The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

เป็นการจัดการเรียนรู้รูปแบบโครงงานของครูผู้สอน เชื่อมโยงเนื้อหาเรื่องน้ำแหล่งน้ำ การเปลี่ยนแปลงของสาร ให้เข้ากับบริบทท้องถิ่นของนักเรียน ผ่านการกำหนดสถานการณ์จำลองเพื่อศึกษาค้นคว้า ออกแบบวิธีการแก้ปัญหา อย่างเป็นลำดับขั้นตอน ตามกระบวนการทางวิทยาศาสตร์

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by Patbok Bamboo, 2022-03-23 23:41:31

โครงงานน้ำเค็มกินได้(ครูผู้สอน)

เป็นการจัดการเรียนรู้รูปแบบโครงงานของครูผู้สอน เชื่อมโยงเนื้อหาเรื่องน้ำแหล่งน้ำ การเปลี่ยนแปลงของสาร ให้เข้ากับบริบทท้องถิ่นของนักเรียน ผ่านการกำหนดสถานการณ์จำลองเพื่อศึกษาค้นคว้า ออกแบบวิธีการแก้ปัญหา อย่างเป็นลำดับขั้นตอน ตามกระบวนการทางวิทยาศาสตร์

รายงานโครงงานวิทยาศาสตร์
เรอื่ ง น้ำเคม็ กินได้

นักเรียนชั้นประถมศกึ ษาปีที่ 5
ปกี ารศกึ ษา 2564

ครผู ู้สอน
นางสาวภัทรพร คงกิจไพศาล

โรงเรยี นอนบุ าลวดั กลางดอนเมืองชลบรุ ี
ตำบลแสนสุข อำเภอเมือง จังหวดั ชลบรุ ี
สังกัดสำนักงานเขตพืน้ ท่ีการศกึ ษาประถมศกึ ษาชลบุรี เขต 1





คำนำ

รายงานน้ีเปน็ สว่ นหนง่ึ ของวิชาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ระดบั ชนั้ ประถมศึกษาปีที่ 5 ปีการศึกษา
2564 ในเนอื้ หาเรอ่ื ง แหลง่ น้ำและลมฟ้าอากาศ จัดการเรียนการสอนโดยใช้ปญั หาเป็นฐาน ใหน้ ักเรยี นใช้การ
เรียนรู้รูปแบบโครงงานในการคิดค้น วิธีการแก้ไขปัญหาต่างๆด้วยตนเอง ตามสถานการณ์ที่กำหนด กระตุ้น
ทักษะกระบวนการคิดให้กับนักเรียน และส่งเสริมเจตคติเชิงบวกใหก้ ับนักเรียน หากโครงงานน้ีมีข้อผิดพลาด
ประการใด ผู้จดั ทำต้องขออภัยไว้ ณ โอกาสน้ี

ผจู้ ัดทำโครงงาน

นางสาวภทั รพร คงกจิ ไพศาล โรงเรยี นอนบุ าลวดั กลางดอนเมอื งชลบุรี

สารบญั

เรอื่ ง หน้า
บทนำ................................................................................................................................ ๑

ทม่ี าและความสำคัญของโครงงาน......................................................................... 1
วตั ถปุ ระสงค์.......................................................................................................... 1
สมมตฐิ าน.............................................................................................................. ๑
นิยามเชงิ ปฏิบัติ...................................................................................................... 1
ตัวแปร……………………………………………………………………………………………………….1
งบประมาณ........................................................................................................... 1
เอกสารทีเ่ ก่ียวข้อง............................................................................................................. 2
อปุ กรณ์และวธิ ีการดำเนินการ............................................................................................11
ผลการดำเนนิ การ...............................................................................................................12
สรุปผลการดำเนินการ........................................................................................................13
บรรณานกุ รม.......................................................................................................................๑4
ภาคผนวก ก.........................................................................................................................๑5
ภาคผนวก ข.........................................................................................................................25

นางสาวภทั รพร คงกิจไพศาล โรงเรยี นอนบุ าลวดั กลางดอนเมอื งชลบุรี

~๑~

บทที่ 1
บทนำ

ที่มา และความสำคญั ของโครงงาน
ในปัจจุบันได้มีการเปลี่ยนแปลงของสภาพอากาศที่หลากหลาย อย่างรวดเร็วด้วยปัญหา

ทรัพยากรธรรมชาติต่างๆทีไ่ ด้รบั ผลกระทบจากพฤติกรรมของมนษุ ย์ โรงเรยี นอนุบาลวัดกลางดอนต้ังอยู่ ตำบล
แสนสุข อำเภอเมอื งชลบุรี จังหวดั ชลบรุ ี ใกล้กบั ทะเลบางแสน ผนวกกบั เนื้อหาการเรยี นวิทยาศาสตร์เรื่องแหล่ง
น้ำและลมฟ้าอากาศ ซ่งึ ครไู ดก้ ำหนดสถานการณ์จำลองเพ่ือกระตุน้ ความใหก้ ับนกั เรียน “หากในอนาคตนักเรียน
โตขึ้นและตอ้ งทำงานกลางทะเล หรือเกย่ี วกบั ขอ้ งกับทะเล แลว้ ตอ้ งเจอกับปรากฏการณ์ทางธรรมชาติ เช่นพายุ
แล้วทำให้นักเรียนต้องไปติดเกาะร้าง นักเรียนจะมวี ิธีการอยา่ งไรให้มีน้ำเพื่อใช้สำหรับดื่มดำรงชีวิต” เนื่องจาก
แหล่งน้ำท่ีอยูข่ องนกั เรียนเป็นน้ำทะเล ซึ่งไมส่ ามารถดื่มได้ จึงเป็นท่ีมาของ โครงงานนำ้ เค็มกนิ ได้ ของนักเรยี น
ชั้นประถมศกึ ษาปที ่ี 5 ปกี ารศึกษา 2564
วัตถุประสงค์

