชนขาดความรูใ้ นการประกอบอาชพี
3. บางคนไม่ให้ความร่วมมอื
4. แหล่งน้าเพอ่ื การประกอบอาชพี ไม่เพียงพอ

โอกำส
1. ได้รับการสนับสนนุ งบประมาณจากหนว่ ยงานตา่ งๆ
2. การขับเคลอื่ นนโยบายเศรษฐกิจพอเพยี ง ทาใหช้ มุ ชนพงึ่ ตนเองได้
3. โครงการสมั มาชพี ชุมชน ทาใหเ้ กิดโอกาสดา้ นอาชพี ในชมุ ชน
4. การขบั เคลอื่ นนโยบายของรัฐ ทาให้มที นุ ในชุมชนมากข้ึน

ข้อจำกดั
1. นโยบายรฐั บาลมคี วามเร่งด่วน ทาให้การดาเนนิ งานยงั ไมท่ ่วั ถงึ และครอบคลมุ

9

2. สนิ คา้ ราคาแพง(เคร่ืองอุปโภค บรโิ ภค,นา้ มนั )
3. ราคาผลผลิตทางการเกษตรตกต่า

อตั ลกั ษณ์ของหมู่บ้ำน
-เปน็ หมบู่ ้านเศรษฐกิจพอเพยี ง
-เป็นหมบู่ ้านปลอดยาเสพตดิ
-เปน็ หมูบ่ า้ นทมี่ ีกลมุ่ หลากหลาย

วสิ ยั ทัศนข์ องหมบู่ ้ำน

“เป็นหมทู่ ่ีบ้านดาเนินชีวิตตามแนวทางเศรษฐกิจพอเพียง”

จากการจัดเวทีประชาคมในการจัดทาแผนชุมชน ท่ีประชุมประชาคมได้วิเคราะห์ข้อมูล ปัญหาด้าน
ต่าง ๆ ของชุมชน ที่ประชุมประชาคมได้กาหนด ทิศทางการพัฒนาและกิจกรรมการพัฒนาหมู่บ้าน ตาม
วิสยั ทัศน์ของหมู่บา้ น ดังน้ี

1. ดำ้ นเศรษฐกจิ มีแนวทางการพฒั นาเพ่อื เพมิ่ รายได้ให้กบั ครอบครัวและชุมชน และลดตน้ ทุน
การผลิตเพ่ือให้ค้มุ กบั การลงทุน มีกิจกรรมทีส่ นบั สนุน ดังนี้

1. กจิ กรรมนวดแผนโบราณ
2. กิจกรรมปลูกสมนุ ไพรในสวน
3. กิจกรรมการใช้พลังงานทดแทน
4. กจิ กรรมการถกั ประเปา๋ จากเส้นพลาสตกิ

2. ด้ำนสังคม มีแนวทางการพัฒนาเพื่อให้สังคมมีความสงบสุข ชุมชนมีความอบอุ่นและเข้มแข็ง มี
กิจกรรมทส่ี นับสนนุ ดงั น้ี

1. มีลานกีฬาใหก้ ับเยาวชน
2. รณรงคก์ ารปอ้ งกนั รักษาความปลอดภัยในหมู่บา้ นโดยการตงั้ ชดุ ตารวจอาสา
3. รณรงคล์ ะลดเลิกอบายมขุ โครงการงานบญุ ปลอดเหลา้

3. ด้ำนกำรศึกษำ ศำสนำ ศิลปวัฒนธรรม มีแนวทางการพัฒนาเพื่อส่งเสริมให้ประชาชนได้รับ
การศกึ ษาอยา่ งทั่วถงึ และอนรุ ักษศ์ ิลปวฒั นธรรมและประเพณีอนั ดงี ามของชุมชน

1. รณรงค์ใหเ้ ยาวชนและคนในชุมชนทุกครัวทาบุญตักบาตรปฏิบัติธรรมทุกวันพระและวันสาคัญทาง
ศาสนา

2. กิจกรรมการอนุรกั ษ์ศลิ ปวัฒนธรรมและประเพณีดงี าม
๓. กิจกรรมสูงวยั ใสใ่ จอ่าน-เขยี น

4. ดำ้ นสุขภำพอนำมัย มแี นวทางการพัฒนาใหป้ ระชาชนมีสุขภาพดแี ละเฝา้ ระวงั สุขภาพและโรคท่ี
ไม่พึงประสงค์ มกี ิจกรรมท่สี นับสนนุ ดังนี้

