The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

หมู่บ้านสารสนเทศต้นแบบ บ้านโพธิ์น้อย ตำบลแสนสุข อำเภอพนมไพร จังหวัดร้อยเอ็ด

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by Data Publication and Utilisation Group [CDD], 2021-05-05 01:25:21

(ร้อยเอ็ด) หมู่บ้านสารสนเทศ บ้านโพธิ์น้อย

หมู่บ้านสารสนเทศต้นแบบ บ้านโพธิ์น้อย ตำบลแสนสุข อำเภอพนมไพร จังหวัดร้อยเอ็ด

หมู่บ้านสารสนเทศเพือ่ การพฒั นาคณุ ภาพ
ชีวิต

และเศรษฐกิจชุมชน อาเภอพนมไพร
จังหวัดรอ้ ยเอ็ด ประจาปี ๒๕๖๑

บา้ นโพธนิ์ ้อย หมูท่ ่ี 7
ตาบลแสนสขุ อาเภอพนมไพร จังหวดั รอ้ ยเอ็ด

จดั ทาโดย

2

สานกั งานพัฒนาชุมชนอาเภอพนมไพร จังหวดั
ร้อยเอด็

สว่ นที่ ๑
ข้อมูลท่ัวไปของหมู่บ้าน

บา้ นโพธนิ์ อ้ ย
หมทู่ ่ี ๗ ตาบลแสนสขุ

วสิ ยั ทัศนห์ มูบ่ ้าน

สง่ เสรมิ และพฒั นาเป็นหมู่บ้านหัตถกรรม
ชุมชนเข้มแขง็ ดาเนนิ ชวี ติ แบบพอเพียง

คาขวัญหมู่บ้าน

โพธน์ิ ้อย สามคั คี มากมีปลาบงึ ลบั
วัฒนธรรมลาเลศิ ประเสริฐดงดอนตูม
แหลง่ เพิ่มพนู รายได้ มะพร้าวหวาน
ขา้ วสารขาว ลูกสาวสวย รวยเงินปั๊ม

3

๑.๑.ประวัตคิ วามเปน็ มาของหมบู่ ้าน

บ้านโพธ์ิน้อยเดิมช่ือว่า “ บ้านเสนาน้อย” หมู่บ้านเสนาน้อย ยังเป็นป่ารกมาก ตังอยู่ทางทิศ

ตะวนั ตกของหมูบ่ ้านในปัจจบุ ัน มอี ย่วู ันหน่งึ เกิดไฟปา่ ไหม้ลกุ ลามมาถึงหมู่บา้ น 7 วนั 7 คืน ไม่สามารถที่

จะดับไฟได้จึงได้อพยพมาอยู่ทางทิศตะวันออกของหมู่บ้านเดิม ได้พบกับแหล่งนาเหมาะท่ีจะตังหมู่บ้าน

ประกอบกบั มหี นองนาอย่กู ลางปา่ ซงึ่ หนองนาแห่งนชี าวบ้านไดต้ ังช่ือวา่ “บึงลบั ” และเรียกมาจนถึงปัจจุบนั

หมบู่ ้านเสนาน้อยในสมัยนันไดข้ ึนกับ ตาบลกุดนาใส ซึ่งมนี ายพนั ธ์ โพธาราม เป็นผ้ใู หญบ่ า้ น จึง

ได้เปลย่ี นชื่อใหม่วา่ “ บา้ นโพธ์นิ ้อย ” ในเวลาตอ่ มา ปจั จบุ นั บา้ นโพธนิ์ อ้ ยได้แยกออกเป็น 3 หมู่บ้าน คอื

หมทู่ ่ี 7 ,12 และหมู่ท่ี 18 ขณะนีหม่บู า้ นโพธ์นิ ้อยหมูท่ ่ี ๗ มี นายสารวย แวน่ ใหญ่ เปน็ ผูใ้ หญบ่ า้ นคน

