The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

Technical Efficiency Studies and Changes in Productivity in Rice Cultivation of Young Farmers in Udon Thani and Nong Bua Lamphu Provinces

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by Tr, 2024-01-23 01:45:22

Technical Efficiency Studies and Changes in Productivity in Rice Cultivation of Young Farmers in Udon Thani and Nong Bua Lamphu Provinces

Technical Efficiency Studies and Changes in Productivity in Rice Cultivation of Young Farmers in Udon Thani and Nong Bua Lamphu Provinces

การศึกษาประสิทธิภาพเชิงเทคนิคและการเปลี่ยนแปลงผลิตภาพการผลิตในการปลูกขาว ของเกษตรกรรุนใหมจังหวัดอุดรธานี และจังหวัดหนองบัวลำภู สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตรที่ 3 REGIONAL OFFICE OF AGRICULTURAL ECONOMICS 3สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร OFFICE OF AGRICULTURAL ECONOMICS กระทรวงเกษตรและสหกรณ MINISTRY OF AGRICULTURE AND COOPERATIVES เอกสารวิจัยเศรษฐกิจการเกษตรเลขที่ AGRICULTURAL ECONOMICS RESEARCH NO. กันยายน 2565 SEPTEMBER 2022


(ง) Abstract Technical efficiency studies and changes in productivity in rice cultivation of young farmers in Udon Thani and Nong Bua Lamphu provinces. The objective is to compare the cost of production and returns of farmers who use innovation for agriculture and farmers in general, to study the technical efficiency of changing the productivity of farmers who use innovation for agriculture, and to develop guidelines for developing farmers' potential with innovations for agriculture.The data was compiled from interviews with 30 young farmers who produced rice in 2018/19 and 2021/22 crop years and 30 farmers who produced paddy in 2021/22. The research results showed that in the 2021/22 crop year, young farmers had an average total production cost of 5,194.63 baht per rai, with an average variable cost of 3,908.98 baht per rai and an average fixed cost of 1,285.65 baht per rai. Therefore, it has an average yield of 5,234.25 baht per rai. When returns are deducted from the cost of production, a new generation of farmers is allowed to return. The average net return (profit) is 39.62 baht per rai or 0.08 baht per kilogram. For general farmers, the total production cost is 4,285.64 baht per rai, with a variable cost of 3,222.89 baht per rai and a fixed cost of 1,062.75 baht per rai. Therefore, it has an average yield of 3,808.46 baht per rai. When bringing returns, deducted by the cost of production. As a result, young farmers have an average net return (profit) of -477.18 baht per rai or -1.32 baht per kilogram. When comparing the cost and yield of rice production in the 2021/22 crop year of young farmers and ordinary farmers, it can be seen that young farmers have an average production cost per rai higher than ordinary farmers at 948.61 baht per rai and have an average yield per rai higher than the average farmer of 135.79 kg per rai. As a result, young farmers have a higher average net return (profit) than the average farmer at 516.80 baht per rai, or 13.57 percent. According to the 2021/22 Rice Production Technical Efficiency Study of Young Farmers, the DEA found that young farmers had an average technical efficiency of 0.943, indicating that there was a production surplus and the input surplus was seed, chemical fertilizers, and the inputs. Organic fertilizers Machine labor and manual labor Performance analysis section per size It found that the average production size efficiency level of 0.870, which is less than 1, indicates inefficiency from production size, and is largely in the return-tosize range. This indicates that young farmers are also overusing inputs. And by analyzing the factors affecting the technical efficiency of rice production by the Fractional Regression Model method, it was found that the factors that affect the technical efficiency include experience in farming. The number of technologies used for farming and the number of water bodies used


