The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by วุฒิวงศ์ ปาลกะวงศ์, 2021-10-28 03:18:41

MagazineTLS4-2564

MagazineTLS4-2564

¾ÇÒ²Ñ Ã¹ÊÒÒÁÃҵðҹáç§Ò¹ัสดิการและคุมครองแ กรมสว รงงาน
»‚ 2564 ©ºÑº·Õè 4

à¹×Íé ËÒÀÒÂã¹àÅ‹Á»ÃСͺ´ÇŒ  µÔ´µÒÁÍÒ‹ ¹ä´·Œ Õè

 Thailand Labour Management Excellence Award 2021 http://tls.labour.go.th
 ·èÍÕ ºÑ ÍÒ¡ÒȤÍ× ÍÐäÃ
 ¡ÒÃãËŒ¤ÇÒÁÂ¹Ô ÂÍÁ㹡ÒÃÅ´¤‹Ò¨ŒÒ§

áÅСÒÃà»ÅÕè¹á»Å§ÊÀÒ¾¡ÒèҌ §â´Â»ÃÂÔ ÒÂ
 ÊÔ·¸Ô»ÃÐ⪹¨Ò¡¡Òè´Ñ ·Ó TLS8001 áÅÐ GLP

บทบรรณาธกิ าร

สวัสดีผู้อ่านทุกท่าน พบกันอีกครั้งกับวารสารพัฒนามาตรฐานแรงงาน ฉบับท่ี 4
ทีม่ เี นอื้ หาสาระแนน่ ฉบบั ดงั เดมิ

จากสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 ส่งผลกระทบ
ต่อเศรษฐกิจทั่วโลก แต่ยังมีสถานประกอบกิจการหลายแห่งในประเทศไทย
ยังคงสามารถบริหารจัดการธุรกิจของตนเองให้คงมีประสิทธิภาพและมาตรฐาน
โดยในช่วงเดือนกันยายน 2564 ท่ีผ่านมา ได้มีการมอบรางวัลถ้วยพระราชทานจาก
สมเด็จพระกนิษฐาธิราชเจ้า กรมสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี
ให้กับสถานประกอบกิจการขนาดใหญ่ ขนาดกลาง และขนาดเล็ก ท่ีผ่านการคัดเลือก
เป็นสถานประกอบกิจการท่ีมีความมุ่งม่ันในการบริหารแรงงานอย่างเป็นมาตรฐาน
ครบ 3 ด้าน เพื่อเชิดชูเกียรติและเป็นแบบอย่างที่ดีในการบริหารจัดการด้านแรงงาน
แก่สถานประกอบกิจการอื่น และยังมีบทความเก่ียวกับความปลอดภัยที่น่าสนใจ
ได้แก่ “ท่ีอับอากาศคืออะไร” ส่วนคำ�พิพากษาท่ีน่าสนใจในฉบับน้ีเก่ียวข้องกับสถานการณ์
ปจั จบุ นั คอื การใหค้ วามยนิ ยอมในการลดคา่ จา้ งและเปลย่ี นแปลงสภาพการจา้ งโดยปรยิ าย
เรอ่ื งท้ายเล่ม จะนำ�เสนอเก่ียวกบั สทิ ธปิ ระโยชน์จากการทำ� TLS 8001 และ GLP

ในชว่ งน้ี COVID-19 ยงั ไม่จบ ขอให้ทุกทา่ นรักษาสุขภาพดว้ ยการเว้นระยะหา่ งทางสังคม
สวมหน้ากาก หม่ันล้างมือ ปฏิบัติตามมาตรการด้านสาธารสุข เพ่ือความปลอดภัย
ห่างไกลโควิด

แล้วพบกนั ใหมใ่ นฉบบั หนา้
บรรณาธิการ

contents

4 Thailand Labour Management

Excellence Award 2021

สาระน่ารู้เกี่ยวกับแรงงาน

7 ท่อี ับอากาศคืออะไร

คำ�พิพากษาทีน่ ่าสนใจ

10 การใหค้ วามยินยอมในการลดคา่ จา้ ง

และการเปล่ยี นแปลงสภาพการจา้ งโดยปริยาย

เร่ืองทา้ ยเลม่

14 สิทธิประโยชนจ์ ากการจดั ทำ� TLS.8001 และ GLP

»»P.17 »»P.17 »»P.18

ที่ปรกึ ษา บรรณาธิการ
อธบิ ดกี รมสวัสดกิ ารและคมุ้ ครองแรงงาน ผปูอ้ รำ�นะวธยากานรกอลุม่ำ�งนานวพัฒยนการาะรบบมาตรฐานแรงงาน
รองอธิบดกี รมสวัสดกิ ารและคมุ้ ครองแรงงาน
ผสตู้ ำร�วนจรักาชงกาารนกรม ผอู้ ำ�นวยการส�ำ นักพัฒนามาตรฐานแรงงาน

ส�ำ นกั พฒั นามาตรฐานแรงงาน กรมสวสั ดกิ ารและคมุ้ ครองแรงงาน ถนนมติ รไมตรี เขต
ดนิ แดง กรงุ เทพมหานคร 10400

โทรศพั ท์ 0 2660 2108 และ 0 2660 2109 3

พิธมี อบรางวลั ถว้ ยพระราชทาน
สถานประกอบกจิ การทีม่ ีระบบการ
บริหารจดั การดา้ นแรงงานยอดเย่ียม

ประจำ�ปี 2564
(Thailand Labour Management

Excellence Award 2021)

เม่ือวันที่ 16 กันยายน 2564 นายสุชาติ ชมกลิ่น รัฐมนตรีว่าการกระทรวงแรงงาน
เป็นประธานในพิธรี ับถว้ ยรางวัลพระราชทานของสมเดจ็ พระกนษิ ฐาธริ าชเจา้ กรมสมเด็จ
พระเทพรัตนราชสุดา ฯ สยามบรมราชกมุ ารี จำ�นวน 3 รางวัล โดยมผี ูบ้ รหิ ารกระทรวง
แรงงาน และผบู้ รหิ ารกรมสวสั ดกิ ารและคมุ้ ครองแรงงานเขา้ รว่ มพธิ ี ณ หอ้ งประชมุ จอมพล ป.
พิบูลสงคราม กระทรวงแรงงาน การจัดพิธีดังกล่าวเป็นไปตามมาตรการป้องกันควบคุม
โรคติดเชื้อไวรสั โคโรนา่ 2019