1. ฝึกอบรมแกนนาสขุ ภาพประจาครอบครัว
2. กิจกรรมรณรงค์ประชาสัมพันธ์พษิ ภัยของบุหรี่
,ยาเสพติด
3. กิจกรรมสง่ เสริมการออกกาลังกาย

10

4. กจิ กรรมการตรวจสุขภาพสมาชกิ ในชุมชนทกุ 3 เดือน

5. ด้ำนกำรอนุรักษ์ทรัพยำกรธรรมชำติและสิ่งแวดล้อม มีแนวทางการพัฒนาเพื่อเป็นการบารุงรักษาดิน
และรักษาสภาพแวดลอ้ มของชุมชนใหม้ ีสภาพทีด่ ีและสมดุล มีกิจกรรมท่ีสนบั สนนุ ดงั นี้

1. กจิ กรรมสง่ เสริมการปลูกพชื คลุมดิน
2. รณรงค์ใหท้ กุ ครัวเรือนปลกู พืชผักสวนครัวร้ัวกินได้ การปลูกผกั ปลอดสารพษิ
3. กจิ กรรมสง่ เสรมิ การจัดทาปุ๋ยชีวภาพ
4. กจิ กรรมการพฒั นาสภาพแวดลอ้ มภายในหมู่บ้าน
5. กิจกรรมการอนุรักษแ์ ละปลูกป่าเพม่ิ เติม

6. ดำ้ นควำมเขม้ แข็งของชุมชน มีแนวทางการพัฒนาเพื่อเพ่ิมขีดความสามารถและความเข้มแข็ง
ใหก้ ลุม่ องค์กรในชุมชน มีกจิ กรรมทสี่ นบั สนนุ ดงั น้ี

1. ฝึกอบรมเพอื่ เพิม่ มูลคา่ ผลิตภัณฑ์
2. ฝกึ อบรมเพิม่ ประสิทธิภาพคณะกรรมการกองทนุ แม่
3. ฝกึ อบรมพัฒนาศกั ยภาพผนู้ า,คณะกรรมการหมู่บา้ น
4. สนบั สนนุ การจัดสร้างศนู ย์การเรียนรูเ้ พ่อื เป็นศูนย์กลางการเรียนรู้ของชมุ ชน
5. ฝึกอบรมเพม่ิ ประสิทธิภาพคณะกรรมการพัฒนาสตรีหมู่บ้าน
6. สนับสนนุ ให้มกี ารจัดทาแผนชุมชนและขับเคล่ือนกจิ กรรมตามแผนชุมชน

7. ด้ำนกำรเมืองกำรปกครอง มีแนวทางการพฒั นาเพื่อให้ประชาชนมสี ่วนร่วมทางการเมอื ง
1. กจิ กรรมรณรงค์ให้ประชาชนเห็นความสาคญั และออกไปใชส้ ิทธิทกุ ครงั้ ทม่ี ีการใช้เลอื กต้ัง
2. รณรงค์ไมใ่ ห้มีการซื้อสิทธขิ์ ายเสยี ง ในการเลือกต้งั การเมืองทอ้ งถิ่นระดบั หมูบ่ ้าน/ตาบล

8. ดำ้ นโครงสร้ำงพน้ื ฐำน มแี นวทางการพัฒนาเพอื่ ใหห้ มบู่ า้ นมีสาธารณูปโภคท่ีดี ขึ้นกวา่ เดมิ
1. ติดต้ังไฟฟา้ ส่องสวา่ งริมทาง
2. ขุดลอกสระสาธารณะหมูบ่ ้าน และลาหว้ ย ใหใ้ ชก้ ักเก็บน้าได้ตลอดฤดูแล้ง
3. ก่อสร้างถนนคอนกรีตเสริมเหล็กระหว่างหมู่บา้ นทกุ สาย เพ่อื สะดวกตอ่ การคมนาคม
แผนงำนและภำรกจิ กำรพฒั นำท่จี ะดำเนนิ กำรตอ่ ไป
1. ส่งเสริมชาวบ้านมีการเกบ็ ออมเงนิ เปน็ ของตนเองเพิ่มขนึ้ อย่างต่อเน่ือง
2. ส่งเสรมิ อาชพี เสริมเพอื่ เศรษฐกิจแบบย่งั ยืน
3. สง่ เสรมิ และพฒั นาหมู่บ้านในการผลติ สินคา้ เกษตรปลอดสารพิษ
4. พฒั นาชมุ ชนอยูก่ บั ธรรมชาติ และสิง่ แวดล้อมท่ดี ีให้ย่ังยืน
5. พัฒนาหมบู่ า้ นสกู่ ารเป็นหมบู่ า้ นเศรษฐกิจพอเพียง
6. จดั สวัสดกิ ารแกส่ มาชิกในชุมชนท่ีประสบภัยตา่ งๆ
7. ร่วมสมทบการจัดทาโครงการตา่ งๆกับสว่ นราชการ

