โครงงานเทคโนโลยี(วทิ ยาการคานวณ)
เรื่องการสารวจการใช้ภาษาวยั รุ่นในส่ือออนไลน์
จดั ทาโดย
นางสาวมณิชญา จนั ทร์ครุธ ชนั้ ม.4/6 เลขท่ี31
นางสาวอรัญพร สขุ คง ชนั้ ม.4/6 เลขท่ี41
นางสาวอินทริ า สงั วาลย์ ชนั้ ม.4/6 เลขที่42
นางสาวธญั ญเรศ รื่นพงษ์ ชนั้ ม.4/6 เลขท่ี 39
นางสาวรัญชดิ า หงส์ทอง ชนั้ ม.4/6 เลขที่40
เสนอ
ครูชชั วาลย์ ฝ่ ายกระโทก
รายงานโครงงานนีเ้ป็นสว่ นหนงึ่ ของการศกึ ษารายวชิ าคอมพิวเตอร์ ง31191
ภาคเรียนที่ 1 ปีการศกึ ษา 2562
กลมุ่ สาระการเรียนรู้เทคโนโลยี(วิทยาการคานวณ)
สานกั งานพืน้ ทีการศกึ ษามธั ยมศกึ ษา เขต 1
บทคดั ย่อ
โครงงานเรื่อง การสารวจการใชภ้ าษาวยั รุ่นในส่ือออนไลน์ มีจุดมุ่งหมายเพื่อเป็ นการรวบรวมและเผยแพร่
คาศพั ทท์ ่ีวยั รุ่นใชก้ นั ในปัจจุบนั และเป็นการสร้างความตระหนกั ในการใชภ้ าษาไทยใหถ้ ูกตอ้ งตาม
ราชบณั ฑิตยสถาน ซ่ึงข้นั ตอนการดาเนินโครงงานมีดงั น้ี ผศู้ ึกษานา เสนอหวั ขอ้ โครงงานตอ่ อาจารยท์ ี่
ปรึกษาโครงงานเพ่ือขอคาแนะนาและกาหนดขอบเขตในการทาโครงงาน ผศู้ ึกษาโครงงานวเิ คราะห์หวั ขอ้
โครงงานเพ่อื กาหนดวตั ถุประสงคข์ อง กาหนดกลุ่มประชากร ซ่ึงไดก้ าหนดกลุ่มประชากร คือ นกั เรียน
ระดบั ช้นั มธั ยมศึกษาปี ที่ 3 โรงเรียนบา้ นหนองอีดา จานวน 20 คน กลุ่มตวั อยา่ งคือ นกั เรียนระดบั ช้นั
มธั ยมศึกษาปี ท่ี 3 โรงเรียนบา้ นหนองอีดาภาคเรียนที่ 2 ปี การศึกษา2557 จานวน 20 คน สร้างเคร่ืองมือการ
วจิ ยั การสร้างเคร่ืองมือการวิจยั ผวู้ จิ ยั ศึกษาจากหลกั การ ทฤษฎี แนวคิด วตั ถุประสงค์ เพอ่ื จาแนกวา่ ควร
สร้างเคร่ืองมือวดั ดา้ นใดบา้ ง ใหเ้ หมาะสมกบั สภาพของนกั เรียนระดบั ช้นั มธั ยมศึกษาปี ท่ี 3 โรงเรียนบา้ น
หนองอีดา ภาคเรียนที่ 2 ปี การศึกษา2557 จานวน 20 คน ท่ีตอ้ งการศึกษา การเกบ็ รวบรวมขอ้ มูล ผศู้ ึกษา
โครงงานนาเครื่องมือที่สร้างข้ึน ใหน้ กั เรียนกลุ่มตวั อยา่ งไดต้ อบแบบสอบถามและเก็บขอ้ มูลดว้ ยตนเอง เพ่อื
วเิ คราะห์และนามาจดั ทาโครงงาน สรุปผลการศึกษา และนาเสนอผลการศึกษา โดยนาขอ้ มูลที่ไดม้ า
