The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by anawat2533, 2021-08-26 07:01:08

รูปแบบการนิเทศภายในสถานศึกษาโรงเรียนวัดราชบพิธ

รายงานการนิเทศภายใน รร

คำนำ
การนิเทศ มีความสำคัญตอ่ การพัฒนาคุณภาพการศึกษาอยา่ งย่งิ เพราะการนิเทศการศึกษา
เป็นการรวมความคิดทางปัญญาของผู้นิเทศ ผู้รับการนิเทศ และผู้สนับสนุนการนิเทศเข้าด้วยกัน
เพื่อประโยชน์สูงสดุ ที่แท้จริง คือ การพัฒนาคุณภาพผู้เรยี น และคุณภาพการศกึ ษาใหบ้ รรลุจุดหมาย
ของหลักสูตร และผู้เรียนมีคุณภาพที่มุ่งหวังไว้ทุกประการ การนิเทศการศึกษามุ่งหวังให้
การดำเนนิ งานประสบผลสำเร็จลุล่วงไปได้ด้วยดี และมีประสิทธิภาพให้สนองตอบกับสภาพปัจจุบันมี
การเปลี่ยนแปลงไปตามยุคตามสมัย โดยมุ่งหวังให้เกิดการนิเทศด้วยรูปแบบ เทคนิค และกิจการ
การนเิ ทศที่หลากหลาย สอดคล้องกับบริบทและความพรอ้ มของโรงเรยี น
รายงานรูปแบบการนิเทศภายในสถานศึกษา โรงเรียนวัดราชบพิธ ประจำปีงบประมาณ
2564 จัดทำขึ้นเพื่อสรุปข้อมูลทั่วไปของโรงเรียน ผลการดำเนินงานด้านการนิเทศภายในโรงเรียน
รปู แบบหรอื กระบวนการนเิ ทศภายใน วิธกี ารดำเนนิ การนเิ ทศภายใน และการประเมินผล รายงายผล
การนิเทศภายในโรงเรียน และเป็นแบบอย่างการนิเทศภายในสถานศึกษาที่ประสบผลสำเร็จ
เปน็ แบบอย่างได้ ของสำนกั งานเขตพื้นทีก่ ารศึกษามัธยมศกึ ษากรงุ เทพมหานคร เขต 1
ขอขอบพระคณุ ผู้อำนวยการโรงเรียน รองผู้อำนวยการโรงเรยี น บุคลากรทุกฝ่ายทีเ่ ก่ยี วข้องที่
ให้ความร่วมมือ และสนับสนุนการนิเทศการศึกษา ของโรงเรียนวัดราชบพิธเป็นอย่างดี ขอขอบคุณ
คณะดำเนินงานที่ทำให้การนิเทศการศึกษาประสบความสำเร็จและพัฒนาคุณภาพผู้เรียนได้อย่าง
แท้จริง หวังเป็นอย่างยิ่งว่ารายงานรูปแบบการนิเทศภายในสถานศึกษานี้ จะเป็นประโยชน์ต่อ
การพัฒนาคุณภาพการศึกษาในสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษากรุงเทพมหานคร เขต 1
และผสู้ นใจหรอื หนว่ ยงานทเ่ี ก่ียวขอ้ ง

งานนเิ ทศการศกึ ษา
โรงเรียนวดั ราชบพิธ

สารบญั หน้า
1
ตอนท่ี 1 ขอ้ มลู ทัว่ ไปของสถานศึกษา
1. ขอ้ มลู พน้ื ฐานของสถานศึกษา 1
2. สภาพปัญหาและความต้องการเรง่ ด่วน 5
6
ตอนที่ 2 การดำเนนิ งานด้านนิเทศภายในของสถานศกึ ษา
1. รูปแบบหรือกระบวนการนเิ ทศภายในของสถานศึกษา 6
1.1 การศกึ ษาสภาพปัจจุบนั ปัญหาและความต้องการ 6
2. วธิ ดี ำเนนิ การนเิ ทศภายในของสถานศกึ ษา
2.1 การวางแผนการนเิ ทศ 8
2.2 การสรา้ งสอ่ื และเคร่อื งมอื นเิ ทศ 8
2.3 การปฏิบตั ิการนเิ ทศ 10
3. การประเมนิ และรายงานผล
3.1 การประเมินและรายงานผล 11
4. ผลสำเรจ็ ที่ไดแ้ ละการนำผลไปใช้ 13
4.1 ดา้ นการบรหิ ารจดั การ
4.2 ดา้ นกระบวนการจัดการเรียนการสอน 13
4.3 ดา้ นผู้เรยี น 14
5. นวัตกรรมการนิเทศภายในของโรงเรยี น 14

ตอนที่ 3 ชื่อ - สกุล และเบอร์โทรศัพท์ผปู้ ระสานงาน 15
ภาคผนวก 15

17
20

ตอนที่ 1 ขอ้ มลู ท่วั ไปของสถานศึกษา

ทต่ี ้ังโรงเรียน
โรงเรียนวัดราชบพิธ ตั้งอยู่เลขท่ี 3 ถนนสนามไชย แขวงพระบรมมหาราชวัง เขตพระนคร

กรุงเทพมหานคร รหัสไปรษณีย์ 10200 โทรศัพท์ 02- 226-3071-2 โทรสาร 02-622 – 3340
และ 02-222 – 6822 E-mail [email protected] website www.rb.ac.th สังกัดสำนักงาน
เขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษากรุงเทพมหานคร เขต 1 สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
กระทรวงศึกษาธิการ เปิดสอนผู้เรียนในระบบ เป็นผู้เรียนชายล้วน แบ่งเป็น 2 ระดับ คือ ระดับ
มธั ยมศกึ ษาตอนตน้ (ม. 1 - ม. 3) จำานวนชัน้ เรียนละ 12 หอ้ งเรียน โดยมกี ารจดั การเรยี นการสอน ดังน้ี
แผนการเรียนทั่วไป จำนวน 9 ห้องเรียน โครงการห้องเรียนวิทยาศาสตร์-คณิตศาสตร์ จำนวน 2
ห้องเรยี น โครงการ MEP จำนวน 1 หอ้ งเรยี น และระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย (ม. 4 - ม. 6) จำนวนชนั้
เรียนละ 8 ห้องเรียน ประกอบด้วย แผนการเรียนคณิตศาสตร์-วิทยาศาสตร์ จำนวน 2 ห้องเรียน
แผนการเรียนวิศวะ-หุ่นยนต์ จำนวน 1 ห้องเรียน แผนการเรียนคณิตศาสตร์-ภาษาอังกฤษ จำนวน 1
ห้องเรียน แผนการเรียนองั กฤษ-จนี จำนวน 1 ห้องเรียน แผนการเรียนไทย-สงั คม จำนวน 1 ห้องเรียน
แผนการเรียนศิลปะ-ดนตรี จำนวน 1 ห้องเรียน และโครงการห้องเรียนพิเศษวิทยาศาสตร์-คณิตศาสตร์
จำนวน 1 ห้องเรียน

โรงเรียนวัดราชบพิธบริเวณ สวนเจ้าเชตุ มีเนื้อที่เดิม 9 ไร่ 1 งาน 46 ตารางวา และเมื่อปี
2557 และ 2560 โรงเรียนได้รบั มอบทดี่ นิ ราชพัสดจุ ำนวน 2 ไร่ 3 งาน 20.4 ตารางวา จากสำนักงาน
ที่ดินกรุงเทพมหานคร ซึ่งมีพื้นที่ติดกับเขตโรงเรียน ปัจจุบันจึงมีเนื้อที่รวมทั้งสิ้น 11 ไร่ 4 งาน 66.4
ตารางวา โรงเรยี นมีเขตพน้ื ทบ่ี ริการ 6 แขวง ได้แก่ แขวงวดั ราชบพธิ แขวงศาลเจ้าพอ่ เสือ แขวงเสาชิงช้า
แขวงพระบรมมหาราชวงั และ แขวงวังบูรพาภิรมย์

1

ขอ้ มูลผบู้ ริหารและบคุ ลากร

1. ผู้อำนวยการโรงเรยี น นายอนันตศ์ กั ดิ์ ภูพลผนั

วทิ ยฐานะ ผูอ้ ำนวยการเชย่ี วชาญ โทรศพั ท์ 065-519-3593
E-mail : [email protected]
วุฒิการศึกษาสูงสุด ศกึ ษาศาสตรมหาบัณฑติ (ศษ.ม.)บรหิ ารการศึกษา
ดำรงตำแหน่งที่โรงเรียน ตั้งแต่วันที่ 4 กุมภาพันธ์ 2564 จนถึง
ปจั จุบัน

2. รองผอู้ ำนวยการโรงเรียน นางปณดิ า วรรณบตุ ร

วทิ ยฐานะ รองผ้อู ำนวยการชำนาญการ
โทรศัพท์ 083-447-7746
E-mail : [email protected]
วฒุ ิการศึกษาสงู สดุ ศึกษาศาสตรหาบัณฑติ (ศษ.ม.) เทคโนโลยี
การศึกษา
ดำรงตำแหนง่ ทโี่ รงเรยี น ต้งั แต่วันท่ี 30 ตุลาคม 2563 จนถงึ ปจั จุบัน
รบั ผดิ ชอบ กลมุ่ บรหิ ารการเงิน สนิ ทรพั ย์และบุคคล

3. รองผ้อู ำนวยการโรงเรียน นายณฐั วฒุ ิ ณรงคเ์ ดชา

วิทยฐานะ รองผ้อู ำนวยการชำนาญการพิเศษ
โทรศัพท์ 089-7922552
E-mail : [email protected]
วฒุ ิการศกึ ษาสูงสุด ศึกษาศาสตรหาบัณฑิต (ศษ.ม.) เทคโนโลยี
การศกึ ษา
ดำรงตำแหนง่ ทโี่ รงเรียน ต้ังแต่วนั ที่ 30 ตลุ าคม 2563 จนถงึ ปัจจุบนั
รบั ผดิ ชอบ กลมุ่ บริหารท่วั ไป

2

4. รองผู้อำนวยการโรงเรยี น นายวรพล ศรีเทพ
วทิ ยฐานะ - โทรศัพท์ 082-6395194
E-mail : [email protected]
วฒุ ิการศกึ ษาสงู สุด ครุศาสตรหาบณั ฑิต (ค.ม.) บริหารการศกึ ษา
ดำรงตำแหนง่ ท่ีโรงเรียน ตง้ั แต่วันท่ี 30 ตลุ าคม 2563 จนถงึ ปจั จบุ นั
รับผิดชอบ กลมุ่ บรหิ ารวชิ าการ

5. รกั ษาการรองผู้อำนวยการโรงเรียน นางสาวญาณี เพชรแอน
วิทยฐานะ ครชู ำนาญการ โทรศพั ท์ 063-414-2345
วุฒิการศึกษาสูงสุด ศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต (ศ.ม.) สาขาหลักสูตร
และการนิเทศ
E-mail : [email protected]
ดำรงตำแหน่งที่โรงเรียน ตั้งแต่วันที่ ตั้งแต่วันที่ 1 ตุลาคม 2563
จนถึงปจั จบุ นั
รบั ผิดชอบ กลมุ่ บริหารกิจการนกั เรียน

3

จำนวนบคุ ลากร

ครู ครู ครู ครู ครู ครู ครู ครู ลกู จา้ ง ลูกจ้าง รวม

บุคลากร คศ.4 คศ.3 คศ.2 คศ.1 ผูช้ ว่ ย อัตราจา้ ง ชาวต่างชาติ ประจำ ชั่วคราว

1 10 11 56 14 16 4 9 12 133

ลกู จ้างประจา ลกู จ้างชั่วคราว ครู คศ.4 ครู คศ.3 ครู คศ.2
ครชู าวต่างชาติ 7% 9% 1% 7% 8%

3%

ครอู ตั ราจา้ ง
12%

ครูผู้ช่วย ครู คศ.1
11% 42%

จำนวนนักเรียน เพศ

ระดับชน้ั ชาย หญงิ

มัธยมศึกษาปที ี่ 1 389 -
มัธยมศกึ ษาปที ี่ 2 399 -
มัธยมศกึ ษาปีท่ี 3 357 -
มธั ยมศึกษาปที ี่ 4 264 -
มัธยมศกึ ษาปีท่ี 5 265 -
มัธยมศกึ ษาปที ี่ 6 222 -

รวม 1,896

4

1.2 สภาพปญั หาและความต้องการเรง่ ดว่ น ที่เปน็ ประเดน็ ในการนิเทศภายในสถานศกึ ษา
การพัฒนาคุณภาพศึกษาให้เกิดขึ้น สิ่งหนึ่งคือคุณภาพของผู้เรียน ผู้เรียนจะมีคุณภาพตาม

