The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

Economic Study of Production and Marketing for Dry Season Soybeans A Case Study of Loei, Nong Bua Lamphu and Udon Thani Provinces

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by Tr, 2024-01-23 01:45:31

Economic Study of Production and Marketing for Dry Season Soybeans A Case Study of Loei, Nong Bua Lamphu and Udon Thani Provinces

Economic Study of Production and Marketing for Dry Season Soybeans A Case Study of Loei, Nong Bua Lamphu and Udon Thani Provinces

เศรษฐก ิ จการผล ิ ตการตลาดถ ั่วเหลอ ื ง กรณีศึกษาจังหวัดเลย หนองบัวลําภู และอุดรธานี Economic study of production and marketing for Dry season soybeans A case study of Loei, Nong Bua Lamphu and Udon Thani provinces สํานักงานเศรษฐกิจการเกษตรที่3 สํานักงานเศรษฐกิจการเกษตร กระทรวงเกษตรและสหกรณเอกสารวิจัยเศรษฐกิจการเกษตรเลขที่ 103 กันยายน 2562 เศรษฐกิจการผลิตการตลาดถั่วเหลืองฤดูแลง กรณีศึกษาจังหวัดเลย หนองบัวลําภู และอุดรธานี Economic study of production and marketing for Dry season soybeans A case study of Loei, Nong Bua Lamphu and Udon Thani provinces 3 3 rd REGIONAL OFFICE OF AGRICULTURAL ECONOMICS สํานกังานเศรษฐกิจการเกษตร OFFICE OF AGRICULTURAL ECONOMICS ละสหกรณ MINISTRY OF AGRICULTURE AND COOPERATIVES 103 AGRICULTURAL ECONOMICS RESEARCH NO SEPTEMBER 2019 ฤดูแลง กรณศ ีึ กษาจ ั งหว ั ดเลย หนองบ ั วล ํ าภ ู และอ ุ ดรธาน ี Economic study of production and marketing for Dry season soybeans A case study of Loei, Nong Bua Lamphu and Udon Thani provinces REGIONAL OFFICE OF AGRICULTURAL ECONOMICSOFFICE OF AGRICULTURAL ECONOMICS AND COOPERATIVES AGRICULTURAL ECONOMICS RESEARCH NO.103


(ค) Abstract The study of production and marketing for dry-season soybean: A case study of Loei, Nong Bua Lamphu and Udon Thani provinces, aims to study cost and return of soybean production and comparative direct and indirect benefits of dry-season soybean cultivation as well as soybean marketing channel in those 3 provinces. The results showed that dry-season soybean growers in Loei Province obtained net return of -866.56 baht per rai. The return to production cost ratio was 0.80 due to low yield and high production cost. The growers in Nong Bua Lam Phu province had net return of 391.53 baht per rai. The return to production cost ratio was 1.10. In Udon Thani, those growers gained net return of 117.99 baht per rai, and the return to production cost ratio was 1.03. Farmers still received benefits from growing soybeans in both direct and indirect benefits, for example reducing use of chemical fertilizer, and chemicals in rice field. Most of soybean production were delivered to manufacturing to further transform into soybean oil or other products. This study also recommend policy guidelines for management of soybean production in the dry season in order to reduce costs, increase production, raise the quality of the products to meet standard and in line with market needs, and achieve maximum efficiency as follows:(1) government should support farmers to attend training on technology and innovation and using precise fertilizer based on soil analysis values with tracking system and stimulating the recording of data before and after the implementation of this technology / innovation. (2) For comparison and analysis of cost reduction, farmers should be convinced to join the large–plots farming in order to optimize production management services, increase efficiency and quality by looking at the market direction, forming group selling and processing products, creating bargaining power in markets, and (3) Campaign for soybean cultivation after rice farming season should also be promoted to increase yield and awareness in benefits of soybean cultivation after rice season because this can reduce cost of production of rice and increase yield in the following farming seasons.