วเิ คราะห์ขอ้ มูลและเขียนสรุปผลการวเิ คราะห์ขอ้ มูล นาเสนอเป็นรูปเล่มและนาเสนอผลงานตอ่ อาจารยท์ ่ี
ปรึกษาเพือ่ รายงานผลการดาเนินงาน และการสรุปผลจากการศึกษาเร่ือง การสารวจการใชภ้ าษาวยั รุ่นในสื่อ
ออนไลน์ จากการตอบแบบสอบถามท่ีปรากฏการใชค้ าของวยั รุ่นคือ คาสแลงหรือคาคะนองที่พบใน
อินเตอร์เน็ตหรือส่ือส่ิงพมิ พต์ า่ งๆ โดยมีวตั ถุประสงค์ เพือ่ ศึกษาการเปล่ียนแปลงภาษาของวยั รุ่นท่ีใชใ้ น
ปัจจุบนั รวบรวมและเผยแพร่ คาศพั ทท์ ี่วยั รุ่นใชก้ นั ในปัจจุบนั และเป็นการสร้างความตระหนกั ในการใช้
ภาษาไทยใหถ้ ูกตอ้ งตามราชบณั ฑิตยสถาน
กติ ตกิ รรมประกาศ
การศึกษาโครงงาน เร่ือง การสารวจการใชภ้ าษาวยั รุ่นในสื่อออนไลน์ เล่มน้ีสาเร็จลุล่วงโดยไดร้ ับ
ความอนุเคราะห์เป็นอยา่ งดี จากอาจารย์ บุญโต นาดี ซ่ึงไดก้ รุณาใหค้ าปรึกษาแนะนาแนวคิดวธิ ีการ และ
เสียสละเวลาอนั มีค่าน้นั มาแกไ้ ข แนะนาขอ้ บกพร่องของเน้ือหาดว้ ยความเอาใจใส่อยา่ งดียงิ่ ผจู้ ดั ทา
ขอขอบพระคุณเป็นอยา่ งสูง ณ โอกาสน้ี
ขอขอบพระคุณผบู้ ริหารโรงเรียนบา้ นหนองอีดา และคณะครูทุกท่านที่ไดใ้ หก้ ารสนบั สนุนการ
ดาเนินการศึกษาโครงการเล่มน้ีสาเร็จไปได้
จัดทำโดย
นางสาวมณิชญา จนั ทร์ครุธ ชนั้ ม.4/6 เลขที่31
นางสาวอรัญพร สขุ คง ชนั้ ม.4/6 เลขท่ี41
นางสาวอินทิรา สงั วาลย์ ชนั้ ม.4/6 เลขท่ี42
นางสาวธญั ญเรศ ร่ืนพงษ์ ชนั้ ม.4/6 เลขท่ี 39
นางสาวรัญชดิ า หงส์ทอง ชนั้ ม.4/6 เลขที่40
บทที่ 1
บทนา
1. แนวคิดและทม่ี า
สภาพสงั คมปัจจุบนั ท่ีเปล่ียนแปลงไปมากน้นั นอกจากจะส่งผลตอ่ การใชใ้ นดา้ นต่างๆแลว้ ยงั
ส่งผลตอ่ การสื่อสารที่ใชภ้ าษาเป็นเคร่ืองมือดว้ ยปัญหาในการใชภ้ าษาไทยที่เกิดจากการใชใ้ นอินเทอร์เน็ต
น้นั เร่ิมลุกลามมาจากโปรแกรมสนทนา (chat) และเกมออนไลน์ การสนทนาอนั ไม่มีขีดจากดั ประกอบกบั
ความตอ้ งการใหก้ ารสนทนาส้นั และกระชบั จึงทาใหเ้ กิดปัญหา การกร่อนคาและการสร้างคาใหม่ ในการใช้
ภาษาไทยดว้ ย เช่น คาวา่ “สวสั ดี” ถูกกร่อนคาเหลือ “ดีคบั ” “ใช่ไหม” เป็น “ชิมิ” เป็ นตน้ คาเหล่าน้ีถูกคิดข้ึน