4

กรมสวสั ดกิ ารและคมุ้ ครองแรงงาน ตระหนกั ถงึ ความสำ�คญั ในการพฒั นาดา้ นแรงงาน
อย่างย่ังยืน จึงได้ส่งเสริมให้สถานประกอบกิจการมีระบบบริหารจัดการท่ีสอดคล้อง
กบั กฎหมายและมาตรฐานสากล และมกี ารมอบรางวลั สถานประกอบกจิ การทมี่ รี ะบบบรหิ าร
จดั การด้านแรงงานยอดเยย่ี ม Thailand Labour Management Excellence Award
ซ่งึ ได้ดำ�เนินการต่อเน่ืองเป็นปีที่ 5 โดยขอพระราชทานถว้ ยรางวัลจากสมเดจ็ พระกนิษฐา-
ธริ าชเจา้ กรมสมเดจ็ พระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกมุ ารี จำ�นวน 3 รางวัล ใหแ้ ก่
สถานประกอบกิจการขนาดใหญ่ ขนาดกลาง และขนาดเลก็ ทีม่ คี วามมุ่งมน่ั ในการบริหาร
แรงงานอยา่ งเปน็ มาตรฐานครบ 3 ดา้ น ทง้ั ดา้ นมาตรฐานแรงงานไทย ดา้ นแรงงานสมั พนั ธ์
และสวัสดิการแรงงาน และด้านความปลอดภัยอาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อม
ในการทำ�งานและสามารถธำ�รงรักษามาตรฐานไว้ได้อย่างต่อเน่ือง เพื่อประกาศเกียรติคุณ
และยกย่องเชิดชูเกียรติสถานประกอบกิจการท่ีมีระบบบริหารจัดการด้านแรงงานท่ีดี
และมีความรบั ผดิ ชอบต่อสงั คม

5

ในปี 2564 แมส้ ถานการณก์ ารแพรร่ ะบาดของโรคตดิ เชอ้ื ไวรสั โคโรนา่ 2019 ยงั มกี ารแพรร่ ะบาด
อยา่ งต่อเน่อื ง สง่ ผลต่อสภาพเศรษฐกจิ สงั คม และแรงงาน ทำ�ให้สถานประกอบกิจการ
ได้รับผลกระทบทางตรงและทางอ้อม ท่ามกลางวิกฤต ยังมีผู้ประกอบการที่มุ่งม่ันบริหาร
จัดการแรงงาน เพื่อสร้างขวัญกำ�ลังใจและดูแลคุณภาพชีวิตลูกจ้างอย่างต่อเนื่อง
จนประสบผลสำ�เรจ็ ไดร้ บั รางวลั Thailand Labour Management Excellence Award 2021
โดยแบ่งตามขนาดของสถานประกอบกจิ การ ไดแ้ ก่

. สถานประกอบกจิ การขนาดใหญ่ : บรษิ ทั ซเี ฟรช อนิ ดสั ตรี จำ�กดั (มหาชน) จงั หวดั ชมุ พร

1ประกอบกจิ การหอ้ งเย็นทำ�อาหารสำ�เรจ็ รปู และกง่ึ สำ�เรจ็ รูปจากสตั ว์นำ้ �แชแ่ ข็ง
. สถานประกอบกิจการขนาดกลาง : บริษัท เจริญโภคภัณฑ์อาหาร จำ�กัด (มหาชน)

2ศนู ยป์ รบั ปรงุ พนั ธกุ รรมกงุ้ ปะทวิ จงั หวดั ชมุ พร ประกอบกจิ การ การบรหิ ารจดั การฟารม์

และอนุบาลลกู กุ้งทะเล
. สถานประกอบกิจการขนาดเล็ก : บริษัท กรุงเทพสกรีน จำ�กัด จังหวัดราชบุรี

3ประกอบกิจการพมิ พผ์ ้าและวสั ดอุ นื่ ๆ เช่น ฟิลม์ และกระดาษ
ารจดั งานในครง้ั น้ี ประสบความสำ�เรจ็ เปน็ อยา่ งดยี ง่ิ ทำ�ใหม้ จี ำ�นวนสถานประกอบกจิ การ

กท่ีมีระบบบริหารจัดการด้านแรงงานยอดเยี่ยมเพ่ิมขึ้น สามารถเป็นต้นแบบให้กับ

สถานประกอบกิจการอื่น ๆ นำ�ไปใชเ้ ป็นแบบอย่างในการพฒั นาองค์กรใหด้ ยี ่งิ ขึ้นต่อไป

6

สาระนา่ รู้เกีย่ วกบั แรงงาน

ที่อับอากาศคอื อะไร

นางสาวอมุ าพร ครองสกลุ สุข นักวชิ าการแรงงานชำ�นาญการ
กลุ่มงานมาตรฐานอาชีวอนามยั และสขุ ศาสตรอ์ ตุ สาหกรรม

กองความปลอดภยั แรงงาน กรมสวสั ดกิ ารและคุ้มครองแรงงาน

สวัสดีค่ะ ท่านผู้ติดตามวารสารพัฒนามาตรฐานแรงงานทุกท่านค่ะ ในวารสารฉบับน้ี
กองความปลอดภยั แรงงาน ขอนำ�เสนอบทความเกย่ี วกบั คำ�นยิ ามของทอ่ี บั อากาศหรอื Confined
Space ตามกฎหมายความปลอดภยั ในการทำ�งาน เนอ่ื งจากการทำ�งานในทอี่ บั อากาศมคี วาม
เป็นอันตรายและความเสี่ยงที่สูงมาก โดยจากสถิติข้อมูลการบาดเจ็บและเสียชีวิตในแต่ละ
คร้ังเกี่ยวกับการทำ�งานในท่ีอับอากาศ จะพบว่ามีลูกจ้างหรือผู้ที่เกี่ยวข้องได้รับบาดเจ็บและ
เสยี ชวี ติ จากการทำ�งานเก่ยี วกับที่อบั อากาศไมต่ ำ่ �กวา่ 1 ราย และหากยอ้ นหลงั กลบั ไป 20 ปี
พบวา่ ขอ้ มลู การบาดเจบ็ และเสยี ชวี ติ จากการทำ�งานเกย่ี วกบั ทอ่ี บั อากาศ มจี ำ�นวนมากกวา่ 200
รายทวั่ ประเทศ และสามอนั ดบั แรกของสถานทเี่ กดิ อบุ ตั เิ หตจุ ากการทำ�งานในทอี่ บั อากาศ คอื
อนั ดับแรก เกดิ จากชาวบ้านทีม่ ีการทำ�ไรท่ ำ�นา ซ่ึงมบี อ่ บำ�บดั บ่อนำ้ � อนั ดับทสี่ อง เกดิ จาก
โรงงานอตุ สาหกรรม ซงึ่ มกี ารทำ�งานในกระบวนการทำ�งานเกย่ี วกบั ทอี่ บั อากาศ การกอ่ สรา้ ง
บอ่ บำ�บัด และอันดบั ทีส่ าม เกิดจากอาคารทพี่ ักอาศยั โดยมาจากการก่อสร้างบอ่ บำ�บดั และ
ระบบบำ�บดั นำ้ �เสยี ชมุ ชนมกี ารทำ�งานโดยลงไปเกบ็ เศษขยะ การปดิ ทอ่ ระบายน้ำ� เพอื่ ทำ�ความ
สะอาด และซ่อมบำ�รุงปม้ั สูบน้ำ�

7

ขอพาท่านผู้ติดตามวารสารพัฒนามาตรฐานแรงงานมาทำ�ความรู้จักกับนิยามคำ�ว่า
“ทีอ่ ับอากาศ หรอื Confined Space” คืออะไร

“ทอ่ี บั อากาศ หรอื Confined Space” ตามกฎกระทรวงกำ�หนดมาตรฐานในการบรหิ าร
จัดการ และดำ�เนินการด้านความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทำ�งาน
พ.ศ. 2562 ตอ้ งมีคุณลักษณะ ประกอบดว้ ย 3 องคป์ ระกอบร่วมกัน คือ

1. พน้ื ท่ีซ่งึ มีทางเข้าออกจำ�กดั และ
2. ไม่ได้ออกแบบไว้สำ�หรบั เป็นสถานทที่ ำ�งานอย่างตอ่ เนื่องเป็นประจำ� และ
3. มีโอกาสทจ่ี ะเกิดสภาพอันตรายหรอื มบี รรยากาศอนั ตราย
ยกตวั อยา่ งเชน่ อุโมงค์ ถำ้ � บอ่ หลุม หอ้ งใตด้ ิน ห้องนริ ภยั ถังนำ้ �มัน ถังหมกั ถงั ไซโล
ท่อ เตา ภาชนะ หรอื ส่ิงอื่นที่มีลกั ษณะคลา้ ยกัน
สว่ นคำ�ว่า “สภาพอันตราย” และคำ�ว่า “บรรยากาศอนั ตราย” ให้นิยามไว้ดังน้ี
“สภาพอันตราย” หมายความว่า สภาพหรอื สภาวะทีอ่ าจทำ�ให้ลูกจา้ งได้รับอันตรายจาก
การทำ�งาน อยา่ งใดอยา่ งหนงึ่ ดงั น้ี
(1) มวี ตั ถุหรือวสั ดทุ ่ีอาจกอ่ ใหเ้ กดิ การจมลงของลกู จ้างหรอื ถมทับลกู จ้างท่ีเข้าไปทำ�งาน
(2) มีสภาพซง่ึ อาจทำ�ให้ลกู จ้างตก ถูกกัก หรอื ตดิ อย่ภู ายใน
(3) มีสภาวะที่ลูกจ้างมคี วามเสีย่ งท่จี ะไดร้ ับอันตรายจากบรรยากาศอันตราย
(4) สภาพอ่ืนใดทอี่ าจเปน็ อนั ตรายตอ่ ร่างกายหรอื ชีวติ ตามท่ีอธบิ ดีประกาศกำ�หนด
หรอื หากสรปุ งา่ ย ๆ กค็ อื เปน็ สภาพหรอื สภาวะทล่ี กู จา้ งไดร้ บั อนั ตรายจากการจม ทบั ถม
ตก กกั หรอื ติดอยู่ภายใน รวมถงึ ไดร้ ับอนั ตรายจากบรรยากาศอนั ตรายดว้ ย

8

ส่วนคำ�ว่า “บรรยากาศอันตราย” หมายความวา่ สภาพอากาศทอี่ าจทำ�ให้ลกู จ้างไดร้ ับ
อันตราย จากสภาวะอย่างหนึ่งอย่างใด ดังต่อไปน้ี

(1) มีออกซิเจนต่ำ�กว่ารอ้ ยละ 19.5 หรอื มากกวา่ รอ้ ยละ 23.5 โดยปรมิ าตร
(2) มีกา๊ ซ ไอ ละอองที่ติดไฟหรือระเบดิ ได้ เกนิ รอ้ ยละ 10 ของค่าความเขม้ ข้นข้นั ตำ่ �ของ
สารเคมี แต่ละชนิดในอากาศที่อาจติดไฟหรือระเบิดได้ (Lower Flammable Limit หรือ
Lower Explosive Limit)
(3) มีฝุ่นท่ีติดไฟหรือระเบิดได้ ซึ่งมีค่าความเข้มข้นเท่ากับหรือมากกว่าค่าความเข้มข้น
ขนั้ ตำ่ �สดุ ของฝนุ่ ทต่ี ดิ ไฟหรอื ระเบดิ ไดแ้ ตล่ ะชนดิ (Minimum Explosible Concentration)
(4) มีค่าความเข้มข้นของสารเคมีแต่ละชนิดเกินมาตรฐานที่กำ�หนดตามกฎกระทรวง
ว่าด้วยการกำ�หนด มาตรฐานในการบริหาร จัดการ และดำ�เนินการด้านความปลอดภัย
อาชีวอนามัย และสภาพแวดลอ้ มในการทำ�งาน เก่ยี วกับสารเคมอี นั ตราย
(5) สภาวะอื่นใดทอี่ าจเปน็ อันตรายตามท่อี ธิบดีประกาศกำ�หนด

“แรงงานปลอดภยั และสขุ ภาพอนามยั ดี”

9

คำ�พพิ ากษาท่นี ่าสนใจ

การให้ความยนิ ยอมในการลดคา่ จ้าง
และการเปลีย่ นแปลงสภาพการจา้ งโดยปรยิ าย

เชดิ ศกั ดิ์ กำ�ปัน่ ทอง นติ ิกรชำ�นาญการ กองนิติการ กรมสวสั ดกิ ารและคมุ้ ครองแรงงาน