หลักสตู รแกนกลางการศึกษาขน้ั พืน้ ฐาน พุทธศกั ราช 2551 และมาตรฐานการเรยี นรู้ และตวั ชี้วัด (ฉบับ
ปรับปรุง พ.ศ. 2560) ตลอดทั้งมีทักษะในศตวรรษที่ 21 ซึ่งจะต้องมีกระบวนการสู่ความสำเร็จในการ
พัฒนาคุณภาพการศึกษา 3 กระบวนการ คือ กระบวนการบริหาร กระบวนการเรียนการสอน และ
กระบวนการนิเทศการศึกษา ซึ่ง กระบวนการนิเทศการศึกษา เป็นภารกิจจำเป็นต่อการจัดการศึกษาที่
ตอ้ งอาศัยความรว่ มมือจากบุคลากรหลาย ๆ ฝา่ ย บุคลากรท่ีเก่ียวขอ้ งในโรงเรยี น จำเป็นต้องพัฒนาและ
ปรบั ปรงุ ตนเองให้ทนั ต่อการเปลี่ยนแปลง เพอ่ื ใหก้ ารปฏิบตั งิ านเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ ซึ่งการนิเทศ
การศกึ ษาเปน็ กระบวนการที่มีจุดมุ่งหมายเพื่อชว่ ยเหลือ ชี้แนะและพัฒนางานใหป้ ระสบผลสำเร็จ ทันต่อ
สภาพความเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้น อีกทั้งเป็นองค์ประกอบสำคัญที่ช่วยเหลือ สนับสนุนให้กระบวนการ
บริหาร และ กระบวนการเรียนการสอนมีคุณภาพตามมาตรฐานการศึกษาของประเทศ นอกจากนั้นแลว้
การนิเทศการศึกษาเป็นการร่วมมือกันเพ่ือปรับปรงุ งานด้านต่าง ๆ เปน็ การสง่ เสรมิ และเพ่ิมประสิทธิภาพ
ของการเรียนการสอนอนั จะนำมาซึง่ ผลสมั ฤทธ์ทิ างการเรียนของนักเรยี นท่ีสงู ข้นึ

การนเิ ทศภายในสถานศึกษา จงึ เปน็ กจิ กรรมสำคญั ทีส่ ุดในการสนบั สนุนการเรียนการสอนภายใน
สถานศกึ ษา ให้ดำเนนิ ไปอย่างมีประสิทธภิ าพ ซงึ่ เป็นหน้าที่ที่สำคญั ของผู้บรหิ ารสถานศกึ ษาและบุคลากร
ทางการศึกษาต้องดำเนินการให้เกิดขึ้นภายในสถานศึกษาให้มีประสิทธิภาพมากขึ้น และครูได้ปรับปรุง
คุณภาพการเรียนการสอนภายในชั้นเรียน รวมทั้งเป็นกระบวนการประกันคุณภาพของสถานศึกษาว่า
สถานศึกษาสามารถบริการจัดการภายในสถานศึกษาจนถึงเป้าหมายสุดท้าย คือ คุณภาพผู้เรียนที่มี
คณุ ภาพตามมาตรฐานหลกั สตู ร และเป้าหมายทตี่ ั้งไว้ การนิเทศภายในโดยใช้หอ้ งเรียนเป็นฐานเพื่อพัฒนา
คุณภาพผู้เรียน เป็นการนิเทศเพื่อพัฒนาคุณภาพการศึกษาของสถานศึกษาโดยเน้นการบูรณาการงาน
โครงการตา่ ง ๆ ได้แก่ การพฒั นาหลกั สูตรการจัดการเรยี นรู้เชงิ รุก (Active Learning) การจัดการเรียนรู้
โดยใช้สื่อเทคโนโลยีทางไกล การจัดการเรียนการสอนออนไลน์ การอ่านออกเขียนได้การยกระดับ
ผลสมั ฤทธิ์ทางการเรียน และการประกันคณุ ภาพการศกึ ษาเพ่อื ให้ผ้เู รียนมีคุณภาพและมีคุณลักษณะท่ีพึง
ประสงคต์ ามหลกั สูตร

5

ตอนที่ 2 การดำเนินงานด้านนิเทศภายในของสถานศึกษา

ประเดน็ ที่ 1 รูปแบบหรอื กระบวนการนิเทศภายในของสถานศกึ ษา
การศึกษาสภาพปจั จุบัน ปัญหาและความตอ้ งการ

๑. มีการจดั ทำขอ้ มูลสารสนเทศพืน้ ฐานรอบดา้ น ท้งั ของผบู้ ริหาร ครูและนกั เรยี น เพอื่ เปน็ ข้อมูล
ในการพจิ ารณาวางแผนการดำเนินงานตามประเด็นการนิเทศ

จากการจัดทำขอ้ มูลสารสนเทศพนื้ ฐานของผู้บรหิ าร ครแู ละนกั เรียน พบว่าโรงเรยี นจงึ มีแนวทาง
ในการพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษาและวางแผนการนิเทศภายในสถานศึกษาของโรงเรียนใน ดังน้ี

ดา้ นคุณภาพผเู้ รียน ผ้เู รยี นขาดการพฒั นาศักยภาพในเรอื่ ง การอภปิ รายแลกเปล่ยี นความคิดเหน็
การสรา้ งนวัตกรรม การลงมอื ปฏบิ ตั ิจริง ขาดทกั ษะการแก้ปญั หาในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ การนิเทศ
จะช่วยส่งเสริมการแก้ปัญหาและการลงมือปฏบิ ัติจรงิ ให้เข้ากับสถานการณก์ ารเรยี นรู้ และสอดคล้องกับ
การเรยี นรใู้ นศตวรรตท่ี 21 ได้

ด้านกระบวนการบริหารและการจัดการ ระบบเทคโนโลยีสารสนเทศยังมีอุปสรรคในการรองรับ
การใช้งานระบบออนไลน์อย่บู า้ ง วิธีการนิเทศ กำกบั ตดิ ตาม ประเมินผลการจัดการศกึ ษาไม่สอดคล้องกับ
การปรับเปลี่ยนการจัดการเรียนการสอนในรปู แบบออนไลน์ การนิเทศจะช่วยให้การดำเนินการในเรื่อง
การพัฒนาระบบเทคโนโลยีสารสนเทศที่เอื้อต่อการจัดการเรียนรู้ในรูปแบบออนไลน์ เกิดขึ้นได้อย่าง
ตอ่ เน่อื ง มกี ารวางแผนการจดั กิจกรรมการนเิ ทศในรปู แบบสื่อออนไลนเ์ พิ่มขึน้ จดั สภาพแวดล้อมที่เอ้ือต่อ
การนิเทศและการเรียนรู้ในสถานการณท์ ่ีมีการเปลย่ี นแปลงไป

ด้านกระบวนการจดั การเรียนการสอนทีเ่ นน้ ผู้เรียนเป็นสำคัญ รูปแบบการจัดการเรียนการสอน
แบบเดิมไม่สามารถพัฒนาในเรื่องการแก้ปัญหาและการลงมือปฏิบัติจริงได้ นอกจากนั้นแล้วการ
แลกเปลี่ยนเรียนรู้เพื่อมุ่งให้คำแนะนำและความช่วยเหลือแก่ครูผู้สอนในการปรับปรุงและพัฒนา
กระบวนการจดั การเรยี นรใู้ หเ้ กดิ ผลดีต่อการเรยี นรแู้ ละพฒั นาในด้านต่าง ๆ ของผเู้ รยี นขาดความต่อเน่ือง
การนิเทศการ ศึก ษาสามาร ถช่วยให้ก าร ดำเน ินก ารใน เร ื่องก าร จัดท ำจัดหารูปแบบการสอนแ ละ ส่ือ
เทคโนโลยีสารสนเทศท่ีสามารถพัฒนาในเร่อื งการแก้ปญั หาได้ และการนิเทศการศกึ ษาเปน็ การช่วยเหลือ
แนะนำ ใหค้ ำปรกึ ษาแต่ครผู สู้ อนในการพัฒนารูปแบบการจัดการเรียนร้ใู หผ้ ู้เรยี นสามารถลงมอื ปฏิบัติจริง
และแกป้ ัญหาตา่ ง ๆ ได้

๒. มีการประชุมแลกเปลี่ยนระดมความคิดของผู้บริหารและบุคลากรในโรงเรียน เพื่อวิเคราะห์
สภาพปัญหาและความต้องการในการพฒั นาตามบริบทของโรงเรียน แลว้ จัดลำดบั ความสำคัญของปัญหา
หรอื ความตอ้ งการเร่งดว่ นหรือท่ีเหน็ ว่าสำคญั ท่ีสดุ ก่อน

6

โรงเรียนมีการศกึ ษาสภาพปัจจุบัน ปัญหาและความต้องการจำเปน็ โดยการประชุมแลกเปลี่ยน
ระดมความคิดของผู้บริหารและบคุ ลากรในโรงเรียน ตลอดจนการค้นหาข้อมูลซึ่งเป็นปัญหาหรือสิ่งที่ยัง
บกพร่องที่ทำใหง้ านไมบ่ รรลุตามเปา้ หมายท่ีต้องการ ซ่งึ จะตอ้ งหาทางออกใหไ้ ด้วา่ ปัญหาหรือข้อบกพร่อง
ใดมคี วามจำเปน็ ท่ตี อ้ งหาทางแกไ้ ขปรบั ปรงุ และการศกึ ษาสภาพปัจจบุ นั ปญั หาและความตอ้ งการจำเป็น
ของโรงเรียนใช้เป็นองค์ประกอบในการจัดทำโครงการปฏิบัติงาน รวมไปถึงโครงการการจัดการนิเทศ
ภายในสถานศึกษาตอ่ ไป

วธิ กี ารศึกษาสภาพปจั จบุ ันและหาความต้องการจำเปน็ อาจใชว้ ธิ กี ารตา่ ง ๆ ดังน้ี
1) ศึกษาโดยวธิ กี ารวิจยั
2) ศึกษาโดยวิธกี ารประเมนิ หรอื สอบถามความต้องการการนเิ ทศของครู
3) ศกึ ษาโดยวธิ ีการประชมุ สมั มนา เพื่อคน้ หาปัญหาตา่ ง ๆ

ในการประชมุ แลกเปลย่ี นระดมความคดิ ของผบู้ รหิ ารและบคุ ลากรในโรงเรียน เพือ่ วเิ คราะห์
สภาพปัญหาและความต้องการในการพัฒนาตามบริบทของโรงเรียน ได้นำกระบวนการวิเคราะห์สาเหตุ
ของปัญหามาใช้เพื่อเป็นองค์ประกอบในการพิจารณาโครงการและงานนิเทศ ในการวิเคราะห์สาเหตุน้ัน
ประกอบด้วยขน้ั ตอนดงั ต่อไปนี้

1) กำหนดเป้าหมาย หรอื ความคาดหวงั ของงาน
2) วิเคราะหห์ าองคป์ ระกอบทเี่ ออื้ อำนวยต่อความสำเรจ็ ตามเปา้ หมาย
3) จดั ลำดบั ความสำคญั ขององคป์ ระกอบโดยใชเ้ ทคนิคต่าง ๆ
4) วิเคราะหท์ างเลอื กหรือกจิ กรรม เพอ่ื ดำเนนิ การให้บรรจเุ ป้าหมาย
5) จัดลำดบั ความสำคัญของกิจกรรม
3. มกี ารนำผลการวิเคราะห์จากประเด็นการนิเทศมากำหนดค่าเป้าหมายการพัฒนา ที่เช่ือมโยง
กับมาตรฐานและประเด็นพจิ ารณาของมาตรฐานการศึกษาของสถานศกึ ษา
จากการวิเคราะห์ประเด็นการนิเทศเพ่ือพฒั นากระบวนการจัดการศึกษาและผลลัพธ์ของผ้เู รียน
ตามมาตรฐานการศึกษาของโรงเรยี น ท้งั 3 มาตรฐาน ดังนี้
ด้านคุณภาพผู้เรยี น การนิเทศภายในสถานศึกษาด้วยกระบวนการติดตาม ส่งเสริมคุณภาพด้าน
การจัดการเรยี นการสอน และการเรียนรู้ ส่งผลสำเร็จในการพัฒนาผู้เรียนให้มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนท่ี
สงู ขึน้ ผ้เู รยี นมคี ณุ ธรรม จรยิ ธรรม มรี ะเบยี บวนิ ัย มีจิตอาสา มีสุขภาพกาย สุขภาพจิตทด่ี ี สนใจใฝ่เรียนรู้
มีความสามารถในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการเรียนรู้และการสืบค้นข้อมูลจากแหล่งเรียนรู้ใน
เวบ็ ไซต์ตา่ ง ๆ
ด้านกระบวนการบริหารและการจัดการ โรงเรียนมีโครงสร้างการบริหารท่ีชัดเจน มีการกำหนด
บทบาทหน้าที่ของผนู้ ิเทศและผรู้ ับการนเิ ทศ โดยอาศัยความรว่ มมือของทกุ ภาคส่วน สนับสนุนพัฒนาครู
และบุคลากรทางการศึกษา ส่งเสริมการนิเทศและการพัฒนาการจัดการเรียนการสอนอย่างต่อเนื่อง
ดำเนินการจัดทำแผนปฏบิ ตั ิการการนิเทศอยา่ งเปน็ รูปธรรม