๑. เพอ่ื สง่ เสริมกระบวนการคิดโดยใชป้ ัญหาเป็นฐานใหก้ ับนักเรยี น
๒. เพอื่ สง่ เสริมกระบวนการเรียนรู้ทางวทิ ยาศาสตร์ใหก้ บั นักเรียน
สมมตฐิ าน
กระบวนการระเหยและการควบแน่นของน้ำสามารถเปลย่ี นนำ้ เค็ม(น้ำทะเล)ให้ดมื่ ได้
นิยามเชงิ ปฏบิ ตั ิ
เครื่องกลน่ั นำ้ อยา่ งงา่ ย คอื อปุ กรณ์และเครอ่ื งมือที่สร้างขน้ึ เองจากวัสดุใกล้ตัว เพอื่ ทำให้น้ำเกิด
กระบวนการระเหย และเกดิ การควบแนน่ เปลี่ยนน้ำเค็มเป็นน้ำจืดใหส้ ามารถดื่มได้
ตวั แปรต้น
วสั ดใุ กลต้ ัวของนักเรียน เชน่ ขวดพลาสติก ขวดแกว้ และนำ้ เค็ม
ตวั แปรตาม
เครือ่ งกลน่ั นำ้ อยา่ งงา่ ยที่สามารถเปลีย่ นนำ้ เค็มให้เป็นน้ำจืด
งบประมาณ
-

นางสาวภทั รพร คงกิจไพศาล โรงเรยี นอนบุ าลวดั กลางดอนเมอื งชลบรุ ี

~๒~

บทท่ี 2
เอกสารทีเ่ ก่ียวขอ้ ง
เคร่อื งกลน่ั น้ำอยา่ งง่าย
วิธที ำใหน้ ้ำสะอาดมีอยูห่ ลายวธิ ี อย่างเชน่ การต้ม การเติมคลอรนี และการกล่ัน แตก่ ารกลั่นเป็นวิธีทำให้
น้ำบริสทุ ธิท์ น่ี ยิ มมากที่สุด ซงึ่ เราสามารถสร้างเครื่องกลน่ั นำ้ แบบงา่ ยๆไดเ้ อง โดยอาศยั พลงั งานจากแสงอาทิตย์
อปุ กรณ์
1. อ่างพลาสติก
2. ถว้ ย
3. พลาสตกิ ใส
4. เงนิ เหรียญ
5. สีผสมอาหาร
6. เทปกาว

วธิ ที ำ
1. ใส่นำ้ และสผี สมอาหารลงในอา่ งพลาสติกให้สูงประมาณ 2 ซม.วางถว้ ยไว้ในอ่างบริเวณตรงกลาง

2. ปิดปากอ่างด้วยพลาสติกใส และตดิ เทปกาว วางเหรยี ญไว้ตรงกลางแผน่ พลาสตกิ แลว้ นำไปวางไว้
กลางแดด น้ำหนกั ของเหรยี ญจะทำให้บรเิ วณตรงกลางพลาสติกต่ำกว่าบริเวณอนื่

นางสาวภทั รพร คงกิจไพศาล โรงเรียนอนบุ าลวดั กลางดอนเมืองชลบรุ ี

~๓~

3. ตั้งอา่ งทงิ้ ไวก้ ลางแดดประมาณ 2-3 ชว่ั โมงเมือ่ กลับไปดู จะสงั เกตเหน็ หยดน้ำอยู่ในถ้วย รหู้ รือไม่ว่า
เป็นเพราะอะไร

เคร่อื งกลน่ั นำ้ อย่างงา่ ยทำงานอยา่ งไร
เมื่อน้ำในอ่างไดร้ บั ความร้อนจะระเหยกลายเปน็ ไอลอยขน้ึ ไปปะทะกับพลาสติกด้านบน แลว้ ควบแน่น
กลบั มาเป็นนำ้ บรสิ ุทธไิ์ หลลงมาตามผนังดา้ นในของพลาสตกิ และตกลงในถ้วย ซ่ึงจะเหน็ วา่ น้ำในถ้วยไมม่ สี ี การ
ควบแน่นจะเกดิ เร็วข้ึนถา้ เทนำ้ เยน็ ลงบนแผน่ พลาสติก กระบวนการทงั้ หมดนี้เรยี กว่าการกลั่น