สัญญาจ้างแรงงานเป็นสัญญาท่ีกำ�หนดความสัมพันธ์ระหว่างนายจ้างกับลูกจ้างใน
ลักษณะท่ีเป็นปัจเจกชนซึ่งตั้งอยู่บนพื้นฐานหลักเสรีภาพในการทำ�สัญญาและหลักความ
ศกั ดส์ิ ทิ ธใ์ิ นการแสดงเจตนา นายจา้ งกบั ลกู จา้ งจงึ สามารถทำ�ความตกลงในสญั ญาจา้ งเกย่ี วกบั
เงื่อนไขการจ้าง การทำ�งาน ระยะเวลาการจ้าง รวมถึงการระงับของสัญญาจ้างแรงงาน
ไดโ้ ดยความตกลงนน้ั ตอ้ งไมข่ ดั หรอื แยง้ กบั กฎหมายคมุ้ ครองแรงงานซง่ึ เปน็ กฎหมายเกย่ี วกบั
ความสงบเรียบร้อยหรือศีลธรรมอันดีของประชาชน “ค่าจ้าง” เป็นปัจจัยสำ�คัญและเป็น
สาระสำ�คัญตามสัญญาจ้างแรงงานสำ�หรับนายจ้างและลูกจ้างที่จะตัดสินใจตกลงทำ�สัญญา
จ้างงานกันนอกจากน้ีค่าจ้างยังมีความสำ�คัญในแง่มุมของสิทธิประโยชน์กฎหมายแรงงาน
เนอ่ื งจากเปน็ ฐานในการคำ�นวณเงนิ ตา่ ง ๆ เชน่ คา่ ล่วงเวลา ค่าทำ�งานในวนั หยดุ คา่ ชดเชย
การส่งเงินสมทบประกนั สังคม เป็นต้น ในส่วนของนิยามคา่ จ้างนน้ั พระราชบญั ญตั คิ มุ้ ครอง
แรงงาน พ.ศ. 2541 มาตรา 5 ได้บัญญัตินิยาม “ค่าจ้าง” หมายความว่า “เงินที่นายจ้าง
และลูกจ้างตกลงกันจ่ายเป็นค่าตอบแทนในการทำ�งานตามสัญญาจ้างสำ�หรับระยะเวลาการ
ทำ�งานปกตเิ ปน็ รายช่ัวโมง รายวัน รายสปั ดาห์ รายเดือนหรอื ระยะเวลาอ่ืน หรอื จ่ายใหโ้ ดย
คำ�นวณตามผลงานที่ลูกจ้างทำ�ได้ในเวลาทำ�งานปกติของวันทำ�งาน และให้หมายความรวม
ถึงเงินที่นายจ้างจ่ายให้แก่ลูกจ้างในวันหยุดและวันลาท่ีลูกจ้างมิได้ทำ�งานแต่ลูกจ้างมีสิทธิ
ได้รับตามพระราชบัญญัตินี้”ความหมายของค่าจ้างตามพระราชบัญญัติคุ้มครองแรงงาน
พ.ศ. 2541 น้แี ตกตา่ งจากความหมายของคา่ จ้างตามประกาศกระทรวงมหาดไทย เร่ืองการ
คุ้มครองแรงงาน อันเป็นกฎหมายท่ีใช้แต่เดิม ซึ่งได้กำ�หนดนิยาม
ศัพทค์ ำ�วา่ “คา่ จา้ ง หมายความว่า เงนิ หรอื เงนิ และสง่ิ ของท่ี
นายจา้ งจา่ ยใหแ้ กล่ กู จา้ งเปน็ การตอบแทนการทำ�งานใน
เวลาทำ�งานปกติของวันทำ�งาน
หรือจ่ายให้โดยคำ�นวณ
ตามผลงานที่ลูกจ้าง
ทำ�ได้ และมีความ
ห ม า ย ร ว ม ไ ป ถึ ง
เงินหรือเงินและ

10

สิ่งของที่นายจ้างจ่ายให้ในวันหยุด ซึ่งลูกจ้างไม่ได้ทำ�งานและในวันลาด้วย ทั้งน้ีไม่ว่าจะ
กำ�หนดคำ�นวณ หรอื จา่ ยเปน็ การตอบแทนในวิธีอย่างไรและไมว่ ่าจะเรียกชอ่ื อย่างไร” จะเห็น
ว่าความหมายของค่าจ้างมีความแตกตา่ งกัน โดยความหมายตามพระราชบัญญัติคุม้ ครอง
แรงงาน พ.ศ. 2541 กำ�หนดใหค้ า่ จา้ งหมายถงึ เงนิ เพยี งอยา่ งเดยี ว ฉะนน้ั จงึ จะนำ�เอาสงิ่ ของ
มาตรี าคารวมเปน็ คา่ จา้ งดงั เชน่ ตามประกาศกระทรวงมหาดไทย เรอื่ งการคมุ้ ครองแรงงาน
ไม่ได้ นอกจากน้แี ลว้ ยงั จะต้องเปน็ เงนิ ทนี่ ายจา้ งและลูกจา้ งตกลงกันให้เปน็ ค่าจ้าง เงินไหนที่
ไม่ได้ตกลงกันว่าให้เป็นค่าจ้างก็จะไม่เป็นค่าจ้าง และเงินเพียงอย่างเดียวท่ีนายจ้างจ่ายให้
นน้ั ตอ้ งจา่ ยเพอ่ื เป็นการตอบแทนการทำ�งานของลกู จา้ งเฉพาะในช่วงเวลาทก่ี ำ�หนดไวว้ า่ เปน็
เวลาทำ�งานปกติของลูกจ้างในวันทำ�งานของลูกจ้าง ซึ่งคงจะเป็นการตีความคำ�ว่า“เป็นการ
ตอบแทนการทำ�งานของลูกจ้าง” อันเป็นการแสดงให้เห็นถึงวัตถุประสงค์ของกฎหมายที่
ยอมรับเฉพาะคา่ จา้ งที่เกดิ จากการทำ�งานโดยตรงเท่าน้นั

