The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

กลไกสมองกับการจัดการเรียนรู้แบบ Socratic

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by tararat_1911, 2022-04-09 23:06:48

กลไกสมองกับการจัดการเรียนรู้แบบ Socratic

กลไกสมองกับการจัดการเรียนรู้แบบ Socratic

กลไกสมองกับการจดั การเรียนรู้แบบ Socratic

1.สมองทงั้ 2 ซกี กบั ความคดิ สรา้ งสรรค์
สมองท่ีอยู่ภายในกระโหลกศรีษะของเราน้ี มีลักษณะเป็นรูปคร่ึงวงกลมคว่า ส่วนโค้งอยู่ทางด้านบน

ส่วนแบนอยู่ทางด้านล่าง มีแกนตรงกลางยาวย่ืนออกมาจากคร่ึงทรงกลมนี้ทางด้านล่างเรียกว่า ก้านสมอง
(brainstem) ก้านสมองน้มี ีส่วนต่อยาวเลยทา้ ยทอยลงไป ส่วนทยี่ าวมาจากท้ายทอยเม่ือพ้นกระโหลกศรีษะไป
แล้วจะทอดตัวเปน็ ลา่ ยาวภายใน ช่องตลอดแนวกระดูกสนั หลังเรียกวา่ ไขสนั หลงั (spinal cord)

สมอง ส่วนท่ีส่าคัญที่สุดท่ีเกี่ยวข้องโดยตรงกับการเรียนรู้ ความโง่ ความฉลาด ส่วนคร่ึงวงกลมท่ีอยู่
ภายในคร่ึงบนของกระโหลกศรีษะ มีชื่อเรียกว่า ซีรีบรัม (cerebrum) หรือสมองใหญ่ เมื่อดูภายนอกส่วนคร่ึง
วงกลมน้ีมีรอยหยกั เป็นร่องและลอนนนู ท่ัวไป มีร่องใหญ่มากที่ด้านบนตรงกลางกระหมอ่ ม ซึ่งแบ่งครึ่งวงกลม
น้ีเป็นสองซีก จากหน้าไปหลัง ท่าให้สมองแยกเป็น 2 ข้าง ทางด้านซ้ายและด้านขวา ซ่ึงมีลักษณะคล้ายกัน
สมองสองข้างนี้ไม่ขาดจากกัน แต่ยึดติดกันด้วยส่วนของสมองท่ีอยู่ตอนกลาง สมองแต่ละข้างแบ่งออกเป็น 4
ส่วน

สมองสว่ นหนา้ (frontal lope)
ทา่ งานเกีย่ วกับการตัดสนิ ใจ เหตผุ ล วางแผน และควบคมุ การเคล่ือนไหว

สมองพาไรเอทลั (parietal lope)
ทา่ งานเกย่ี วกับการรับรู้ความร้สู กึ สมั ผสั และรับรตู้ ่าแหนง่ ของร่างกายส่วนต่างๆ รวมท้ังนา่ การรบั รูใ้ นสว่ นน้ี

ประสานกบั การรับรู้ภาพและเสยี ง
สมองส่วนหลัง (occipital lope)

ท่างานเก่ยี วกับการรับร้ภู าพ
สมองสว่ นขมับ (temporal lope)

ทา่ งานเก่ยี วกับรับร้เู สียง ความจา่ การตคี วามภาษา

1.1 สมองทง้ั 2 ซกี ของมนษุ ยต์ า่ งกันอยา่ งไร
1.1.1 เรื่องของสมองทค่ี ุณอาจยังไมร่ ู้

แม้ว่าอัลเบิร์ต ไอน์สไตน์ (Albert Einstein) จะเคยกล่าวว่า ทุกคนล้วนเป็นอัจฉริยะ แต่สมองก็ยังคง
เป็นอวัยวะท่ซี บั ซ้อนที่สุดท่ีมนุษยย์ ังคงต้องเรยี นรแู้ ละท่าความเขา้ ใจอวยั วะสว่ นนี้อย่เู สมอ

ไม่เพียงแค่สมองจะควบคุมระบบการหายใจ การท่างานของอวัยวะและการเคล่ือนไหว แต่ยังอยู่
เบ้ืองหลังกระบวนการที่ซับซ้อนมากขึ้นอย่างการควบคุมพฤติกรรม ความคิด อารมณ์ ตลอดจนการสรา้ งความ
ทรงจ่า ซ่ึงท้ังหมดท่ีกล่าวมาอาจเป็นเพียงข้อมูลบางส่วนที่คุณรู้ และยังคงมีอีกหลายสิ่งท่ีหลายคนยังคงไม่รู้
เกีย่ วกับสมอง

ภาพแสดงระบบการท่างานภายในสมองที่ควบคุมระบบต่าง ๆ ของร่างกาย
ทม่ี า https://pixabay.com ,OpenClipart-Vectors

สมองท่างานตลอดเวลา
กลีบสมองของมนุษย์ (Lobes of the brain) แบ่งออกเป็น 4 กลีบ ได้แก่ สมองส่วนหน้า ( frontal

lobes) ซึ่งต้ังอยู่ด้าน ในต่าแหน่งของหน้าผาก ท่าหน้าที่เก่ียวข้องกับความจ่า ความคิด และศูนย์ควบคุมการ
ท่างานของกล้ามเน้ือ สมองกลีบขมบั (Temporal Lobe) ท่าหน้าที่เก่ียวกับการได้กล่ินและการได้ยิน สมอง
กลีบข้าง (Parietal lobe) ตั้งอยู่เหนือสมองกลีบท้ายทอย ท่าหน้าที่เกี่ยวกับการรู้สึกตัว และเป็นศูนย์ควบคุม
การรับความรู้สึก และสมองกลีบท้ายทอย (Occipital Lobe) มีหน้าท่ีหลักเกี่ยวกับการมองเห็น และการ
ประมวลผลภาพ นอกจากนี้สมองแต่ละกลีบยังแบ่งยังออกเป็นพื้นท่ีเฉพาะ (individual region) ที่ท่าหน้าท่ี
เฉพาะ เช่น โบรคา (broca’s area) เป็นส่วนของสมองที่ตั้งอยู่บนพื้นท่ีสมองส่วนหน้า ท่าหน้าท่ีเกี่ยวข้องกับ

ภาษา เป็นต้น จะเห็นได้ว่า แต่ละส่วนของสมองท่าหน้าที่แตกต่างกันเพ่ือให้มนุษย์มีชีวิตอยู่ และสมองท่างาน
ตลอดเวลาแม้ในขณะหยดุ พักหรอื นอนหลบั

นักวิจัยมีความพยายามในการท่าการศึกษาเก่ียวกับพ้ืนท่ีการท่างานเฉพาะของสมองมากขึ้น เน่ืองด้วยมี
ความสา่ คัญทั้งในดา้ นการวจิ ยั และสา่ หรับการรกั ษาผปู้ ว่ ยโดยการผ่าตัด
เลือดประมาณรอ้ ยละ 20 ของร่างกายไหลเวยี นไปยังสมอง

เน้ือเย่ือของสมองอาศัยออกซิเจนช่วยในการท่างานเช่นเดียวกับเซลลเ์ น้ือเย่ือที่อวัยวะอื่นๆ โดยขณะ
พัก สมองจะได้รับเลือดที่สูบฉีดจากหัวใจร้อยละ 15-20 แต่อาจมีปัจจัยในเร่ืองของอายุ เพศ และน่้าหนักท่ี
ส่งผลกระทบตอ่ การไดร้ บั เลอื ดที่แตกตา่ งกัน

ส่าหรับผู้ชาย โดยเฉลี่ยแล้วการเต้นของหัวใจ 1 ครั้งจะสูบฉีดเลือดท่ัวร่างกายปริมาณ 70 มิลลิลิตร
ดังนน้ั จะมีเลือดประมาณ 14 มลิ ลิลติ รทสี่ ูบฉดี ไปยงั สมอง ซึง่ เปน็ ปริมาณเลอื ดที่จ่าเป็นสา่ หรับเซลลส์ มอง

เป็นท่ีทราบกันดีว่า ผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมองตีบ (Stroke) เลือดจะถูกขัดขวางการน่าออกซิเจนและ
สารอาหารไปเลี้ยงเซลล์สมอง และอาจส่งผลให้สมองสูญเสียการท่าหน้าท่ีจนกลายเป็นอัมพฤกษ์ หรืออัมพาต
ได้ โดยจากการศึกษาพบว่า ส่วนใหญ่แล้วโรคหลอดเลือดสมองตีบจะเกิดข้ึนที่ซีกซ้ายมากกว่าซีกขวา น่ัน
หมายความวา่ ผู้ที่ถนดั ขวามีแนวโน้มมากข้ึนทจี่ ะไดร้ ับผลกระทบหลงั จากเกิดอาการสมองตบี ตัน
การผา่ ตัดสมองไมเ่ จ็บปวด