การเปล่ยี นสถานะของสาร
เนือ่ งจากนักวทิ ยาศาสตรไ์ ดแ้ บ่งสมบตั ขิ องสารออกเปน็ 2 ประเภท ได้แก่ สมบัติทางกายภาพ และ

สมบัติทางเคมี ดังน้ันการเปล่ยี นแปลงของสารจงึ แบง่ ออกเป็น 2 ประเภท ไดแ้ ก่
การเปลย่ี นแปลงทางกายภาพ ( Physical Change ) เป็นการเปล่ยี นแปลงที่ทำให้ลกั ษณะของสาร

เปลี่ยนแตอ่ งคป์ ระกอบของสารยังคงเดิม น่นั คือ สารท่ีเปล่ยี นแปลงนน้ั ยังคงเป็นสารเดมิ ไม่ไดเ้ ปล่ียนเปน็ สารใหม่
และการเปลี่ยนแปลงนีส้ ามารถเปล่ยี นกลบั สภาพเดมิ ไดโ้ ดยวธิ งี ่าย ๆ เชน่ น้ำเปล่ียนสถานะจากของเหลว
กลายเป็นไอน้ำ องคป์ ระกอบก็ยงั เป็น H2O และไอนำ้ ก็ควบแน่นกลายเป็นน้ำได้โดยวิธีง่าย ๆ

การเปลยี่ นแปลงทางเคมี ( Chemical Change ) เปน็ การเปลีย่ นแปลงทมี่ สี ารใหมเ่ กิดขึ้น ซึ่งสารใหม่
จะมสี มบตั ิต่างไปจากสารเดิมและการทำสารใหมใ่ ห้กลบั ไปเปน็ สารเดมิ ทำไดย้ าก เช่น การเผาแก๊สไฮโดรเจนใน
อากาศ แก๊สไฮโดรเจนจะทำปฏิกิรยิ ากบั แก๊สออกซเิ จนเกิดเป็นน้ำซ่งึ มสี มบัตติ า่ งจากแก๊สไฮโดรเจนและแก๊ส
ออกซเิ จน และเมอ่ื ต้องการทำใหน้ ้ำเปลย่ี นไปเปน็ แกส๊ ไฮโดรเจนและแก๊สออกซเิ จนก็ทำไดย้ าก ซงึ่ การ
เปล่ยี นแปลงทางเคมีสามารถเขยี นแทนดว้ ยสมการเคมีดงั เช่นตวั อยา่ ง

2H2 + O2 - > 2H2O

นางสาวภทั รพร คงกิจไพศาล โรงเรียนอนบุ าลวดั กลางดอนเมอื งชลบุรี

~๔~

จากตวั อยา่ งจะเหน็ วา่ สมการเคมปี ระกอบด้วยสารต้ังต้นอยู่ทางซา้ ยมอื แลว้ ตามดว้ ยลูกศร ซึ่งหมายถึง
เกิดการเปลย่ี นแปลงทางเคมไี ด้เปน็ ผลติ ภัณฑ์ซง่ึ เปน็ สารใหม่ทางขวามอื

บทเรียนนีจ้ ะกล่าวถงึ การเปล่ียนแปลงทางกายภาพ นน่ั ก็คอื การเปล่ียนสถานะของสสารซึ่งเปน็ เรอื่ งที่
เป็นพืน้ ฐานที่นักเรยี นต้องทำความเข้าใจ เพื่อเป็นพืน้ ฐานสำคัญในการเรยี นในขั้นตอ่ ไป และสามารถอธบิ าย
ปรากฏการณ์ตา่ ง ๆ ของสสารรอบตวั ได้
การหลอมเหลว ( Melting )

กระบวนการที่เกดิ ข้นึ เมอ่ื เพ่ิมความร้อนให้กบั ของแขง็ อนุภาคภายในของแขง็ จะมีพลงั งานจลนเ์ พิม่ ข้นึ
อนภุ าคเกดิ การสน่ั มากขนึ้ และมีการถ่ายเทพลงั งานให้กับอนุภาคขา้ งเคียงอยา่ งตอ่ เนอื่ ง จนกระท่ังบางอนภุ าค
เหล่าน้นั มีพลังงานสูงกวา่ แรงยดึ เหนี่ยวระหวา่ งอนุภาค อนภุ าคของของแข็งจึงเคลอื่ นทแ่ี ละอย่หู า่ งกันมากขึ้น
ของแข็งจงึ เปลี่ยนสถานะเปน็ ของเหลว

ภาพท่ี 2 นำ้ แขง็ กำลังหลอมเหลว
ที่มา: https://pixabay.com, wolfBlur
การกลายเปน็ ไอ (Evaporation)
เป็นกระบวนการทเี่ กดิ ข้นึ เมื่อเพมิ่ ความรอ้ นใหก้ บั ของเหลว ทำใหอ้ นุภาคของของเหลวมีพลังงานเพิม่ ขึ้น
เม่อื อนุภาคเหล่านน้ั มพี ลังงานสูงกว่าแรงยึดเหนี่ยวระหว่างอนภุ าค จะทำให้อนุภาคของของเหลวแยกออกจาก
กัน ของเหลวจะเปลีย่ นเป็นแกส๊ ในท่ีสุด กระบวนการนีเ้ รียกว่า การกลายเป็นไอ
เรยี กอณุ หภมู ทิ ท่ี ำใหอ้ นภุ าคชนะแรงยึดเหน่ยี วของของเหลวได้วา่ จดุ เดอื ด ( boiling point )