7

ดา้ นกระบวนการจดั การเรยี นการสอนทเ่ี น้นผูเ้ รยี นเป็นสำคัญ การนเิ ทศสามารถกระตุน้ ชีน้ ำทาง
ความคิดใหม่ ๆ ให้เกดิ ข้นึ กบั ครูภายในสถานศึกษาโดยการนำเทคนิคการสอน รูปแบบหรือวิธีการจัดการ
สอนใหม่ ๆ มาถ่ายทอดความรู้สผู่ ู้เรยี น ครมู ีความมงุ่ มั่น ตง้ั ใจ และรบั ผิดชอบตอ่ การจดั การเรียนการสอน
ทเี่ นน้ ผ้เู รยี นเปน็ สำคญั ฝกึ ให้นักเรียนได้คิด วิเคราะห์ จัดกิจกรรมการเรยี นรู้ท่ีสอดคล้องกับการเรียนการ
สอน ครูมีการจัดทำและจัดหาสื่อเทคโนโลยีที่ทันสมัยน่าสนใจ มีการนำผลการบันทึกหลังสอนไปจัดทำ
วิจัยในชั้นเรียนเพื่อหานวัตกรรมสำหรับแก้ปัญหาและพัฒนาการเรยี นรู้ของผู้เรียนให้มีประสิทธิผลมาก
ยง่ิ ขึน้
ประเดน็ ท่ี 2 วธิ ดี ำเนนิ การนเิ ทศภายในของสถานศึกษา
2.1 การวางแผนการนิเทศ

๑. มกี ารประชุมเตรยี มการนิเทศ เพือ่ สร้างความรคู้ วามเขา้ ใจรว่ มกัน
โรงเรียนให้ความสำคัญของการวางแผนการนิเทศ เพื่อทำให้ทุกคนได้ทราบจุดมุ่งหมายและ
แนวทางในการปฏิบตั ิงาน เพื่อให้สามารถดำเนินงานให้บรรลเุ ป้าหมายได้ง่ายยิ่งขึ้น ในขณะเดียวกันการ
ร่วมกันวางแผนทำให้เกิดการประสานงานและการร่วมมืออย่างมีประสิทธิผล โดยดำเนินการ คือ จัด
ประชุมคณะครูและคณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐานของโรงเรียน ผู้เกี่ยวข้องตามที่โรงเรียน
เห็นสมควร เพื่อเสนอผลการจัดการศึกษาของโรงเรียนในรอบปที ี่ผ่านมา สรุปความคิดเห็นของผู้เข้าร่วม
ประชุมเกี่ยวกับแนวทางการศึกษาของโรงเรียนในการศึกษาต่อไป มีการแต่งตั้งคณะทำงานจัดทำ
แผนปฏิบัติการประจำปขี องโรงเรียน ซึ่งประกอบดว้ ยผู้อำนวยการโรงเรียน รองผู้อำนวยการโรงเรียนแต่
ละกล่มุ บรหิ าร หัวหนา้ กล่มุ สาระการเรยี นรู้ หวั หนา้ งาน หรือผมู้ ีความรใู้ นงานของโรงเรียนเป็นอย่างดี
๒. มีการสร้างคณะนิเทศ ทีมงานและเครอื ขา่ ยการนิเทศ
โรงเรียนมีการจัดตั้งคณะทำงาน ทีมงานและเครือข่ายการนิเทศ ประกอบด้วยผู้อำนวยการ
โรงเรียน รองผู้อำนวยการโรงเรียนแต่ละกลุ่มบริหาร หัวหน้ากลุ่มสาระการเรียนรู้ หัวหน้างาน เพื่อ
เตรียมการและวางแผนดงั นี้

1) ศึกษา วิเคราะห์นโยบายและมาตรฐาน ตัวบ่งชี้ของกระทรวงศึกษา สำนักงาน
คณะกรรมการการศึกษาขั้นพนื้ ฐาน และสำนักงานเขตพื้นทก่ี ารศึกษามธั ยมศึกษากรุงเทพมหานคร เขต 1
เปน็ ตวั ต้งั

2) ศกึ ษาวเิ คราะหส์ ภาพปัจจบุ นั ผลการจดั การศึกษา และสารสนเทศของโรงเรยี น
3) จัดทำแผนปฏบิ ัตกิ ารประจำปีของโรงเรยี น การนเิ ทศภายในสถานศกึ ษา เพอื่ กำหนด
วิธีการ ช่วงเวลาในการปฏบิ ตั งิ านของการนิเทศ
4) กำกับ ตดิ ตามผล ประเมินผล และรายงายผล
๓. มีการกำหนดประเด็นการนิเทศและกำหนดระยะเวลาในการนิเทศที่เหมาะสมกับ สภาพ
ปญั หาและความตอ้ งการ
การนิเทศภายในสถานศึกษามีทั้งการนิเทศงานและการนิเทศการสอน ในส่วนของการนิเทศ
การสอนจากการศึกษาสภาพและความต้องการของครูและบุคลากรที่เกี่ยวข้องแล้ว ได้มีการกำหนด

8

ประเด็นและองค์ประกอบการสอนจนได้พัฒนาเครื่องมือการนิเทศในประเด็นดังนี้ ขั้นนำเข้าสู่บทเรียน,
ขน้ั การจดั การเรยี นการสอน, การใชส้ ือ่ การสอน และขน้ั สรุป

การดำเนินการในการนิเทศการสอนมอบหมายให้หัวหน้ากลุ่มสาระการเรียนทำงานนิเทศ
ครูผสู้ อนทุกคน โดยคนละ 1 คร้ัง หลงั จากนัน้ แตล่ ะกลุ่มสาระการเรยี นรู้สรุปรายงานการดำเนนิ การนิเทศ
เพ่ือเสนอรองผู้อำนวยการกล่มุ บริหารวิชาการ และผอู้ ำนวยการโรงเรยี นรับทราบ

4. มกี ารกำหนดวธิ กี ารนเิ ทศและกิจกรรมการนิเทศท่เี หมาะสมกับบริบทของ สถานศึกษา สภาพ
ปัญหาและความตอ้ งการ

การนิเทศเพ่ือปรับปรุงแก้ไขหรอื พัฒนาบุคลากรในโรงเรียนนนั้ ผูน้ เิ ทศต้องมีการวิเคราะห์สภาพ
และความต้องการจำเป็นของผู้รับการนิเทศ โดยมีการกำหนดรูปแบบการนิเทศ เทคนิคการนิเทศ และ
กจิ กรรมการนเิ ทศทเี่ หมาะสมสำหรบั โรงเรยี นวัดราชพิธ ประกอบดว้ ย

รปู แบบการนเิ ทศทีโ่ รงเรียนกำหนดคอื การนิเทศแบบคลินกิ ซง่ึ เป็นการนิเทศทเี่ นน้ กระบวนการ
ปรับปรุงการสอนของครูอย่างเข้มข้นที่ต้องวางแผนอย่างเป็นระบบ และครบวงจร ประกอบด้วย การ
ประชมุ กอ่ นการสังเกต การสงั เกตการสอน และการประชุมหลงั การสังเกต สำหรับผู้ทที่ ำหนา้ ท่ีเป็นผู้นิเทศ
มกี ารได้รบั การฝกึ ฝนอย่างต่อเนอื่ ง สำหรับการนเิ ทศภายในจะมีประสิทธิภาพมากน้อยเพียงใด ขน้ึ อยกู่ บั ผู้
ทีท่ ำหนา้ ท่เี ปน็ ผู้นเิ ทศจะเลือกใช้เทคนคิ ในการนเิ ทศ ดงั นี้

1) การนเิ ทศแบบใหค้ ำช้แี นะ (Coaching)
2) การนิเทศแบบพี่เล้ียง (Mentoring)
3) การนเิ ทศแบบเพ่ือนชว่ ยเพอื่ น (Peer Supervision)
สำหรบั กจิ กรรมการนิเทศทเ่ี หมาะสมกับบริบทของโรงเรยี นวัดราชบพิธ ประกอบดว้ ย
1) การบรรยาย เป็นวิธีการทีใ่ ช้ในการพัฒนาครู เช่น การอบรม สมั มนา การปฐมนิเทศ
ครูใหม่โดยการบรรยายครูจะได้รับการถ่ายทอดความรู้จากผู้มีประสบการณ์ โดยสามารถจัดให้กับครูที่
ตอ้ งการกิจกรรมรูปแบบนจ้ี ำนวนไมม่ ากนกั
2) การประชมุ กลุ่ม ซง่ึ การประชมุ กลมุ่ สามารถจัดได้หลายลักษณะ เช่น การประชมุ กลมุ่
สาระการเรียนรู้ การประชุมระดับชั้น เป็นการประชุมที่ไม่เป็นทางการ ทำให้สมาชิกในกลุ่มสามารถ
รว่ มกันอภปิ ราย ปรึกษาหารือ หรอื โตแ้ ยง้ ในประเด็นตา่ ง ๆ และร่วมกันแสดงความคิดเหน็ ได้
3) การสังเกตการสอนในชั้นเรยี น เป็นกิจกรรมที่ดำเนินการโดยการสังเกตการสอนใน
ชั้นเรยี นโดยใช้เครอ่ื งมอื การนิเทศในการบนั ทกึ การสงั เกตการสอน เพือ่ นำมาวเิ คราะห์สภาพการสอนของ
ครผู ูส้ อน ซงึ่ จะช่วยใหท้ ราบจดุ ออ่ น จุดแข็งของครแู ต่ละคน เพ่ือใชใ้ นการประเมนิ ผลการปฏิบัติงานและ
พัฒนาครูได้
4) การจัดทัศนศกึ ษา เป็นการดำเนินการเพื่อให้ครูได้เห็นการจดั การเรียนการสอนของ
โรงเรียนอื่น ๆ โดยสามารถนำผลที่ได้จากการทัศนศึกษา หรือประโยชน์ที่รับจากโรงเรียนอื่น ๆ มา
ประยกุ ตป์ รับใช้ในโรงเรียนได้

9

5) การวจิ ยั เชิงปฎิบตั ิการการเรยี นการสอน หนังสอื แบบเรียนส่อื การสอนหรอื แม้แตก่ าร

นิเทศสามารถทำการวิจัยเชิงปฏิบัติได้ดังนี้ วิจัยเพื่อนำผลมาใช้ หรือวิจัยเชิงพัฒนา (Research and

development : R&D)

5. มกี ารจัดทำแผนนเิ ทศภายในโรงเรยี น
โรงเรียนดำเนินการจัดทำแผนปฏิบัติการประจำปีงบประมาณอยา่ งสม่ำเสมอ โดยมีขั้นตอนการ
วางแผนงานดา้ นการนเิ ทศ ดังน้ี

1) การวางแผนปฏิบัติงาน เป็นการกำหนดข้อตกลง ขอบเขตของงาน เพื่อจะได้
ดำเนินการให้ตรงตามเป้าหมายที่กำหนดไว้ มีการแบ่งหน้าที่ความรับผิดชอบและวางแผนแนวทางการ
แกป้ ัญหาต่าง ๆ

2) การจัดระบบงาน เป็นการจัดแบ่งสายงานการนิเทศในโรงเรียน โดยมอบหมาย
ผรู้ ับผดิ ชอบตามสายงาน เช่น หวั หน้ากลมุ่ สาระการเรียนรู้ หวั หนา้ งาน เปน็ ต้น

3) การดำเนินงาน ใช้รูปแบบหรือกิจกรรมที่โรงเรียนกำหนดในการดำเนินงาน ติดตาม
ผล และรายงานผลใหเ้ ปน็ ไปตามแผนปฏบิ ตั ิการ

4) การประเมินผล มีการกำหนดวิธีการประเมิลผลไว้เป็นระยะอย่างชัดเจน เพื่อหา
แนวทางปรบั ปรุง แกไ้ ข การประเมินผลมีการประเมนิ ผลทั้งดา้ นปรมิ าณและคณุ ภาพ
๒.๒ การสรา้ งสอ่ื และเครือ่ งมือนเิ ทศ

๑. มีการสร้างสอ่ื การนิเทศท่ีทำใหก้ ารนเิ ทศบรรลวุ ตั ถุประสงค์
โรงเรียนดำเนินการสร้างสื่อเพื่อการนิเทศซึ่งสื่อเป็นปัจจัยสำคัญอย่างยิ่งที่ผู้นิเทศจำเป็นต้อง
คำนึงถึงควบคู่ไปกับเทคนิคหรือวิธีการนิเทศ การนิเทศในแต่ละรูปแบบ วิธีการจะต้องมีการใช้สื่อหรือ
เครื่องมือตา่ ง ๆ เพ่ือให้การนิเทศเกดิ ประโยชนแ์ ละกระทำไดอ้ ยา่ งมีประสิทธภิ าพ ประเภทของสื่อที่สร้าง
ขึน้ ไดแ้ ก่ ส่อื สงิ่ พิมพ์ เอกสาร ตำราและคมู่ อื การฝกึ ปฏบิ ัติ รวมไปถึงการสรา้ งสอ่ื ผ่านระบบอิเล็กทรอนิกส์
และระบบออนไลน์ สื่อการนิเทศนับว่าเป็นสิ่งสำคัญในการเรียนรู้เนื่องจากเป็นตัวกลางในการถ่ายทอด
เน้อื หาจากผูน้ ิเทศไปยงั ผรู้ บั การนเิ ทศ หรอื เปน็ ส่งิ ใหผ้ ้รู ับการนเิ ทศได้เรยี นร้ดู ว้ ยตนเองได้
๒. มีการสร้างเครื่องมือการนิเทศเพื่อเก็บข้อมูลเป็นแนวทางในการแก้ปัญหาและพัฒนา
ตรวจสอบ ติดตามความกา้ วหนา้ ของการดำเนินงาน การสะทอ้ นผลและการประเมนิ ผล การดำเนินงาน
การสร้างเครื่องมือการนิเทศเป็นสิ่งที่โรงเรียนดำเนินการเพื่อให้ผู้นิเทศดำเนินการระหว่างการ
นิเทศ โดยการเก็บข้อมูลเรื่องราวสภาพปัญหา พฤติกรรมของครู ก่อนการนิเทศ ระหว่างการนิเทศหรอื
หลังการนิเทศสิน้ สุดลง ผู้มีส่วนเกี่ยวข้องในโรงเรยี นจึงจำเป็นต้องเตรียมการในการจัดหา หรือการสร้าง
เครื่องมอื เพอื่ การนเิ ทศไวใ้ ห้พร้อม โดยมีหลกั การและขน้ั ตอนการสรา้ งเคร่อื งมอื ดงั นี้