หลายคนอาจเคยเห็นคลิปของผู้ป่วยหญิงท่ีเล่นไวโอลินขณะท่ีศัลยแพทย์ก่าลงั ท่าการผ่าตัดเนอื้ งอกใน
สมอง และคิดว่าส่ิงน้ันเป็นเรื่องแปลกประหลาด และเกิดค่าถามมากมาย แต่การตื่นขึ้นในระหว่างการผ่าตัด
สมองเป็นเรอื่ งปกติ

บ่อยครั้งที่การผ่าตัดสมองส่วนท่ีเก่ียวข้องกับการเคล่ือนไหว การพูดหรือการมองเห็นจะก่าหนดให้
ผูป้ ว่ ยทอ่ี ยูร่ ะหว่างการทา่ การผ่าตัดและอยู่ภายใตย้ าระงับความรู้สึก (Anesthetics) ตน่ื ข้ึนมาเพือ่ ประเมินการ
ท่างานตามฟังก์ชันข้างต้น อาจจะเป็นเร่ืองแปลกท่ีการผ่าตัดสมองไม่ท่าให้เกิดความเจ็บปวด นั่นเป็นเพราะ
สมองไม่มีตัวรับความรู้สึกเจ็บปวดท่ีเรียกว่า nociceptor แต่ส่วนท่ีท่าให้ผู้ป่วยเจ็บปวด คือ แผลท่ีเกิดขึ้นผ่าน
ผิวหนัง กะโหลกศรี ษะและเยอ่ื หมุ้ สมอง (meninges)

ความเสียหายของสมองสามารถเปลี่ยนเราเป็นคนใหม่
หลายกรณีทท่ี า่ ให้มนษุ ย์ได้เรยี นร้สู มองมากขน้ึ มักจะเกิดมาจากความผิดพลาด หนึ่งในกรณที ีโ่ ด่งดังคือ

ฟิเนียส์ พี. เกจ (Phineas P. Gage) ซึ่งเป็นหัวหน้าคนงานก่อสร้างทางรถไฟชาวอเมริกัน ได้รับบาดเจ็บจาก
การระเบิดหิน และมีแท่งเหล็กขนาดใหญ่พุ่งทะลุผ่านกะโหลกศีรษะ ท่าลายสมองกลีบหนา้ ด้านซ้าย แม้เขาจะ
รอดชีวิต แต่ความเสียหายจากการบาดเจ็บส่งผลต่อบุคลิกภาพและพฤติกรรมของเขา และเปลี่ยนเขาให้
กลายเปน็ คนหยาบคายและววู่ าม กรณีดงั กลา่ วแสดงให้นักวิทยาศาสตร์ในศตวรรษที่ 19 เหน็ วา่ ความเสียหาย
ทีก่ ลีบสมองสว่ นหนา้ สามารถท่าใหเ้ กิดการเปลยี่ นแปลงของบุคลกิ ภาพอย่างมนี ัยสา่ คัญ

นอกจากนี้ผู้ป่วยที่สูญเสียการมองเห็นจากความเสียหายของสมองกลีบท้ายทอย ไม่ว่าจะเกิดจากการ
ได้รับบาดเจ็บ เน้ืองอก หรือโรคสมองตีบ อาจยังคงสามารถรักษาให้อยู่ในสภาวะเห็นท้ังบอด หรือที่เรียกว่า
blindsight ซ่ึงผู้ที่อยู่ในสภาวะน้ีอาจยังสามารถตรวจจับข้อมูลภาพและน่าทางไปรอบ ๆ ส่ิงกีดขวางได้แม้จะ
สูญเสียการมองเห็น อย่างไรก็ดีสภาวะน้มี อี ทิ ธิพลต่อพฤติกรรมดว้ ยเช่นกัน

ในชีวิตประจ่า วันขณะท่ีมนุษย์ก่า ลังคิดจะพบว่าสมองท้ังสองซีกท่า งานร่วมกันแต่จะแสดงลักษณะเด่น
ออกมาแตกต่างกันไปตามความถนัดของแตล่ ะคน ตัวอย่างเช่น ถ้าเราไปถามเส้นทางของผทู้ ี่ถนัดสมองซีกซา้ ย
เขาจะอธิบายว่า “จากจุดน้ีให้เดินตรงไปจนถึงส่ีแยกแล้วเล้ียวขวาจะถึงสถานีรถไฟฟ้า” แต่ถ้าเราไปถามผู้ท่ี
ถนัดสมองซีกขวาเขาจะอธิบายว่า “จากจุดท่ีคุณยืนอยู่ให้เดินตรงไปจะผ่านป๊ัมน่้า มันแล้วจึงถึงสี่แยก่ีมี
สัญญาณไฟจราจรให้เล้ียวขวาก็จะถึงสถานีรถไฟฟ้า” น่ันคือ ตัวอย่างการท่า หน้าท่ีของสมองท้ังสองซีกท่ี
แตกต่างกัน ซึง่ หนา้ ที่ของสมองท้ังสองซีกมรี ายละเอียดดงั นี้ (Elkhononet al., 1994 : 371-374; สรวงมนฑ์
สิทธสิ มาน, 2542 : 39-42; พชั รวี ัลย์ เกตแุ กน่ จันทร์, 2544 : 23-27)

1.1.2 หนา้ ทส่ี มองซีกซา้ ยและซกี ขวา
หน้าทส่ี มองซีกซ้าย
สมองซีกซ้าย (Left Hemisphere) หรือที่นักวิทยาศาสตร์เรียกว่า “สมองแห่งเหตุผล” (Rational

Brain) จะท่า หน้าท่ีควบคุมการคิดการหาเหตุผล การแสดงออกเชิงนามธรรมที่เน้นรายละเอียด เช่น การนับ
จ่า นวนเลข การบอกเวลา และความสามารถในการเรียบเรียงถ้อยค่า ท่ีเหมาะสม เป็นต้น เพื่อวิเคราะห์แปล
ความหมายข้อมูลจัดระบบแต่ละขั้นตอนอย่างมีเหตุผลและสร้างข้อสรุปจากข้อมูลที่เป็นสัญลักษณ์ทางภาษา
คณิตศาสตร์ รวมถึงการเก็บความจ่า ในรูปของภาษา ด้วยเหตุน้ีผู้ที่ถนัดสมองซีกซ้ายจะเป็นผู้ชอบใช้เหตุผล
ชอบเรียนรู้จากส่วนย่อยไปหาส่วนใหญ่ เป็นนักวางแผนงาน เป็นคนชอบวิเคราะห์ และมักท่าอะไรทีละอย่าง
เป็นข้ันตอนอย่างละเอียด สามารถที่จะแสดงความรู้สึกของตนเองได้อย่างชัดเจน แต่เกี่ยวกับความคิดและ
อารมณ์ความรู้สึกจะค่อนข้างมีความคิดด้านลบเพราะมีความระมัดระวังมากไปจึงสามารถเรียนรู้จากความ
ผิดพลาดประกอบการงานจนประสบความส่าเรจ็ ได้

ดังนั้นจึงกล่าวได้ว่าสมองซีกซ้ายจะมีหน้าที่ในการใช้ภาษา (Language) การคิดเชิงตรรกะ (Logic) การ
คดิ อยา่ งมวี ิจารณญาณ (Critical thinking) ตัวเลข (Numbers) และความมีเหตุผล (Reasoning)

หนา้ ทสี่ มองซกี ขวา
สมองซีกขวา (Right Hemisphere) หรือท่ีนักวิทยาศาสตร์เรยี กว่า “สมองแห่งสหัชญาณ” (Intuitive
Brain) จะท่า หน้าท่ีเกี่ยวกับความคิดสร้างสรรค์ การจินตนาการ การสังเคราะห์ ความซาบซ้ึงในดนตรีและ
ศลิ ปะ ความสามารถในการหย่ังหามติ ิตา่ ง ๆ และการใช้ประโยชน์จากรูปแบบและรปู ทรงเรขาคณิต ดงั นัน้ การ
ท่ีคนเราสามารถคิดสร้างสรรค์ส่ิงต่าง ๆ ได้น้ัน เกิดจากการท่างานของสมองซีกขวานี้เอง โดยการจัดท่าข้อมูล
จากประสาทสัมผัสหลายอย่างที่รับเข้ามาเพื่อจัดภาพรวมสิ่งของการควบคุมการมองเห็น การบันทึกความจ่า
จากการฟัง และการเห็นและมองสง่ิ ต่าง ๆ ด้วยเหตุนผี้ ู้ท่ีถนดั สมองซีกขวาจะเป็นคนที่ใช้สหัชญาณเพื่อการหย่ัง
รู้ การเข้าใจ และการมองเห็นความสัมพันธ์อันเป็นความรูใ้ หม่ และสามารถใช้ความร้เู ดิมมาใหเ้ หตุผลส่ิงท่ีเป็น
ความรู้ใหม่ ด้วยเหตุนี้การประมวลผลของสมองซีกขวาจึงอยู่เหนือขอบเขตของความคิดและเหตุผลโดยจะ
แสดงผลออกมาในรูปของสัญชาตญาณ การหยัง่ รหู้ รอื ความรูส้ กึ สังหรณซ์ ่งึ ไม่มเี หตผุ ล แตถ่ ้าตดั สนิ ใจไปตามน้ัน
แล้วมักจะถูกต้องเพราะมองเห็นทุกอย่างเป็นภาพรวมจึงสามารถท่าอะไรหลาย ๆ อย่างในเวลาเดียวกันเพราะ
ผู้ที่ถนัดการใช้สมองซีกขวาจะมองแบบองค์รวมก่อนและจึงพิจารณาแยกย่อยท่า ให้งานประสบความส่าเร็จ
เนื่องจากเห็นความสมั พันธท์ ่ีคนอ่ืนมองไมเ่ ห็น