กจิ กรรมดีเด่นสำมำรถเป็นแหลง่ เรียนรูแ้ ก่ชุมชนอื่น
1. กลมุ่ นวดแผนโบราณ
๒. การปลูกสมุนไพรไวใ้ ชเ้ อง
3. กลุ่มปลูกผกั ปลอดสารพษิ มกี จิ กรรมสง่ เสรมิ สมาชกิ ไดป้ ลกู ผกั สวนครัวรั้วกินได้ เชน่ ข่า ตะไคร้ ฯลฯ

11

กลมุ่ องคก์ ร
1. กลมุ่ นวดแผนโบรำณ
กลุ่มนวดแผนโบราณ ได้ก่อต้ังข้ึนเมื่อปี 2560 โดยเริ่มจากการท่ีบ้านหนองสระเป็นหมู่บ้าน

เป้าหมายสมั มาชพี สมาชิกเลอื กทีจ่ ะทาลูกประคบสมุนไพรขาย แต่ช่องทางการตลาดแคบมาก กศน.จึงเข้ามา
ส่งเสรมิ การเรียนนวดแผนโบราณ ในชว่ งแรกมีสมาชิกกลมุ่ เพยี ง 6 คน ก็พยายามออกบทู เพื่อไปบริการนวดทุก
งาน ไม่ว่าหน่วยงานไหนจะแจ้งมา ทาให้มีรายได้เพ่ิมข้ึน ต่อมาก็มีสมาชิกเพิ่มขึ้นเรื่อยๆ จนปัจจุบันมีสมาชิก
กลุ่มจานวน 25 คน ออกงานตลอด ทาให้เกิดรายไดท้ ีน่ ่าพอใจ ประธานกลมุ่ โดยนางน้าทิพย์ เมืองจันทร์ ก็ได้
มกี ารเก็บเงินค่าธรรมเนยี มสาหรบั สมาชิกทีเ่ ข้าร่วมกลุม่ เพือ่ เป็นการออมของกลุ่ม และทกุ ครั้งท่อี อกบรกิ ารนวด
ก็จะมกี ารออมทกุ ครงั้ คร้งั ละ 100 บาทตอ่ คน มีการคัดเลือกคณะกรรมการเพ่ือบริหารจัดการกลุ่มให้สามารถ
อยู่ได้ ดังนี้

1. นางนา้ ทิพย์ เมืองจันทร์ ประธาน
2. นางหรรษา ทองแก้ว รองประธาน
๓. นางเกสร หงษ์เวยี งจนั ทร์ เหรญั ญกิ
๔. น.ส.รุ่งนภา ศรสี ระแสน เลขานุการ
๕. นางหนทู ิพย์ ผวิ ออ่ นดี กรรมการ

กจิ กรรมกลุม่
1. ออมเงินให้กบั สมาชกิ
2. จาหนา่ ยอปุ กรณก์ ารนวด-ประคบให้สมาชกิ ในราคาถกู กวา่ ตลาด
3. มกี ารจดั สรรผลกาไรทกุ ปี

ประโยชนท์ ่เี กิดขนึ้ ต่อกลุ่มและชุมชน
1. สร้างความเขม้ แข็งฐานการเงินในชมุ ชนอย่างยง่ั ยืน
2. สรา้ งความสามคั คีสรา้ งพลังให้เกดิ ขึ้นในชมุ ชน
3. ทาใหท้ กุ คนรจู้ กั พง่ึ พาตนเอง รู้จกั ความรบั ผิดชอบ รู้จกั ประหยัด มีวนิ ยั
4. ทาให้ทกุ คนมีเงนิ ออมเปน็ ของตนเอง ทาให้เป็นคนไมป่ ระมาทในความเปน็ อยู่รูจ้ กั ความพอเพียง
5. ทาใหเ้ กิดประโยชนร์ ่วมกนั สรา้ งความเปน็ ธรรมและความถูกต้องเกดิ ข้นึ ในชมุ ชน
6. เป็นการพฒั นาความเสยี สละ ความเอื้ออาทร ของคนในชุมชนให้ยงั่ ยนื