ปจั จุบนั

การบริหารการปกครองหมบู่ า้ นได้แบ่งการปกครองออกเป็น 5 คุ้ม ดงั นี

1. คมุ้ เสนานอ้ ย มี นายบพิธ นามสิมมา เปน็ หัวหน้าคุ้ม

2. คมุ้ ตะวนั ลบั ทิวไฝ่ มี นายหนู ชาระมาลย์ เป็นหัวหนา้ คุม้

3. คุ้มกลางพัฒนา มี นายอานวย แวน่ ใหญ่ เป็นหวั หนา้ คุ้ม

4. คมุ้ มะพร้าวหอมพฒั นา มี นายสารวย แว่นใหญ่ เปน็ หวั หน้าคุ้ม

5. คมุ้ ตะวนั เบกิ ฟา้ มี นายทองใบ ทองแดง เปน็ หวั หนา้ ค้มุ

อาณาเขตติดต่อ ทที่ ากนิ

บ้านโพธิ์น้อย มพี นื ที่ทงั หมดประมาณ 2,100 ไร่ แยกเป็นท่ีอยอู่ าศยั 300 ไร่
1,800 ไร่ มีอาณาเขตติดต่อ ดงั นี

ทิศเหนือ จรด บ้านนาชม หมู่ท่ี 4
ทิศใต้ จรด บ้านสระทอง ต.สระแก้ว
ทศิ ตะวันออก จรด บา้ นชีเฒ่า

ทศิ ตะวนั ตก จรด บ้านหนองนาขุ่น ต.วารสี วสั ด์ิ

ภมู ิประเทศและภูมอิ ากาศ

บ้านโพธิ์นอ้ ย มีลกั ษณะเปน็ ราบลุม่ พืนดนิ มีลักษณะเป็นดนิ รว่ นปนทรายและบางพืนที่เปน็ ดิน

เหนียว เหมาะกบั การปลกู พืช โดยเฉพาะพชื ผกั สวนครัว พชื ไรต่ ่าง ๆ และการเลยี งสัตว์
ลักษณะภมู อิ ากาศโดยท่ัวไป เป็นอากาศร้อนชนื อากาศรอ้ นถึงร้อนจัดในฤดูแลง้

๑.๒ การคมนาคม การโทรคมนาคม และระบบสาธารณูปโภค

บา้ นโพธิน์ อ้ ย ตังอยทู่ างทิศตะวนั ตก ของทว่ี ่าการอาเภอพนมไพร การเดนิ ทางจากทว่ี า่ การ
อาเภอ ถึงหมูบ่ ้านระยะทางประมาณ 8 กม. โดยสามารถเดนิ ทางไดท้ งั รถโดยสารประจาทาง/รถรับจา้ ง ที่
มบี ริการ ราษฎรส่วนใหญจ่ ะใชร้ ถยนต์ รถจกั รยานยนตส์ ่วนตวั เพอ่ื การเดินทางไปมา การโทรคมนาคม
ส่วนใหญจ่ ะใชก้ ารตดิ ตอ่ สอ่ื สารโดยใชโ้ ทรศพั ทเ์ คลอื่ นท่ี(โทรศพั ทม์ ือถอื ) เพราะสะดวกแกก่ ารติดต่อสือ่ สาร
การสาธารณปู โภค มีระบบประปาหมู่บ้าน และมีบึงลบั สาหรบั ใชน้ าเพอ่ื การเกษตร

๑.๓ ประชากร สภาพทางเศรษฐกจิ รายได้เฉล่ยี

4

จานวนครัวเรือน 103 ครวั เรอื น ประชากร 342 คน เป็นชาย 166 คน หญงิ 176 คน

( ข้อมูล จปฐ.ปี 61)

สภาพทางเศรษฐกิจ

การประกอบอาชพี

อาชพี หลักของประชาชนบ้านโพธน์ิ ้อย คอื ทานา อาชพี รอง คอื รบั จ้างทวั่ ไป อาชพี เสรมิ ได้แก่

การทอผ้าไหม เมือ่ นาข้อมลู การประกอบอาชีพจากการสารวจขอ้ มลู จปฐ. ปี 2560 โดยนบั เฉพาะผ้ทู ่มี ี