1) กำหนดวตั ถุประสงค์ในการใช้ คือเคร่ืองมือทีส่ ร้างข้นึ ต้องมีการกำหนดวัตถุประสงค์
ให้ชัดเจนในการนำเครื่องมือไปสู่การปฏิบัติ โรงเรียนสร้างเครื่องมือการนิเทศเพ่ื อใช้ในการสังเกต
พฤติกรรมการสอน

10

2) กำหนดประเด็นหรือเนื้อหาในเครื่องมอื มีการค้นคว้าเนื้อหาของประเด็นต่าง ๆ ใน
เครอื่ งมือใหม้ มี าตรฐาน เพ่อื ใหต้ รงประเดน็ ท่ตี อ้ งการและให้ได้เคร่อื งมือท่มี ปี ระสิทธิภาพ

3) การทดลองใช้ ภายหลังการสร้างเครื่องมือเสร็จแล้วมีการทดลองใช้ โดยนำไปใช้ใน
การสงั เกตการสอนของครูในชน้ั เรียน

4) การประเมนิ ผลการใชเ้ คร่ืองมือ จากการทดลองใช้จะทำให้ทราบว่าเคร่ืองมือท่ีสร้าง
ขน้ึ นัน้ มคี วามสะดวกเพียงใด เกบ็ รวบรวมข้อมูลเปน็ ไปตามทคี่ าดหมายไว้หรอื ไม่

5) การปรับปรุงเครือ่ งมอื จากการสรุปผลการประเมินการทดลองใช้เครื่องมือ หากพบ
ปัญหาหรืออุปสรรคจากการทดลอง สามารถนำขอ้ บกพรอ่ งมาปรับปรุง แกไ้ ขใหเ้ คร่อื งมือมีความสมบูรณ์
เหมาะสมและมีประสิทธิภาพสงู ขึน้

๓. มีการจดั ทำคมู่ อื การนเิ ทศภายในโรงเรียนเพ่อื เปน็ แนวทางและสรา้ งความเข้าใจ ตรงกนั ในการ
ปฏิบตั ิงานในทีมนเิ ทศ

โรงเรียนดำเนนิ การจัดทำคู่มอื การนิเทศภายในโรงเรยี นเพอ่ื ให้ครไู ดร้ บั ทราบแนวทาง เกดิ ความรู้
ความเขา้ ใจท่ตี รงกัน รบั ทราบบทบาทของผนู้ ิเทศผู้รับการนิเทศ ทราบรูปแบบการนเิ ทศท่ีเกิดข้ึนจากการ
พัฒนากระบวนการของโรงเรียน และทราบถึงความจำเป็นของการนิเทศ ซึ่งการนเิ ทศเป็นการชว่ ยเหลือ
แนะนำ เพื่อการปรับปรุงการจัดการเรียนการสอน โดยต้องอาศัยการประสานงานและความร่วมมือ
ระหว่างผู้บริหาร ผู้นิเทศ ผู้รับการนิเทศ และบุคลากรที่เกี่ยวข้องทุกฝ่ายในโรงเรยี น เพื่อพัฒนาวิชาชพี
ของตนโดยมีเป้าหมายสูงสดุ อย่ทู ค่ี ุณภาพของผู้เรยี น
2.3 การปฏบิ ตั กิ ารนิเทศ

1. มกี ารนเิ ทศตามขัน้ ตอน ระยะเวลา และใช้เครอื่ งมือตามท่กี ำหนด
โรงเรียนและผู้เกี่ยวข้องกับงานนิเทศ ดำเนินการตามแผนปฏิบัติการประจำปีงบประมาณ และ
โครงการนิเทศที่ได้รบั การอนุมัติ ไปสู่การปฏิบัติ เพื่อให้เกิดผลตามวัตถุประสงค์ของโครงการที่ตัง้ ไว้ ใน
การดำเนนิ การผูร้ ับผิดชอบแบง่ การดำเนนิ งานออกเป็น 3 ขั้นตอน ดงั นี้

1) การประชุมกอ่ นการนเิ ทศ เพ่ือกำหนดวตั ถุประสงคข์ องการนเิ ทศ ไดท้ ราบถึงเทคนิค
หรอื วิธีการทีใ่ ชใ้ นการรวบรวมขอ้ มลู ทีจ่ ำเป็น

2) การลงมือนิเทศหรือรวบรวมข้อมูลที่เหมาะสมและจำเป็น ที่บ่งถึงวัตถุประสงค์และ
กระบวนการของวัตถุประสงคท์ ี่ได้ตกลงกันไว้ในข้ันประชมุ ก่อนการนิเทศ เมื่อได้ขอ้ มูลแลว้ กน็ ำข้อมลู มา
วเิ คราะหซ์ ึ่งอาจใชก้ ระบวนการและวิธกี ารปฏบิ ัติเพ่อื ชว่ ยให้เห็นผลลัพธ์ทส่ี ำคญั

3) การประชุมหลักการนิเทศ มุ่งตรวจสอบดูว่า การวิเคราะห์ข้อมูลต่าง ๆ นั้นถูกต้อง
เพียงใด มีอะไรเป็นจุดอ่อน จุดแข็ง เพื่อที่จะสามารถพัฒนาการสอนของครูให้ดีขึ้นในครั้งต่อไป เม่ือ
ตรวจสอบข้อมลู แล้วรว่ มกันหาขอ้ ยตุ แิ ละเขยี นรายงานผลใหค้ รทู ราบเพอ่ื พฒั นา

2. มีการนิเทศภายในครูทุกคนในโรงเรียนอย่างน้อยภาคเรียนละ 1 ครั้ง โดยใช้กระบวนการที่
โรงเรยี นพฒั นาขนึ้ เองหรือใช้กระบวนการทส่ี ำนกั งานคณะกรรมการการศึกษาข้นั พนื้ ฐานได้ใหแ้ นวทางไว้

11

โรงเรียนดำเนินการโดยมอบนโยบายไปยังงานนิเทศ กลุ่มบริหารวิชาการ และมอบหมายให้
หวั หน้ากลุ่มสาระการเรยี นรู้ได้แจ้งให้ครูในกลุ่มสาระเรยี นรูท้ ราบในการนิเทศการสอนของครูทุกคน โดย
ใช้กระบวนการนิเทศแบบคลินิก และใช้เครื่องมือการนิเทศตามที่โรงเรียนพัฒนาขึ้น โดยกระบวนการ
นเิ ทศแบบคลนิ กิ แบง่ ออกเป็น 3 ข้ันตอน ดังนี้

1) การประชมุ ร่วมกนั ระหว่างผูน้ ิเทศและครูผู้รับการนิเทศ (Pre-conference) ผู้นิเทศ
ประชมุ ร่วมกับครผู สู้ อนเพ่ือช้ีแจงขอ้ ตกลงกอ่ นการสงั เกตการสอนในประเด็นตา่ ง ๆ ประกอบด้วย เหตุผล
และจุดมุ่งหมายของการสังเกตการสอน, ต้องการเน้นสังเกตจดุ ใดเปน็ พิเศษ, วิธีการ รูปแบบและเครือ่ งมือ
ทใ่ี ช้ในการสังเกต, เวลาที่ใช้ในการสงั เกตการสอน เป็นต้น

2) การสงั เกตการสอน (Observation) ผู้นิเทศใชเ้ ครอ่ื งมอื ท่ีโรงเรียนสร้างขนึ้ เป็นแบบ
สังเกตการสอนแบบตรวจสอบรายการ ในการสังเกตครูผู้สอนในช้ันเรียนเพื่อตรวจสอบการปฏิบัติหรือไม่
ปฏิบัติตามประเด็นในแบบสังเกต นอกจากนั้นแลว้ ผู้นเิ ทศสามารถเขียนพรรณนาระหว่างการสังเกตการ
สอนของครูผู้สอนได้ ในขั้นตอนนี้ผู้นิเทศสามารถวเิ คราะห์ข้อมูลที่ได้จากการสังเกตการสอน คือการนับ
ความถขี่ องการปฏิบัตหิ รอื ไม่ปฏบิ ัติตามประเด็นการสงั เกต

3) การประชุมหลังการสังเกตการสอน (Post-conference) ผู้นิเทศเปิดโอกาสให้
ครูผู้สอนสะท้อนความคิดเห็นเกี่ยวกับการสอนของตนเอง และผู้นิเทศให้ข้อมูลย้อนกลับไปยังครูผู้สอน
หลังจากนั้นร่วมกันอภิปรายข้อมูลที่ได้จากการสังเกต ผลที่ได้จากการประชุมครูสามารถนำไปวางแผน
ปรับปรุงการสอนใหม้ ปี ระสทิ ธิภาพมากยิง่ ข้นึ

3. มกี ารสะท้อน และสรุปผลการนิเทศแก่ผู้รบั การนิเทศ
ผนู้ ิเทศและผู้รบั การนเิ ทศมกี ารประชมุ หลังการสังเกตการสอน เพอ่ื เป็นการเปดิ โอกาสใหผ้ ูร้ ับการ
นเิ ทศไดส้ ะท้อนความคิดเหน็ เกี่ยวกบั การสอนของตนเอง และผู้นิเทศจะเป็นผู้ให้ขอ้ มูลย้อนกลับ หลังจาก
นั้นร่วมกันอภิปรายข้อมูลเหล่านั้น ซึ่งการสรุปผลการนิเทศนั้นจะเป็นข้อมูลให้ผู้รับการนิเทศได้นำไป
วางแผนปรับปรงุ หรอื พัฒนาการสอนของผู้รับการนเิ ทศได้เกดิ ประสทิ ธภิ าพมากยงิ่ ขึ้น
4. มกี ารสรา้ งเครอื ขา่ ยความร่วมมอื ในการนเิ ทศในระดับต่าง ๆ เพื่อสนับสนุนการนิเทศ
โรงเรียนดำเนินการโดยการประสานความร่วมมือเพื่อพัฒนาการจัดการเรียนการสอน และเพอ่ื
พฒั นาสนุบสนันการนเิ ทศอย่างตอ่ เนอ่ื ง ดังน้ี

1) จดั ระบบขอ้ มูลสารสนเทศ ศกึ ษาความตอ้ งการการสง่ เสรมิ สนบั สนนุ เครอื ข่ายการ
นิเทศทง้ั ระดับเขตพน้ื ที่การศกึ ษา สถานศกึ ษา หน่วยงานทเ่ี กีย่ วขอ้ งและชมุ ชน

2) จดั ทำแผนงานหรือแผนปฏบิ ัติการเพอื่ สร้างความรคู้ วามเขา้ ใจ สง่ เสริมและสนบั สนุน
เครือข่ายการนเิ ทศทุกระดบั โดยคำนึงถึงสภาพปญั หาและความตอ้ งการของแต่ละเครือขา่ ย

3) มกี ารประชุม/สัมมนาเครอื ขา่ ยการนเิ ทศทุกระดับ เพอื่ สร้างความเขา้ ใจและกำหนด
แนวทางการพฒั นา

4) ดำเนินการส่งเสรมิ และสนบั สนุนการพฒั นาเครือข่ายการนิเทศในรูปแบบต่าง ๆ เช่น

12

การสร้างครูแกนนำ ครูต้นแบบ จัดทำคู่มือการปฏิบัติงานนิเทศระดับเขตพื้นที่การศึกษาและระดับ
โรงเรียน เป็นตน้

5) ประเมินผลและสรุปผลการพฒั นาเครอื ข่ายการนิเทศ
ประเดน็ ท่ี 3 การประเมนิ และรายงานผล
การประเมินผลและรายงานผล

๑. มีการสรุป / รายงานผลการดำเนินงาน และนำผลไปใชป้ รับปรงุ พัฒนา
โรงเรยี นดำเนนิ การโดยให้แต่ละกลุ่มสาระการเรยี นรู้เมอื่ ดำเนนิ การนิเทศการสอนเสร็จสิ้นในแต่
ละภาคเรียน มีการสรุปและรายงานผลการดำเนินงานของแต่ละกลุ่มสาระการเรียนรู้ เสนอมายัง
กล่มุ บริหารวชิ าการ และเสนอให้ผู้อำนวยการรับทราบผลการดำเนนิ งาน และรายงานความก้าวหน้าของ
การนิเทศในแต่ละกลุม่ สาระการเรียนร้ตู ่อไป โดยดำเนนิ การตามข้นั ตอน ดังน้ี