2. กองทนุ หมู่บ้ำนและชุมชนเมอื งบ้ำนหนองสระ
กำรดำเนินงำน

จัดต้ังข้ึนตามนโยบายของรัฐ ในปี 2544 เพ่ือเป็นการ
เสรมิ สรา้ งกระบวนการพึ่งพาตนเองของหมบู่ า้ นและชุมชนเมือง
ในด้านการเรียนรู้ การสร้างและพัฒนาความคิดริเริ่มและการ
แกไ้ ขปัญหาและเสริมสรา้ งศักยภาพท้ังด้านเศรษฐกิจและสังคม
ของประชาชนในหมูบ่ า้ น

ปรชั ญำกองทุนหมบู่ ้ำน

12

1. เสรมิ สรา้ งสานึกความเป็นชุมชนและทอ้ งถ่นิ
2. ชมุ ชนเปน็ ผูก้ าหนดอนาคต และการจัดการหมู่บ้านและชุมชนดว้ ยคุณค่าและภมู ปิ ัญญาของตนเอง
3. เกอ้ื กูลประโยชนต์ อ่ ผดู้ อ้ ยโอกาสในหมบู่ ้านและชมุ ชน
4. เชื่อมโยงกระบวนการเรยี นรรู้ ว่ มกนั ระหวา่ งชมุ ชน ราชการ เอกชนและประชาสงั คม
5. กระจายอานาจให้ทอ้ งถนิ่ และพัฒนาประชาธปิ ไตยพ้ืนฐาน
วตั ถุประสงค์ของกองทุนหมู่บ้ำน
1. เปน็ แหลง่ เงนิ ทุนหมนุ เวียนในหมูบ่ า้ นและชมุ ชน สาหรับการลงทุนเพื่อการพฒั นาอาชพี สรา้ งงาน
สรา้ งรายไดห้ รือเพ่ิมรายได้ลดรายจา่ ย บรรเทาเหตฉุ ุกเฉินและความจาเปน็ เรง่ ดว่ น
2. ส่งเสรมิ และพัฒนาหมบู่ า้ นและชมุ ชนเมอื งใหม้ ขี ดี ความสามารถในการจัดระบบและบรหิ ารจดั การ
เงินทุนของตนเอง
3. เสริมสร้างกระบวนการพ่งึ ตนเองของหม่บู ้านและชุมชนเมอื งในการเรยี นรู้ การสรา้ งและพฒั นา
ความคิดรเิ รม่ิ เพื่อแก้ไขปัญหาและเสรมิ สร้างศกั ยภาพ และส่งเสริมเศรษฐกิจพอเพยี ง
4. กระตนุ้ เศรษฐกจิ ในระดบั ฐานรากของประเทศรว่ มท้ังเสริมสร้างภูมิคุม้ กันทางเศรษฐกิจและ
สังคมของประเทศในอนาคต
5.เสรมิ สร้างศักยภาพและความเข้มแขง็ ทงั้ ทางดน้ เศรษฐกจิ และสังคมของประชาชน

ผลกำรดำเนนิ กำรทำให้สมำชิกและคณะกรรมกำรไดป้ ระโยชนด์ ังน้ี
1. มีเงนิ กองทุนในหมบู่ ้าน จานวน 2,200,000 บาท
2. ดอกเบย้ี จากเงนิ กยู้ ืมไดน้ ามาจัดสวัสดิการตามระเบียบ ได้ปลี ะ 90,000 บาท
3. เกิดอาชพี เสริมขน้ึ ในหมูบ่ ้าน
4. สมาชกิ มรี ายได้เพิม่ ข้นึ จาการประกอบอาชีพ
5. ทาให้สมาชกิ ท่ีไมม่ หี ลักทรัพยก์ ็มสี ิทธิกูย้ ืมเงินได้
6. ทาให้สมาชิกและคณะกรรมการเกิดกระบวนการเรียนรู้มที กั ษะในการบริหารจดั การด้านเงนิ
การจัดทาบญั ชเี งินทุน
7. ทาให้สมาชกิ และคณะกรรมการมีการประสานงานระหวา่ งธนาคารมากขนึ้ เกิดการเรยี นรู้

3. กองทุนแกไ้ ขปญั หำควำมยำกจน (กข.คจ.)
กำรดำเนินงำนกองทนุ กข.คจ.