ดงั นน้ั จึงกล่าวได้ว่าสมองซีกขวาจะมหี น้าทเี่ ก่ียวข้องกับจิตใจและความรสู้ ึกของมนุษย์ เช่น ความตระหนัก
รู้ในตนเอง (Self - Awareness) ความเห็นใจผู้อื่น (Empathy) ความน่าเชื่อถือ (Trust) อารมณ์ (Emotion)
การสื่อสารไม่ใชจ้ ิตสา่ นกึ (Nonconscious communication) ความน่าดงึ ดูด (Attachment) และการแสดง
อารมณ์ออกทางสีหนา้ (Recongnition of Emotional Faces) เปน็ ต้น

1.2 สมองกบั ความคิดสร้างสรรค์
นักคิดสร้างสรรค์มีบุคลิกภาพและคุณสมบัติที่มีลักษณะการคิดในหลายรูปแบบ เช่น เป็นคนที่มักมี

ความคิดคิดริเริ่มแปลกใหม่ (Originality) มีความคิดหลากหลายมุมมองหลายด้าน (Flexibility) มีความเร็วใน
การคิด (Fluency) มคี วามคดิ ท่ีละเอยี ดรอบคอบ (Elaboration)

เชื่อว่าหลาย ๆ คนก็คงมีความรู้มาระดับหน่ึงว่าสมองของคนเราท่ีมีสองซีก สมองซีกซ้ายท่างาน
เกี่ยวกับด้านการคา่ นวณ และสมองซีกขวาทา่ งานเกีย่ วกับด้านศิลปะ แนน่ อนว่าจากข้อมลู นก้ี ็อาจท่าให้เราเดา
ได้ไม่ยากว่าความคิดสร้างสรรค์ท่ีออกมาจากบุคคลที่มีจินตนาการสูง มาจากการท่างานของสมองซีกขวา
นั่นเอง แตม่ ันจรงิ แค่ไหนลองอ่านได้จากข้อมลู ต่อไปนี้

ข้อมูลส่าคัญที่เป็นท่ีน่าสนใจให้ชวนคิดจากการทดลองของ ลิซ่า อาซีส์-ซาเดห์ อาจารย์ประจ่า
ภาควิชาประสาทวิทยาของมหาวิทยาลัยเซาท์เทิร์นแคลิฟอร์เนีย ประเทศสหรัฐอเมริกา ซึ่งได้ทดลองสแกน
ภาพสมองของกลุ่มตัวอย่างท่ีเป็นนักศึกษาท่ีเรียนเก่ียวกับการออกแบบด้านสถาปัตยกรรม ด้วยเครื่องสร้าง
ภาพด้วยเรโซแนนซ์แม่เหล็ก (Functional Magnetic Resonance Imaging หรือ fMRI) เพ่ือดูการท่างาน
ของระบบประสาทและสมองในช่วงที่ต้องใช้ความคิดสร้างสรรค์มาก ๆ รายงานสรุปผลการทดล องนี้จาก
ผลลัพธ์ของภาพที่แสกนออกมาได้แสดงให้เห็นว่า สมองท้ังสองซีกต่างช่วยกันท่างานในยามที่คนเราก่าลังคิด
อ่านเชิงสร้างสรรค์ และท่ีน่าแปลกใจก็คือ สมองซีกซ้ายที่เราเข้าใจว่าท่างานเก่ียวกับด้านการค่านวณกลับมี
ภาพการทา่ งานของสมองทีด่ ูจะทา่ งานหนักกว่าสมองซีกขวาเสียอีก

และเมอื่ ไมน่ านมานี้ มรี ายงานของคณะนกั จิตวิทยาจากมหาวทิ ยาลยั ฮาร์วารด์ ได้ให้ข้อมูลเกี่ยวกับ
ระบบการท่างานของสมองกับกลุ่มตัวอย่างในกลุ่มผู้ท่ีมีแนวโน้มเป็นนักคิดนักสร้างสรรค์อย่าง จิตรกร นัก
ดนตรี ศลิ ปนิ และนกั วทิ ยาศาสตร์ โดยการใช้อุปกรณ์สแกนการท่างานสมองดว้ ยเช่นกัน แต่การทดลองครั้งนี้มี
ข้อบง่ ชีร้ ายละเอยี ดในหลาย ๆ ดา้ นโดยมขี อ้ มูลสรุปไว้ว่า ในขณะที่คนเราใชส้ มองในการคิดอ่านเชิงสร้างสรรค์
สมองส่วนต่าง ๆ จะมีการท่างานเชื่อมโยงกันเป็นแบบแผนเฉพาะรูปแบบหนึ่งในทุกครั้ง โดยมีลักษณะการ
ท่างานใน 3 แบบแผนหลกั ที่ประกอบด้วยสมองหลายสว่ น คอื

แบบที่ 1 เครือข่ายอัตโนมัติท่ีท่างานเม่ือร่างกายพักผ่อน (Default-Mode Network-DMN)
เชือ่ มโยงกับการคดิ แบบฉับพลันและการปลอ่ ยวางทางจติ ใจ

แบบที่ 2 เครือข่ายการควบคุมให้มีสมาธิกับเรือ่ งใดเร่ืองหนึง่
แบบท่ี 3 เครือข่ายความคิดแบบไหลล่ืน ซึ่งใช้ตัดสินใจว่าเรื่องใดมีความส่าคัญมาเป็นล่าดับก่อน
หรอื หลัง
โดยปกติการท่างานของสองแบบแรกจะมีความขัดแย้งกัน แต่ส่าหรับผู้ทีมีจินตนาการสูงหรือมี
ความคิดสร้างสรรค์กลับพบว่าการทา่ งานของทั้งสองเครือข่ายมีการท่างานร่วมกันได้เป็นอย่างดี ซ่ึงกลุ่มคนทม่ี ี
คุณสมบัติเหล่าน้ี เรามักจะเรียกพวกเขาว่าคนที่มีความอัจฉรยิ ะเช่นเดียวกัน มีความสามารถทางด้านความคิด
มีจินตนาการล่้าเลิศ จนหลายคร้ังที่เรามักจะเห็นผู้คนแหล่าน้ีคิดหรือท่าในส่ิงท่ีหลายคนต้องอุทานออกมาว่า
“คิดได้ไงอะ”

1.2.1 ช่วงวัยกับความคิดสรา้ งสรรค์
พลัง Creative ในความคดิ สรา้ งสรรค์ของวยั ซน

พัฒนาการความคดิ ท่ีดแี ละการสร้างสรรค์ส่งิ ต่างๆ ในเดก็ นนั้
นับเป็นเรื่องสา่ คัญอย่างมากท่ีคณุ พ่อคุณแม่มสี ว่ นร่วมในการเสริม
สร้างให้พฒั นาการนนั้ เป็นไปอยา่ งสมบูรณ์ ...คณุ พ่อคุณแมห่ ลายท่า
นอาจจะเขา้ ใจว่า ลกู น้อยใจช่วงปฐมวัยมกั มีความคดิ สรา้ งสรรคเ์ ปน็
พรสวรรคต์ ดิ ตวั มาแต่กา่ เนดิ แตร่ ้ไู หมคะว่า...ความจรงิ แล้วทกุ คนมี
ความคดิ สร้างสรรคอ์ ยูใ่ นตวั และสามารถพฒั นาไดไ้ ม่ว่าจะเดก็ หรือผูใ้ หญ่

