The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

หนังสือส่งเสริมการอ่าน ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
เผยแพร่เพื่อประโยชน์ด้านการศึกษา

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by patrawan2519, 2020-06-11 23:19:24

หนังสือส่งเสริมการอ่าน ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง

หนังสือส่งเสริมการอ่าน ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
เผยแพร่เพื่อประโยชน์ด้านการศึกษา

Keywords: ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง

หนงั สือสง่ เสริมการอา่ น
ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง

คำนำ
หนังสือส่งเสริมกำรอำ่ น ปรชั ญำของเศรษฐกิจพอเพียง
จัดทำข้ึนเพ่ือเป็นสื่อในกำรเผยแพร่และส่งเสริมกำรน้อมนำ
ปรัชญำของเศรษฐกิจพอเพียงของในหลวงรัชกำลท่ี ๙
ไปปฏิบัติในชีวิตประจำวัน เน้ือเร่ืองอ่ำนเข้ำใจง่ำย
มภี ำพประกอบสวยงำม เหมำะกบั นักเรียนทกุ ระดบั ชนั้
หวังเป็นอย่ำงย่ิงว่ำหนังสือส่งเสริมกำรอ่ำนเล่มนี้
จะเปน็ ประโยชน์ตอ่ นกั เรยี น ครูผูส้ อน และผู้ท่สี นใจทกุ ทำ่ น

ภัทรำวรรณ ทองอยู่

ณ โรงเรียนวดั ประเจยี ก บ่ายวนั นี้
คณุ ครกู าลงั จะนานกั เรยี นไปเรียน
กบั ครูภมู ปิ ญั ญาทอ้ งถนิ่ ในชมุ ชน

นกั เรียนคะ วันนีค้ รจู ะพานกั เรียน
ไปเรยี นบา้ นคณุ ตาชาย

ไชโย เย้ ว้าว

ณ บ้านคุณตาชาย นกั เรยี น

ครูภมู ิปัญญาทอ้ งถนิ่ ของชมุ ชน นี่คอื

คุณตาชายค่ะ

สวัสดีหลานๆ สวัสดีครบั

สวสั ดีคะ่

วนั นค้ี ณุ ครพู านกั เรยี นมาเรยี นเรื่อง
ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียงค่ะ

ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง
เป็นแนวพระราชดาริ
ของในหลวงรัชกาลท่ี ๙

ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง
ประกอบดว้ ย ๓ ห่วง ๒ เงื่อนไข
๓ หว่ ง คือ พอประมาณ มีเหตุผล

มีภูมิคุ้มกนั ในตวั ทดี่ ี
๒ เงือ่ นไข คือ ความรู้ คณุ ธรรม

พอประมาณ หมายถงึ ความพอดี
ที่ไมน่ อ้ ยเกนิ ไปและไมม่ ากเกินไป
โดยไมเ่ บยี ดเบยี นตนเองและผูอ้ ่ืน เชน่
การผลติ และการบรโิ ภคที่อย่ใู นระดบั

พอประมาณ

มเี หตผุ ล หมายถงึ การตัดสนิ ใจเกยี่ วกบั
ระดับความพอเพยี งนนั้ จะต้องเปน็ ไป
อยา่ งมเี หตผุ ล โดยพจิ ารณาจากเหตปุ จั จยั
ทเ่ี กี่ยวข้อง ตลอดจนคานงึ ถงึ ผลทคี่ าดว่า

จะเกิดขึ้นจากการกระทานนั้ ๆ
อยา่ งรอบคอบ

มีภูมคิ มุ้ กันในตวั ทดี่ ี หมายถงึ การเตรยี มตวั
ให้พรอ้ มรบั ผลกระทบและการเปลย่ี นแปลง