รัฐบาลได้สนับสนนุ เงินทุนในระดบั หมู่บ้านสาหรบั ครวั เรอื นยากจนเป้าหมายท่ีมีรายได้ต่ากว่าเกณฑ์
รายได้ จปฐ. โดยให้ครวั เรือนเปา้ หมายยืมไปลงทนุ ประกอบอาชีพโดยไม่มดี อกเบ้ีย ซ่ึงตามระเบยี บได้มอบ
อานาจใหค้ ณะกรรมการกองทุน กข.คจ.ประจาหมู่บา้ น รับผิดชอบบรหิ ารจัดการเงนิ ทุนของหมบู่ า้ น

วตั ถปุ ระสงค์
เพอื่ กระจายโอกาสใหค้ นยากจนระดบั ครวั เรือนในหมู่บ้านเป้าหมายมีเงินทนุ ในการประกอบอาชพี เพอื่

เพมิ่ รายได้ และพัฒนาคณุ ภาพชีวติ ครัวเรอื นเปา้ หมายให้ดีขึน้ ตามเกณฑ์ความจาเป็นพน้ื ฐาน กำรให้ยืมเงิน
เพ่ือไปลงทนุ ประกอบอาชีพ โดยไม่มีดอกเบ้ยี ดังนี้

1. อาชพี ดา้ นการเกษตร เชน่ การปลูกพชื การเล้ียง
สตั ว์

2. อาชีพคา้ ขาย
3. อาชพี ชา่ ง
4. อาชพี อ่ืนๆ ตามที่ กม.เห็นชอบ

13

ข้อหำ้ ม 1. หา้ มนาไปใชห้ นี้เดมิ ทมี่ ีอยู่

2. หา้ มนาไปบูรณะซ่อมแซมท่ีอยอู่ าศัย
3. หา้ มนาไปเป็นค่าใชจ้ า่ ยในครัวเรอื น

ผลการดาเนินการทาใหส้ มาชกิ และคณะกรรมการไดป้ ระโยชน์ดงั นี้
1. มีเงินกองทุนในหมู่บา้ น จานวน 280,000 บาท

2. เกิดอาชีพเสรมิ เพ่ิมขน้ึ ในหมบู่ ้าน
3. สมาชิกมีรายไดเ้ พม่ิ ขึ้นจาการประกอบอาชีพ

5. กองทนุ แม่ของแผน่ ดนิ
กองทุนแม่ของแผ่นดิน เป็นกองทุนขวัญถุง

สาหรับหมู่บ้าน/ชุมชน ที่สมเด็จพระนางเจ้า
พระบรมราชินีนาถฯ ได้พระราชทานทรัพย์ส่วน
พระองค์ผ่านเลขาธิการคณะกรรมการป้องกันและ

ปราบปรามยาเสพติด (ป.ป.ส.) เพ่ือใช้ประโยชน์ในการ
ป้องกันและปราบปรามยาเสพติดในระดับหมู่บ้านเพื่อ

ความม่งุ หมายสร้างให้เป็นศูนย์รวมของกองทุนท้ังหมด
ภายในหมู่บ้านและให้เป็นตัวแทนของกองทุนที่ส่งเสริมสนับสนุนให้เกิดการทาความดี สร้างสรรค์ประโยชน์
เพอื่ สว่ นรวมของหม่บู ้าน/ชุมชนหรอื กองทนุ เพ่อื ประโยชน์สาธารณะ

บ้านหนองสระ ไดร้ บั คดั เลือกจากเครือข่ายกองทุนแม่อาเภอเลาขวัญให้เป็นหมู่บ้านเป้าหมายในการ
รบั พระราชทานเงนิ กองทนุ แม่ของแผ่นดนิ และเมอื่ ปี 2561 ซ่ึงในขณะนี้หมู่บ้านยังไม่ได้รับเงินขวัญถุง แต่

