The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

The Study on Cost Production And Technical Efficiency System of Rice Collaborative Farming A Case Study of Northeastern Region.

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by Tr, 2024-01-23 01:43:48

The Study on Cost Production And Technical Efficiency System of Rice Collaborative Farming A Case Study of Northeastern Region.

The Study on Cost Production And Technical Efficiency System of Rice Collaborative Farming A Case Study of Northeastern Region.

การศึกษาตนทุนการผลิต ประสิทธิภาพเชิงเทคนิคของการผลิตขาว แบบแปลงใหญ กรณีศึกษาพื้นที่ภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนบน The Study on Cost Production And Technical Efficiency System of Rice Collaborative Farming : A Case Study of Northeastern Region สํานักงานเศรษฐกิจการเกษตรท่ี3 3 rd REGIONAL OFFICE OF AGRICULTURAL ECONOMICSสํานักงานเศรษฐกิจการเกษตร OFFICE OF AGRICULTURAL ECONOMICS กระทรวงเกษตรและสหกรณ MINISTRY OF AGRICULTURE AND COOPERATIVES เอกสารวจิัยเศรษฐกิจการเกษตรเลขที่109 AGRICULTURAL ECONOMICS RESEARCH NO.109 กันยายน 2561 SEPTEMBER 2018


(ค) Abstract The study of production cost and technical efficiency of large-scale rice production in upper northeastern Thailand aims to study costs and technical efficiency of production as well as impacts of agricultural extension in large-scale system. The study also focused on scale efficiency and attitude of farmers towards large-scale agricultural extension by studying those farmers who grew up RD 6-glutinous rice upper northeastern region. The results showed that farmers in the large-scale project had lower production costs, higher yield, and higher net return than ordinary farmers about 53.07 baht per rai 18.99 kilograms per rai, and 528.21 baht per rai. Respectively because the farmers in the project were encouraged to reduce production costs. use of suitable seeds, and use fertilizer according to soil analysis through training and study visit. The rate of return on total cost of theose large-scale farmers is 1.26, which means that the farmers invest 1 baht will receive a return of 1.26 baht. The impact of large-scale project is reducing of variable costs by 317.79 baht per rai at 95% confidence level. Technical efficiency of production of farmers in the project are around 88.90 percent, in other words or 11.10 percent of use when inefficient production production factors. When comparing the technical efficiency of production of RD 6 glutinous rice the study found that farmers in the project gain better technical performance than those without large-scale. To maximize efficiency, this study suggests as follows: (1) the government should promote large-scale farming continuously by encouraging farmers to attend technical training, on precision fertilizers based on soil analysis. (2) farmers should record and compare the data before andafter the use of technology and (3) farmers should be urged to gather to be large group. In order to manage services, increase efficiency and quality by analyzing of market signal bargaining power in the market .


(ข) บทคัดยอ การศึกษาตนทุนการผลิต ประสิทธิภาพเชิงเทคนิคของการผลิตขาวแบบแปลงใหญ ภาค ตะวันออกเฉียงเหนือตอนบน มีวัตถุประสงคเพื่อศึกษาตนทุนการผลิตและประสิทธิภาพเชิงเทคนิคของการผลิต ผลกระทบที่เกิดจากการสงเสริมการเกษตรในระบบแปลงใหญ ประสิทธิภาพตอขนาด และทัศนคติของ เกษตรกรตอการสงเสริมการเกษตรแบบแปลงใหญโดยศึกษาขาวเหนียว พันธุ กข.6 ในพื้นที่ภาค ตะวันออกเฉียงเหนือตอนบน ผลการศึกษา พบวา เกษตรกรในโครงการมีตนทุนการผลิต ต่ํากวาเกษตรกรนอกโครงการ แปลงใหญ ไรละ 53.07 บาท มีผลผลิตตอไรมากกวาไรละ 18.99 กิโลกรัมและมีผลตอบแทนสุทธิสูงกวาไรละ 528.21 บาท เนื่องจาก เกษตรกรในโครงการไดรับการสงเสริมใหลดตนทุนการผลิต ในเร่ืองการใชเมล็ดพันธุที่ เหมาะสม การใชปุยตามคาวิเคราะหดิน ในรูปแบบการอบรมและศึกษาดูงานกอใหเกิดองคความรูสูการ ปฏิบัติงานจริง ไดรับการสงเสริมเรื่องของการเพิ่มผลผลิต และเพิ่มคุณภาพผลผลิต อัตราผลตอบแทนตอตนทุน ทั้งหมดของเกษตรกรในโครงการ เทากับ 1.26 หมายความวาเกษตรกรในโครงการลงทุน 1 บาท จะได ผลตอบแทน 1.26 บาท ผลกระทบที่เกิดจากการสงเสริมการเกษตรในระบบแปลงใหญ สงผลใหเกษตรกรใน โครงการแปลงใหญมีตนทุนผันแปรลดลง อยางมีนัยสําคญัทางสถิติที่ระดับ 0.05 โดยลดลง 317.79 บาทตอไร มีประสิทธิภาพการผลิตเชิงเทคนิคเฉลี่ย รอยละ 88.90 หรือมีการใชปจจัยการผลิตที่ไมมีประสิทธิภาพ รอยละ 11.10 เมื่อเปรียบเทียบประสิทธิภาพเชิงเทคนิคของการผลิตขาวเหนียว พันธุ กข.6 ระหวางเกษตรกรใน โครงการ และเกษตรกรนอกโครงการแปลงใหญ จะเห็นไดวาเกษตรกรในโครงการ มีประสิทธิภาพทางเทคนิค ที่ดีกวา เกษตรกรนอกโครงการแปลงใหญ แนวทางในการเสนอแนะมาตรการ นโยบาย ในการบริหารจัดการการผลิตขาวแบบนาแปลง ใหญ ใหเกิดประสิทธิภาพสูงสุด คือ รัฐควรสงเสริมการเกษตรแบบแปลงใหญตอเนื่อง โดยสนับสนุนใหเกษตรกร เขารับการอบรมเทคโนโลยีเกี่ยวกับการใชปุยตามคาวิเคราะหดิน เพื่อใหใชในปริมาณที่เหมาะสม สามารถลด ตนทุนการผลิตลงไดและควรมีระบบการติดตามและกระตุนการจดบันทึกขอมูลในชวงกอน-หลังการนําเทคโนโลยี มาใช เพื่อนํามาเปรียบเทียบ/วิเคราะหขอมูลผลการลดตนทุน และควรผลักดันใหเกษตรกรมีการรวมกลุมแบบ แปลงใหญ เพื่อใหมีการบริการจัดการการผลิต เพิ่มประสิทธิภาพการผลิตและเพิ่มคุณภาพการผลิต โดยมอง ทิศทางการตลาดเปนสําคัญ มีการรวมกลุมกันขายผลผลิตและการแปรรูปผลผลิต สรางอํานาจตอรองดาน การตลาดรวมกัน


Click to View FlipBook Version