ดา้ นตา่ งๆ ทจี่ ะเกิดข้ึน โดยคานงึ ถงึ
ความเปน็ ไปไดข้ องสถานการณต์ า่ งๆ

ที่คาดวา่ จะเกิดขน้ึ ในอนาคต

ความรู้ ประกอบดว้ ย ความรอบรู้เกยี่ วกบั
วชิ าการตา่ งๆ ทเ่ี ก่ยี วขอ้ งรอบดา้ น
ความรอบคอบทจ่ี ะนาความรู้เหลา่ นน้ั
มาพจิ ารณาใหเ้ ชื่อมโยงกนั
เพ่อื ประกอบการวางแผน
และความระมดั ระวงั ในการปฏบิ ตั ิ

คณุ ธรรม ท่ีจะตอ้ งเสรมิ สรา้ ง ประกอบด้วย
มีความตระหนกั ในคณุ ธรรม

มีความซอื่ สตั ยส์ จุ รติ และมีความอดทน
มีความเพยี ร ใช้สตปิ ญั ญาในการดาเนนิ ชวี ิต

ท่ตี าอธบิ าย ดมี ากคะ่ เด๋ียวคณุ ตาชาย
หลานๆเขา้ ใจ จะพาพวกเราไปดวู ถิ ชี วี ติ

ใช่ไหม ท่นี าหลกั ปรชั ญาของ
เศรษฐกจิ พอเพยี งมาใชค้ ะ่

เขา้ ใจครบั

เข้าใจคะ่

กจิ กรรมท้ำยเร่อื ง

กจิ กรรมที่ 1 เขียนบันทึกควำมรูจ้ ำกเร่อื งท่ีอำ่ น

...........................................................................................................................................
...........................................................................................................................................
...........................................................................................................................................
...........................................................................................................................................
...........................................................................................................................................
...........................................................................................................................................
...........................................................................................................................................
...........................................................................................................................................
...........................................................................................................................................
...........................................................................................................................................
...........................................................................................................................................
...........................................................................................................................................
...........................................................................................................................................
...........................................................................................................................................
...........................................................................................................................................
...........................................................................................................................................
...........................................................................................................................................
...........................................................................................................................................
...........................................................................................................................................
...........................................................................................................................................
...........................................................................................................................................
..........................................................................................................................................
...........................................................................................................................................
...........................................................................................................................................
...........................................................................................................................................

กจิ กรรมท่ี 2 เขยี นผงั ควำมคดิ จำกเรื่องท่อี ำ่ น

กิจกรรมท่ี 3 ให้นกั เรียนพจิ ำรณำว่ำขอ้ ควำมท่ีกำหนดสอดคล้องกับ
ปรัชญำของเศรษฐกจิ พอเพยี งหรือไม่ โดยทำเครอ่ื งหมำย ลงในชอ่ งทก่ี ำหนด

ข้อควำม สอดคลอ้ ง ไม่สอดคล้อง
1. ปลกู ผักกนิ เอง
2. ซอื้ โทรศพั ท์มือถอื ไว้เรยี นออนไลน์
3. หยอดเงนิ ใสก่ ระปกุ ออมสินทุกวนั
4. รองเท้ำคู่เดิมไม่สวยซอื้ รองเทำ้ ค่ใู หม่ดีกว่ำ
5. ไม่ทำกำรบ้ำนเพรำะไม่ชอบครู
6. โรงเรยี นปดิ เทอมช่วยพ่อแมท่ ำงำนบ้ำน
7. มีเงิน 100 บำท ทำบุญ 100 บำท
8. เงินเดอื นออกแล้วไปเท่ียวหำ้ งดกี วำ่
9. กินข้ำวให้หมดจำน
10. ใสห่ นำ้ กำก เวน้ ระยะหำ่ ง