นางสาวภทั รพร คงกิจไพศาล โรงเรียนอนบุ าลวดั กลางดอนเมอื งชลบรุ ี

~๕~

ภาพท่ี 3 ของเหลวกำลงั กลายเป็นไอ
ทม่ี า: https://sites.google.com/site/karpeliynepelng/
การควบแน่น ( Condensation )
เปน็ กระบวนการท่ีเกิดขึน้ เมือ่ ลดความอุณหภูมิ และเพม่ิ ความดนั ของแก๊ส จนถึงระดบั หนึ่ง อนุภาคของ
แก๊สจะมพี ลังงานจลน์นอ้ ยลง ทำให้อนุภาคเคลอ่ื นที่ช้าลงและเคลอ่ื นทเ่ี ข้าใกลก้ นั มากข้นึ ทำให้เกดิ แรงยึดเหนีย่ ว
ระหว่างโมเลกุลมากขึ้น และในที่สุดจะสามารถทำให้โมเลกุลรวมกนั เป็นสารในสถานะของเหลว
การแข็งตัว ( Fleezing )
เปน็ กระบวนการการเปลย่ี นแปลงสถานะของสสาร จากของเหลวเปล่ียนสถานะเปน็ ของแขง็ ซึ่ง
จำเปน็ ต้องถ่ายเทพลงั งานภายในออกมาในรูปของการคายความร้อน เชน่ นำ้ เปลีย่ นสถานะเปน็ น้ำแขง็ มกี าร
คายความรอ้ นเพอื่ ลดแรงส่ันสะเทอื นของโมเลกุล เพ่อื ให้พนั ธะไฮโดรเจนสามารถยึดเหน่ียวโมเลกุลใหจ้ บั ตัวกัน
เป็นโครงสรา้ งผลกึ
การระเหดิ ( Sublimation )
เปน็ กระบวนการทีข่ องแข็งมีการดดู ความร้อนเขา้ ไปถึงระดบั หน่งึ แลว้ มเี ปลย่ี นสถานะไปเป็นแกส๊ โดยไม่
ผา่ นการเปน็ ของเหลวก่อน เรยี กวา่ การระเหิด ซึ่งสารดังกล่าวต้องเปน็ สารประกอบท่มี ีความดนั ไอสูง สมบตั ิ
เฉพาะตวั ของสารนีส้ ามารถนำไปใช้แยกสารเนือ้ ผสมท่เี ป็นของแขง็ ออกจากกนั โดยของแข็งชนดิ หนึ่งมีสมบัติ
ระเหดิ ได้ เชน่ การบรู กบั เกลือแกง เมือ่ ให้ความร้อนการบรู จะกลายเป็นไอแยกออกจากเกลือแกง เมือ่ ดกั ไอของ
การบรู ดว้ ยภาชนะทเ่ี ยน็ จะไดก้ ารบรู เปน็ ของแขง็ แยกออกมา

นางสาวภทั รพร คงกิจไพศาล โรงเรยี นอนบุ าลวดั กลางดอนเมอื งชลบรุ ี

~๖~

ภาพท่ี 4 การระเหิดของน้ำแขง็ แห้ง
ที่มา: https://sites.google.com/site/krufonkuiwit/home/bth-thi-1-kar-canaek-sar/
การระเหดิ กลบั ( Deposition )
เปน็ กระบวนการการเปล่ียนแปลงสถานะของสสาร จากแก๊ส กลายเป็นของแขง็ โดยไมผ่ ่านสถานะ
ของเหลว ใช้ความเย็นในการก่อตัว

ภาพที่ 5 การเปลี่ยนสถานะของน้ำ
ที่มา: http://www.lesa.biz/earth/atmosphere/state-of-water
จากความรู้ท่กี ลา่ วมาทั้งหมด ขอยกตัวอย่างการเปลี่ยนสถานะของน้ำ เพ่อื ใหน้ ักเรยี นได้เข้าใจชัดเจน
ยิ่งขึ้น ดังนี้