ค่าจ้าง ถือเป็น สภาพการจ้างตามมาตรา 5 แห่งพระราชบัญญัติแรงงานสัมพันธ์
พ.ศ. 2518 ทผ่ี กู พนั นายจา้ งและลกู จา้ งตามเงอ่ื นไขการจา้ งนน้ั หากจะมกี ารเปลยี่ นแปลงสภาพ
การจา้ งทไี่ ดต้ กลงกนั ไวแ้ ลว้ ในทางทไ่ี มเ่ ปน็ คณุ กบั อกี ฝา่ ยหนง่ึ จะตอ้ งไดร้ บั ความยนิ ยอมจาก
อีกฝา่ ยหนงึ่ ด้วยเสมอ หากอกี ฝา่ ยไดด้ ำ�เนินการเปลยี่ นแปลงเงื่อนไขนัน้ ไปโดยลำ�พงั และอกี
ฝา่ ยไมย่ นิ ยอมพรอ้ มใจดว้ ย การเปลยี่ นแปลงฝา่ ยเดยี วนน้ั ยอ่ มไมผ่ กู พนั คสู่ ญั ญาอกี ฝา่ ยหนง่ึ
อยา่ งไรกต็ ามเมอื่ มกี ารตกลงทำ�สญั ญาจา้ งแรงงานกนั แลว้ แตส่ ถานการณใ์ นการจา้ งงานมี
การเปลยี่ นแปลงไปอนั มสี าเหตปุ จั จยั ทส่ี ง่ ผลกระทบตอ่ สภาพการจา้ งเดมิ ทเ่ี คยตกลงกนั เชน่
ปัญหาจากสภาวะเศรษฐกจิ และสงั คมทำ�ใหน้ ายจา้ งขาดสภาพคลอ่ งทางการเงนิ รูปแบบการ
จา้ งงานหรอื สภาพการจ้างและการทำ�งานไดเ้ ปลีย่ นแปลงไป ฯลฯ นายจา้ งและลกู จ้างก็อาจ
ตกลงเปลี่ยนแปลงสภาพการจ้างท่เี คยตกลงกันเพ่อื แก้ไขได้ แตก่ ารเปล่ียนแปลงสภาพการ
จ้างโดยการ “ลดค่าจ้างหรือลดสิทธิประโยชน์ของลูกจ้าง” ย่อมเกิดผลกระทบโดยตรงต่อ
ลูกจา้ ง ซ่งึ หากนายจา้ งได้ดำ�เนนิ การไปโดยลูกจ้างมไิ ดใ้ ห้ความยนิ ยอมพรอ้ มใจดว้ ย ยอ่ มกอ่
ใหเ้ กดิ ขอ้ ขดั แยง้ และสง่ ผลกระทบตอ่ ความสมั พนั ธร์ ะหวา่ งกนั จนเกดิ การฟอ้ งรอ้ งคดขี น้ึ สศู่ าล

11

v การลดคา่ จา้ ง ลดสทิ ธปิ ระโยชนห์ รอื สวสั ดกิ าร การลดตำ�แหนง่ เปน็ การเปลย่ี นแปลง
สภาพการจา้ งในทางทไ่ี มเ่ ปน็ คณุ กบั ลกู จา้ ง โดยหลกั แลว้ ตอ้ งไดร้ บั ความยนิ ยอมจากลกู จา้ ง
นายจ้างมอิ าจกระทำ�ไดล้ ำ�พังเพียงฝา่ ยเดยี ว ในส่วนของความยินยอมนน้ั กฎหมายค้มุ ครอง
แรงงานมไิ ดก้ ำ�หนดวธิ กี ารไว้ จงึ ขน้ึ อยกู่ บั วา่ สภาพการจา้ งทตี่ กลงกนั นน้ั เกดิ ขน้ึ อยา่ งไรหาก
สภาพการจา้ งนน้ั เกดิ ขนึ้ จากระเบยี บ ขอ้ บงั คบั เกยี่ วกบั การทำ�งาน ประเพณปี ฏบิ ตั ทิ ส่ี บื เนอื่ ง
กันมา หรอื เกดิ จากสญั ญาจ้าง นายจา้ งกส็ ามารถตกลงขอความยินยอมเปลีย่ นแปลงสภาพ
การจา้ งนนั้ กบั ลกู จา้ งเปน็ การเฉพาะรายได้ โดยอาจขอความยนิ ยอมเปน็ หนงั สอื หรอื ตกลงกนั
โดยปริยายได้ หากลูกจา้ งให้ความยนิ ยอมในการเปลีย่ นแปลงสภาพการจา้ ง ท้ังสองฝา่ ยกจ็ ะ
ผกู พนั ตามสภาพการจา้ งใหมท่ ไ่ี ดต้ กลงกนั แตห่ ากเปน็ ขอ้ ตกลงเกยี่ วกบั สภาพการจา้ งทเ่ี กดิ
จากขอ้ เรยี กรอ้ งตามกฎหมายแรงงานสมั พนั ธ์ นายจา้ งมอิ าจดำ�เนนิ การโดยขอความยนิ ยอม
จากลูกจ้างเป็นราย ๆ ได้ ต้องดำ�เนินการแจ้งข้อเรียกร้องต่อฝ่ายลูกจ้างเพ่ือเปลี่ยนแปลง
ขอ้ ตกลงเกย่ี วกบั สภาพการจา้ งดงั กลา่ วตามกระบวนการของกฎหมายแรงงานสมั พนั ธท์ ก่ี ำ�หนด
วิธีการและขั้นตอนไว้เป็นการเฉพาะ ได้แก่ การแจ้งข้อเรียกร้อง การเจรจา วิธีการระงับ
ข้อพิพาทแรงงาน การปิดงานและการนัดหยุดงาน ต้ังแต่มาตรา 13 ถึงมาตรา 36 แห่ง
พระราชบญั ญตั ิแรงงานสมั พนั ธ์ พ.ศ. 2518

v การคำ�นวณคา่ ชดเชย กรณที ศี่ าลไดว้ นิ จิ ฉยั วา่ การลดคา่ จา้ งของลกู จา้ งเปน็ การกระทำ�
โดยชอบดว้ ยกฎหมายแลว้ ดงั นน้ั การทล่ี กู จา้ งไดฟ้ อ้ งคดเี รยี กคา่ ชดเชย สนิ จา้ งแทนการบอก
กลา่ วลว่ งหนา้ ค่าจ้างคา้ งจา่ ยยอ้ นหลัง และเงนิ อนื่ ๆ โดยใช้ฐานค่าจา้ งก่อนถูกลดลงมาเป็น
ฐานในการคำ�นวณน้ัน เมื่อศาลได้วินิจฉัยว่าเป็นการยินยอมเปล่ียนแปลงสภาพการจ้างโดย
ยินยอมลดค่าจา้ งปริยายแล้ว ค่าจ้างอัตราสดุ ทา้ ยที่จะนำ�มาเปน็ ฐานคำ�นวณค่าชดเชยตาม
มาตรา 118 แห่งพระราชบัญญตั คิ ุ้มครองแรงงาน พ.ศ. 2541 ก็คอื คา่ จ้างอตั ราสดุ ทา้ ยท่ถี ูก
ลดลงแลว้ มใิ ชอ่ ตั ราค่าจ้างอัตราสดุ ท้ายกอ่ นถกู ลดคา่ จ้าง

12

อย่างไรก็ตาม ในกรณีท่นี ายจ้างปรับลดคา่ จา้ งของลกู จ้างโดยไม่ชอบ เนื่องจากลกู จ้าง
มิได้ใหค้ วามยนิ ยอม หรอื กรณีทีน่ ายจา้ งใช้สทิ ธไิ มส่ ุจรติ ขอความรว่ มมือลกู จ้างเพอ่ื ปรบั ลด
คา่ จา้ งของลกู จา้ งเนอ่ื งจากสภาวะเศรษฐกจิ โดยลกู จา้ งใหค้ วามรว่ มมอื ระหวา่ งการลดคา่ จา้ ง
ลงนนั้ นายจา้ งกลบั ใชส้ ทิ ธเิ ลกิ จา้ งลกู จา้ ง เพอ่ื จะไดจ้ า่ ยคา่ ชดเชยในอตั ราทน่ี อ้ ยลง พจิ ารณาได้
ดงั น้ี