๑) ประเมินความกา้ วหนา้ ของการดำเนินงาน เช่น การดำเนนิ งานของผู้รบั การนิเทศ

เพอ่ื นำผลไปปรบั ปรุงแนวทางการดำเนนิ งาน สามารถนำผลการดำเนินไปใชใ้ นพัฒนาการจัดการเรยี นสอน

ตอ่ ไป โดยครสู ามารถพัฒนาความสามารถในการสอนให้สงู ขนึ้
๒) ประเมินผลการนเิ ทศเมื่อเสร็จสิน้ การปฏบิ ัตกิ ารนเิ ทศตามระยะเวลาท่ีตอ้ งการในการ

นำผลไปใช้ในการพัฒนา หรือในแต่ละปีการศึกษา เป็นการช่วยเหลือครูในการหาสาเหตุและแก้ปัญหา

อุปสรรคในการเรียนของนักเรียนได้ เป็นการสร้างขวัญกำลังใจของครูต่อการทำงานเพื่อให้ประสบ
ความสำเร็จตามเป้าหมาย

๓) รายงานผลการนเิ ทศต่อรองผูอ้ ำนวยการกลุ่มบริหารวิชาการ และผอู้ ำนวยการ

๔) นำผลการนิเทศที่เป็นปัญหา อุปสรรคและข้อเสนอแนะไปพัฒนาการนิเทศในคร้ัง

ต่อไปเพอ่ื ใหก้ ารจัดการเรยี นการสอนมปี ระสิทธิภาพและเกดิ ผลสงู สดุ ต่อผู้เรียน

2. มกี ารคัดเลอื กผลงานทเี่ ปน็ แบบอย่างในการปฏบิ ัติทีด่ ี (Best Practice) ของครู
โรงเรียนส่งเสริมและสนับสนุนให้ครูจัดการเรียนรู้ที่เน้นกระบวนการจัดการเรียนรู้แบบ Active
Learning โดยเน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ ครูทำหน้าที่เป็นเพียงที่ปรึกษาให้คำแนะนำ ผู้เรียนฝึกคิดแกป้ ัญหา
ไดอ้ ย่างมีข้ันตอน กระตนุ้ ให้ผเู้ รียนนำความรู้เดิมท่ีมีอยู่มาใช้และผนวกกับความรู้ใหม่ท่ีครูถ่ายทอดให้จน
เกิดองคค์ วามรู้เพิ่มขึ้น และพัฒนาศักยภาพของตนเองได้อย่างมีประสทิ ธิภาพและเตม็ ตามศักยภาพ โดย
ผลงานของครูในการจัดเรียนรู้ขึ้นอยู่กับบริบทของแต่ละรายวิชา และเมื่อสิ้นสุดปีการศึกษา ครูทุกคนมี
การนำเสนอผลงานทเ่ี ป็นแบบอยา่ งในการปฏบิ ตั ทิ ี่ดี (Best Practice) ทใ่ี ช้ในการจดั การเรยี นการสอนโดย
ส่งผลตอ่ การเรยี นรขู้ องผ้เู รยี นใหผ้ อู้ ำนวยการทราบ และเกบ็ ไวเ้ ปน็ ข้อมลู สารสนเทศ
3. มกี ารนำผลการนเิ ทศไปใช้ในการวางแผนพัฒนาคุณภาพการศกึ ษาและเผยแพร่
โรงเรียนดำเนินการโดยนำผลการนิเทศการเรียนการสอน ไปใช้ในการวางแผนพัฒนาคุณภาพ
การศึกษาครั้งต่อไป โดยสนับสนนุ ละจัดให้ครูสามารถนำผลการนิเทศมาพูดคุยแลกเปล่ียนเรียนรู้ในเรื่อง
การจดั กิจกรรมการเรยี นการสอนทง้ั ภายในกลมุ่ สาระการเรยี นรู้ หรอื ตา่ งกล่มุ สาระเรยี นรู้ ในรปู แบบของ

13

(PLC) เพ่ือสรา้ งและพัฒนางานของครู พัฒนานกั เรียน พฒั นานวัตกรรม สื่อ เทคโนโลยีทางการสอน และ
พฒั นากระบวนการเรยี นรู้ทส่ี อดคล้องและเหมาะสมกับความเปลี่ยนแปลงของสงั คมโลกทง้ั ในปัจจุบันและ
อนาคตตอ่ ไป
ประเดน็ ที่ 4 ผลสำเร็จที่ได้ และการนำผลไปใช้
๔.๑ ด้านการบรหิ ารจัดการ

1. มกี ารพฒั นาครูและบุคลากรใหม้ ีความเชี่ยวชาญทางอาชพี
โรงเรยี นดำเนินการโดยอาศยั บุคลากรเป็นตัวหลักในการขับเคลอ่ื น ในขณะเดียวกันการนเิ ทศของ
โรงเรียนเปา้ หมายเพอื่ พัฒนาบุคลากรทกุ ฝา่ ย โดยดำเนนิ การดังน้ี

1) สนับสนุน ส่งเสรมิ ใหค้ รเู ข้ารับการอบรมและพัฒนาวิชาชีพ
2) เปิดโอกาสให้ครูได้นำเสนอความรู้ท่ีได้รบั จากการอบรมและศึกษาดูงานมาขยายผล
เพือ่ นครู
3) สนบั สนนุ งบประมาณ สง่ิ อำนวยความสะดวกในทุกกจิ กรรมการนเิ ทศ
4) กำหนดมาตรฐานการปฏิบัตงิ านของครู
2. มกี ารจัดสภาพแวดล้อมท่ีเออ้ื ต่อการจดั การเรยี นรู้
โรงเรียนดำเนินการในการจัดสภาพแวดล้อมทีเ่ อื้อต่อการจัดการเรยี นรู้ เพื่ออำนวยความสะดวก
ต่อการจัดการเรยี นการสอน โดยดำเนินการดังน้ี
1) พฒั นาหอ้ งเรียน อาคารสถานท่ใี ห้มคี วามสะดวก สะอาด มั่นคง ปลอดภยั โดยมีการ
จัดซื้อซ่อมบำรุง วัสดุ อุปกรณ์ ภายในห้องเรียน อาคารเรียน สนามกีฬาและศูนย์กีฬา เพื่อให้ใช้งานใน
การจดั การเรยี นรู้อยเู่ สมอ
2) ดูแลซ่อมบำรุง อุปกรณ์ อิเลก็ ทรอนิกส์ เพอ่ื ยดื อายุการใช้งาน
3) จดั ปรับปรงุ ดแู ลรักษา สภาพแวดลอ้ มภายในโรงเรยี นเออ้ื ตอ่ การเรียนร้แู ละพัฒนา
แหล่งเรียนรู้ ในโรงเรยี น
3. มกี ารจัดระบบเทคโนโลยสี ารสนเทศเพ่ือสนบั สนนุ การบริหารจัดการและการจัดการเรียนรู้
โรงเรียนดำเนินการโดยการจัดระบบเทคโนโลยสี ารสนเทศเพ่ือสนับสนุนการบริหารจัดการและ
การจัดการเรยี นรู้ เป็นสิ่งสำคัญในการบรหิ ารจัดการศึกษาในยคุ ปัจจบุ ัน โรงเรียนจัดระบบที่สะดวกและ
รวดเร็ว มีความน่าเชื่อถือ การนำข้อมูลไปใช้ในการปรับปรุงและพัฒนาการจัดการเรียนรู้ให้เกิด
ประสิทธภิ าพ โดยดำเนินการดังน้ี
1) มีการประชมุ สรา้ งความตระหนกั ใหบ้ คุ คลกรทกุ คนในโรงเรยี นเหน็ ความสำคัญของ
การนเิ ทศ และการจดั ทำระบบขอ้ มูลสารสนเทศ
2) วางแผนจัดระบบงานในโรงเรียนให้เปน็ หมวดหมู่
3) มอบหมายผูร้ ับผิดชอบงานตล่ ะฝ่ายอย่างชัดเจน
4) ผ้รู บั ผดิ ชอบดำเนนิ การจัดทำระบบขอ้ มูลเทคโนโลยสี ารสนเทศตามทีไ่ ดร้ บั มอบหมาย
อย่างเป็นระบบ

14

๔.๒ ดา้ นกระบวนการจัดการเรียนการสอน
๑. มีการจดั ทำขอ้ มูลผเู้ รยี นรายบุคคล
ครูผู้สอนจัดทำข้อมูลผู้เรียนรายบุคคลเพื่อส่งเสริมการเรียนรู้ของผู้เรียนได้อย่างถูกต้องและ

สอดคล้องตามความต้องการของผู้เรียน โดยวิเคราะห์ตามประเด็นการวิเคราะห์ผู้เรียนรายบุคคล ซ่ึง
แบ่งเปน็ 3 ตอนดงั น้ี

1) ข้อมลู พ้ืนฐาน
2) ด้านความรู้ ความสามารถ และประสบการณ์
3) ความต้องการของผู้เรียนต่อการจัดการเรยี นรู้
โดยนำผลจากการวิเคราะห์ผู้เรียนรายบุคคลของนักเรยี นในการพฒั นาการเรียนรู้ของผู้เรียนตาม
ความตอ้ งการให้เกิดประสิทธผิ ล
๒. มีการออกแบบและจัดการเรียนรู้เชิงรุก (Active Learning) ผ่านกระบวนการคิด ปฏิบัติจริง
และประยุกตใ์ ช้ในชีวิตได้
โรงเรียนมีการส่งเสริมให้ครูผู้สอนมีการจัดทำหน่วยและแผนการจัดการเรียนรู้ ออกแบบการ
จัดการเรียนรู้เชิงรุก (Active Learning) ตลอดจนการนำไปใช้ในการจัดการเรียนรู้ที่เน้นให้ผู้เรียน ให้
ผู้เรียนมีส่วนร่วมในช้นั เรียน เรียนรู้จากแหล่งเรียนรู้ท่ีหลากหลาย มงุ่ ใหผ้ ู้เรยี นลงมอื ปฏิบัติ โดยการสร้าง
องค์ความรู้ความเข้าใจได้ด้วยตนเอง ใช้สติปัญญาในการคิด วิเคราะห์ และสามารถสร้างสรรค์ผลงาน
นวตั กรรมท่ีสอดคลอ้ งกบั สมรรถนะสำคัญของผเู้ รียนในศตวรรษท่ี 21 ได้
๓. มกี ารใชส้ ่ือเทคโนโลยสี ารสนเทศ และแหลง่ เรยี นรทู้ ี่เออ้ื ต่อการเรียนรู้
๔. มกี ารตรวจสอบ และประเมนิ ผู้เรยี นอย่างเป็นระบบ และนำผลมาพฒั นาผู้เรียน
โรงเรยี นดำเนินการตรวจสอบ และประเมนิ ผลผู้เรยี น โดยมอบหมายให้ครูนำข้อมูลและใช้ข้อมูล
จากการวิเคราะห์ผู้เรียนรายบุคคลของนักเรียนในการพัฒนาการเรียนรู้ของผู้เรียนตามความต้องการ
ตลอดจนการนำผลสมั ฤทธ์ทิ างการเรียนของผู้เรยี นมาวิเคราะหเ์ พื่อหาจุดพัฒนาผู้เรียนให้เกิดประสิทธิผล
ทางการเรยี นตอ่ ไป
๔.๓ ด้านผู้เรียน
๑. มกี ารพัฒนาผูเ้ รยี นให้มคี วามสามารถในการอ่าน และการเขียน
ครูใช้ผลจาการการคัดกรองและข้อมูลด้านการอ่านและการเขียนของนักเรียนเป็นรายบุคคล
โดยใช้วิธีการ/นวัตกรรมในการแก้ปัญหาและพัฒนานักเรยี นให้มีความสามารถในการอ่านและการเขียน
ตามระดบั ช้ันสามารถดำเนนิ ให้นักเรียนท่อี ่านไม่ได้ เขียนไมไ่ ด้ลดลง จนสามารถอา่ นออกเขียนได้
๒. มีการพัฒนาผู้เรียนให้สรา้ งองค์ความร้ดู ้วยตนเองและประยกุ ตใ์ ชใ้ นชีวติ ได้
ครูสามารถพฒั นาผ้เู รยี นใหร้ จู้ ักและเขา้ ใจตนเองไดด้ ีขน้ึ โดยทำใหท้ ราบขอ้ ดแี ละข้อบกพร่องของ
ตนเอง ผ้เู รยี นมีการคิดย่างเปน็ ระบบมากขนึ้ สามารถจัดระบบความคิดเพ่อื แก้ปัญหาในชีวิตประจำวันได้
ผู้เรียนรู้จักวิธีการแสวงหาความรู้ด้วยตนเองมากขึ้น เมื่อมีการเรียนรู้ในรูปแบบออนไลน์เข้ามาผู้เรียน
สามารถเรียนรไู้ ดท้ ุกที่ ทกุ เวลา ผู้เรียนกลา้ แสดงออกอย่างมเี หตผุ ลมากขึ้น มีความคดิ รเิ ร่ิมสร้างสรรค์จาก