นางสาวภทั รพร คงกิจไพศาล โรงเรยี นอนบุ าลวดั กลางดอนเมืองชลบุรี

~๗~

จากภาพท่ี 5 เม่ือเพิ่มพลังงานความร้อนใหแ้ กว้ ซึง่ บรรจนุ ำ้ แข็ง น้ำแข็งจะดดู กลืนความรอ้ นนไี้ ว้ โดย
ยังคงรักษาอุณหภมู ิ 0 °C คงท่ไี ม่เปล่ียนแปลง จนกวา่ น้ำแขง็ จะละลายหมดก้อน ความรอ้ นที่ถกู ดูดกลนื เขา้ ไปจะ
ทำลายพันธะไฮโดรเจนในโครงสรา้ งผลกึ น้ำแข็ง ทำใหน้ ้ำแขง็ เปลย่ี นสถานะเป็นของเหลว โดยมอี ัตราการ
ดูดกลนื ความรอ้ นแฝง 80 แคลอรี/กรมั และเม่อื เพ่มิ พลงั งานความร้อนให้แกว้ ซง่ึ บรรจนุ ำ้ นำ้ จะดูดกลืนความ
ร้อนนไ้ี ว้ โดยยังคงรักษาอณุ หภูมิ 100°C คงทไ่ี ม่เปลี่ยนแปลง จนกว่าน้ำจะระเหยกลายเปน็ ไอนำ้ หมดแกว้ โดย
ใช้อตั ราการดูดกลืนความร้อนแฝง 600 แคลอร/ี กรมั เรยี กวา่ การกลายเปน็ ไอ หรอื การระเหย แต่เม่อื ลดความ
ร้อนลงถงึ ระดบั หนง่ึ แก๊สจะเปลย่ี นสถานะเปน็ ของเหลว เรียกวา่ การควบแนน่ ซ่ึงนำ้ จำเป็นต้องถ่ายเทพลงั งาน
ภายในออกมาในรปู ของการคายความร้อนแฝง 600 แคลอร/ี กรัม เพื่อลดแรงดนั ของระหว่างโมเลกุล

และถ้าลดความร้อนตอ่ ไปอีกจนถงึ ระดับหน่ึง ของเหลวจะเปล่ียนสถานะเปน็ ของแข็ง เรียกว่า การ
แข็งตัว ซง่ึ นำ้ จำเปน็ ต้องถา่ ยเทพลังงานภายในออกมาในรูปของการคายความรอ้ นแฝง 80 แคลอรี/กรัม เพ่อื ลด
แรงสนั่ สะเทอื นของโมเลกลุ เพื่อให้พนั ธะไฮโดรเจนสามารถยึดเหน่ียวโมเลกุลให้จับตัวกันเป็นโครงสร้างผลกึ การ
ที่น้ำเปลีย่ นจากสถานะจากของแข็งเป็นแกส๊ โดยตรง โดยไมผ่ า่ นการเป็นของเหลวก่อน เรียกว่า การระเหดิ ซง่ึ
ต้องการดูดกลืนความรอ้ นแฝง 680 แคลอรี/กรมั การทนี่ ้ำเปลีย่ นจากสถานะแก๊สเปน็ ของแขง็ โดยไม่ผ่านการ
เป็นของเหลวก่อน เรยี กวา่ การระเหดิ กลับ ซ่งึ นำ้ จำเปน็ ต้องถา่ ยเทพลังงานภายในออกมาในรูปของการคาย
ความรอ้ นแฝง 680 แคลอร/ี กรมั
วัฏจกั รอทุ กวิทยา (hydrological cycle) หมายถึง วัฏจกั รการเปลี่ยนแปลงสถานะของน้ำระหวา่ งของเหลว
ของแขง็ และก๊าซ ตามสภาพแวดลอ้ มท่นี ำ้ อาศยั อยู่ ซ่ึงการเปลย่ี นแปลงจำแนกได้ 4 รปู แบบ คือ

วัฏจกั รอทุ กวทิ ยา (hydrological cycle)
1) การระเหย
การระเหย (evaporation) คือ การเปลย่ี นสถานะของนำ้ บนพน้ื ผิวโลกไปส่บู รรยากาศ ทั้งในรปู ของไอน้ำที่
ระเหยจากแหล่งนำ้ โดยตรง และ การคายนำ้ ของพชื (transpiration) โดยในส่วนของการระเหยโดยตรง น้ำจะ
สามารถระเหยได้ก็ต่อเม่ือความช้นื ในบรรยากาศมีค่าน้อยกว่าพืน้ ผิวนำ้ ที่จะระเหย ซ่งึ กระบวนการระเหยของน้ำ

นางสาวภทั รพร คงกิจไพศาล โรงเรยี นอนบุ าลวดั กลางดอนเมอื งชลบุรี

~๘~

ใหก้ ลายเป็นไอ ใช้พลังงานมากพอสมควร เช่น การละเหยนำ้ 1 กรัม ตอ้ งใชพ้ ลังงานความรอ้ นประมาณ 600
แคลอรี่ ซึ่งยิง่ มีพลังงานมากเท่าใด อตั ราการระเหยของไอกจ็ ะมากขนึ้ เท่านั้น นอกจากนี้ ลมที่พัดในพ้ืนทก่ี ็
สามารถช่วยเร่งอัตราการระเหยของน้ำได้ด้วยเช่นกัน โดยหากพน้ื ที่มลี มแรงจะชว่ ยพดั ใหไ้ อน้ำทเ่ี พิ่งระเหย ยา้ ย
ออกไปทอ่ี นื่ เอ้อื ตอ่ น้ำที่พ้ืนผวิ ทีจ่ ะระเหยเขา้ มาแทนทีไ่ ด้มากขึน้
ในระดบั โลก การระเหยของนำ้ สว่ นใหญจ่ ะเกดิ ข้ึนในมหาสมุทรโซนกึง่ เขตรอ้ น ซ่งึ พนื้ ทเ่ี หล่านี้การแผร่ งั สจี ากดวง
อาทติ ย์ในปรมิ าณสูงกวา่ พืน้ ทลี่ ะตจิ ูดกลางหรือแถบขวั้ โลก