และใชก้ นั อยา่ งแพร่หลายในอินเทอร์เน็ต ดว้ ยเหตุผลเพื่อใหด้ ูเป็นคาที่น่ารัก และพิมพง์ ่ายข้ึน โดยไม่
คานึงถึงวา่ นนั่ คือการทาลายภาษาไทยโดยทางออ้ ม เนื่องจากมีการนาคาเหล่าน้นั มาใชพ้ ูดและเขียนใน
ชีวติ ประจาวนั ดว้ ย จึงไดจ้ ดั ทาโครงงานน้ีข้ึน
2. วตั ถุประสงค์
2.1 เพอื่ ศึกษาการเปลี่ยนแปลงภาษาของวยั รุ่นท่ีใชค้ าในอินเทอร์เน็ต
2.2 เพื่อเป็ นการรวบรวมและเผยแพร่ ภาษาที่วยั รุ่นใชใ้ นปัจจุบนั
2.3 เพื่อเป็ นการสร้างความตระหนกั ในการใชภ้ าษาไทยใหถ้ ูกตอ้ ง
3. ขอบเขตการศึกษาค้นคว้า
1. ศึกษาคาศพั ทว์ ยั รุ่นที่ใชก้ นั เฉพาะกลุ่มในยคุ ปัจจุบนั ไดแ้ ก่คาท่ีใชใ้ นกลุ่มเพอ่ื น กลุ่มคาที่ใชบ้ ่อย กลุ่มคาที่
ใชก้ บั แฟน
2. คาศพั ทท์ ี่วยั รุ่นใชใ้ นที่น้ีคือคาสะแลงหรือคาคะนองที่ใชใ้ นปัจจุบนั น้ีเทา่ น้นั
3. ประชากร ในการศึกษาคน้ ควา้ เป็นนกั เรียนระดบั มธั ยมศึกษาปี ท่ี 3 โรงเรียนบา้ นหนองอีดา
4. กลุ่มตวั อยา่ งในการศึกษาคร้ังน้ี เป็ นนกั เรียนระดบั ช้นั มธั ยมศึกษาปี ที่ 3 โรงเรียนบา้ นหนองอีดา ภาคเรียน
ที่ 2 ปี การศึกษา2557 จานวน 20 คน
5. ระยะเวลาในการสารวจ วนั ท่ี 1-14 พฤศจิกายน 2557
4. วธิ ีการดาเนินการ
1. ผศู้ ึกษานา เสนอหวั ขอ้ โครงงานตอ่ อาจารยท์ ่ีปรึกษาโครงงานเพ่ือขอคาแนะนาและกาหนดขอบเขตใน
การทาโครงงาน
2. ผศู้ ึกษาโครงงานวเิ คราะห์หวั ขอ้ โครงงานเพ่ือกาหนดวตั ถุประสงคข์ อง
3. กาหนดกลุ่มประชากร ซ่ึงไดก้ าหนดกลุ่มประชากร คือ นกั เรียนระดบั ช้นั มธั ยมศึกษาปี ที่ 3 โรงเรียนบา้ น
หนองอีดา จานวน 20 คน กลุ่มตวั อยา่ งคือ นกั เรียนระดบั ช้นั มธั ยมศึกษาปี ที่ 3 โรงเรียนบา้ นหนองอีดา ภาค
เรียนท่ี 2 ปี การศึกษา2557 จานวน 20 คน
4. สร้างเคร่ืองมือการวจิ ยั การสร้างเครื่องมือการวจิ ยั ผวู้ จิ ยั ศึกษาจากหลกั การ ทฤษฎี แนวคิด วตั ถุประสงค์
เพ่ือจาแนกวา่ ควรสร้างเครื่องมือวดั ดา้ นใดบา้ ง ใหเ้ หมาะสมกบั สภาพของนกั เรียนระดบั ช้นั มธั ยมศึกษาปี ท่ี 3
โรงเรียนบา้ นหนองอีดา ภาคเรียนที่ 2 ปี การศึกษา2557 จานวน 20 คน ท่ีตอ้ งการศึกษา