(จ) for farming. The increase in the number of technologies used for farming and the increase in the number of water bodies used for farming will result in increased technical efficiency. Measuring the change in the productivity of rice production for the year of young farmers. In the 2018/19 crop year and the 2021/22 crop year with the Malmquist index based on the use of inputs and yields obtained. It was found that the average production productivity change was 1.389, the average technical performance change in the use of inputs was 1.145, and the average technical performance change in production technology was 1.166 This indicates that the productivity of young farmers in the 2021/22 crop year increased compared to the 2018/19 crop year, as a result of which the new generation of farmers has developed more techniques for using inputs and the development of better production technologies. Guidelines for developing farmers' potential through innovations for agriculture by developing the concept or attitude of farmers towards agricultural careers. Farmers must have a passion for farming careers. Have ambition and apply knowledge to good use. Study and learn to keep up with changing circumstances. Join groups and network to exchange, learn and help each other, and be open to accepting new things. Some of the experiments should be carried out in order to see tangible results and then apply or expand the results, and innovations should be selected to suit the conditions of the area. The government should actively and continuously participate in promoting and supporting farmers. Both in production and marketing. Useful information and information, including supporting modern innovations for farmers to choose appropriately for the area.To enable farmers to create new innovations for their own use at affordable prices, as well as to promote Disseminate techniques, methods of production from knowledgeable or successful people. Continuously alert farmers to information. Both before and during the growing season, especially natural disaster data. In addition, the government should develop information to be accurate. Modern, accessible Convenient and fast.By developing a data platform to be connected to cover all aspects of agriculture, and most importantly, developing the potential of farmers to be knowledgeable. It can access and take advantage of these innovations too. Keywords: young farmers, technical efficiency, productivity, technology and innovation agriculture