Creativeหรือความคิดสร้างสรรค์ท่ีว่า จึงสามารถเกิดข้ึนกับลูกน้อยของเราได้อย่างไม่ต้องสงสัย ค่า
ว่า Creativeมีความหมายว่า ความคิดสร้างสรรค์คือกระบวนการทางสมอง ที่เกิดจากการน่าความสามารถใน
การคิดหลากหลายรูปแบบมาใช้ในการคิดสร้างสรรค์ส่ิงใหม่ ๆ หรือแก้ปัญหาที่มีอยู่ให้ดีข้ึน โดยผลผลิตของ
ความคิดสร้างสรรค์ต้องเป็นเรื่องเชิงบวกที่ท่าให้ดีข้ึน หรือน่าไปใช้ประโยชน์ได้ ท้ังนี้เราสามารถรู้ได้ว่าใครมี
ความคิดสร้างสรรค์มากน้อยแค่ได้ ให้ดูจากผลผลิตของความคิดว่าเป็นสิ่งใหม่ และมีการน่าไปใช้ประโยชน์
รวมถึงมีการคิดตอ่ ยอดมากน้อยแคไ่ หน

โดยพัฒนาการความคิดสร้างสรรค์ในเด็กทารกและวัยก่อนเรียน (อายุ 0-6 ปี) จะมีพัฒนการ
ตามล่าดับ คือ เด็กอายุ 0-2 ปี จะมีพัฒนาการด้านจินตนาการ เด็กอายุ 2 ปี มีความพร้อมที่จะส่ารวจ
สิ่งแวดล้อมรอบตัว เด็กอายุ 2-4 ปี จะตื่นตัวกับส่ิงแปลกใหม่ ใช้จินตนาการกับการเล่น มีความเป็นตัวของ
ตัวเองสูง แต่ความสนใจจะอยู่ในระยะสั้น เด็กอายุ 4-6 ปี จะสนุกกับการวางแผน สนุกกับการเล่น ชอบเล่น
สมมตุ ิและทดลองเลน่ บทบาทต่าง ๆ มีความสามารถในการเชื่อมโยงสง่ิ ตา่ ง ๆ ขณะเดียวกนั ความคดิ สร้างสรรค์

ในเดก็ แต่ละคน ยอ่ มมีความแตกตา่ งและมีหลายระดับด้วยกัน Creativeทแี่ สดงออกมากจ็ ะมีความแตกต่างกัน
ไป ซึ่งคุณพ่อคุณแม่สามารถสังเกตได้จากการใช้จินตนาการ ที่ลูกน้อยถ่ายทอดออกมา เช่น การวาดภาพ การ
รอ้ งเพลง การประดษิ ฐ์ผลงานภายใต้กรอบท่เี รากฎเกณฑห์ รือสงิ่ ที่กา่ หนดให้ เป็นต้น

การสร้างพัฒนาการที่ดีรวมถึงการสร้างพลังทางความคิดใหล้ ูกน้อย จึงเป็นเร่ืองท่ีคุณพ่อคุณแม่ สามารถสรา้ ง
หรือกระตุ้นได้ โดยเร่ิมต้นที่การเล่นกับลูก เพ่ือสังเกตวิธีการเล่น ความคิด ความรู้สึกของลูก จากน้ันจึงค่อยๆ
เติมในส่วนคุณคิดว่าลูกน้อยน่าจะขาด เช่น ใช้ศิลปะในการเข้ามาพัฒนาความคิด จินตนาการ ลองให้ลูกน้อย
วาดรูป ระบายสี ว่าเขาสามารถท่าได้มากน้อยแค่ไหน ... การใช้ดนตรีและการเคลื่อนไหว ในการกระตุ้น
จินตนาการ จากน้ันลองพูดคุย ซักถาม พร้อมร่วมสนุกไปกับการทดสอบคร้ังนี้ แล้วคุณจะพบว่าบางครั้ง ลูก
น้อยของคณุ มีจนิ ตนาการมากกวา่ ท่ีคดิ ไว้เสียอีก

ต่อด้วยการเล่น อย่างที่ทราบคือ พ่อแม่คือของเล่นที่ดีท่ีสุดของลูก การสร้างพัฒนาความคิด
สร้างสรรค์ท่ีสอดคล้องและเหมาะสมกับธรรมชาติ ความสนใจ รวมถึงกลไกการท่างานของสมองของเด็ก จะ
ช่วยให้สมองของลูกน้อยมีการท่างานเช่ือมประสานกันได้เป็นอย่างดี ท้ังน้ีการเล่นท่ีดี คุณพ่อคุณแม่ควรสร้าง
บรรยากาศการเรียนรู้ผ่านประสาทสัมผัสท้ัง 5ด้วย งานวิจัยของต่างประเทศ พบว่าเด็กมีโอกาสเล่นมากเท่าไร
ก็จะยง่ิ ได้รบั การพฒั นามากขนึ้ เท่านนั้ โดยเฉพาะในวัย 0-6 ปี ทกุ คร้ังที่เดก็ เลน่ ไม่ว่าจะเปน็ การวิ่ง กระโดด คืบ
คลาน เลน่ ดนิ เล่นทราย หยิบจับส่งิ ของ เล่นตุก๊ ตา กระโดดหนงั ยาง เลน่ ต่อบลอ็ ก ต่อตวั ต่อ ฯลฯ การเชื่อมโยง
ของเซลสมองจะมากข้นึ แขง็ แรงขน้ึ ส่งผลให้เดก็ มีความสามารถในการคดิ มากขน้ึ จนเกดิ เปน็ การเรยี นรทู้ ี่ดี

การสร้างจิตนาการให้ลูกน้อย รวมถึงความคิดในเชิง Creative สามารถเริ่นต้นได้ง่าย ๆ ในบ้าน
เช่น จัดมุมส่าหรับเล่นให้ลูก โดยมีอุปกรณ์ของเล่นเตรียมไว้ด้วย จากนั้นคุณพ่อคุณแม่สามารถชวนลูกน้อย
เล่น ตามจิตนาการของเขา โดยอาจจะให้เขาสร้างเรื่องราวท่ีต้องการเล่นกับคุณข้ึนมา ต่อด้วยการจัดหาของ
เล่นปลายเปิด เช่น บล็อก ตัวต่อเลโก้ ป้ันดินน่้ามัน ของเล่นท่ีเป็นธรรมชาติ เพ่ือให้ลูกน้อยได้ใช้จินตาการใน
การเล่นได้อย่างเต็มที่ พร้อมสังเกตว่าเขาสามารถคิดค้นวิธีการเล่นด้วยตัวเองได้มากน้อยแค่ไหน รวมถึงมี
รูปแบบในการเล่นอย่างไร และท้ายที่สุดคือ การพาลูกน้อยออกไปค้นหาจินตนาการต่างๆ ในธรรมชาติ โดย
การพาลูกน้อยออกไปสัมผัสกับธรรมชาติ เช่น เท่ียวสวนสาธารณะ ทะเล น่้าตก ป่า สวนสัตว์ เป็นต้น เพ่ือ
กระตนุ้ ความอยากร้อู ยากเห็น รวมถึงการเห็นโลกในมมุ ของความเป็นจรงิ มากขนึ้

ทัง้ น้ี Creative หรอื ความคดิ สร้างสรรค์ในลูกนอ้ ยหรือในเด็กท่ัวไป สามารถเริม่ ตน้ ได้ท่คี ุณพ่อคุณ
แม่เป็นผู้เติมเต็ม อย่างท่ีบอกค่ะ พ่อแม่คือของเล่นท่ีดีท่ีสุดของลูก หากคุณอยากให้ลูกน้อยเป็นเช่นไร การ
วางรากฐานทีด่ ที ่ีมั่นคงใหเ้ ขายอ่ มเป็นส่งิ ท่สี า่ คญั ทสี่ ดุ

ความคิดสรา้ งสรรค์ของวยั ประถม
อายุ 6 - 8 ปี จินตนาการสร้างสรรค์เปลี่ยนไปสู่ความจริงมากขึ้นชอบบรรยายถ่ายทอดความคิด
ออกมาเปน็ คา่ พูดรักการเรยี นรแู้ ละต้องการประสบการณ์ที่ทา้ ทายและสร้างความสนุกสนาน
อายุ 8 - 10 ปี สามารถสร้างสรรค์สิ่งต่าง ๆ โดยใช้ความสามารถเฉพาะตัว มีความสามารถในการ
เรียบเรียงคา่ ถามความอยากรู้อยากเหน็ เพิ่มพูนมากขึ้น
อายุ 10 - 12 ปี ชอบการส่ารวจค้นคว้า ชอบการทดลอง มีสมาธิหรือช่วงความสนใจนานข้ึน
เด็กผู้หญิงชอบเรียนรู้จากหนังสือและการเล่นสมมติ เด็กผู้ชายชอบเรียนรู้จากประสบการณ์ตรงช่วงวัยน้ีจะมี
พัฒนาการด้านศิลปะและดนตรีจุดอ่อน คือเป็นช่วงวัยที่ขาดความมั่นใจในผลงานของตนเอง ความคิด
สร้างสรรค์ลดลงบางชว่ ง เพราะเป็นชว่ งที่พยายามปรับตวั เข้ากับกลุ่มเพอื่ น เลยี นแบบเพ่อื น ลดความคดิ อสิ ระ