15

การเรียนรู้และการลองผิดลองถูก จนสามารถแสวงหาความรู้ตามแนวทางที่เหมาะสมกับตนเอง แกป้ ญั หา
อย่างมเี หตุผลอนั จะนำไปสกู่ ารแกป้ ัญหาในชวี ิตจรงิ ได้

๓. มกี ารพฒั นาผเู้ รยี นใหใ้ ช้ส่อื เทคโนโลยีสารสนเทศและการส่อื สารได้
ครมู ีการพฒั นาสือ่ และเทคโนโลยีสารสนเทศของครูผู้สอนเอง เพอ่ื พัฒนาผ้เู รียนให้สามารถใช้ส่ือ
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารในการจัดการเรยี นรูไ้ ด้ และเปดิ โอกาสให้ผู้เรยี นสามารถเรียนรู้ด้วย
ตนเอง ตามศักยภาพและความสารถของผู้เรียนตามสถานการณ์จริง หากผู้เรียนมีปฏิสัมพันธ์กับส่ือ
เทคโนโลยจี ะทำใหเ้ กิดการเรยี นรดู้ ว้ ยดียิ่งข้ึน
๔. มีการพฒั นาผเู้ รียนให้มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรยี นสงู ขึน้
ครูนำขอ้ มลู และใช้ข้อมูลจากการวิเคราะห์ผู้เรียนรายบุคคลของนักเรียนในการพัฒนาการเรียนรู้
ของผเู้ รยี นตามความต้องการและความสามารถของนักเรยี นจนสามารถผู้เรียนมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนท่ี
สงู ขนึ้ ตลอดจนการนำผลสมั ฤทธทิ์ างการเรียนของผ้เู รยี นไปวิเคราะห์เพ่ือหาจุดพฒั นาให้เกิดประสิทธิผล
ทางการเรียนต่อไป
๕. มีการพัฒนาผู้เรียนให้มีทักษะและคณุ ลกั ษณะที่พงึ ประสงคต์ ามหลกั สตู รกำหนด
ครูสามารถพัฒนาผู้เรียนตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน มุ่งเน้นพัฒนาผู้เรียนให้มี
คณุ ภาพตามมาตรฐานทก่ี ำหนด จะเห็นได้วา่ มสรรถนะหนงึ่ ทสี่ ำคัญคอื ความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต
ซึ่งสอดคล้องกับการจัดการศึกษาในศตวรรษที่ 21 ได้ 3 ทักษะ คือ ทักษะการเรียนรู้ และนวัตกรรม
ทักษะด้านสารสนเทศสื่อและเทคโนโลยี และทักษะชีวิตและอาชีพ ผู้เรียนจะต้องมีความสามารถในการ
ปรับตัวต่อสภาพแวดล้อมทางสังคมที่เปลี่ยนแปลงและท้าทาย ผู้เรียนเห็นคุณค่าในตนเอง คิดวิเคราะห์
และตัดสินใจแก้ปัญหาอย่างสรา้ งสรรค์ เพื่อความสำเร็จท้งั ด้านการทำงานและการดำเนินชีวิต ซึ่งจะช่วย
ให้ผู้เรียนมีทักษะตามวัยในแต่ละช่วงชั้น นอกจากนี้แล้วผู้เรียนต้องมีคุณลักษณะอันพึงประสงค์ ท่ีมุ่ง
พัฒนาผู้เรยี น เพ่อื ใหส้ ามารถอยรู่ ว่ มกับผู้อ่ืนในสงั คมไดอ้ ย่างมีความสขุ ในฐานะเป็นพลเมืองไทยและพลโลก
ทง้ั 8 คุณลักษะท่พี งึ ประสงค์ คอื

1) รกั ชาติ ศาสน์ กษตั ริย์
2) ซ่ือสัตย์สุจริต
3) มวี ินยั
4) ใฝเ่ รียนรู้
5) อยู่อย่างพอเพียง
6) มุง่ ม่นั ในการทำงาน
7) รกั ความเป็นไทย
8) มีจติ สาธารณะ

16

ประเด็นท่ี 5 นวัตกรรมการนเิ ทศภายในของโรงเรียน
โมเดลการนเิ ทศภายในสถานศกึ ษา

รปู แบบ RBGOALS Model ภายใต้กระบวนการ PDCA
การออกแบบนวตั กรรม

ขนั้ ท่ี 1 R (Research) : การวิเคราะห์หาความต้องการ ศกึ ษาสภาพปจั จบุ ัน ปญั หาตามบรบิ ทของ
โรงเรียน

ขน้ั ท่ี 2 B (Brain Storm) : การระดมความคดิ เพอ่ื วางแผนการดำเนินการนิเทศภายใน
ขนั้ ท่ี 3 G (Good Practice) : การปฏิบัตกิ ารนิเทศด้วยกระบวนการทำงานท่เี ปน็ เลศิ

17

ขน้ั ท่ี 4 O (Objective) : ดำเนนิ การบนเปา้ หมายและวตั ถปุ ระสงค์ของกจิ กรรมการนิเทศที่
กำหนดไว้

ขั้นท่ี 5 A (Achievement) : การตรวจสอบติดตามทมี่ งุ่ ม่ันให้เกิดผลสัมฤทธทิ์ ี่มีคณุ ภาพ
ขน้ั ท่ี 6 L (Learning Leadership) : สง่ เสริมให้เกิดการเปน็ ผู้นำทางการเรียนรู้
ขั้นที่ 7 S (Stimulate) : สง่ เสริม สรา้ งขวัญกำลังให้เกดิ การพฒั นาอยา่ งเต็มประสิทธิภาพ

วธิ ีการดำเนินการ
ข้นั ที่ 1 การวเิ คราะหบ์ ริบท ศกึ ษาสภาพปจั จุบนั ปัญหา และความตอ้ งการ
1.1 วเิ คราะหบ์ ริบท วเิ คราะห์ข้อมลู จากตัวบ่งชี้คุณภาพต่าง ๆ
1.2 สำรวจความต้องการ
1.3 ลำดับความสำคญั ของปัญหาและความต้องการ
1.4 วิเคราะหห์ าสาเหตุของปัญหา จัดลำดับความสำคัญของปญั หา กำหนดทางเลือกใน

การแก้ปัญหา ดำเนินการตามความตอ้ งการ
ขั้นท่ี 2 การวางแผน
2.1 ประชมุ วางแผนร่วมกับคณะครู
2.2 การจัดทำโครงการนเิ ทศภายในสถานศึกษา
ขั้นที่ 3 การปฏิบตั ิการนิเทศ
ขั้นที่ 4 การประเมนิ ผล ปรบั ปรงุ พัฒนา
4.1 ประเมินการดำเนนิ งานทุกขั้นตอน/ปรบั ปรุงพฒั นา
4.2 ประเมนิ กระบวนการ/ปรับปรุงพัฒนา
4.3 ประเมนิ ความพงึ พอใจของผู้มสี ่วนเกี่ยวขอ้ ง
ข้นั ที่ 5 สรุปรายงานผลการดำเนินการ/นเิ ทศ

ผลการสร้างหรอื พฒั นานวัตกรรมการนเิ ทศภายใน
1. ผลที่เกิดต่อผู้บรหิ าร
1.1 ผู้บริหารสง่ เสริมใหค้ รูและบุคลากรทางการศึกษามีความรู้ความเข้าใจเกีย่ วกับ

หลักการจดั การเรียนร้ใู หส้ อดคลอ้ งการสถานการณป์ ัจจุบันและทนั สมยั
1.2 ผูบ้ รหิ ารสง่ เสริมใหค้ รแู ละบุคลากรทางการศึกษามสี ว่ นรว่ มในการจดั การเรียนรู้

ของทกุ กลุม่ สาระฯผ่านกระบวนการชมุ ชนวชิ าชีพ (PLC)
1.3 ผ้บู รหิ ารนเิ ทศ กำกับ ตดิ ตาม ประเมิน และรายงานผลได้อย่างมีประสทิ ธิภาพ

2. ผลทีเ่ กิดต่อครู
2.1 ครมู คี วามรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับหลกั การจัดการเรยี นรู้ทสี่ อดคลอ้ งการสถานการณป์ ัจจบุ ัน

และทนั สมัย

18

2.2 ครูมเี ทคนคิ วธิ ีการจดั การเรยี นรทู้ หี่ ลากหลาย
2.3 ครมู ีสว่ นร่วมในการแลกเปลีย่ นเรยี นรู้ซึง่ กันและกันภายในกล่มุ สาระการเรยี นร้ผู า่ น
กระบวนการชมุ ชนวชิ าชพี (PLC)
3. ผลเกิดตอ่ นกั เรยี น
3.1 นกั เรียนมผี ลสมั ฤทธ์ิทางการเรยี นที่ดีขึน้
3.2 นักเรียนมีความพงึ พอใจตอ่ การเรยี นรู้

19

ตอนที่ 3 ขอ้ มลู ผปู้ ระสานงาน

นายอนวัช ไขข่ าว

วิทยฐานะ - โทรศพั ท์ 061-986-5654
E-mail : [email protected]
วุฒิการศกึ ษาสูงสุด ครุศาสตรมหาบัณฑิต (ค.ม.) นิเทศการศึกษาและ

พัฒนาหลักสตู ร
รบั ผิดชอบ - ผูช้ ่วยรองผู้อำนวยการกลมุ่ บริหารวิชาการ

- หัวหนา้ งานหลกั สตู รและบริหารอตั รากำลัง
- หวั หนา้ งานนเิ ทศการศกึ ษา

20

การประชุมเตรยี มการนเิ ทศ เพ่อื สรา้ งความรู้ความเขา้ ใจรว่ มกนั

การสรา้ งคณะนเิ ทศ ทีมงานและเครอื ขา่ ย พร้อมทั้งแตง่ ต้งั คำส่ังโรงเรยี นวัดราชบพธิ

การกำหนดวิธกี ารนิเทศและกจิ กรรมการนิเทศที่เหมาะสมกบั บรบิ ท
ของสถานศึกษา สภาพปจั จุบันและความตอ้ งการ

จดั ทำแผนปฏบิ ัตกิ ารประจำปีงบประมาณ โครงการการนเิ ทศภายใน
และจดั ทำแผนนเิ ทศภายในโรงเรยี น
แผนปฏบิ ตั กิ ารประจำปงี บประมาณ 2564









แผนนิเทศภายในโรงเรียน ภาคเรยี นท่ี 1 ประจำปกี ารศึกษา 2564

กิจกรรม วิธดี ำเนินงาน ผู้ปฏบิ ัติ ช่วงเวลา สือ่ เครื่องมือ
ม.ิ ย. ๖4
๑. สรา้ งความรู้ ๑. สถานศกึ ษาทบทวน ๑. ผบู้ รหิ าร ๑. แผนพัฒนาคุณ
ความเข้าใจแก่ ภาพการศึกษา
บคุ ลากรใน วสิ ัยทศั น์ ๒. คณะกรรมการ ๒. แผนปฏิบตั ิการ
โรงเรียน ประจำปี
๒. สถานศึกษากำหนด สถานศกึ ษา ๓. Google Meet
๔. Application
เปา้ หมาย กลยุทธ์ ๓. ครู Line

พนั ธกิจ ในการนเิ ทศ ๔. บุคลากรท่ี

ภายในโรงเรยี น โดย เก่ียวขอ้ ง

การมีสว่ นร่วม

๓. จัดทำสารสนเทศ

พื้นฐาน (Data Base)

สำหรบั การพฒั นา

คุณภาพการศึกษาของ

โรงเรียน เช่น ขอ้ มลู

ครผู ูส้ อน/บุคลากรใน

โรงเรียน ข้อมลู การ

สอบระดับชาติ ขอ้ มลู

ผลการเรยี นของ

นักเรยี น ข้อมูล

นักเรยี นรายบคุ คลรอบ

ด้านของแตล่ ะช้นั เรียน

(ด้านสตปิ ัญญา

รา่ งกาย อารมณ์

สังคม)

๔. จัดประชมุ /อบรม

สรา้ งการรับร้แู ละ

สง่ เสริมใหค้ รมู ีความรู้

ความเขา้ ใจในการ

นิเทศภายในโรงเรยี น

และเรอ่ื งทเ่ี กีย่ วข้องที่

ตอ้ งการนิเทศภายใน

กิจกรรม วิธดี ำเนนิ งาน ผปู้ ฏิบัติ ช่วงเวลา ส่อื เครือ่ งมอื
ม.ิ ย. - ก.ค. ๑. แผนการนิเทศ
๒. จัดทำแผน ๑. จัดทำแผนการ ๑. ผู้บรหิ าร
๖4 ๒. คู่มือการนิเทศ
และคู่มอื นเิ ทศภายใน ๒. ครแู ละบุคลากร ๓. เครือ่ งมือการ
นิเทศ
นิเทศภายใน โรงเรยี น ทางการศกึ ษา
ม.ิ ย. - ก.ย. ๑. คู่มือ
ตามบรบิ ทของ ๒. แต่งตงั้ ๓. ผู้ทไี่ ด้รับ ๖4 ดำเนนิ การ
ขบั เคล่อื นการ
สถานศกึ ษา คณะกรรมการจัดทำ มอบหมาย/ผทู้ ่ีได้รับ นเิ ทศภายใน
2. เครือ่ งมอื การ
คมู่ ือและเครือ่ งมอื การ แต่งตง้ั นิเทศ