(ข) บทคัดยอ การศึกษาประสิทธิภาพเชิงเทคนิคและการเปลี่ยนแปลงผลิตภาพการผลิตในการปลูกขาว ของเกษตรกรรุนใหมจังหวัดอุดรธานีและหนองบัวลำภู มีวัตถุประสงคเพื่อศึกษาเปรียบเทียบตนทุนการผลิตและ ผลตอบแทนของเกษตรกรที่ใชนวัตกรรมเพื่อการเกษตร และเกษตรกรทั่วไป เพื่อศึกษาประสิทธิภาพเชิงเทคนิค การเปลี่ยนแปลงผลิตภาพการผลิตของเกษตรกรที่ใชนวัตกรรมเพื่อการเกษตร และจัดทำแนวทางการพัฒนา ศักยภาพเกษตรกรดวยนวัตกรรมเพื่อการเกษตร โดยรวบรวมขอมูลจากการสัมภาษณเกษตรกรรุนใหมที่ผลิตขาว นาป ปเพาะปลูก 2561/62 และปเพาะปลูก 2564/65 จำนวน 30 ราย และเกษตรกรทั่วไปที่ผลิตขาวนาป ปเพาะปลูก 2564/65 จำนวน 30 ราย ผลการศึกษาวิจัย พบวา ในปเพาะปลูก 2564/65 เกษตรกรรุนใหมมีตนทุนการผลิตรวมเฉลี่ย 5,194.63 บาทตอไร โดยเปนตนทุนผันแปรเฉลี่ย 3,908.98 บาทตอไรและตนทุนคงที่เฉลี่ย 1,285.65 บาทตอ ไร ผลผลิตเฉลี่ย 498.50 กิโลกรัมตอไร ราคาที่เกษตรกรขายได 10.50 บาทตอกิโลกรัม จึงมีผลตอบแทนเฉลี่ย 5,234.25 บาทตอไร เมื่อนำผลตอบแทนหักดวยตนทุนการผลิต ทำใหเกษตรกรรุนใหม มีผลตอบแทนสุทธิ(กำไร) เฉลี่ย 39.62 บาทตอไร หรือ 0.08 บาทตอกิโลกรัม สำหรับเกษตรกรทั่วไป มีตนทุนการผลิตรวมเฉลี่ย 4,285.64 บาทตอไร โดยเปนตนทนุผันแปร 3,222.89 บาทตอไรและตนทุนคงที่ 1,062.75 บาทตอไร ผลผลิตเฉลี่ย 362.71 กิโลกรัมตอ ไรราคาที่เกษตรกรขายได10.50 บาทตอกิโลกรัม จึงมีผลตอบแทนเฉลี่ย 3,808.46 บาทตอไรเม่ือนำ ผลตอบแทนหักดวยตนทุนการผลิต ทำใหเกษตรกรรุนใหมมีผลตอบแทนสุทธิ(กำไร)เฉลี่ย -477.18 บาทตอไร หรือ -1.32 บาทตอกิโลกรัม เมื่อเปรียบเทียบตนทุนและผลตอบแทนการผลิตขาวนาป ปเพาะปลูก 2564/65 ของ เกษตรกรรุนใหม และเกษตรกรทั่วไป จะเห็นไดวาเกษตรกรรุนใหมมีตนทุนการผลิตเฉลี่ยตอไรสูงกวาเกษตรกร ทั่วไป 948.61 บาทตอไร และ มีผลผลิตเฉลี่ยตอไรสูงกวาเกษตรกรทั่วไป 135.79 กิโลกรัมตอไร จึงทำให เกษตรกรรุนใหมมีผลตอบแทนสุทธิ(กำไร)เฉลี่ยสูงกวาเกษตรกรทั่วไป 516.80 บาทตอไร หรือคิดเปนรอยละ 13.57 จากการศึกษาประสิทธิภาพเชิงเทคนิคในการผลิตขาวนาป ปการเพาะปลูก 2564/65 ของ เกษตรกรรุนใหม ดวยวิธี DEA พบวา เกษตรกรรุนใหมมีคาประสิทธิภาพเชิงเทคนิคเฉลี่ยเทากับ 0.943 แสดงวา มีสวนเกินการผลิต และสวนเกินปจจัยการผลิตคือ เมล็ดพันธุ ปุยเคมี ปุยอินทรีย แรงงานเครื่องจักร และ แรงงานคน สวนการวิเคราะหประสิทธิภาพตอขนาด พบวามีระดับประสิทธิภาพจากขนาดการผลิตเฉลี่ยเทากับ 0.870 ซึ่งมีคานอยกวา 1 แสดงถึงความไมมีประสิทธิภาพจากขนาดการผลิต และสวนใหญอยูในชวงผลตอบแทน ตอขนาดเพิ่มขึ้น แสดงวาเกษตรกรรุนใหมยังมีการใชปจจัยการผลิตที่มากเกินไป สามารถลดปจจัยการผลิตลง ไดอีก เพื่อปรับเปลี่ยนขนาดการผลิตใหเหมาะสม และจากการวิเคราะหปจจัยที่มีผลตอประสิทธิภาพเชิงเทคนิค การผลิตขาวนาป ดวยวิธี Fractional Regression Model พบวา ปจจัยที่สงผลตอประสิทธิภาพเชิงเทคนิค ไดแก ประสบการณในการทำนา จำนวนเทคโนโลยีที่ใชทำนา และจำนวนแหลงน้ำที่ใชทำนา โดยหากเกษตรกรมี ประสบการณในการทำนา จำนวนเทคโนโลยีที่ใชทำนา และจำนวนแหลงน้ำที่ใชทำนาเพิ่มขึ้น จะสงผลใหมี ประสิทธิภาพเชิงเทคนิคเพิ่มขึ้น