อายุ ตังแต่ 15 ปี ขนึ ไป ไมน่ บั นักเรียนนักศึกษา ปรากฏวา่ สว่ นใหญ่ประกอบอาชพี ทานา รองลงมา คือ

รบั จา้ งทั่วไป คา้ ขาย รบั ราชการ และธรุ กิจส่วนตัว ตามลาดับ

ดังต่อไปนี

๑. อาชพี ดา้ นการเกษตร รอ้ ยละ 37

๒. อาชีพรบั จ้าง รอ้ ยละ 28

๓. อาชีพคา้ ขาย รอ้ ยละ 5

๔. อาชีพรบั ราชการ รอ้ ยละ 4

๕. ธุรกิจสว่ นตวั ร้อยละ 4

ขอ้ มูลรายได้

จากการสารวจข้อมูล จปฐ. ปี 2561 พบว่า บา้ นโพธน์ิ อ้ ย มรี ายได้รวมทงั สนิ จานวน
17,612,200.00 บาท และมรี ายได้เฉลีย่ คนละ 51,497.66 บาทต่อปี

ขอ้ มลู รายจา่ ย

จากการสารวจขอ้ มูล จปฐ. ปี 2561 พบว่า บ้านโพธิ์นอ้ ย มรี ายจา่ ยรวมทังสนิ จานวน
3,374,820.00 บาท และมรี ายจ่ายเฉล่ยี คนละ 9,867.89 บาทต่อปี

๑.๔ ผลิตภัณฑ์ชมุ ชน/ กลุม่ อาชพี

ชาวบา้ นโพธ์ิน้อยมกี ารรวมกลุม่ กนั ทอผา้ เป็นอาชีพเสรมิ มผี ลิตภัณฑ์ท่นี ่าสนใจ คือ ผ้าไหม ผ้า
ฝ้าย

5

กล่มุ องค์กร / ทนุ ในชมุ ชน ผู้นาชมุ ชน

1 กล่มุ ออมทรัพยเ์ พ่อื การผลติ จัดตงั เมอ่ื วันที่ 1 เดอื น
ธันวาคม พ.ศ. 2546 สมาชกิ ๙๗ คน เงินสจั จะสะสม ๑๐๕,๖๔๒
บาท ประธานกลุม่ ชอ่ื นายสารวย แวน่ ใหญ่

2 กลุม่ ทอผ้า จัดตงั เม่อื วนั ที่ 1 เดอื น กุมภาพนั ธ์ พ.ศ.
2539 สมาชิก 20 คน เงนิ ทนุ ๔๖,๙๓๕ บาท ประธานกลุม่ ช่อื
นางสาวคาปงั โพธาราม

๓. กองทนุ หมบู่ า้ น จัดตังเมื่อวนั ท่ี 26 เดอื น กรกฎาคม พ.ศ. 2544 สมาชิก 14๘
คน เงินทุน 2,๓๒๙,๖๑๐ บาท ประธานกล่มุ ช่ือ นายสารวย แว่น
ใหญ่

๔. โรงสชี มุ ชน จัดตงั เม่อื วนั ที่ 1 เดอื น พฤศจกิ ายน
พ.ศ. 2550 สมาชิก ๙๐ คน เงินทุน ๓2,๕00 บาท
ประธานกลุม่ ชือ่ นายสารวย แว่นใหญ่

๕. กลมุ่ รถสีขา้ ว จัดตังเมอ่ื ปี พ.ศ. 25๕๒ สมาชิก ๕0
คน เงินทนุ ๓๐,๐๐๐ ประธานกลมุ่ ชอ่ื นายสารวย แว่นใหญ่

๖ รา้ นค้าชมุ ชน จัดตังเมอ่ื ปี พ.ศ. 25๕๒ สมาชิก ๕๓ คน เงนิ ทุน ๒๓๐,๐๐๐ ประธานกลมุ่ ช่ือ
นายสารวย แว่นใหญ่