หมบู่ า้ นได้มีการประชมุ เพื่อเตรยี มความพรอ้ มในการเข้ารับเงนิ ขวัญถุงเรียบร้อยแล้ว พร้อมทั้งสมาชิกกองทุนก็
ได้มกี ารระดมทุนในการรองรับเงินดงั กล่าวได้ จานวน 3,500 บาท

วตั ถปุ ระสงค์
1. เพอื่ เป็นกองทุนสาหรบั การเฝา้ ระวัง และแก้ไขปัญหายาเสพติดอยา่ งยั่งยืนในหมูบ่ า้ น/ชมุ ชน
2. เพ่อื เป็นกองทนุ สนับสนนุ กิจกรรมท่ีเปน็ ศูนย์รวมของความสามัคคีความเสียสละ การร่วมแรงร่วม

ใจของชมุ ชน เพอื่ ก่อให้เกิดสาธารณประโยชนข์ องหมู่บา้ น/ชุมชน ตามสมควรแก่กรณี
3. เพื่อเป็นกองทุน สาหรับส่งเสริมกิจกรรมการพัฒนาแบบพอเพียงในหมู่บ้าน/ชุมชนตามแนว

พระราชดารเิ พอ่ื การพ่ึงพากนั เองของชุมชน
4. การกาหนดวตั ถปุ ระสงค์นอกเหนอื จากนี้ ให้เปน็ ไปตามมติของชุมชน โดยยึดหลักการข้างต้นเป็น

สาคัญ

แนวทำงกำรใชจ้ ำ่ ยเงินกองทนุ ของแผน่ ดิน
1. ใช้จ่ายในกจิ กรรมเฝ้าระวงั ยาเสพติดในชมุ ชน เชน่ การประชมุ ประชาคม แสดงพลงั แผ่นดินเพอื่

รบั รองครัวเรือนที่ปลอดยาเสพตดิ เพ่อื ปอ้ งกันยาเสพติดในชมุ ชนใชใ้ นการทาประชาคมประชุมเรอ่ื งยาเสพตดิ
2. ใช้จา่ ยในกิจกรรมป้องกันกลุ่มเสียง กลุ่มเสพ และกลุ่มที่เคยค้ายาเสพติดในชุมชนมิให้กลับไปมี

พฤตกิ ารณเ์ ดิมอีก
3. ใช้จ่ายเพือ่ ผู้ด้อยโอกาส เช่นเด็กกาพร้าผู้ยากไร้ เพ่ือช่วยเหลือเก้ือกูลซึ่งกันและกันให้เกิดความ

รักสามัคคี

4. ใชจ้ า่ ยในกจิ กรรมการส่งเสริมความดีในชุมชน เพอื่ ใหเ้ กดิ เปน็ แบบอยา่ งของชมุ ชน

14

5. ใช้จา่ ยในกิจกรรมสรา้ งความคิดความรกู้ ารรวมกลมุ่ การสรา้ งความต่ืนตัวของชุมชนในลักษณะของ
ศูนย์เรยี นรู้ เพื่อใหเ้ กดิ กระบวนการเสริมสรา้ งความเข้มแขง็ ในชมุ ชน

6. ใช้จ่ายในกิจกรรมสนับสนุนการพัฒนาเศรษฐกิจแบบพอเพียงในหมู่บ้าน/ชุมชน เพ่ือให้เกิดการ
พฒั นาอย่างย่ังยืน

7. ใช้จ่ายในกิจกรรมสงเคราะห์ผู้เดือดร้อนในชุมชนหรือผู้ทุกข์ยากในชุมชน เพื่อสามารถบรรเทา
ขจัดความเดือดร้อนตามหลักเมตตาธรรม เช่น อาจเป็นการสงเคราะห์ ช่วยเหลือในรูปของตัวเงินหรือวัตถุ
ส่ิงของ ซ่งึ ผู้ได้รบั การสงเคราะห์จะคืนกลับมาหรอื ไมแ่ ลว้ แต่กรณีหรือตามขอ้ ตกลงทจ่ี ะตกลงกนั