(ค) การวัดการเปลี่ยนแปลงผลิตภาพการผลิตขาวนาปของเกษตรกรรุนใหม ในปเพาะปลูก 2561/62 และ ป เพาะปลูก 2564/65 ดวยดัชนี Malmquist จากการใชปจจัยการผลิตและผลผลิตที่ไดรับ พบวา คาการ เปลี่ยนแปลงผลิตภาพการผลิตเฉลี่ย เทากับ 1.389 คาการเปลี่ยนแปลงประสิทธิภาพเชิงเทคนิคดานการใช ปจจัยการผลิตเฉลี่ย เทากับ 1.145 และคาการเปลี่ยนแปลงประสิทธิภาพเชิงเทคนิคดานเทคโนโลยีที่ใชในการ ผลิตเฉลี่ย เทากับ 1.166 ซึ่งคาการเปลี่ยนแปลงทั้งหมดมีคามากกวา 1 แสดงวา ผลิตภาพการผลิตของเกษตรกร รุนใหม ปเพาะปลูก 2564/65 เพิ่มขึ้นเมื่อเทียบกับปเพาะปลูก 2561/62 ทั้งนี้เปนผลมาจากการที่เกษตรกรรุน ใหมมีการพัฒนาเทคนิคดานการใชปจจัยการผลิตเพิ่มขึ้น และพัฒนาเทคโนโลยีท่ใีชในการผลิตที่ดีขึ้น แนวทางการพัฒนาศักยภาพเกษตรกรดวยนวัตกรรมเพื่อการเกษตร โดยการพัฒนาแนวคิด หรือ ทัศนคติของเกษตรกรตออาชีพการเกษตร โดยเกษตรกรตองมีใจรักในอาชีพการทำนา มีความใฝรู และ นำองคความรูมาปรับใชใหเกิดประโยชนมีการปฏิบัติในแปลงนาดวยความเอาใจใสศึกษาหาความรู ใหทันตอ สถานการณที่เปลี่ยนแปลง เขารวมกลุมและสรางเครือขายเพื่อแลกเปลี่ยนเรียนรูและชวยเหลือกัน พรอมเปดใจ ยอมรับสิ่งใหมๆ โดยนำมาทดลองปฏิบัติบางสวนเพื่อใหเห็นผลเปนรูปธรรมแลวจึงนำไปประยุกตใชหรือ ขยายผลและควรเลือกใชนวัตกรรมใหเหมาะสมกับสภาพพื้นที่ ควรปรับลดการใชปจจัยการผลิตลงใหเปนไปตาม หลักวิชาการ เพื่อลดตนทุนการผลิตและทำใหผลผลิตดีขึ้น โดยภาครัฐควรมีสวนรวมในการสงเสริมและสนับสนุน เกษตรกรอยางจริงจังและตอเนื่อง ทั้งในดานการผลิตและการตลาด ขอมูลขาวสารที่เปนประโยชน รวมถึงสนับสนุน องคความรูนวัตกรรมสมัยใหมเพื่อใหเกษตรกรเลือกใชไดอยางเหมาะสมกับพื้นที่ สนับสนุนองคความรูตาง ๆ เพื่อใหเกษตรกรสามารถสรางนวัตกรรมใหมๆใชเองไดในราคาประหยัด รวมทั้งประชาสัมพันธ เผยแพรเทคนิค วิธีการผลิตจากผูมีความรูหรือประสบความสำเร็จ แจงเตือนขอมูลใหเกษตรกรทราบอยางตอเนื่อง ทั้งกอนและ ระหวางฤดูการเพาะปลูก โดยเฉพาะขอมูลภัยธรรมชาติ สถานการณน้ำ และสภาพอากาศ อีกทั้งภาครัฐควร พัฒนาขอมูล ใหมีความถูกตอง ทันสมัย เขาถึงไดงาย สะดวกและรวดเร็ว โดยการพัฒนาแพลตฟอรมขอมูลให เชื่อมโยงครอบคลุมทุกดานทางการเกษตร และที่สำคัญตองพัฒนาศักยภาพเกษตรกรใหมีความรู สามารถ เขาถึงและใชประโยชนจากนวัตกรรมเหลานี้ดวย คำสำคัญ : เกษตรกรรุนใหม, ประสิทธิภาพเชิงเทคนิค, ผลิตภาพการผลิต, เทคโนโลยีและนวัตกรรม การเกษตร


Click to View FlipBook Version