๑.๕ ศลิ ปะ /วัฒนธรรม /ประเพณี

ประชาชนบา้ นโพธนิ์ ้อย สว่ นใหญ่ใชภ้ าษาถิน่ เป็น ภาษา
อสี าน นบั ถือศาสนาพทุ ธเป็นหมบู่ ้านทีม่ ปี ระวตั มิ ายาวนานและสบื
ทอดศิลปวัฒนธรรมอันดงี ามมาอยา่ งต่อเนื่องจะเหน็ ได้จากชาวบา้ นมี
ความเคารพนบั ถือต่อขนบธรรมเนียนประเพณตี ามฮตี สบิ สองคองสบิ
สี่ของชาวอีสาน เช่น บุญเผวด เดือนมีนาคม , งานสงกรานต์ เดอื น
เมษายน บญุ เบิกบ้าน เดือนมิถุนายน งานเขา้ พรรษา งานออก
พรรษา งานลอยกระทง และบญุ ประเพณีทเี่ ปน็ ที่รวมใจของคนในหมูบ่ า้ นและลกู หลานทไ่ี ปทางานต่างถน่ิ ต้อง
กลบั มาเยยี่ มบ้านทุกปี คอื ประเพณี บุญบุญบังไฟ

6

1.๖ แหลง่ ท่องเทย่ี ว / อตั ลกั ษณ์ / ส่ิงแวดล้อม

บ้านโพธน์ิ ้อย มีแหลง่ ทรัพยากรธรรมชาติ คอื บึงลบั มีเนอื ที่ 250 ไร่ ซึ่งชาวบา้ นโพธ์นิ อ้ ยใช้
เป็นแหล่งหาปลาและทาการเกษตร และเป็นสถานที่ศึกษาทางธรรมชาติแก่เด็กนกั เรียน

อัตลักษณ์ บ้านโพธ์ินอ้ ย จากเวทปี ระชาคมผูน้ าชุมชนไดร้ ว่ มกันคน้ หาความเปน็ เอกลักษณข์ อง
หมู่บ้านไดว้ า่ เป็น “ หมบู่ า้ นแห่งการเรียนรดู้ ้านการทอผ้า”

7

ส่วนท่ี 2

การพฒั นา หมู่บ้านสารสนเทศตน้ แบบเพอ่ื การพัฒนาคุณภาพชวี ิต
ข้ันตอนการดาเนนิ งาน

1. สรา้ งความเข้าใจ
2. การสรา้ งข้อตกลงร่วมกัน
3. การจัดทาสารสนเทศภมู ิศาสตร์(GIS)
4. การแลกเปลี่ยนเรยี นรู้
5. การเผยแพร่ประชาสัมพนั ธ์

การวเิ คราะหข์ ้อมูลหมู่บ้านด้วย โปรแกรม Community Radar Analysis diagram

8

สรปุ ภาพรวมของหมบู่ า้ น
บา้ นโพธ์นิ ้อย ม.7 เปน็ หมบู่ า้ นทีเ่ ปน็ ชมุ ชนขนาดกลาง เข้าถึงการบรกิ ารจากรัฐอยา่ งท่ัวถึง มผี ู้คน

อาศยั อยรู่ ่วมกันในลกั ษณะเครือญาติ ถอ้ ยทีถอ้ ยอาศยั กนั มผี นู้ าหมูบ่ ้าน ท่ีเข้มแขง็ และเปน็ ทเี่ ช่อื ถือของคนใน
หมบู่ า้ นดงั นนั ในการดาเนินกิจกรรมตา่ งๆในหม่บู า้ นจึงไม่ค่อยมีปัญหา อาชพี ของคนในชุมชนส่วนใหญ่
ประกอบอาชพี ทานา เป็นอาชพี หลกั อาชพี รองไดแ้ ก่ ปลกู ผกั เลียงสัตวร์ บั จา้ งท่ัวไปและ ค้าขาย ในฐานะที่
เปน็ พัฒนากรผู้ประสานงานตาบลแสนสุข ได้วิเคราะหศ์ กั ยภาพชมุ ชน ดงั นี