นเิ ทศภายในโดยการมี

ส่วนรว่ ม มี

องคป์ ระกอบ เชน่

๑) วัตถุประสงค์

๒) ขอ้ มูลพ้นื ฐาน

๓) กระบวนการ

นิเทศ

๔) ประเด็นการนิเทศ

๕) เทคนคิ /วธิ กี าร

นเิ ทศ

๖) กิจกรรมการนเิ ทศ

๗) บทบาทของผู้

นเิ ทศ

๘) คณะนิเทศ

๙) ปฏิทนิ การนิเทศ

๑๐) เครือ่ งมือนิเทศ

๓. จดั หา จดั ทำ ส่ือ/

อปุ กรณส์ ำหรบั การ

นิเทศภายในโรงเรียน

๓. นิเทศภายใน ๑. กำหนดผูร้ บั ผิดชอบ ๑. ผูบ้ ริหาร

หอ้ งเรียน และคณะนิเทศ ๒. ครผู ู้สอน

๑๐๐% ๒. ประชมุ สรา้ งความรู้

ความเขา้ ใจ

กับทมี นิเทศ

๓. แจง้ ผรู้ บั การนเิ ทศ

กจิ กรรม วธิ ีดำเนินงาน ผปู้ ฏิบตั ิ ชว่ งเวลา สื่อ เคร่ืองมือ
๓. นเิ ทศภายใน ๑. ผู้บรหิ าร มิ.ย. - ก.ย. ๑. คมู่ อื
หอ้ งเรยี น ๑. กำหนดผ้รู บั ผิดชอบ สถานศกึ ษา
๑๐๐% (ต่อ) และคณะนเิ ทศ 2. หวั หนา้ กลุ่มสาระ ๖4 ดำเนินการ
๒. ประชมุ สร้างความรู้ การเรยี นรู้ ขบั เคล่อื นการ
๔. สรุปผลและ ความเขา้ ใจ ๒. ครผู สู้ อน นิเทศภายใน
รายงานผลการ กับทมี นเิ ทศ 2. เครือ่ งมือการ
ดำเนินงาน ๓. แจง้ ผู้รบั การนเิ ทศ ๑. ผบู้ รหิ าร นเิ ทศ
๔. ดำเนนิ การนเิ ทศ สถานศกึ ษา 3. แบบประเมิน
ตามแผนท่ีกำหนด โดย 2. หวั หน้ากลุ่มสาระ แผนการจดั การ
ใช้กระบวนการนิเทศที่ การเรียนรู้ เรยี นรู้
โรงเรียนพฒั นาข้นึ ใช้ 3. ครผู ้สู อน 4. หนว่ ย/แผน
รูปแบบการนเิ ทศแบบ จัดการเรียนรู้
5. ส่ือ นวตั กรรม
คลนิ ิก เทคนิคการ
นิเทศ 3 เทคนิค และ ต.ค. 64 ๑. แบบบันทึก
กจิ กรรมการนเิ ทศท่ี การนเิ ทศ
เหมาะสมกับบริบท
เช่น การประชมุ

สมั มนา การ
แลกเปลย่ี นเรยี นรู้ และ
การประชมุ กลุ่มย่อย
เป็นต้น
๕. กำกับติดตาม
ประเมินผลและนำผลฯ
การนิเทศไปปรับปรงุ
พฒั นา
๖. สร้างเครือขา่ ยความ
ร่วมมอื ในการนเิ ทศ
ภายในกลมุ่ สาระฯ
และตา่ งกลุ่มสาระฯ

๑. สรุปผลและรายงาน
ผลการดำเนนิ งาน

กิจกรรม วธิ ีดำเนินงาน ผ้ปู ฏิบตั ิ ช่วงเวลา สอ่ื เครอ่ื งมือ

๔. สรุปผลและ ๒. วิเคราะห์ ๑. ผู้บริหาร ต.ค. 64 ๒. แบบรายงาน
ผลการดำเนนิ งาน
รายงานผลการ สังเคราะหผ์ ลการ สถานศกึ ษา

ดำเนินงาน (ต่อ) ดำเนนิ งาน 2. หวั หน้ากลุ่มสาระ

๓. คัดเลอื กผลงานที่ การเรียนรู้

เปน็ แบบอยา่ งในการ 3. ครูผสู้ อน

ปฏบิ ัติทด่ี ี (Beast

Practice) ของครูตาม

บรบิ ทรายวิชาของ

โรงเรยี น

๔. รายงานผลและ

เผยแพรก่ ารดำเนินงาน

นิเทศตอ่ ผู้เก่ียวข้อง

๕. นำผลการนิเทศไป

ใช้ในการวางแผน

พัฒนาคณุ ภาพ

การศึกษา

เคร่อื งมือการนเิ ทศท่โี รงเรียนพฒั นาข้นึ ใหท้ ำการนเิ ทศบรรลวุ ตั ถุประสงค์

ค่มู ือการนเิ ทศภายในสถานศกึ ษา ของโรงเรยี นวัดราชบพิธ

การพัฒนาคุณภาพภายในโรงเรียนนั้น ประเด็นสำคัญอยู่ที่การพัฒนาให้ตรงกับสภาพ
ความต้องการ และการแก้ปัญหาที่เป็นปัญหาที่แท้จริงของโรงเรียนนั้น ๆ ดังนั้น การกำหนดจุดที่ต้อง
พัฒนา หรือการแก้ปัญหาตอ้ งเกิดจากความร่วมมอื ของบคุ ลากรในโรงเรียนซึ่งเปน็ ผู้ที่อยู่กบั ปัญหา หรือ
มองภาพการพัฒนาที่ต้องการให้เกิดขึ้นได้อย่างแท้จริง การกำหนดกระบวนการแก้ปัญหา
กระบวนการพัฒนาจึงต้องเริ่มตั้งแต่การวิเคราะห์สภาพความต้องการ สภาพปัญหา กำหนดเป้าหมาย
การพัฒนา กำหนดวิธีการพัฒนา และร่วมกันสรุปถึงผลที่เกิด เพื่อนำไปวางแผนพัฒนางานต่อไป
การทำงานจึงตอ้ งอาศยั ผ้นู ำหรอื ทมี ผูน้ ำในโรงเรียนท่ีเป็นท่ียอมรับของบุคลากรในโรงเรียน ให้เป็นผู้นำใน
การพัฒนางาน และต้องการมีการดำเนินงานอย่างเป็นระบบและต่อเนื่อง จึงจะเห็นผลสำเร็จตาม
เปา้ หมาย

โรงเรียนวัดราชบพิธ ตระหนักถึงความสำคัญของสภาพการทำงานข้างต้น และให้
ความสำคัญกับกระบวนการทำงานเพื่อพัฒนาคุณภาพงานวิชาการซึ่งถือเป็นหัวใจหลักสำคั ญของ การ
ดำเนินงานในโรงเรยี น และเห็นวา่ การทำงานโดยทมี บคุ ลากรในโรงเรียนจะสามารถพัฒนาและแก้ปญั หา
การทำงานได้ตรงมากท่ีสุด ดังนัน้ จงึ ได้กำหนดแนวทางการพัฒนารูปแบบการนิเทศภายใน : ด้วยวิธีการ
นิเทศแบบคลินิก เพื่อพัฒนาระบบการนิเทศภายในโรงเรียนให้มีความเข้มแข็ง และดำเนินการได้โดยทีม
ผ้นู ิเทศภายใน รูปแบบการนเิ ทศภายในนีจ้ ะเน้นทีก่ ารพัฒนาตนเองของครูผู้สอน ช่วยเหลือครูผสู้ อน และ
การขยายเครอื ข่ายการทำงานทั้งในและนอกโรงเรียน

หวังเป็นอยา่ งยิง่ วา่ คู่มือการใช้รูปแบบการนิเทศภายใน : ด้วยวิธีการนิเทศแบบคลนิ ิกน้ี
จะช่วยให้การดำเนินงานพัฒนาระบบการนิเทศภายในของโรงเรียนให้มีความเข้มแข็ง และบรรลุตาม
เป้าหมายทีก่ ำหนดไว้

งานนิเทศการศกึ ษา

คณะผู้จัดทำ

เกรน่ิ นำ : ศาสตร์ด้านการนเิ ทศการศึกษา

เมื่อกล่าวถึง “การนิเทศ” จะนึกถึงคำหลายคำที่เกี่ยวข้องสัมพันธ์กัน เช่น การนิเทศการศึกษา
การนิเทศการสอน การนิเทศภายใน การบริหารงานวิชาการ เป็นต้น คำเหล่าน้มี ีความหมายที่คล้ายคลึง
กัน แต่โดยกระบวนการทำงานจะแตกต่างกันออกไป ดังนั้น เพื่อความเข้าใจที่ตรงกนั ขอให้ความหมาย
ของคำว่า “นเิ ทศการศกึ ษา” “ นิเทศการสอน” “ นเิ ทศภายใน” ดังน้ี
ความหมายของการนเิ ทศ

“การนิเทศการศึกษา” (General Supervision) หมายถึง นิเทศทั่ว ๆ ไปที่ครอบคลุมภาระ
งานดา้ นการศึกษาในทุกเรื่อง ทุกระดบั อาทิ การพัฒนาหลักสตู ร การจดั ระบบการเรียนการสอน การจัด
ครูเข้าสอน การจัดสื่อและสิ่งอำนวยความสะดวกต่าง ๆ การปฐมนิเทศครูใหม่ การพัฒนาช่วยเหลือ
นักเรียน การวดั ผลประเมินผล เปน็ ตน้ การช่วยเหลอื ชี้แนะ พัฒนา หรอื ความพยายามทกุ อย่างท่ีจะช่วย
ให้ครู ผู้บริหาร ผู้เกี่ยวข้อง สามารถพัฒนางานด้านการศึกษาได้อย่างมีประสิทธิภาพ โดยการร่วมมอื กนั
ทำงานมากกว่าการใชอ้ ำนาจสัง่ การ

“ นิเทศการสอน” (Instructional supervision) หมายถึง การช่วยเหลือ แนะนำ ให้ครู
สามารถปรับปรุงการสอน ปรับปรงุ วิธีการพฒั นาผเู้ รียนใหบ้ รรลุตามเป้าหมายของการศกึ ษาได้ ซ่ึงในการ
นิเทศการสอนน้เี ปน็ การทำงานร่วมกับครูโดยตรง หรอื อีกนัยหนงึ่ กค็ ือ “กระบวนการและความคิดรวบ
ยอดที่จะปรับปรุงการสอนของครู เพื่อผลประโยชน์ของนักเรียนในอันที่จะเพิ่มประสิทธิภาพและ
ประสิทธผิ ลในการเรยี นรู้ใหส้ งู ขึน้ ”

“การนิเทศภายใน” (Line supervision) กระบวนการที่อาศัยความร่วมมือของบุคลากรใน
โรงเรียนภายใต้การนำของผู้บริหารโรงเรยี น ในอันที่จะพฒั นาคุณภาพการเรียนการสอน จนบุคลากรทุก
ฝ่ายสามารถนำตนเองในการปฏิบัติงานได้ และก่อให้เกิดผลขั้นสุดท้ายคือการศึกษาของเด็กกา้ วหน้าไป
อย่างมีประสทิ ธภิ าพ
หลกั การนิเทศ

การนิเทศในทุกระดับมีหลักการ (Principles) สำคญั ๆ ดังนี้
❖ มีความถูกต้องตามหลักวิชา (Theoretically) เป็นไปตามค่านิยม วัตถุประสงค์ นโยบายที่
เก่ียวข้อง เป็นไปตามความจริงและกฎเกณฑ์ของเรื่องน้ัน ๆ มีวิวัฒนาการในด้านเครื่องมอื วิธีการ และ
มีจดุ ประสงค์ท่แี น่นอน
❖ การนิเทศควรเปน็ วิทยาศาสตร์ (Scientific) มีลำดับข้ันตอนภายในขอบเขตของงาน ข้อมูลท่ี
ได้ต้องมีความถูกตอ้ ง เชอ่ื ถอื ได้
❖ การนิเทศควรเป็นประชาธิปไตย (Democratic) คือเคารพในความแตกต่างของบุคคล เปิด
โอกาสใหท้ ุกคนมีส่วนร่วม ใช้อำนาจนอ้ ยที่สดุ
❖ การนิเทศต้องเป็นไปอย่างสร้างสรรค์ (Creative) การนิเทศควรเป็นการแสวงหา
ความสามารถพิเศษของแต่ละคน เปิดโอกาสให้แสดงความสามารถนั้น และต้องเป็นการปรับปรุง
เปล่ียนแปลงสภาพท่ีเป็นอย่ใู หเ้ กดิ ความคลอ่ งตัวในการทำงานให้มากทสี่ ุด

การนเิ ทศที่ได้ผล
การนเิ ทศการศกึ ษาที่ได้ผล ควรมีลกั ษณะดงั น้ี

 ตอ้ งเปน็ ไปอยา่ งสร้างสรรค์
 ชว่ ยส่งเสรมิ ความถนดั ของครูแต่ละคน

 สรา้ งบรรยากาศแหง่ ความเปน็ กันเอง
 หมั่นรวบรวมผลการปฏิบตั แิ ละนำมาปรบั ปรุงอยูเ่ สมอ
 มีวตั ถุประสงค์แน่นอน ชัดเจน และวดั ตามวัตถุประสงค์อย่างเคร่งครัด