จากพัฒนาการทางความคิดสรา้ งสรรค์ดงั กล่าวแสดงให้เห็นวา่ เด็กปฐมวัยเป็นช่วงวยั ที่เด็กมี
พัฒนาการด้านจินตนาการชอบเลน่ สมมติและทดลองเล่นบทบาทต่าง ๆ โดยใช้จินตนาการ มีความสามารถใน
การเชื่อมโยงส่ิงต่าง ๆ ไดด้ ี จงึ เป็นชว่ งวยั ทีเ่ หมาะสมที่สุดในการจัดประสบการณท์ ่ีสง่ เสรมิ ความคิดสร้างสรรค์

อายเุ ทา่ ไหร่.... ทค่ี นจะสร้างสรรคท์ ่สี ุด
หลายๆ ครั้งเราจะนึกว่า เรื่องของความคิดสร้างสรรค์นั้นเป็นเรื่องของคนหนุ่มสาว คน รุ่นใหม่
เนื่องจากคิดเอาเองว่า พออายุมากขึ้นความคิดสร้างสรรค์ก็จะลดน้อยลง แต่ผลจากงานวิจัยล่าสุดที่จะ
ปรากฎลงในนิตยสาร DeEconomist กลับพบว่าจริงๆ แล้วคนจะขึ้นถึงจุดสูงสุดของการคิดสร้างสรรค์ใน
2 ช่วงคือ ช่วงอายุ 20 กว่า และ 50 กว่า
ผลการค้นพบดังกล่าวมาจากงานวิจัยของอาจารย์จาก Ohio State University ที่ชื่อ Bruce
Weinberg และคณะ ที่พวกเขาได้มีการศึกษาผลงานในแต่ละช่วงอายุของผู้ที่ได้รับรางวัลโนเบลสาขา
เศรษฐศาสตร์จ่านวน 31 คน และพบว่าความคิดสร้างสรรค์ที่เกิดขึ้นนั้นไม่ได้เกิดขึ้นเฉพาะช่วงที่ยังเยาว์วัย

อยู่เพียงอย่างเดียว (เหมือนที่เข้าใจกัน) เพียงแต่ความคิดสร้างสรรค์ที่เกิดขึ้นในช่วงอายุ 20 กับช่วงอายุ 50
นั้นเป็นความคิดสร้างสรรค์คนละรูปแบบกัน

ในช่วงอายุ 20 กว่านั้นความคิดสร้างสรรค์ที่เกิดขึ้นเรียกว่าเป็นแบบ Conceptual นั้นคือการคิด
ออกนอกกรอบ ท้าทายต่อความคิดเดิมๆ และสามารถคิดไอเดียใหม่ๆ ได้โดยฉับพลัน ส่วนความคิด
สร้างสรรค์ที่เกิดขึ้นในช่วง 50 กว่านั้น เป็นแบบ Experimental ที่สะสมความรู้มาจากประสบการณ์และ
วิชาชีพ ท่าให้สามารถค้นหาวิธีการที่จะวิเคราะห์ บูรณาการ และแปลความหมายของข้อมูลได้ในมุมมอง
ใหม่ๆ ซึ่งพวกที่เป็นนักคิดแบบ Conceptual นั้น ความคิดสร้างสรรค์จะขึ้นสูงสุดในอายุ 27 หรือ 29 ส่วน
นักคิดแบบ Experimental นั้นความคิดสร้างสรรค์จะขึ้นสูงสุดที่อายุ 57 ทางผู้วิจัยระบุอีกด้วยว่าผลการ
ค้นพบนี้ไม่ใช่ส่าหรับในด้านเศรษฐศาสตร์เท่านั้น แต่เป็นการยืนยันในงานอื่นๆ ที่เคยมีการศึกษามาก่อน
หน้านี้ เพราะก่อนหน้านี้ก็มีงานวิจัยที่พบเหมือนกันว่าส่าหรับนักกลอนและนักฟิสิกส์นั้น จะผลิตผลงานที่ดี
ออกมาในช่วงอายุ 20 กว่า ส่วนนักประพันธ์และนักชีววิทยานั้นจะสร้างสรรค์สุดในช่วงวัยกลางคน

ดังนั้นถ้าจะอ้างอิงจากผลงานวิจัยดังกล่าว ก็พอจะกล่าวได้ว่าความคิดสร้างสรรค์นั้นไม่จ่าเป็น
จะต้องเกิดขึ้นกับเฉพาะคนรุ่นหนุ่มสาวเท่านั้น คนวัย 50 กว่า ก็มีสิทธิ์อย่างมากที่จะคิดสิ่งใหม่ๆ ออกมาได้
เช่นเดียวกัน

หลังจากเห็นงานวิจัยดังกล่าวเลยอยากจะทราบว่ามีงานวิจัยอื่นๆ ที่พยายามศึกษาถึงช่วงอายุที่
เหมาะสมส่าหรับเรื่องราวต่างๆ อีกหรือไม่ ซึ่งก็ได้ไปพบบทความใน Wall Street Journal เมื่อต้น
ปี 2561 ที่ชื่อ What is the Perfect Age? ที่พยายามรวบรวมผลการวิจัยต่างๆ ที่ระบุช่วงอายุที่เหมาะสม
ส่าหรับการทา่ เรื่องราวหรือกิจกรรมต่างๆ ไว้ ซึ่งก็มีหลายๆ ประเด็นท่ีน่าสนใจ โดยในบทความน้ัน ได้อ้างอิง
ผลงานวิจัยต่างๆ และระบุว่า อายุที่เหมาะสมที่สุดส่าหรับการแต่งงานคือระหว่าง 28 ถึง 32 ส่วนอายุที่
เหมาะท่ีสุดส่าหรับการมีบุตรคือก่อน 32 ส่วนสุภาพสตรีส่วนใหญ่ท่ีไปพบแพทย์ในด้านความงามและผิวหนัง
นั้น เมื่อน่ารูปของตนเองไปให้เพื่อใช้ในการเปรียบเทียบและอ้างอิงนั้น ก็มักจะเป็นรูปในวัย 36 (แสดงให้
เห็นว่าสุภาพสตรีส่วนใหญ่พอใจกับรูปโฉมตนเองในวัย 36) ส่าหรับผู้ที่ชอบวิ่งมาราธอนนั้นพบว่าอายุที่
เหมาะสมท่ีจะท่าให้ผลงานออกมาดีที่สุดนั้นอยู่ท่ี 27 ปี สา่ หรับสุภาพบุรุษ และ 29 ปีส่าหรับสุภาพสตรี

ส่าหรับการตัดสินใจทางการเงินนั้น ผลวิจัยพบว่าความรู้ทางการเงินของคนจะเพิ่มขึ้นเรื่อยๆ ทุกๆ
ปีจนกระทั่งอายุ 50 จะถือว่าขึ้นสู่จุดสูงสุด หลังจากอายุ 60 ความรู้ทางทางเงินก็จะลดลงเรื่อยๆ
ขณะเดียวกันที่อายุ 43 จะเป็นช่วงที่ความสามารถในการ Focus ถึงจุดสูงสุด ส่วนความสามารถในการ
เข้าใจอารมณ์ของผู้อื่นจะสูงสุดช่วงอายุ 40-50 ปี

นอกจากน้ีจากผลการส่ารวจยังพบว่า ถ้าคนจะต้องมีชีวิตยืนยาวไปตลอดกาลโดยมีสุขภาพ
ที่ดีนั้น อายุเฉลี่ยที่คนส่วนใหญ่อยากจะคงไว้คือที่อายุ 50 โดยส่าหรับสุภาพบุรุษนั้นคือที่ 47 ปี และ 53 ปี
สา่ หรับสุภาพสตรี

ผลการวิจัยต่างๆ ข้างต้น เป็นการศึกษาของโลกตะวันตก และขณะเดียวกัน ก็ไม่ได้หมายความว่า
ผลการวิจัยหรือทดลองจากกลุ่มตัวอย่างหนึ่งจะสะท้อนภาพทุกคนในโลกได้หมด แต่อยากน้อยก็น่าจะพอท่า
ให้เห็นได้ว่าร่างกายเรามีช่วงเวลาที่เหมาะสมส่าหรับกิจกรรมหรือการท่างานที่แตกต่างกัน ก็คงจะต้อ งหา
ของตนเองให้เจอเท่านั้นเอง