จดุ เด่น
1. ชาวบา้ นมีความสามคั คปี รองดอง ช่วยเหลือเกือกลู กนั
2. มีการออมทรพั ย์ระดมทุน(กลุ่มออมทรพั ย์)
3. มกี ารรักษาประเพณีวฒั นธรรมและสบื สานภมู ิปัญญาทอ้ งถนิ่
4. มีแหล่งเงนิ ทุนในหมู่บา้ น
5. มกี ารรวมกล่มุ ดาเนินงานร่วมกนั
6. มผี ลิตภัณฑ์ชมุ ชน

จุดดอ้ ย
1. แหล่งกักเกบ็ น้าเพ่อื การเกษตรไมเ่ พยี งพอ
2. การแปรรปู ผลิตภัณฑท์ างการเกษตรไมห่ ลากหลาย / ไมเ่ ปน็ ทน่ี ยิ ม
3. ประชาชนส่วนใหญ่ต้องการให้องค์กรภายนอกทารว่ ม หรือทาให้ มากกว่าทาเอง
4. ผืนดนิ ขาดความสมบรู ณ์ ทาใหไ้ ดผ้ ลผลติ น้อย ไม่ค้มุ ทนุ

บ้านโพธน์ิ ้อย เป็นหมูบ่ ้านตน้ แบบเศรษฐกิจพอเพยี ง ประชาชนในหมบู่ า้ นมีความสามคั คี มคี วาม
เอืออาทรต่อกัน มกี ารรวมกล่มุ กนั ทอผา้ ไหม โดยใช้ภมู ิปญั ญาทอ้ งถิน่ และพฒั นารปู แบบลวดลายให้สวยงามขึน
เพอ่ื เปน็ การหารายได้เสริมเพมิ่ จากการทานา ซ่งึ สามารถจาหนา่ ยทงั ในหมู่บ้าน ตาบล และอาเภอ นอกจากนี
แล้ว ประชาชนในหม่บู ้าน กพ็ รอ้ มทจ่ี ะให้ความร่วมมอื ในการดาเนินกจิ กรรมการพัฒนาในทกุ ๆกิจกรรมเพือ่ ให้
หมบู่ า้ นมคี วามเจริญกา้ วหนา้ และมคี วามเขม้ แข็งพึง่ ตนเองได้ จากเวทีประชาคม ได้ร่วมกนั คน้ หาและกาหนด
ทศิ ทางการพฒั นาหมบู่ า้ น โดยการวิเคราะห์จากจุดเดน่ จึงไดก้ าหนดวสิ ยั ทัศน์ หรือ แนวทางการพัฒนา
หมบู่ า้ นในอนาคต คอื สง่ เสริมและพัฒนาเปน็ หมูบ่ ้านหัตถกรรม ชมุ ชนเขม้ แขง็ ดาเนินชวี ติ แบบพอเพียง โดยมี
กลยทุ ธ์เพอื่ บรรลตุ ามวิสยั ทศั น์ ดงั นี
1. ส่งเสรมิ และ สนับสนุนคนในชมุ ชนดาเนนิ ชีวิตตามแนวทางปรัชญาเศรษฐกิจพอเพยี ง
2. ส่งเสริมการดแู ลสขุ ภาพ ของคนในชมุ ชน โดยกระตุ้นใหค้ นในชมุ ชนหันมาออกกาลังกายเพอื่ สุขภาพ
3. ส่งเสรมิ ให้คนในชมุ ชนลด ละ เลิก อบายมขุ เพือ่ เปน็ การลดรายจา่ ยในครอบครัว
4. ส่งเสริมให้คนในชมุ ชน ปลกู พืชผกั สวนครวั รวั กินได้เพ่อื เปน็ การลดรายจ่ายในครอบครวั
5. จัดหาพอ่ พนั ธุโ์ ค ให้แก่เกษตรกร
6. สง่ เสริมการเลยี งไหม + ปลกู หม่อน เพอื่ สรา้ งการเรยี นรูใ้ นชมุ ชนและเปน็ การเพ่ิมรายไดใ้ หก้ บั ครอบครัว
7. ฟ้นื ฟูทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดล้อมชุมชนโดยการปรบั ภมู ิทัศน์หม่บู า้ น

9

ภาคภนวก

10


Click to View FlipBook Version