(ข) บทคัดยอ การศึกษาเศรษฐกิจการผลิตการตลาดถั่วเหลืองฤดูแลง กรณีศึกษาจังหวัดเลย หนองบัวลําภู และอุดรธานี มีวัตถุประสงคเพื่อศึกษาตนทุนการผลิตและผลตอบแทนการผลิตถั่วเหลืองฤดู แลง เพื่อศึกษาเปรียบเทียบผลประโยชนทางตรงและทางออมจากการปลูกถั่วเหลืองฤดูแลง และเพื่อศึกษา วิถีการตลาดถั่วเหลืองฤดูแลง ในพื้นที่จังหวัดเลย จังหวัดหนองบัวลําภูและจังหวัดอุดรธานี ผลการศึกษา พบวา เกษตรกรผูปลูกถั่วเหลืองฤดูแลงจังหวัดเลยประสบปญหาการ ขาดทุนมีผลตอบแทนสุทธิไรละ -866.56 บาท อัตราสวนผลตอบแทนตอตนทุนการผลิต เทากับ 0.80 เนื่องจากมีผลผลิตตอไรต่ํา ตนทุนการผลิตสูง สงผลใหผลตอบแทนการผลิตตอไรต่ํา สวนจังหวัด หนองบัวลําภู และจังหวัดอุดรธานีมีกําไรจากปลูกถั่วเหลือง โดยจังหวัดหนองบัวลําภู มีผลตอบแทนสุทธิไร ละ 391.53 บาท อัตราสวนผลตอบแทนตอตนทุนการผลิต เทากับ 1.10 และจังหวัดอุดรธานี มี ผลตอบแทนสุทธิไรละ 117.99 บาท อัตราสวนผลตอบแทนตอตนทุนการผลิต เทากับ 1.03 อยางไรก็ตาม เกษตรกรยังไดรับผลประโยชนจากการปลูกถั่วเหลืองทั้งผลประโยชนทางตรงและผลประโยชนทางออม เชน ลดการใชปุยเคมี และสารเคมีในนาขาว วิถีการตลาดถั่วเหลืองสวนใหญผลิตเพื่อจําหนาย เขาสูโรงงาน อุตสาหกรรมเพื่อแปรรูปเปนผลิตภัณฑน้ํามันถั่วเหลืองหรือผลผลิตภัณฑอื่นๆตอไป ขอเสนอแนะ แนวทางการจัดทํามาตรการ นโยบาย ในการบริหารจัดการการผลิตถั่ว เหลืองฤดูแลงเพื่อลดตนทุน เพิ่มผลผลิต และยกระดับคุณภาพผลผลิตสูมาตรฐาน รวมทั้งสอดคลองกับความ ตองการของตลาด และเกิดประสิทธิภาพสูงสุด คือรัฐควรสนับสนุนใหเกษตรกรทั่วไปเขารับการอบรม เทคโนโลยีและนวัตกรรมการใชปุยตามคาวิเคราะหดิน เพื่อใหใชปุยในปริมาณที่เหมาะสม ทําใหสามารถลด ตนทุนการผลิตลงได และควรมีระบบการติดตามและกระตุนการจดบันทึกขอมูลในชวงกอน-หลังการนํา เทคโนโลยี/นวัตกรรมนี้มาใชเพื่อนํามาเปรียบเทยีบ/วิเคราะหขอมูลผลการลดตนทุน ควรผลักดันใหเกษตรกร มีการรวมกลุมแบบแปลงใหญ เพื่อใหมีการบริการจัดการการผลิต เพิ่มประสิทธิภาพการผลิตและเพิ่มคุณภาพ การผลิต โดยมองทิศทางการตลาดเปนสําคัญ มีการรวมกลุมกันขายผลผลิตและการแปรรูปผลผลิต สราง อํานาจตอรองดานการตลาดรวมกัน รณรงคใหเกษตรกรใสใจในวิธีการเพาะปลูกถั่วเหลืองหลังฤดูทํานา เพื่อ เพิ่มผลผลิตตอไรใหสูงขึ้น และประชาสัมพันธใหเกษตรกรเห็นประโยชนของการปลูกถั่วเหลืองหลังฤดูทํานา เนื่องจากสามารถลดตนทนุการปลูกขาวนาปและเพิ่มผลผลิตตอไรใหสูงขึ้นได


Click to View FlipBook Version