 ทำงานแบบมืออาชพี คอื มคี วามถกู ตอ้ งตามหลกั วชิ า มกี ระบวนการ วิธีการทด่ี ี เหมาะสม
 มคี วามเปน็ ประชาธปิ ไตย

 ค่อย ๆ ดำเนนิ ไปทีละข้นั อยา่ งรอบคอบ แต่สมำ่ เสมอและต่อเนอ่ื ง
 เห็นความสำคัญของคณุ ภาพชีวติ ของครู

รูปแบบการนเิ ทศภายใน : ดว้ ยวธิ ีการนเิ ทศแบบคลินิก (Clinical Supervision)

การนิเทศแบบคลินิก : เป็นการนิเทศที่เน้นกระบวนการปรับปรุงการสอนของครูอย่างเข้มข้นท่ี
ต้องวางแผนอย่างเป็นระบบ มีการกระทำอย่างรอบคอบทุกขั้นตอนและทำให้ครบวงจรในการนิเทศ
ซึ่งประกอบด้วย การประชุมก่อนการสังเกต การสังเกตการสอน การประชุมหลังการสังเกต และ
การประเมินผล โดยวงจรการนิเทศจะต้องกระทำซำ้ ๆ หลาย ๆ ครงั้ ตอ่ ปี

จดุ มุง่ หมาย
1. เพอ่ื ช่วยใหค้ รูใหมม่ ที ักษะพื้นฐานตา่ ง ๆ ในการสอน
2. เพ่ือชว่ ยแก้ปัญหาในการสอนของครูและช่วยให้ครูมีความเจริญก้าวหนา้ ในวิชาชีพดว้ ย
การทำงานรว่ มกันระหวา่ งผนู้ ิเทศกับผ้รู บั การนิเทศ
ข้นั ตอนการนเิ ทศแบบคลินกิ
1. การประชุมร่วมกันระหว่างผู้นิเทศและครูผู้รับการนิเทศ (Pre-conference) ผู้นิเทศประชุม
ร่วมกับครูผู้สอนเพื่อชี้แจงข้อตกลงก่อนการสังเกตการสอนในประเด็นต่าง ๆ ประกอบด้วย เหตุผลและ
จุดมงุ่ หมายของการสังเกตการสอน, ตอ้ งการเน้นสังเกตจุดใดเป็นพิเศษ, วิธีการ รูปแบบและเครื่องมือที่ใช้
ในการสงั เกต, เวลาท่ีใช้ในการสงั เกตการสอน เปน็ ตน้
2. การสังเกตการสอน (Observation) ผู้นิเทศใช้เครื่องมือที่โรงเรียนสร้างขึ้น เป็นแบบสังเกต
การสอนแบบตรวจสอบรายการ ในการสงั เกตครูผู้สอนในช้นั เรยี นเพ่ือตรวจสอบการปฏิบัติหรือไม่ปฏิบัติ
ตามประเด็นในแบบสังเกต นอกจากนัน้ แลว้ ผู้นเิ ทศสามารถเขียนพรรณาระหวา่ งการสังเกตการสอนของ
ครูผสู้ อนได้ ในข้ันตอนนีผ้ ้นู ิเทศสามารถวเิ คราะห์ขอ้ มูลที่ได้จากการสงั เกตการสอน คอื การนบั ความถี่ของ
การปฏบิ ัตหิ รอื ไมป่ ฏบิ ตั ติ ามประเดน็ การสงั เกต
3. การประชุมหลังการสังเกตการสอน (Post-conference) ผู้นิเทศเปิดโอกาสให้ครูผู้สอน
สะท้อนความคดิ เหน็ เกยี่ วกับการสอนของตนเอง และผ้นู ิเทศใหข้ อ้ มลู ยอ้ นกลบั ไปยังครูผูส้ อน หลงั จากนน้ั
ร่วมกันอภิปรายข้อมูลที่ได้จากการสังเกต ผลที่ได้จากการประชุมครูสามารถนำไปวางแผน ปรับปรุง
การสอนใหม้ ปี ระสทิ ธิภาพมากย่ิงขนึ้

การปฏิบัติการนิเทศตามขั้นตอน ระยะเวลา และใช้เครื่องมือตามที่กำหนด คุณครูทุกคนใน
โรงเรียนภาคเรยี นละ 1 คร้ัง มีการสะทอ้ น และสรุปรายงานผลการนิเทศแก่ผรู้ ับการนเิ ทศ



การนเิ ทศและสงั เกตการสอนในชั้นเรยี น

การนเิ ทศการสอนในช้นั เรียนออนไลน์

การนเิ ทศ ตดิ ตาม การเรยี นการสอนออนไลน์

การพัฒนาครูและบุคลากรให้มีความเชี่ยวชาญทางอาชีพ การจัดสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อ
การเรียนรู้ และการจัดระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ เพื่อสนับสนุนการบริหารจัดการและการจัด
การเรยี นรู้

การวิเคราะหแ์ ละจดั ทำขอ้ มูลผเู้ รยี นรายบุคคล

แบบรายงานผลการวเิ คราะห์ผู้เรยี นรายบุคคล

รายวิชาวทิ ยาศาสตร์ 1 รหสั วิชา ว21101 ปกี ารศึกษา 2563

การวเิ คราะหผ์ ู้เรยี นรายบุคคล ชน้ั มัธยมศึกษาปที ่ี 1 หอ้ ง 4 , 6 , 8 , 11 และ 12 ได้วเิ คราะห์

ข้อมูลผู้เรียนจำนวน 159 คน โดยวิเคราะห์ตามประเด็นการวิเคราะห์ผู้เรียนรายบุคคล ซึ่งแบ่งเป็น 2

ขัน้ ตอนดังนี้

ตอนท่ี 1 ดา้ นความรู้ ความสามารถ และประสบการณ์

นกั เรยี นมีผลการเรยี นเฉล่ยี ดังน้ี

ระดบั ผลการเรยี น

กลมุ่ เนน้ การพัฒนา กลมุ่ ปานกลาง กลุม่ เก่ง

1 – 1.5 2 - 3 3.5 - 4

จำนวน (คน) ร้อยละ จำนวน (คน) รอ้ ยละ จำนวน (คน) รอ้ ยละ

17 10.68 82 51.58 60 37.74

กลุม่ เนน้ การพัฒนา กล่มุ ปานกลาง กลมุ่ เก่ง

นกั เรยี นท่ีมีผลการเรียนในระดับ นกั เรียนทีม่ ผี ลการเรียนในระดับ นกั เรียนทีม่ ีผลการเรียนในระดบั

ต่ำกว่า 2 มีความรู้พื้นฐานไม่ถึง 1 – 3 มีความรู้พื้นฐานในระดับ มากกว่า 3 มีความรู้พื้นฐาน

เกณฑ์ที่กำหนด ต้องเน้นพัฒนา หนึ่งพร้อมในการพัฒนาในการ พร้อมในการพัฒนาการเรียน

ในการเรยี นรายวชิ านี้ เรยี นรายวชิ านี้ รายวิชานีอ้ ย่างเต็มความสามารถ

ตอนท่ี 2 ด้านความตอ้ งการผู้เรียนต่อการจดั การเรยี นรู้
ผเู้ รียนมีความต้องการ การจดั การเรียนร้โู ดยลำดับจากรูปแบบท่ผี ู้เรยี นต้องการมากท่ีสุด ดงั น้ี

อนั ดบั รปู แบบการจดั การเรียนรู้ จำนวน (คน) คิดเป็นรอ้ ยละ
1 อธบิ ายชดั เจน เขา้ ใจงา่ ย 31 19.49
2 สอนสนุก ชวนฟงั มสี าระ 35 22.01
3 บรรยายได้ถูกต้องตามหนังสือ 31 19.49
4 นักเรียนได้จินตนาการต่อ 44 27.67
5 นกั เรยี นไดฝ้ กึ การทำงานแบบกลมุ่ 31 19.4935
6 นกั เรยี นได้คาดเดาตามหลักวทิ ยาศาสตร์ 35 22.01
7 นกั เรียนได้หาคำตอบจากการต้งั คำถามปลายเปิด 44 27.67
8 นกั เรยี นไดท้ ดลองเพื่อหาคำตอบ 47 29.56
9 นักเรียนไดเ้ รยี นรูจ้ ากประสบการณ์ตรง เชน่ การไปทัศนศึกษา 31 19.49
10 นกั เรียนได้สร้างองคค์ วามรู้จากการระดมสมอง จาก 57 35.84
กระบวนการแกป้ ญั หา
11 นักเรียนไดค้ ้นคว้า สบื เสาะหาความรู้ ในรปู แบบโครงงาน 40 25.16
12 นกั เรียนไดน้ ำเสนอความรใู้ นรปู แบบต่าง ๆ เชน่ การแสดง 47 29.56
บทบาทสมมติ การสาธติ การอภปิ ราย การโต้วาที เปน็ ต้น

จากตารางสรุปไดว้ ่ารูปแบบการจัดการเรยี นรทู้ ่ีนักเรยี นต้องการมากทส่ี ุด 3 อันดบั แรกได้แก่
อันดบั ที่ 1 อธบิ ายชดั เจน เขา้ ใจงา่ ย
อันดับท่ี 2 สอนสนุก ชวนฟงั มสี าระ

อันดบั ที่ 3 บรรยายไดถ้ ูกต้องตามหนงั สอื

ซึ่งสามารถนำผลการวิเคราะห์ผู้เรียน ไปใช้ในการจัดการเรียนการสอนรายวิชาวิทยาศาสตร์ 2
รหัสวิชา ว21102 ในภาคเรียนที่ 2 ได้ โดยมีแนวทางในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน โดยเน้น
การอธิบายใหช้ ดั เจน เขา้ ใจง่าย สอนสนกุ ชวนฟัง มีสาระ และเนอ้ื หาท่ีสอนจะตอ้ งบรรยายไดถ้ กู ตอ้ งตาม

หนังสือ

ลงชือ่ .........................................................ครผู ู้สอน
(นายภัทรพล เทพังเทยี ม)

แผนภมู แิ สดง รูปแบบการจดั การเรียนรูท้ ผี่ ู้เรียนต้องการ
ของนักเรยี นระดับชัน้ มธั ยมศกึ ษาปีท่ี 1 หอ้ ง 4 , 6 , 8 , 11 และ 12

รายวิชาวทิ ยาศาสตร์ 1 รหัสวชิ า ว21101 ปกี ารศกึ ษา 2563

ลำดบั ความต้องการในการจัดการเรยี นรู้ของผู้เรียน

ลำดบั ที่ 3 ลำดับที่ 1

บรรยายไดถ้ ูกตอ้ งตามหนงั สอื อธิบายชดั เจน เขา้ ใจง่าย

ลำดบั ความตอ้ งการในการจดั การเรียนร้ขู องผู้เรยี น

ลำดับทล่ี 2ำดับท่ี 3 ลำดับท่ี 4
ลำดับที่ 1

สอนสนกุ ชวนฟงั มสี าระ นักเรียนได้จนิ ตนาการตอ่

ลำดบั ความตอ้ งการในการจัดการเรียนร้ขู องผู้เรยี น

ลำดบั ที่ 7

ลำดบั ท่ี 6

นกั เรยี นไดห้ าคำตอบจากการต้ังคำถามปลายเปิด นักเรียนไดค้ าดเดาตามหลักวทิ ยาศาสตร์

แผนภมู ิแสดง รปู แบบการจดั การเรยี นรู้ที่ผเู้ รียนต้องการ
ของนักเรียนระดบั ชั้นมัธยมศึกษาปที ี่ 1 ห้อง 4 , 6 , 8 , 11 และ 12

รายวชิ าวทิ ยาศาสตร์ 1 รหัสวิชา ว21101 ปกี ารศกึ ษา 2563

ลำดับความต้องการในการจัดการเรยี นรขู้ องผเู้ รยี น

ลำดับที่ 8

ลำดับที่ 5

นักเรยี นไดฝ้ กึ การทำงานแบบกลมุ่ นกั เรยี นไดท้ ดลองเพอื่ หาคำตอบ

ลำดบั ความตอ้ งการในการจดั การเรยี นรขู้ องผู้เรียน

ลำดบั ที่ 10

ลำดับที่ 9

นักเรยี นไดเ้ รยี นรู้จากประสบการณ์ตรง เช่น นักเรยี นไดส้ รา้ งองคค์ วามรู้จากการระดม
การไปทศั นศึกษา สมอง จากกระบวนการแกป้ ัญหา

ลำดบั ความต้องการในการจัดการเรยี นร้ขู องผเู้ รียน

ลำดับท่ี 12 ลำดบั ที่ 11

นกั เรียนไดค้ ้นควา้ สืบเสาะหาความรู้ ใน นักเรียนได้นำเสนอความร้ใู นรูปแบบตา่ ง ๆ
รูปแบบโครงงาน เชน่ การแสดงบทบาทสมมติ การสาธติ
การอภิปราย การโตว้ าที เปน็ ตน้


Click to View FlipBook Version