แผนท่โี ลกแสดงการกระจายตวั เชิงพืน้ ท่ขี องอัตราการเกิดหยาดน้ำฟ้าต่อการระเหยโดยเฉล่ียในเดอื น(ก) มกราคม
และ (ข) กรกฎาคม พ.ศ. 2502-2540 (ค.ศ. 1959-1997) (ทีม่ า: Department of Geography,
University of Oregon)

นางสาวภทั รพร คงกิจไพศาล โรงเรยี นอนบุ าลวดั กลางดอนเมอื งชลบรุ ี

~๙~

การคายนำ้ ของพืช (transpiration) เปน็ การระเหยหรือแพรข่ องนำ้ ออกไปจากพืช แบ่งได้ 3 ประเภท คือ การ
คายน้ำทางปากใบ ทางผิวใบและการคายนำ้ ทางเลนทเิ ซล (lenticel) โดยการคายนำ้ จะส่งผลใหเ้ กิดแรงดึงนำ้ จาก
สว่ นล่างของลำตน้ ขน้ึ ไปสูส่ ่วนท่อี ยู่สงู กวา่ ชว่ ยลดอุณหภมู ทิ ีใ่ บ

ปจั จยั ที่มอี ิทธพิ ลตอ่ การคายนำ้ นอกจากปัจจัยภายในเรอ่ื ง ธรรมชาตขิ องพืชแต่ละชนดิ เอง อตั ราการคายน้ำของ
พืชยงั ขนึ้ อยู่กบั ปจั จัยภายนอกหรอื สง่ิ แวดลอ้ มดว้ ย ไดแ้ ก่ 1) แสงสว่างมาก จะทำให้ปากใบเปิดกว้างมากขึ้น 2)
อุณหภูมิสูง พชื มีอตั ราการคายนำ้ เพิม่ มากข้นึ ทำใหพ้ ชื คายนำ้ ในชว่ งกลางวนั มากกว่ากลางคืน 3) ถา้ อากาศ
ภายนอกมีความช้นื สูง อตั ราการคายนำ้ กจ็ ะตำ่ ในทางตรงกนั ข้าม ถ้าอากาศภายนอกมคี วามชืน้ ตำ่ การคายนำ้ ก็
จะเกดิ มากข้ึน 4) ลมช่วยพัดพาไอนำ้ ท่ีระเหยออกจากใบ การคายนำ้ ใหมก่ จ็ ะทำได้ดีและงา่ ยขนึ้ และ 5) ความ
กดดันของบรรยากาศต่ำ อากาศจะเบาบางลง ไอนำ้ ในใบแพรอ่ อกมาไดง้ า่ ย เปน็ ตน้

2) หยาดนำ้ ฟ้า
หยาดนำ้ ฟ้า (precipitation) คอื การทไ่ี อน้ำในชั้นบรรยากาศ ควบแนน่ (condensation) และตกลงมาใน
รูปแบบตา่ งๆ ซึ่งในทางอุตุนยิ มวทิ ยา จำแนกหยาดน้ำฟา้ ออกเปน็ 6 รปู แบบ ไดแ้ ก่

▪ ฝนละออง (drizzle) คอื หยดน้ำขนาดเล็กกว่า 0.5 มิลลเิ มตร ส่วนใหญเ่ กดิ จากเมฆสเตรตัส
▪ ฝน (rain) คอื หยดน้ำขนาด 0.5-5 มลิ ลิเมตร มกั มาจาก เมฆนมิ โบสเตรตสั และควิ มูโลนิม

บสั ควบแนน่ โดยมี แกนควบแนน่ (condensation nuclei) ช่วยไอน้ำเกาะเปน็ หยดนำ้ เช่น
ฝุน่ ควัน เกสรดอกไม้
▪ ฝนนำ้ แขง็ (freezing rain) คือ น้ำฝนทีต่ กลงมาแลว้ กลบั มาแขง็ ตวั อกี คร้ังอย่างทันทเี พราะ
อากาศท่ีพืน้ ผิวเยน็ มาก
▪ เกลด็ น้ำฝน (sleet) คอื น้ำฝนที่ตกลงผา่ นกอ้ นเมฆเย็นหรอื อากาศเยน็ จดั แลว้ แขง็ ตัวเปน็ เกล็ด
นำ้ แขง็

(ซา้ ย) ฝนนำ้ แขง็ (ขวา) เกล็ดนำ้ ฝน

นางสาวภทั รพร คงกิจไพศาล โรงเรียนอนบุ าลวดั กลางดอนเมืองชลบุรี

~ ๑๐ ~

▪ หิมะ (snow) คอื ผลึกนำ้ แขง็ ขนาดประมาณ 1-20 มลิ ลิเมตร ซึ่งเกิดจากไอนำ้ จาก น้ำเยน็
ยิ่งยวด ระเหิดกลบั เปน็ ผลกึ น้ำแข็งและตกลงมาในเขตท่ีมอี ากาศหนาวเยน็ เชน่ ในเขตละตจิ ูดสงู
หรือบนเทือกเขาสูง