กจิ กรรมที่ 4 ให้นกั เรยี นพิจำรณำข้อควำมโดยทำเคร่อื งหมำย ลงในช่องท่กี ำหนด

ข้อควำม ถกู ผดิ
1. พอประมำณ หมำยถึง ควำมพอดี
2. มีเหตุผล หมำยถึง พจิ ำรณำจำกเหตปุ จั จัย
3. ภมู ิคมุ้ กนั หมำยถึง กำรเตรียมตัวให้พร้อม
4. เง่อื นไขควำมรู้ ประกอบด้วย ควำมรอบรเู้ กยี่ วกบั
วิชำกำรต่ำงๆ
5. เงอ่ื นไขคุณธรรม ประกอบดว้ ย มคี วำมซ่ือสตั ย์

กิจกรรมท่ี 5 ตอบคำถำมจำกเรื่อง

1. จงยกตวั อยำ่ งพฤตกิ รรมทแ่ี สดงออกถึงควำมพอประมำณ
..............................................................................................................................................
2. จงยกตัวอย่ำงพฤตกิ รรมทแ่ี สดงออกถงึ กำรมเี หตุผล
..............................................................................................................................................
3. จงยกตัวอยำ่ งพฤติกรรมท่ีแสดงออกถึงกำรมภี มู ิคมุ้ กันในตวั ทีด่ ี
..............................................................................................................................................
4. จงยกตวั อยำ่ งพฤตกิ รรมทแ่ี สดงออกถึงกำรมีควำมรู้
..............................................................................................................................................
5. จงยกตวั อยำ่ งพฤตกิ รรมที่แสดงออกถึงกำรมคี ณุ ธรรม
..............................................................................................................................................
6. จงยกตวั อย่ำงพฤติกรรมทแ่ี สดงออกถงึ ควำมพอดที ่ไี มน่ อ้ ยเกนิ ไปและไม่มำกเกนิ ไป
..............................................................................................................................................
7. จงยกตวั อยำ่ งพฤตกิ รรมทแ่ี สดงออกถงึ กำรไม่เบยี ดเบยี นตนเองและผอู้ ่นื
..............................................................................................................................................
8. จงยกตัวอย่ำงพฤติกรรมทแ่ี สดงออกถงึ กำรใชส้ ติปญั ญำในกำรดำเนนิ ชีวติ
..............................................................................................................................................
9. จงยกตวั อยำ่ งพฤติกรรมทแี่ สดงออกถงึ กำรมีควำมเพียร
..............................................................................................................................................
10. จงยกตวั อยำ่ งพฤติกรรมท่ีแสดงออกถึงควำมรอบรู้เกีย่ วกับวิชำกำรตำ่ งๆ
..............................................................................................................................................

กจิ กรรมที่ 6 คดิ วิเครำะหจ์ ำกเรอื่ งทอ่ี ่ำน

1. นกั เรยี นคดิ วำ่ ปรัชญำของเศรษฐกจิ พอเพยี งมปี ระโยชน์อยำ่ งไร
…………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………
2. นักเรยี นได้นำปรชั ญำของเศรษฐกจิ พอเพยี งไปใชใ้ นกำรเรยี นอยำ่ งไรบ้ำง
…………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………
3. นักเรียนไดน้ ำปรัชญำของเศรษฐกจิ พอเพียงไปใช้ในกำรดำเนนิ ชวี ติ อยำ่ งไรบำ้ ง
…………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………
4. พ่อแม่ของนักเรียนได้นำปรัชญำของเศรษฐกจิ พอเพียงไปใชใ้ นกำรทำงำนอย่ำงไรบ้ำง
…………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………
5. นักเรียนจะนำปรัชญำของเศรษฐกิจพอเพยี งไปเผยแพร่สู่ชุมชนอยำ่ งไร
…………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………

ประวตั ผิ เู้ ขียน
ช่ือ – สกลุ นำงสำวภทั รำวรรณ ทองอยู่
ตำแหนง่ ครชู ำนำญกำรพิเศษ
สถำนศกึ ษำ โรงเรยี นวัดประเจยี ก ตำบลสนำมชยั อำเภอสทิงพระ จังหวัดสงขลำ
สังกัด สำนักงำนเขตพนื้ กำรศึกษำประถมศึกษำสงขลำ เขต 1
คณุ วุฒิทำงกำรศึกษำ ปรญิ ญำตรี ศศ.บ. ภำษำองั กฤษ มหำวทิ ยำลัยสงขลำนครนิ ทร์