1.2.2 วิธพี ัฒนาสมองทง้ั 2 ซกี

สมอง 2 ซีก ความสามารถทางปญั ญา กิจกรรม
1.สมองซกี ซา้ ย 1.ปัญญาด้านภาษาและการสื่อสารLinguistic Intelligence)คือ
ความสามารถในการคิด และแสดงออกโดยการใช้ภาษารูปแบบ การแสดงออก
2. สมองซกี ขวา ต่าง ๆ ต้ังแต่ การพูด การเขียน และการอ่าน สามารถส่ือภาษาให้ โดย ฟัง พูด เล่าเร่ือง เขียน
ผอู้ ืน่ เขา้ ใจได้ตามท่ีตอ้ งการ สื่อสารความคิด โต้วาที การ
2.ปั ญ ญ า ด้ า น ต ร ร ก ศ า ส ต ร์ แ ล ะ ค ณิ ต ศ า ส ต ร์ ( Logical- อภิปราย
Mathematical Intelligence) คือ ความสามารถในการคิดแบบมี
เหตุและผล การคิด เชงิ นามธรรม การคิดคาดการณ์ และการคดิ ค่า การฝึกคิดค่านวณ การจัด
นวณ ทางคณติ ศาสตร์ หมวด หม่ตู ามรูปทรง นา้่ หนัก
และ สี การเล่นเกมฝึกทักษะ
3.ปัญญาด้านการเข้าใจบุคคลอื่น (Interperson-al Intelligence) ทาง คณิตศาสตร์การสร้าง
คือ ความสามารถในการเข้าใจผู้ อื่น สามารถโน้มน้าวใจผู้อื่นให้ โครงงาน ทางวทิ ยาศาสตร์
เชื่อถือได้มีความไวใน การสังเกต สีหน้า ท่าทาง น้่าเสียง สามารถ
ตอบสนอง ไดอ้ ยา่ งเหมาะสม สร้างมติ รภาพได้งา่ ย การฝึกหัดท่า งานเป็นกลุ่ม
สรา้ ง ความสมั พนั ธเ์ ออ้ื เฟ้ือต่อ
4. ปัญญาด้านธรรมชาติวิทยา (Naturalist Intel-ligence) คือ กัน และ รับข้อมูลย้อนกลับ
ความสามารถในการรู้จัก และสังเกต รูปแบบความเป็นอยู่ของ เก่ียวกับผล การท่า งานเป็น
ธรรมชาตแิ ละเข้าใจระบบ ธรรมชาติอย่างลกึ ซึ้ง มีความสามารถใน กลุม่
การจดั จ่าแนก แยกแยะประเภทของสงิ่ มชี วี ติ ทงั้ พืชและสตั ว์ ได้
การจัดทัศนศึกษา การศึกษา
1.ปั ญ ญ า ด้ า น ร่ า ง ก า ย แ ล ะ ก า ร เ ค ล่ื อ น ไ ห ว ( Bodily/ ภาคสนาม การเดินป่าตาม
KinestheticIntelligence) คือ ความสามารถที่จะ ใช้ร่างกายใน ธรรมชาติ การสงั เกตศกึ ษาพืช
การประกอบกิจกรรมต่าง ๆ ไม่ว่าจะ เป็นการแสดงละคร การเล่น และสัตว์ต่าง ๆ สัมภาษณ์
กีฬา การเต้นร่า การ ใช้ภาษากายประกอบและการใช้มือ และ บุคคล ท่ีมีความรอบรู้เก่ียวกบั
สายตาใน การสร้างสรรค์หรือสร้างสิง่ ตา่ ง ๆ ธรรมชาติ

ก า ร เ ค ล่ื อ น ไ ห ว ป ร ะ
ก อ บ จั ง ห ว ะ ก า ร เ ล่ น
กฬี า การแสดง ละคร การท่า
งานฝีมือหรือ ประดิษฐ์สิ่งของ
ตา่ ง ๆ

2.ปั ญ ญ า ด้ า น มิ ติ สั ม พั น ธ์ แ ล ะ ก า ร จิ น ต ภ า พ การออกแบบงานรูปทรงมิติ
(Visual/Spatial Intelligence) คือ ความสามารถ ในเชิงมิติ และ รูปจ่าลอง การวาดลายเส้น
จดจ่า ภาพบันทึกไว้ในสมองเกิดภาพ ในใจจนสามารถคิดค้นส่ิง หรือ ศึกษาผลงานศิลปะที่มี
ต่าง ๆ ท่า ความเข้าใจ แผนภูมิ กราฟ การออกแบบภาพมิติ ชือ่ เสยี ง
ตา่ ง ๆ หรอื จัดการภาพได้ดี

สมอง 2 ซีก ความสามารถทางปญั ญา กจิ กรรม

3.ปัญญาด้านดนตรี (Musical Intelligence) คือ ความสามารถ การเล่นเคร่ืองดนตรี การขับ

ในทางดนตรีทั้งการได้ยิน การรับรู้ การจดจ่า และการแต่งเพลง รอ้ ง แตง่ เนื้อหรอื ทา่ นอง การ

สามารถจดจ่า จังหวะ ท่า นอง และโครงสร้างทางดนตรีได้ดีและ ฝึกออก เสียงที่เป็นค่า คล้อง

ถา่ ยทอด ออกมา จอง หรือ การฟังเพลงท่ีมีท่า

น อ ง แ ล ะ เ น้ื อ ร้ อ ง ที่

หลากหลาย

4.ปัญญาด้านการเข้าใจตนเอง (Intrapersonal Intelligence) คือ การจดบันทึกประจ่า วันการ

ความสามารถในการรู้จักตนเอง ควบคุมการแสดงออกอย่าง วาง วางเป้าหมายชีวิต หรือ

เหมาะสมตามกาลเทศะ การ นงั่ สมาธิ

5.ปัญญาด้านการคิดใคร่ครวญ(Existential Intelligence) คือ การศึกษาหลักธ รรมขอ ง

ความฉลาดในการเชื่อมโยง สิ่งต่าง ๆ เข้ากับภาพใหญ่ (มห ศาสนา ต่าง ๆ การศึกษา

ภาค) จนเห็นความงดงาม ของสรรพสิ่งในโลกเช่ือมโยง การด่า รง แนวคิดของ นักปรัชญาที่

อยู่ของมนุษย์ และตนเองกับสิ่งที่ใหญ่กว่า เช่น จักรวาล พระ ย่ิงใหญ่หรอื การ จัดทศั นศกึ ษา

เจ้า คุณธรรม และอาจเชอื่ มโยงไปถงึ สหัชญาณ (Intuition) ต า ม แ ห ล่ ง วั ด แ ล ะ

โบราณสถานท่ีสา่ คัญ

2. การจดั การเรยี นรแู้ บบ Socratic

Socrates หรอื โสเครตีสผู้ไดร้ ับการยกย่องว่าเป็นบดิ าแห่งปราชญ์ตะวันตก ทัง้ ๆ ทไ่ี มเ่ คยมีบันทึก
ต่าราหรืองานเขียนของตนเองเลยแม้แต่ชิ้นเดียว พร้อมๆ กันน้ัน Socrates ยังได้ช่ือว่าเป็นปราชญ์ผู้
ไม่รู้อะไรเลย จากพฤติกรรมการสอนและการถ่ายทอดความรู้ รวมท้ังการเสาะแสวงหาความรู้และ
ขอ้ เท็จจริงผ่านเทคนคิ การถามคา่ ถามมากมาย

แม้ท้ายที่สุด… วิธีสื่อสารการสอนด้วยค่าถาม จะถูกแปลเป็นความท้าทายต่ออ่านาจการ
ปกครองในกรีกจนถูกตัดสินให้ตายด้วยยาพิษ… Socrates ยังยินดีเข้าคุกรอวันประหาร และยังคง
ซักถามสืบค้นกับบรรดาลูกศิษย์ลูกหาและผู้นับถือกันในคุก จนถึงนาทีที่รับโทษกลืนยาพิษลงคอตาม
ค่าพพิ ากษา

หลักการสอนของ Socrates เกิดขึ้นตั้งแต่สองพันส่ีร้อยกว่าปีมาแล้ว โดยวิธีสอนแบบ
Socrates เป็นการเรียนการสอนที่ให้ผู้เรียนใช้เหตุผลในการสืบค้นร่วมกันโดยการสนทนา และใช้
ค่าถามแบบตอ่ เนื่องเป็นเครอื่ งมือสา่ คญั เพ่อื เขา้ ถึงความจริง

วิธสี อนแบบ Socrates เช่ือวา่ การศกึ ษาเป็นกิจกรรมทางจิต ไม่ใช่วธิ ีน่าความรู้หรือหลักสูตร
มามอบให้แก่ผู้เรียน ผู้สอนคือบุคคลท่ีรู้ความไม่รู้ของตนเอง และใช้ความไม่รู้เป็นส่ิงกระตุ้นให้เกิด
ความเข้าใจท่ีดกี วา่ ผสู้ อนเป็นผู้ช่วยใหผ้ เู้ รียนเกดิ ความคดิ เป็นของตนเอง