▪ ลกู เหบ็ (hail) คือ เปน็ กอ้ นนำ้ แขง็ ขนาดใหญ่กว่า 5 เซนตเิ มตร เกิดลมกรรโชก พดั ให้ผลึกน้ำแข็ง
ปะทะกับน้ำเยน็ ยงิ่ ยวด กลายเป็นก้อนนำ้ แข็งหอ่ ห้มุ กนั เป็นช้ันๆ จนมีขนาดใหญ่ และตกลงมา

นางสาวภทั รพร คงกิจไพศาล โรงเรียนอนบุ าลวดั กลางดอนเมอื งชลบรุ ี

~ ๑๑ ~

บทท่ี 3
อุปกรณแ์ ละวธิ กี ารดำเนนิ การ

วสั ดุทใ่ี ช้

1. ขวดน้ำพลาสติก/กะละมัง/ขวดแกว้
2. ถงุ พลาวติก
3. เทปกาว
4. คตั เตอร์
5. ก้อนหนิ หรอื วตั ถทุ ่ีมีนำ้ หนักอนื่
6. แก้วนำ้
7. นำ้ เค็ม/น้ำทะเล
8. ผา้

ข้นั ตอนการทำ

แบบท่ี 1 ใช้ขวดพลาสตกิ

1. เตรยี มขวดพลาสติก 2 ขนาดทีต่ ่างกนั จำนวน 2 ขวด
2. ตดั ขวดพลาสตกิ แบง่ เป็นสองส่วน ทง้ั สองขวด
3. นำสว่ นล่างของขวดพลาสตกิ ขวดเล็กใสน่ ำ้ เคม็ และวางดา้ นในขวดพลาสติกส่วนลา่ งของขวด

พลาสติกใหญ่
4. นำขวดพลาสตัดแลว้ ส่วนบนของขวดใหญ่ มาปิดครอบส่วนลา่ ง ใชเ้ ทปกาวพนั รอบ
5. นำไปวางตากแดด สังเกตและบันทกึ ผล

แบบท่ี 2 ใชก้ ะละมงั

1. นำ้ แกว้ น้ำเลก็ ท่ีมีนำ้ เค็มไปวางตรงกลางของกะละมงั นำถงุ พลาสติกปดิ ปากกะลงั มังใหม้ ิดชดิ ไมใ่ ห้
มีชอ่ งใหอ้ ากาศออกได้

2. นำเทปกาวยดึ พนั ให้พลาสติกติดกบั กะละมัง
3. ใช้หนิ หรือวัตถุถว่ งนำ้ หนกั บางบนแผ่นพลาสติก ตรงกลางกะละมงั
4. นำไปวางตากแดด สังเกตและบนั ทึกผล

แบบท่ี 3 ใช้ขวดแก้ว

1. เตรียมขวดแกว้ 2 ขวด
2. ใส่น้ำเค็มในขวดท่ี 1 ในปรมิ าณทไ่ี ม่ทำใหน้ ำ้ หกจากขวดเม่ือวางแนวนอนหนั ปากขวดชนกนั กบั ขวด

ที่ไม่มนี ้ำ
3. กอ่ ไฟใตข้ วดที่มนี ้ำ ใช้ดนิ หรือผ้าชุบน้ำวางบนขวดทไี่ ม่มนี ำ้
4. สงั เกตและบันทึกผล

นางสาวภทั รพร คงกิจไพศาล โรงเรยี นอนบุ าลวดั กลางดอนเมอื งชลบุรี

~ ๑๒ ~

บทท่ี 4
ผลการดำเนนิ การ
จากการทดลองทำเครือ่ งกล่นั นำ้ อย่างงา่ ยทงั้ 3 แบบพบวา่
แบบท่ี 1 การใชข้ วดพลาสตกิ ในการทำ เป็นรปู แบบทท่ี ำได้ง่าย วัสดุท่หี าง่าย เกิดผลได้จริง ทำได้ทกุ ท่ี
แบบที่ 2 การใช้กะละมัง ทำให้ได้น้ำปรมิ าณมาก รูปลักษณ์ดูสะอาดทำๆได้ง่าย เกิดผลได้จริง แต่อาจ
ต้องใชค้ ่าใช้จา่ ยในการซอ้ื กะละมงั
แบบที่ 3 การใชข้ วดแก้วเป็นวิธีท่เี กิดผลจริง ใชเ้ วลาน้อยในการทำ ควบคุมเวลาในการทำได้ แต่มีความ
อนั ตรายหากนักเรยี นทำดว้ ยตนเอง ควบอยูใ่ นการดแู ลของผใู้ หญ่