8. โดยที่กองทุนแม่ของแผ่นดิน เป็นเจตนารมณ์ของสมเด็จพระนางเจ้าพระบรมราชินีนาถ ท่ีจะ
สนับสนุนกิจกรรมการแก้ไขปัญหายาเสพติดอย่างย่ังยืน ดังน้ัน เพื่อสนองพระราชปณิธาน จึงเป็นการไม่
สมควรท่ีจะนากองทุนแม่ของแผ่นดินนี้ให้กู้ยืมและคิดดอกออกผลจากการกู้ยืม เว้นแต่การสนับสนุน
ชว่ ยเหลอื สงเคราะห์ และผูไ้ ดร้ ับเงนิ สงเคราะห์จะส่งคืน พร้อมอาจสมทบเงินจานวนหน่ึงเข้ากองทุนแม่ของ
แผ่นดินด้วยความสมคั รใจ

15

กระบวนกำร ข้ันตอน วิธีกำรทำงำนหมู่บำ้ นตน้ แบบกำรจดั กำรสำรสนเทศเพื่อกำรพฒั นำคณุ ภำพชีวติ

แนวทำงในกำรคดั เลือกหมบู่ ำ้ นสำรสนเทศตน้ แบบ
อาเภอใช้หลักเกณฑ์ในการคัดเลือกโดยใช้แนวทางการดาเนินงานที่กรมการพัฒนาชุมชนกาหนด

โดยพจิ ารณาคณุ สมบัตขิ องหม่บู า้ นตน้ แบบจากตาบลต่าง ๆ คดั เลอื กได้ หมู่บ้านหนองสระ หมู่ที่ 15 ตาบลเลา
ขวัญ อาเภอเลาขวัญ จงั หวัดกาญจนบรุ ี เปน็ หม่บู ้ำนต้นแบบสารสนเทศระดับอาเภอ เนอื่ งจาก

๑. เป็นหมบู่ ้านที่มคี วามพร้อมในเรอ่ื งของสถานทอี่ ุปกรณ์คอมพิวเตอร์และเครือข่ายอินเทอรเ์ น็ต
๒. มีบุคลากรท่มี ที ักษะและสามารถใชง้ านคอมพิวเตอร์ได้
๓. ผนู้ า และคนในหมบู่ า้ น มีความสนใจ ใฝร่ ู้ และให้ความสาคัญกบั ICT และเปน็ หมบู่ ้านต้นแบบ IT
๔. หมู่บ้านได้รบั การสนับสนุน และมกี ารประสานงาน/บูรณาการงานงบประมาณร่วมกันกบั สว่ น
ราชการ/องค์กรปกครองสว่ นท้องถิน่ ฯลฯ ในด้านการพฒั นาหมู่บา้ นอยา่ งตอ่ เนอ่ื ง

ขน้ั ตอนกำรคดั เลอื กหมู่บ้ำนระดับอำเภอ
๑. อาเภอดาเนินการประชมุ พฒั นากรทกุ ตาบล
๒. คัดเลือกหมู่บ้านเป้าหมาย โดยพิจารณาหมู่บ้านที่มีความพร้อม สามารถดาเนินการได้และ มี

หน่วยงานใหก้ ารสนับสนุน
๓. ประชุมสร้างความรู้ ความเขา้ ใจ ICT/แนวทางการดาเนินการฯ แกห่ ม่บู า้ นเป้าหมาย
๔. ให้การสนับสนุนการดาเนินการหมู่บ้านเป้าหมาย เพื่อนาไปสู่การประสานภาคีการพัฒนาในการ

แกไ้ ขปญั หาตามแผนการพัฒนาหมู่บา้ นจัดการความรใู้ นการจัดการสารสนเทศเพ่ือการพัฒนาคุณภาพชีวิตของ
หมบู่ ้านต้นแบบ

๕. ประสานงานกบั หน่วยงานในระดบั พ้ืนทีเ่ พอื่ ใหก้ ารสนบั สนุน

รูปแบบระบบสำรสนเทศทหี่ มบู่ ำ้ นใช้

การกาหนดรูปแบบระบบสารสนเทศทีใ่ ช้ ได้มกี ารสร้างความเข้าใจและแลกเปล่ียนเรียนรู้ร่วมกัน และ
ไดก้ าหนดความตอ้ งการโดยจะมีการจดั ทารายงานการพัฒนาหมู่บ้าน (VDR) และจดั ทาแผนชุมชน โดยมีการนา
ข้อมูลต่างๆ ท่ีเก่ียวข้องกับการพัฒนา เช่น ข้อมูล กชช.2ค ข้อมูล จปฐ. กลุ่มอาชีพต่างๆ เป็นต้น มาร่วมกัน
วิเคราะห์ระหว่างผู้นาชุมชน คนในชุมชน นักวิชาการพัฒนาชุมชน และเจ้าหน้าท่ีจากองค์การบริหารส่วน
ทอ้ งถน่ิ โดยได้มกี ารประยุกตแ์ ละทางานร่วมกัน