ทักษะส่าคัญของผู้สอนจึงได้แก่ ทักษะการมอบความรับผิดชอบให้แก่ผู้เรียน ไม่ใช่การมอบ
คา่ ตอบให้ผู้เรยี น หรือแม้แต่มอบตัวเลอื กค่าตอบใหผ้ ูเ้ รียน

วิธีสอนแบบ Socrates มีจุดมุ่งหมายเพ่ือค้นหาความเข้าใจและความรู้ส่วนบุคคล มุ่งให้
ผู้เรยี นไดพ้ บความจริงของสิ่งที่ก่าลังอภิปราย… วิธีสอนแบบ Socrates ชว่ ยให้เรานยิ ามและเข้าใจมโน
ทศั นห์ รือภาพรวมทศี่ ึกษาและใช้ในชีวิตประจา่ วันอยู่แลว้ ชดั เจนขนึ้ … วธิ สี อนแบบ Socrates สามารถ
ใชเ้ ปน็ กลยุทธ์การสอนได้ในทุกรายวิชาในทกุ ระดับการศึกษา

วิธีสอนแบบ Socrates จะจัดการเรียนการสอน โดยให้ผู้เรียนใช้เหตุผลในการสืบเสาะ หรือ
Enquery ร่วมกันด้วยการสนทนาแบบที่เรียกว่า Dialogical Enquiry และมีการใช้ค่าถาม
แบบต่อเนอื่ งเป็นเครื่องมือส่าคัญ เพอ่ื เขา้ ถงึ ความจรงิ …

การตีความวิธีจัดการเรียนการสอนแบบ Socrates ถูกตีความและประยุกต์ใช้ในแวดวง
การศึกษาอย่างหลากหลาย โดยเฉพาะการฝึกวิชาชีพทนายความ ซ่ึงนักการศึกษาทั่วโลกล้วนเห็น
ประโยชน์ และแนวทางการจัดการเรียนการสอนแบบ Socrates ก็ไม่ได้มีอะไรซับซ้อนที่จะเข้าใจ แต่
การน่าไปใช้ในระหว่างการเรียนการสอนจริงๆ เกิดข้ึนน้อยมากเพราะวิธีสอนแบบ Socrates ไม่
สามารถ “ควบคุม” ข้อเท็จจริงที่เกิดระหว่างสนทนาถามตอบได้หมด ซึ่งการสอนแบบเอาข้อเท็จจริง
เท่าท่ีมีมาสอนหรือบอกต่อ จะควบคุมหรือจ่ากัดได้ทั้งเวลาและข้อเท็จจริงของข้อมูลหรือความรู้น้ันๆ
ง่ายกวา่

ในแวดวงการศึกษาที่กล่าวถึง Socrates Method ส่วนใหญ่ จะยึดแนวทางการตีความและ
ประยุกต์ใช้งานอยู่ 2 แนวทางหลักคือ แบบยุโรปกับแบบอเมริกา ซ่ึงมีลักษณะทั้งที่เหมือนกันและ
ต่างกนั ในหลายๆ ประเด็นเชน่

แบบอเมรกิ า
ใช้เรอ่ื งราวเชิงปรัชญา อาจจะเปน็ นิทานหรือเรอ่ื งแต่งขึ้น เป็นจดุ เรม่ิ ตน้
ไม่จ่ากัดเรื่องทอี่ ภิปราย โดยใหผ้ ูเ้ รยี นเสนอ
แสดงทัศนะทต่ี ่างออกไป
สืบค้นโดยการสนทนา
เขียนคา่ ถามก่อนการอภิปราย
ทบทวนการอภิปรายโดยการพดู
มีกิจกรรมตอนท้ายและแบบฝกึ หดั

แบบยโุ รป
ใชค้ ่าถามเชิงปรชั ญาเป็นจดุ เร่มิ ตน้ ไม่มีสื่อหรอื เรอื่ งเล่า
เน้นคา่ ถามเดยี วหรือปญั หาเดยี ว โดยผู้สอนเป็นผู้ก่าหนด
มุง่ เปา้ ใหไ้ ด้ความคิดเหน็ ท่สี อดคล้องกนั
ใช้การสนทนาและการทบทวนตอนทา้ ย
คา่ ถาม/ข้อความ เขียนขึ้นระหว่างการอภปิ ราย
ทบทวนโดยการเขียน
การสนทนาต่อไป
แตไ่ ม่ว่าจะอยา่ งไร วธิ กี ารสอนแบบ Socrates มีความยืดยุ่นในสองแนวทางทว่ี นใชร้ ่วมกันใน
ระหวา่ งแลกเปลย่ี นเรียนร้คู อื Socratic Enquiry และ Socratic Questioning เสมอ

Socrates Enquiry หรือการสืบค้นแบบโสเครตีส เป็นเทคนิคการสอนแบบใช้ค่าถาม
“สืบเสาะค้นคว้า” หาค่าตอบแทนการเล่า อธิบายหรือบรรยายค่าตอบโดยตรง… หมายความว่า แม้
องค์ความรู้ที่มีอยู่เดิมหากใช้สอนผู้เรียนคนใหม่หรือกลุ่มใหม่ ก็ยังคงใช้กลไกค่าถามเพ่ือการเรียนการ
สอน แทนการบรรยายบอกเล่า ซึ่งแนวทาง เทคนิคและวิธีการต้ังค่าถาม ก็จะใช้ Socratic
Questioning ออกแบบค่าถาม สกัดเอาค่าตอบเพื่อให้ผู้เรียนและกลุ่มสนทนาเข้าใจแจ่มแจ้งหรือถึง
บางออ้ “ด้วยตัวเอง“

ถึงตรงน้ีจะขอข้าม Socrates Method โดยเฉพาะกรณี Socratic Enquery กลับไปพูดถึง
การสอบแบบ Open Book Exam ท่ีใช้แนวทาง Socratic Questioning มาใช้สอบวัดความรู้ ซ่ึงทิ้ง
ค้างรายละเอียดไว้จากบทความเรื่อง Assessment Method Designed ส่าหรับ Open Book
Examination… ซง่ึ Socratic Questioning เปน็ แนวทางสา่ คัญในการออกแบบการสอบที่แนะน่ากัน
อยา่ งกว้างขวางในชว่ งท่ที ุกประเทศเจอ Covidisruption ที่ Remote Learning ต้องพฒั นาไปสดุ ทาง
คอื ตอ้ งเรยี นและสอบแบบ Remote ได้จริงๆ

กอ่ นอ่ืนมาทา่ ความเขา้ ใจกับ “แนวทางการตั้งค่าถาม” แบบ Socrates ดูกอ่ น
เป็นค่าถามปลายเปิด ท่ีถามโดยผู้ถูกถามรู้ว่าผู้ถามก็ไม่รู้… ทวนอีกรอบ!… ถามโดย “ผู้ถูก
ถาม” ร้วู ่า “ผถู้ าม” ก็ไม่รคู้ ่าตอบเช่นกัน
เปน็ คา่ ถามท่ีกระตุ้น “การสบื เสาะค้นคว้า” ซงึ่ คนถามเองก็รู้อยู่แลว้ ว่าหาค่าตอบตรงๆ ไม่ได้
หรอก
เป็นคา่ ถาม “เร้าคดิ ” หรือเปน็ คา่ ถาม “ชวนคดิ อยา่ งย่งิ ”
เป็นค่าถามปลายเปดิ ที่มีช้ันคา่ ถามปลายเปิดอกี ชดุ หน่งึ ซ้อนรอหาค่าตอบแทรกอยู่
เน้นคา่ ตอบหรือหนทางได้คา่ ตอบ จากมโนทัศน์ หรอื จนิ ตภาพทป่ี รากฏ
เนน้ สืบเสาะหาคา่ ตอบท่ลี ึกซง้ึ และชัดเจน
เน้นหาค่าตอบเพ่ือสร้าง “คุณค่า” โดยค่าตอบเน้นคุณค่าและความส่าคัญของค่าถามหรือ
ปัญหานน่ั เอง
เน้นค่าตอบที่บ่มเพาะอุปนิสัยการตั้งค่าถามและอุปนิสัยการหาค่าตอบด้วยตนเอง อันเป็น
ทักษะส่าคัญในการท่าความเข้าใจค่าถาม หรือ อีกช่ือหน่ึงของค่าถามคือปัญหา กับหนทางแก้ไข หรือ
อีกช่ือหน่ึงของหนทางการแก้ไขปัญหาก็คอื คา่ ตอบน่นั เอง

จากแนวทางข้างต้น เราสามารถพิเคราะห์ดู “ลักษณะของค่าถามแบบ Socrates
Questioning” ไดด้ ังตอ่ ไปน้ี