(1) กรณลี กู จา้ งไมย่ นิ ยอมในการลดคา่ จา้ ง หากนายจา้ งเลกิ จา้ ง ตอ้ งใชฐ้ านคา่ จา้ งอตั รา
สดุ ทา้ ยก่อนทถ่ี กู ลดลงมาเป็นฐานในการคำ�นวณคา่ ชดเชย

(2) กรณนี ายจา้ งประสบปญั หาทางธรุ กจิ จงึ ขอความรว่ มมอื ลกู จา้ งเพอ่ื ปรบั ลดคา่ จา้ งของ
ลูกจ้างช่ัวคราวโดยลูกจ้างให้ความร่วมมือ ระหว่างน้ันนายจ้างกลับใช้สิทธิเลิกจ้างลูกจ้าง
เพ่ือจะได้จ่ายค่าชดเชยในอัตราท่ีน้อยลง เช่น ตกลงลดค่าจ้างลูกจ้างทั้งหมดคนละ 20 %
จำ�นวน 3 เดอื นตงั้ แตเ่ ดอื นเมษายน - มถิ นุ ายน เนอ่ื งจากปญั หาโรคระบาดโควดิ -19 แตห่ ลงั จาก
ลกู จา้ งตกลงยนิ ยอม นายจา้ งกลบั เลกิ จา้ งลกู จา้ งในระหวา่ งการปรบั ลดคา่ จา้ งนน้ั เพอ่ื หลกี เลย่ี ง
การจ่ายค่าชดเชยในอัตราท่ีสูงขึ้นหากเลิกจ้างก่อนการปรับลดค่าจ้าง อาจถือว่าเป็นการ
ใช้สิทธิไม่สุจริตตามมาตรา 5 แห่งประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ ดังน้ัน อัตราค่าจ้าง
สดุ ทา้ ยทล่ี กู จา้ งไดร้ บั เพอ่ื ใชเ้ ปน็ ฐานในการคำ�นวณคา่ ชดเชย จงึ ควรเปน็ คา่ จา้ งอตั ราสดุ ทา้ ย
กอ่ นถูกปรบั ลด

13

v ในกรณีท่ีลูกจ้างมิได้ยินยอมในการปรับลดค่าจ้าง ควรโต้แย้งคัดค้านโดยชัดแจ้ง
หากปลอ่ ยเวลาเนน่ิ นานและยอมรบั คา่ จา้ งทป่ี รบั ลดลงโดยไมฟ่ อ้ งรอ้ งเรยี กคา่ จา้ งทถี่ กู ลดลง
จากนายจา้ งจนลว่ งเลยเวลาพอสมควร อาจถอื เปน็ การยนิ ยอมโดยปรยิ าย ดงั นนั้ ในสว่ นของ
ลกู จา้ งหากไมย่ นิ ยอมเปลยี่ นแปลงสภาพการจา้ งจงึ ควรดำ�เนนิ การทำ�หนงั สอื โตแ้ ยง้ คดั คา้ น
เสยี แต่เนิ่น ๆ เพอ่ื ให้นายจ้างทราบถึงเจตนาทไ่ี ม่ยินยอมปรบั ลดเงินเดอื นของตน

v ในกรณที น่ี ายจา้ งประสบปญั หาขาดสภาพคลอ่ งในการดำ�เนนิ ธรุ กจิ และจำ�เปน็ ตอ้ งใช้
มาตรการชะลอหรอื บรรเทาการเลกิ จา้ ง การแกไ้ ขปญั หาวกิ ฤตคิ วรใชห้ ลกั การแรงงานสมั พนั ธ์
ในการเจรจาตกลงกนั บนพนื้ ฐานของหลกั สจุ รติ ใจทงั้ สองฝา่ ย เพอ่ื การสรา้ งเสรมิ สมั พนั ธภาพ
ที่ดี ควรจักได้ใช้ระบบแรงงานสัมพันธ์โดยการร่วมปรึกษาหารือระหว่างนายจ้างกับลูกจ้าง
ในการแก้ไขปัญหา เพ่ือให้ลูกจ้างมีส่วนรับรู้ในเหตุการณ์และมีส่วนร่วมในการตัดสินใจ อัน
ทำ�ให้ลกู จ้างยอมรับผลท่เี กิดขึ้นอยา่ งเตม็ ใจในทส่ี ดุ เช่น ปรับลดเงนิ เดอื นบางส่วนโดยปรบั
ลดวันเวลาทำ�งานลงตามสว่ น การหยดุ กิจการชว่ั คราวตามมาตรา 75 แห่งพระราชบัญญัติ
คุ้มครองแรงงาน พ.ศ. 2541 เป็นต้น

14

เรือ่ งท้ายเลม่

สทิ ธปิ ระโยชนจ์ ากการจดั ทำ� TLS.8001
และ GLP
ปญั จโฉม สุขนาค ผอู้ ำ�นวยการกลุ่มงานพัฒนาระบบมาตรฐานแรงงาน
สำ�นักพัฒนามาตรฐานแรงงาน กรมสวสั ดิการและคุ้มครองแรงงาน

การจัดทำ�มาตรฐานแรงงานไทย (มรท.๘๐๐๑–๒๕๖๓) หรอื Thai Labour Standard
(TLS.8001) และการจดั ทำ�แนวปฏบิ ัติการใชแ้ รงงานทด่ี ี (Good Labour Practices : GLP)
เปน็ มาตรฐานและแนวปฏบิ ัตทิ เ่ี ก่ียวข้องกบั ความรบั ผดิ ชอบทางสงั คมด้านแรงงาน ซง่ึ กรม
สวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน ส่งเสริมให้สถานประกอบกิจการทุกประเภทและทุกขนาด
ดำ�เนนิ การดว้ ยความสมคั รใจ เพอ่ื ใหส้ ถานประกอบกจิ การสามารถนำ�ไปแสดงตอ่ คคู่ า้ วา่ มกี าร
ดำ�เนนิ การผลติ อยา่ งมจี รยิ ธรรมตอ่ แรงงาน ไมม่ กี ารเลอื กปฏบิ ตั ิ ไมม่ กี ารคา้ มนษุ ย์ แรงงาน
มคี ณุ ภาพชีวติ ทดี่ ี สง่ ผลใหเ้ พิม่ โอกาสทางการคา้