16

ส่วนที่ ๓
ผลของกำรจดั กำรหมบู่ ้ำนตน้ แบบเพื่อกำรพัฒนำคณุ ภำพชีวติ

หมู่บำ้ นหรอื ครัวเรือนมีกำรนำสำรสนเทศไปใชอ้ ยำ่ งไรบ้ำง
เม่ือมีการจัดทาสารสนเทศแล้ว ได้มีการนาสารสนเทศ และมีการนาโปรแกรม จปฐ. และ กชช.2ค

ติดต้ังไว้ท่เี ครอื่ งคอมพิวเตอร์ของหมู่บา้ น เพ่อื ให้ประชาชนสามารถเข้าถึงข้อมูลได้ง่ายข้ึน และสามารถรู้สภาพ
ความเป็นอยู่ คุณภาพชีวิต ปัญหาต่างๆ ของชุมชนได้อย่างชัดเจน การทาแผนชุมชน มีการบูรณาการกับ
ท้องถนิ่ บางสว่ นได้บรรจุไวใ้ นแผนขององค์การบริหารงานสว่ นท้องถน่ิ

ผลที่เกดิ ข้นึ ตอ่ ครัวเรือนและชมุ ชนและแผนกำรดำเนนิ งำน
๑. คนในครวั เรอื นมคี ณุ ภาพชีวติ ท่ดี ขี ึ้น/รบั รู้ข่าวสารมากขนึ้
๒. คนในครัวเรือนมคี วามสขุ มากข้นึ
๓. ครัวเรือนมีรายได้เพิ่มขึน้
๔. ชุมชนมีความรับผดิ ชอบตอ่ การอนรุ ักษท์ รัพยากรและส่ิงแวดลอ้ ม
๕. ชุมชนมีช่ือเสียงเป็นท่ีรู้จักแพร่หลายในการดารงชีวิตแบบเศรษฐกิจพอเพียง สารสนเทศเพื่อ
จดั การความเส่ยี งของชุมชน (ภมู คิ มุ้ กัน)

17

ปญั หำอุปสรรค แนวทำงแกไ้ ข ขอ้ เสนอแนะ

หมู่บ้านหนองสระยังขาดผู้เช่ียวชาญในการให้การอบรมหลักสูตรการใช้งานโปรแกรมคอมพิวเตอร์
พน้ื ฐานต่างๆ เช่น โปรแกรมพมิ พ์งานเอกสาร โปรแกรมนาเสนอเป็นต้น และอีกปัญหาหน่ึงคือคนในชุมชนซ่ึง
เปน็ คนท่ีมีอายุมากแลว้ ยังไม่ใหค้ วามสนใจไม่มากนกั ถ้าเทยี บกับเยาวชน

จากปัญหาดงั กลา่ ว จึงควรมีแผนที่จะอบรมการใช้งานโปรแกรมคอมพิวเตอร์พื้นฐานต่างๆ และต้องมี
การจูงใจผู้นาด้านต่างๆ ให้ร่วมเข้ารับการอบรม เนื่องจากส่ิงเหล่าน้ีมีความจาเป็นพื้นฐานในการทารายงาน
ตา่ งๆ ซึ่งถ้าผู้นาสามารถใช้งานคอมพิวเตอร์และโปรแกรมพื้นฐานและเห็นประโยชน์แล้ว ผู้นาก็จะเป็นผู้ท่ีจะ
ช่วยประชาสัมพันธใ์ หผ้ ู้อื่นมาใช้คอมพวิ เตอร์และรวมถึงสารสนเทศเพ่อื การพัฒนาชีวิตได้เป็นอย่างดี และจะได้
เปน็ หมู่บ้านต้นแบบการจัดการสารสนเทศเพ่ือการพัฒนาคณุ ภาพชวี ติ ไดอ้ ย่างสมบูรณ์


Click to View FlipBook Version