นางสาวภทั รพร คงกิจไพศาล โรงเรยี นอนบุ าลวดั กลางดอนเมอื งชลบุรี

~ ๑๓ ~

บทที่ 5
สรุปผลการดำเนินการ
จากาการทำโครงงานนำ้ เคม็ กินได้ พบว่า กระบวนการระเหย และกระบวนการควบแนน่ สามารถเปล่ยี น
นำ้ เค็มให้กินไดจ้ ริง นักเรยี นเกดิ กระบวนการเรีนยรู้ทางวทิ ยาศาสตร์ คิดโดยใชป้ ัญหาเป็นฐาน
ขอ้ เสนอแนะและพัฒนาตอ่
การทำการทดลองมปี ัจจยั ในการเกิดผลคาดเคลื่อนหลายปัจจัย เช่น
1. ความเคม็ ของนำ้ เค็มท่มี ากเกินไป อาจจะไมส่ ามารถเปลย่ี นนำ้ เคม็ เปน็ นำ้ จดื ได้ทั้งหมด แต่ทำให้
เคม็ นอ้ ยลงได้
2. แสงแดดทีแ่ รงเกินไปทำให้น้ำระเหยเรว็ และระเหยวนซำ้
3. การปดิ รอย หรอื รรู ่วั ไมส่ นิททำให้ไอนำ้ ระเหยออกด้านนอก จึงเหลือน้ำจดื นอ้ ย
4. วัสดุอุปกรณท์ ี่ใกลต้ ัวของนกั เรียนแตกต่างกนั จงึ ทำให้เกดิ วธิ กี ารทำ หรอื รปู แบบการทำ
แตกตา่ งกัน

นางสาวภทั รพร คงกิจไพศาล โรงเรยี นอนบุ าลวดั กลางดอนเมอื งชลบรุ ี

~ ๑๔ ~

บรรณานุกรม
กระทรวงศกึ ษาธกิ าร. บทเรียนอเิ ลก็ ทรอนกิ ส์วทิ ยาศาสตร์ ป.6 เทอม 1. สืบคน้ เมือ่ วนั ที่ 12 สิงหาคม 2561.
จาก http://www.mcp.ac.th/e-learning456.php
สิทธโิ ชค ศริ .ิ สารและการเปลีย่ นแปลง. สืบคน้ เม่ือ 19 สงิ หาคม 2561. จาก
https://sittichok2890.wordpress.com/
ศูนยก์ ารเรยี นรวู้ ิทยาศาสตรโ์ ลกและดาราศาสตร.์ การเปลยี่ นแปลงสถานะของนำ้ . สบื ค้นเมือ่ 19 สิงหาคม
2561. จาก http://www.lesa.biz/earth/atmosphere/state-of-water

นางสาวภทั รพร คงกิจไพศาล โรงเรียนอนบุ าลวดั กลางดอนเมืองชลบุรี

~ ๑๕ ~

ภาคผนวก ก

- ภาพถา่ ยหรือวดิ ิโอคลิปที่เกีย่ วข้อง

นางสาวภทั รพร คงกิจไพศาล โรงเรียนอนบุ าลวดั กลางดอนเมอื งชลบรุ ี

~ ๑๖ ~

ออกแบบกอ่ นลงมอื ทำ

นางสาวภทั รพร คงกิจไพศาล โรงเรียนอนบุ าลวดั กลางดอนเมอื งชลบุรี

~ ๑๗ ~

นางสาวภทั รพร คงกิจไพศาล โรงเรยี นอนบุ าลวดั กลางดอนเมอื งชลบรุ ี

~ ๑๘ ~

นางสาวภทั รพร คงกิจไพศาล โรงเรยี นอนบุ าลวดั กลางดอนเมอื งชลบรุ ี

~ ๑๙ ~

สรา้ งเคร่ืองกลน่ั นำ้ อย่างงา่ ย

นางสาวภทั รพร คงกิจไพศาล โรงเรยี นอนบุ าลวดั กลางดอนเมืองชลบุรี

~ ๒๐ ~

ช้นิ งาน เครอ่ื งกลน่ั น้ำ DIY ของนกั เรยี น

นางสาวภทั รพร คงกิจไพศาล โรงเรียนอนบุ าลวดั กลางดอนเมอื งชลบรุ ี

~ ๒๑ ~

นางสาวภทั รพร คงกิจไพศาล โรงเรยี นอนบุ าลวดั กลางดอนเมอื งชลบรุ ี

~ ๒๒ ~

การทดลองกล่นั น้ำเคม็ เป็นนำ้ จดื ด้วยแสงอาทติ ย์

นางสาวภทั รพร คงกิจไพศาล โรงเรียนอนบุ าลวดั กลางดอนเมอื งชลบรุ ี

~ ๒๓ ~

การทดสอบความเคม็ ของนำ้ ทไี่ ด้จากการกล่ันน้ำ

นางสาวภทั รพร คงกิจไพศาล โรงเรียนอนบุ าลวดั กลางดอนเมอื งชลบรุ ี

~ ๒๔ ~

ภาพวดิ โิ อ ระหว่างการดำเนินการ และการจดั การเรียนรปู รปู แบบโครงงานน้ำเคม็ กนิ ได้

นางสาวภทั รพร คงกิจไพศาล โรงเรยี นอนบุ าลวดั กลางดอนเมอื งชลบรุ ี

~ ๒๕ ~

ภาคผนวก ข

- ตวั อยา่ งการเขยี นรายงานโครงงานนำ้ เคม็ กนิ ไดข้ องนักเรียน

นางสาวภทั รพร คงกิจไพศาล โรงเรยี นอนบุ าลวดั กลางดอนเมอื งชลบรุ ี


Click to View FlipBook Version