เมอ่ื สถานประกอบกิจการจัดทำ� TLS.8001 หรือ GLP แลว้ นอกจากจะไดร้ ับความเชอื่ ม่นั
จากลกู คา้ และลกู จา้ งไดร้ บั การปฏบิ ตั ติ ามขอ้ กฎหมายแลว้ สถานประกอบกจิ การยงั ไดร้ บั สทิ ธิ
ประโยชนท์ นี่ า่ สนใจ ซงึ่ ในวารสารพฒั นามาตรฐานแรงงานฉบบั นี้ จะพาทกุ ทา่ นไปรบั ทราบถงึ
สิทธปิ ระโยชน์ท่ผี ปู้ ระกอบการจะไดร้ ับการจดั ทำ� TLS.8001 และ GLP

15

สิทธิประโยชน์
v สถานประกอบกจิ การทไี่ ดร้ บั การรบั รองมาตรฐานแรงงานไทย หรอื TLS.8001 มสี ทิ ธสิ มคั ร
เขา้ รบั การคดั เลอื กเปน็ สถานประกอบกจิ การทมี่ รี ะบบบรหิ ารจดั การดา้ นแรงงานยอดเยยี่ ม
ซง่ึ สถานประกอบกจิ การทไ่ี ดร้ บั การคดั เลอื ก จะไดร้ บั ถว้ ยพระราชทานจากสมเดจ็ พระกนษิ ฐา-
ธิราชเจ้า กรมสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี โดยกรมสวัสดิการและ
คุ้มครองแรงงานได้กำ�หนดจัดพิธีมอบรางวัลสถานประกอบกิจการที่มีระบบบริหารจัดการ
ด้านแรงงานยอดเย่ียม (Thailand Labour Management Excellence Award)
เปน็ ประจำ�ทุกปี
v สถานประกอบกิจการที่ได้รบั การรบั รองมาตรฐานแรงงานไทย หรอื TLS.8001 สามารถ
สมคั รขอรบั ตราสญั ลกั ษณ์ Thailand Trust Mark ของกรมส่งเสริมการคา้ ระหว่างประเทศ
เพ่ือใช้ประโยชนใ์ นการสง่ ออก
v สถานพยาบาลเอกชนทีไ่ ด้รบั การรับรองมาตรฐานแรงงานไทย หรือ TLS.8001 จะได้รบั
การเพ่ิมศักยภาพการรับผู้ประกันตน เพิ่มข้ึน ร้อยละ 20 เช่น โรงพยาบาลท่ีมีจำ�นวน
เตียงมากกวา่ 100 เตยี ง กำ�หนดศกั ยภาพการรบั ผูป้ ระกนั ตน จำ�นวน 100,000 คน ท้ังนี้
หากไดร้ บั การรับรอง TLS.8001 จะสามารถรับผู้ประกันตนได้จำ�นวน 120,000 คน
v สถานพยาบาลเอกชนที่แสดงความมงุ่ มน่ั การนำ�หลกั การแนวปฏบิ ตั กิ ารใชแ้ รงงานท่ีดี
หรือ GLP จะได้รบั การเพ่มิ ศกั ยภาพการรบั ผ้ปู ระกันตน เพม่ิ ข้ึน ร้อยละ 10

สำ�นักพัฒนามาตรฐานแรงาน กรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน จะดำ�เนินการ
สรรหาสิทธิประโยชน์ในด้านอ่ืนๆ อย่างต่อเน่ือง ให้แก่ผู้ประกอบการ เพ่ือสร้างแรงจูงใจให้
สถานประกอบกิจการทั่วประเทศได้ตระหนักถึงความสำ�คัญด้านความรับผิดชอบทางสังคม
ด้านแรงงาน และเข้าสู่ระบบมาตรฐานแรงงานไทยและแนวปฏิบัติการใช้แรงงานท่ีดีเพ่ิมข้ึน
นำ�ไปสภู่ าพลักษณท์ ีด่ ีของประเทศอยา่ งยัง่ ยนื ตอ่ ไป

16

กสร.มอบใบประกาศเกียรติคุณ GLP แส่สถานประกอบ
กิจการทเี่ ปน็ สมาชิกอตุ สาหกรรมเครอ่ื งนงุ่ หม่ ไทย

เม่ือวันที่ 21 กันยายน 2564 นายอภิญญา สุจริตตานันท์ อธิบดี
กรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน มอบใบประกาศเกียรติคุณ
สถานประกอบกจิ การทน่ี �ำ แนวปฏบิ ตั กิ ารใชแ้ รงงานทดี่ ี (Good Labour
Practices: GLP) ไปใช้ในการบริหารจัดการแรงงาน แก่นายยุทธนา
ศลิ ปส์ รรคว์ ชิ ช์ นายกสมาคมเครือ่ งน่งุ หม่ ไทย ซื่งเป็นผ้แู ทนรับมอบใบ
ประกาศเกียรตคิ ณุ ฯ ให้แก่สถานประกอบกิจการ จ�ำ นวน 36 แหง่ ทีเ่ ป็นสมาชิกของสมาคมและได้น�ำ GLP ไปปฏิบตั ิ
โดยนายกสมาคมฯ จะไดน้ �ำ ใบประกาศเกตี รตคิ ณุ ดงั กลา่ วมอบใหแ้ กส่ มาชกิ ขา้ งตน้ ในโอกาสตอ่ ไป ในการน้ี นางโสภา
เกียรตนิ ริ ชา รองอธิบดีกรมสวสั ดิการและคุม้ ครองแรงงาน และผบู้ รหิ ารท่ีเก่ยี วข้องเขา้ ร่วมเป็นเกียรตดิ ว้ ย
การดำ�เนินการข้างต้น เป็นไปตามบันทึกข้อตกลงความร่วมมือเพื่อป้องกันและแก้ไขปัญหาการใช้แรงงานเด็ก
และแรงงานบังคับซึ่งสมาคมอุตสาหกรรมเครื่องนุ่งห่มไทย ลงนามร่วมกับกรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน
เพื่อแสดงความมุ่งมั่นในการให้ความร่วมมือและสนันสนุนการถอดถอนรายการสินค้าเคร่ืองนุ่งห่ม โดยนำ�แนวปฏิบัติ
การใช้แรงงานทดี่ ี (Good Labour Practices: GLP) ไปใชใ้ นการบริหารจดั การแรงงาน

กสร. หารอื บรษิ ทั สยามกลการ จำ�กัด เพื่อยกระดบั การ
บริหารจัดการด้านแรงงานดว้ ยมาตรฐานแรงงานไทย