Clarification Question หรือถามเอาความชัดเจน จะเป็นค่าถามเพ่ือถามหาค่าอธิบาย
ความหมาย ตัวอย่าง เช่น ช่วยอธิบายได้ม๊ัยว่า………., เด็กดีในทัศนของคุณหมายถึงเด็กแบบไหน?,
ประเด็น………. เกยี่ วขอ้ งกับ………. ในมติ ใิ ดอย่างไรและเกีย่ วข้องกบั ประเดน็ ไหนอย่างไรอีก เปน็ ต้น

Reason and Evidence หรอื ถามเหตุหาผลและหลกั ฐานยืนยนั จะเป็นคา่ ถามสบื ค้นหาที่มา
ที่ไป และประจักษ์พยานหลักฐาน เช่น ค่าถามทดสอบความเชื่ออย่าง รู้ได้อย่างไรว่า……….?, หรือ
คา่ ถามเชิงโต้แย้งอยา่ ง ทา่ ไมจึงคิดว่า……….?, มีเหตผุ ลอะไรให้……….?, มีหลักฐานมัย๊ ?, ยกตัวอย่างได้
หรือไม่ เป็นต้น

Alternative Views หรือ ถามหาทางเลือกอ่ืน จะเป็นค่าถามหาทางเลือกทดแทน ผ่าน
มมุ มองต่างและสมมตุ ฐิ านดว้ ยตัวแปรต่าง เชน่ มีมมุ มองและทศั นคติตา่ งกวา่ นี้มั๊ย?, จะเป็นอยา่ งไรถ้า
มผี อู้ ืน่ เสนอว่า………., ทัศนคติน้ีตา่ งจากทัศนคติน้นั แคไ่ หนอยา่ งไร? เป็นต้น

Implication and Consequence หรือ ถามหานัยยะและผลท่ีตามมา เป็นค่าถามสืบค้น
เสาะแสวงถึงความหมายแฝงและ “ฉากทัศน์ที่เป็นไปได้” ต่างๆ เช่น อะไรจะเกิดได้บ้างจากตรงนี้?,
จะพิสูจน์ว่า………. เป็นจริงหรือเท็จดังกล่าวอย่างไรได้บ้าง, ส่ิงน้ีสอดคล้องกับส่ิงน้ันอย่างไรและมีผล
ถงึ ส่งิ อนื่ อีกหรือไมแ่ ค่ไหนอย่างไร?

Question and Discussion หรือค่าถามและการถกแถลง ซ่ึงเป็นค่าถามเปิดกว้าง พร้อมค่า
แถลงท่ีเปิดกว้าง ส่วนใหญ่เป็นแนวการสืบค้นเสาะแสวงประเด็นเพ่ิมเติมบ้าง หรือหาทางยืนยันถ้อย
แถลงอันครบถว้ นสมบรู ณบ์ ้าง เชน่ จากขอ้ มลู แบบน้ันเราสามารถตอบยนื ยนั สิ่งน้ีได้แบบไหนอย่างไร?,
เราสามารถสรปุ ………. อยา่ งไรได้บา้ ง?

สรุปจะเห็นได้ว่าวิธีการของโสคราตีสนั้นมีสิ่งที่ส่าคัญคือการถาม-ตอบ ซึ่งการถาม-ตอบ
เพ่ือท่ีจะบรรลุจุดมุ่งหมายคือการพัฒนาความรู้ได้นั้นก็ต้องอาศัยวิธกี ารตั้งค่าถามท่ีมีประสิทธิภาพ ไม่
ถามอยา่ งไรเ้ หตผุ ล ดงั น้นั คา่ ถามจึงเป็นส่วนที่สา่ คญั มากในวธิ กี ารของโสคราตสี คา่ ถามแบบโสคราตีส
( Socratic Questioning )คือ ระเบียบวิธีการตั้งค่าถามส่าหรับใช้ในการค้นหาความคิดในหลายๆ
ทิศทางเพ่ือวัตถุประสงค์ต่างๆ เช่น เพื่อค้นหาความจริงสากล เพื่อค้นหาความคิดที่ซับซ้อน เพ่ือเปิด
ประเด็นปัญหา เพ่ือเปิดเผยสมมุติฐาน เพ่ือวิเคราะห์แนวคิด เพ่ือจ่าแนกสิ่งต่างๆ หรือเพ่ือประยุกต์
ความคิดอย่างมีตรรกะ ลักษณะของค่าถามแบบโสคราตีสคือ เป็นค่าถามที่เป็นระบบ มีระเบียบวิธีที่
ชัดเจน มีความลึก และปกติจะพุ่งจุดศูนย์รวมไปท่ีแนวคิดพ้ืนฐาน หลักการ ทฤษฎี ประเด็นปัญหา
หรือตัวปัญหาค่าถามแบบโสคราตีสมีวัตถุประสงค์เพ่ือศึกษาและพัฒนาความคิด ดังน้ันจึงมีประโยชน์
ในการเรียนการสอน ซ่ึงในการเรียนการสอนนั้นสามารถใช้ค่าถามแบบโสคราตีส เพ่ือวัตถุประสงค์
อยา่ งนอ้ ย 2 ประการคือ

1.เพือ่ เจาะลึกเข้าไปในความคิดของนิสิตนักศึกษา เพ่ือช่วยให้นิสิตนกั ศึกษาสามารถแยกแยะ
ส่ิงทต่ี นรู้หรือเขา้ ใจออกจากสงิ่ ท่ีตนไม่รูห้ รือไมเ่ ขา้ ใจ

2. เพ่ือเสริมสร้างขีดความสามารถในการใช้ค่าถามแบบโสกราตีสให้แก่นิสิตนักศึกษา ให้
น่ามาใช้เป็นเครื่องมือหลักในการถกเถียงแบบโสกราตีส ( Socratic dialogue ) ได้ ท้ังน้ีเพ่ือให้นิสิต
นกั ศกึ ษาใช้เครื่องมือนีไ้ ด้ในชวี ิตประจา่ วัน ( สา่ หรบั การถามตนเองและถามผ้อู นื่ )

3. วิธีการของโสกราตสั ผา่ น บทสนทนา เมื่อโสกราตีส จะสนทนาเร่อื งอะไร เขามักจะเรม่ิ ต้น
ด้วย การช้ีให้เห็นว่า ความคิดเห็นนั้น ไม่มีเหตุผลเป็นหลกั ฐานสนับสนนุ เพียงพอ ดังน้ันจึงจ่าเป็นตอ้ ง
แก้ไขความคิดเห็นให้ถูกต้อง โกราตีส ช่วยคู่สนทนาแก้ไขความคิดเห็นท่ีไม่ถูกต้องของพวกเขา โดย
แนะน่าตวั อยา่ งทเี่ หมาะสม

บรรณานกุ รม

David M. Eagleman (เดวดิ อีเกิลแมน). (2563). ความลับของสมอง. แปลโดยอรดา ลีลา
นุช. แอร์โรว์ มลั ตมิ เี ดีย, บจก.

กลไกสมองสองซีกกบั ความคิดสรา้ งสรรค์ของมนุษย์. สืบค้นเม่อื 24 มกราคม 2565. จาก
https://so03.tci-thaijo.org/index.php/oarit/article/download/90052/70786/

ความคดิ สร้างสรรค:์ ส่งเสริมอยา่ งไรในวัยอนบุ าล Creative. สบื ค้นเม่อื 26 มกราคม 2565.
จากThinkinghttps://so02.tcithaijo.org/index.php/suedujournal/article/

เรอ่ื งของสมองที่คณุ อาจยังไมร่ ู้. สบื ค้นเมื่อ 25 มกราคม 2565. จาก
https://www.scimath.org/article-biology/item/

วธิ สี อนแบบ โสเครตสิ (socrates method). สบื ค้นเมอ่ื 27 มกราคม 2565. จาก
http://watcharinnott.blogspot.com/

มุมมองใหม่ของการเรยี นร้ศู ิลปะการตั้งคา่ ถามโดยวิธีโสเครตสิ . สืบคน้ เมอื่ 27 มกราคม
2565. จาก http://lib.edu.chula.ac.th/IWEBTEMP/25650410/36060621021332.

Socratic Method of Teaching. สบื ค้นเมอ่ื 27 มกราคม 2565. จาก
http://edu.psu.ac.th/research/pdf/articles/2554/2-2554.pdf

ประวตั ิผู้จัดท่า

ชอ่ื -สกุล นางสาวธารารตั น์ โพธง์ิ าม

ชื่อเลน่ รส

ประวตั ิการศึกษา ปริญญาตรี มหาวทิ ยาลัยราชภัฏเพชรบรุ ี

อเี มลล์ [email protected]


Click to View FlipBook Version