ปริญญำโท ศษ.ม. กำรประถมศึกษำ มหำวทิ ยำลยั สงขลำนครนิ ทร์
ผลงำนที่ปรำกฏ
- รำงวลั บคุ ลำกรตน้ แบบปฏริ ปู กระบวนกำรเรียนรูร้ ำงวัลครเู กียรตยิ ศ (Teacher Awards)
- รำงวัลคนดศี รีสงขลำ ระดับจงั หวดั
- รำงวลั หนึ่งแสนครดู ี ระดบั ชำติ
- รำงวัลครดู ไี มม่ ีอบำยมขุ ระดบั ชำติ
- รำงวลั ครดู ีในดวงใจ ระดับชำติ
- รำงวลั ครุ ุสดดุ ี ระดบั ชำติ
- รำงวัลครตู ้นแบบบูรณำกำรทกั ษะชวี ติ ระดับชำติ
- รำงวลั ทรงคณุ คำ่ สพฐ. (OBEC AWARDS) ชนะเลศิ ระดับเหรียญทอง ครูผู้สอนยอดเยี่ยม
ระดบั ประถมศกึ ษำ กจิ กรรมพัฒนำผู้เรียน กิจกรรมเพอื่ สงั คมและสำธำรณประโยชน์
ด้ำนวชิ ำกำร ระดับชำติ
- รำงวลั ครผู ู้สอนดีเดน่ กจิ กรรมพฒั นำผเู้ รียน กิจกรรมเพื่อสังคมและสำธำรณประโยชน์
ระดับเขตพ้ืนทก่ี ำรศึกษำ
- รำงวลั ครูทีป่ รกึ ษำโครงงำนคุณธรรม งำนศลิ ปหัตกรรมนกั เรียน ระดับภำคใต้
- รำงวลั ครทู ป่ี รกึ ษำกจิ กรรมสภำนักเรยี น งำนศลิ ปหัตถกรรมนกั เรียน ระดบั ชำติ
- คณะทำงำนรำงวลั โครงกำรเยำวชนพลยุตธิ รรม รองชนะเลิศอันดับ 1 ระดบั ประเทศ
- คณะทำงำนรำงวัลโครงกำรโรงเรยี นเครือขำ่ ยเชฟรอน ระดบั ประเทศ
- คณะทำงำนรำงวลั โลป่ ระทำนโรงเรยี นสรำ้ งสรรค์สงิ่ แวดลอ้ ม ระดบั ประเทศ
- คณะทำงำนรำงวลั โรงเรียนคู่หทู ันตสุขภำพ ระดบั ภำค
- คณะทำงำนรำงวลั โรงเรียนสุขบญั ญัตแิ หง่ ชำติ ระดบั ภำค
- คณะทำงำนรำงวลั โรงเรียนส่งเสริมสุขภำพระดบั ทอง ระดบั จังหวดั
- คณะทำงำนรำงวัลโครงกำรเยำวชนคนรุ่นใหมเ่ กดิ มำต้องตอบแทนบญุ คุณแผ่นดิน
ระดบั จงั หวดั
- คณะทำงำนรำงวัลสถำนศึกษำปลอดภยั ระดบั จังหวดั
- คณะทำงำนรำงวัลสถำนศึกษำปลอดโฟม ระดับทอง ระดบั จงั หวดั
- คณะทำงำนรำงวลั ระบบดแู ลช่วยเหลือนักเรยี น ระดบั เขตพื้นทีก่ ำรศึกษำ
- คณะทำงำนรำงวัลโรงเรียนสีขำวปลอดยำเสพตดิ และอบำยมขุ ระดบั เขตพ้ืนทีก่ ำรศึกษำ

หนงั สือสง่ เสริมการอา่ น
ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง


Click to View FlipBook Version