เม่ือวันที่ 6 ตุลาคม 2564 นางโสภา เกียรตินิรชา รองอธิบดี
กรมสวสั ดกิ ารและคมุ้ ครองแรงงาน เปน็ ประธานการประชมุ เพอ่ื หารอื
ผู้แทนบริษัท สยามกลการ จำ�กัด บริษัทในเครือกลุ่มสยามกลการ
นำ�โดยนายปราชญา เจริญย่ิง ผู้จัดการทั่วไปฝ่ายบริหารท่ัวไป
ดำ�เนินธุรกิจรถยนต์และธุรกิจที่เกี่ยวข้องกับอุตสาหกรรมยานยนต์ไทย
ได้ตระหนักและเห็นความสำ�คัญของความรับผิดชอบต่อสังคมด้านแรงงาน โดยมีความประสงค์นำ�ระบบมาตรฐาน
แรงงานไทยไปปฏบิ ตั ิ เพ่ือเพิ่มศกั ยภาพและขดี ความสามารถในการแข่งขันทางการค้าของบรษิ ัท สยามกลการ จ�ำ กดั
และบริษทั ในเครือกลมุ่ สยามกลการ จ�ำ นวน 55 แห่ง ณ ห้องประชุม ชนั้ 8 กรมสวสั ดกิ ารและคุ้มครองแรงงาน

17

กสร. จดั ทดสอบทปี่ รกึ ษามาตรฐานแรงงาน
ด้วยระบบ E-testing

เมื่อวันที่ 9 กรกฎาคม 2564 สำ�นักพัฒนามาตรฐานแรงงาน
โ ดยกลมุ่ งานพฒั นาระบบมาตรฐานแรงงาน และกลมุ่ งานเทคโนโลยี
สารสนเทศ พฒั นานวตั กรรมการทดสอบในชว่ งสถานการณ์โควดิ - 19
โดยจัดทดสอบข้อเขียน เพ่ือคัดเลือกเป็นที่ปรึกษามาตรฐานแรงงาน
ด้วยระบบทดสอบอิเล็กทรอนิกส์ (E-testing) ในรูปแบบออนไลน์
จ�ำ นวนผเู้ ขา้ สอบทงั้ หมด จ�ำ นวน 31 คน โดยมนี างนติ ยา โพธสิ์ ขุ ผ อู้ �ำ นวยการส�ำ นกั พฒั นามาตรฐานแรงงาน ด�ำ เนนิ การ
ควบคมุ กำ�กบั การทดสอบณ ห้องประชมุ ช้นั 15 สำ�นักพัฒนามาตรฐานแรงงาน

สพม.จดั ประชมุ คณะทำ�งานประเมินสมรรถนะทป่ี รกึ ษา
พัฒนาแรงงานโดยการสอบข้อเขยี น ครั้งท่ี 4/2564

เม่ือวันท่ี 13 กรกฎาคม 2564 นางนิตยา โพธ์ิสุข ผู้อำ�นวยการ
สำ�นักพัฒนามาตรฐานแรงงาน เป็นประธานการประชุมคณะ
ทำ�งานประเมินสมรรถนะท่ีปรึกษาพัฒนามาตรฐานแรงงาน
โดยการสอบขอ้ เขียน ครงั้ ท่ี 4/2564 ณ หอ้ งประชมุ ส�ำ นกั พฒั นามาตรฐานแรงงาน ชน้ั 15 กรมสวสั ดิการและค้มุ ครอง
แรงงาน โดยวธิ ีการประชุมทางไกลผ่านระบบ Video Conference
โดยมผี แู้ ทนจากสถาบนั รบั รองมาตรฐานไอเอสโอ ผแู้ ทนจากคณะสาธารณสขุ ศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั มหดิ ล และผแู้ ทน
สำ�นัก/กองท่ีเก่ียวข้อง เข้าร่วมประชุมเพ่ือพิจารณาผลการสอบข้อเขียนโดยระบบทดสอบอิเล็กทรอนิกส์ (E-Testing)
iรา่ งประกาศรายชื่อผ้ผู า่ นการสอบขอ้ เขยี นโดยระบบทดสอบอเิ ล็กทรอนิกส์ (E-Testing) และผูม้ ีสิทธสิ์ อบสัมภาษณ์

สพม. จัดประชุมหารอื เกยี่ วกบั การจดั งานพิธีลงนาม
บนั ทกึ ขอ้ ตกลงความร่วมมอื การยกระดับการบรหิ าร
แรงงานด้วยแนวปฏิบตั กิ ารใชแ้ รงงานท่ดี ี
(Good Labour Practices: GLP)

เมอ่ื วนั ท่ี 15 กรกฎาคม 2564 นางนิตยา โพธ์ิสุข ผ้อู �ำ นวยการ
สำ�นักพัฒนามาตรฐานแรงงาน เป็นประธานการประชุมหารือ
เก่ียวกับการจัดงานพิธีลงนามบันทึกข้อตกลงความร่วมมือ
การยกระดับการบริหารแรงงานด้วยแนวปฏิบัติการใช้แรงงานที่ดี (Good Labour Practices: GLP)
ณ ห้องประชุมสำ�นักพฒั นามาตรฐานแรงงาน ชัน้ 15 กรมสวสั ดกิ ารและคุม้ ครองแรงงาน โดยวธิ ีการประชุมทางไกล
ผา่ นระบบ Video Conference โดยมีผแู้ ทนจากกลมุ่ ธุรกจิ TCP ผูเ้ ชย่ี วชาญเฉพาะดา้ นมาตรฐานแรงงาน ผู้อ�ำ นวย
การกลุ่มงานพัฒนาระบบมาตรฐานแรงงาน และเจา้ หน้าทีผ่ เู้ กี่ยวข้อง เขา้ ร่วมประชุมเพ่อื พิจารณารา่ งบันทึกข้อตกลง
ความร่วมมือ ร่างกำ�หนดการ และการประชาสัมพันธ์งานพิธีลงนามบันทึกข้อตกลงความร่วมมือ การยกระดับการ
บริหารแรงงานดว้ ยแนวปฏิบตั กิ ารใช้แรงงานทด่ี ี (Good Labour Practices: GLP) ระหวา่ งกรมสวัสดกิ ารและคมุ้ ครอง
แรงงาน และกลุ่มธรุ กิจ TCP

18

กรมสว รงงาน
ัสดิการและคุมครองแ

กสร. คุ้มครองสิทธิ
พฒั นาคณุ ภาพชวี ิตแรงงาน


Click to View FlipBook Version