5. การเก็บรวบรวมขอ้ มูล ผศู้ ึกษาโครงงานนาเคร่ืองมือท่ีสร้างข้ึน ใหน้ กั เรียนกลุ่มตวั อยา่ งไดต้ อบ
แบบสอบถามและเก็บขอ้ มูลดว้ ยตนเอง เพื่อวเิ คราะห์และนามาจดั ทาโครงงาน
6.สรุปผลการศึกษา และนาเสนอผลการศึกษา โดยนาขอ้ มูลท่ีไดม้ าวเิ คราะห์ขอ้ มูลและเขียนสรุปผลการ
วเิ คราะห์ขอ้ มูล นาเสนอเป็ นรูปเล่ม
7. นาเสนอผลงานต่ออาจารยท์ ี่ปรึกษาเพ่ือรายงานผลการดาเนินงาน
5. ประโยชน์ทไ่ี ด้รับ
1. มีความรู้ความเขา้ ใจในการเปลี่ยนแปลงภาษาท่ีวยั รุ่นใชใ้ นส่ือออนไลน์มากยง่ิ ข้ึน
2. เขา้ ใจภาษาของวยั รุ่นท่ีใชก้ นั ในปัจจุบนั มากข้ึน
3. ตระหนกั ถึงความสาคญั ของการใชภ้ าษาไทยใหถ้ ูกตอ้ งและเหมาะสม
6. นิยามศัพท์
ภาษา หมายถึง กริยาอาการที่แสดงออกมาแลว้ สามารถทาความเขา้ ใจกนั ได้ ไม่วา่ จะเป็นระหวา่ งมนุษย์
กบั มนุษย์ มนุษยก์ บั สัตว์ หรือสัตวก์ บั สตั ว์ ส่วนภาษาในความหมายอยา่ งแคบน้นั หมายถึง เสียงพดู ท่ีมนุษย์
ใชส้ ่ือสารกนั เทา่ น้นั
การใชภ้ าษา หมายถึง การติดต่อส่ือความหมายในสังคมใหเ้ ป็นท่ีเขา้ ใจกนั ดว้ ยการฟังผอู้ ่ืนพดู บา้ งผอู้ ื่น
ฟังบา้ งอ่านส่ิงที่ผเู้ ขียนและเขียนบางส่ิงบางอยา่ งใหผ้ อู้ ่ืนอ่านบา้ ง
ส่ือสงั คมออนไลน์ คือ สื่อสงั คมออนไลน์ท่ีมีการตอบสนองทางสงั คมไดห้ ลายทิศทาง โดยผา่ นเครือขา่ ย
อินเตอร์เน็ต พูดง่ายๆ ก็คือเวบ็ ไซตท์ ่ีบุคคลบนโลกน้ีสามารถมีปฏิสมั พนั ธ์โตต้ อบกนั ไดน้ น่ั เอง
วยั รุ่น หมายถึง วยั ที่มีการเปลี่ยนแปลงเขา้ สู่วฒุ ิภาวะท้งั ร่างกาย จิตใจ อารมณ์ และสงั คม
ภาษาของวยั รุ่นในปัจจุบนั หมายถึง คาสแลงหรือคาคะนองที่ใชใ้ นปัจจุบนั
คาสแลง หมายถึง “คาคะนอง” และกล่าววา่ คาสแลงเป็นภาษาปาก เป็นภาษาไมเ่ ป็น
แบบแผน แตไ่ ม่ใช่คาต่า หรือ คาหยาบ เป็นคาพิเศษเฉพาะกลุ่มท่ีสร้างข้ึนเพอ่ื ใหม้ ีคาแปลกๆ
สร้างความสนุกสนาน ระดบั คามีการเปลี่ยนแปลงตามกาลสมยั
บทท่ี 2
เอกสารทเี่ กย่ี วข้อง
ในการศึกษาโครงงานเร่ือง การสารวจการใชภ้ าษาวยั รุ่นในส่ือออนไลน์ ผจู้ ดั ทาไดร้ วบรวมแนวคิด
ต่างๆ จากเอกสารท่ีเกี่ยวขอ้ งดงั ต่อไปน้ี
2.1 ความหมายของภาษา
คาวา่ “ภาษา” อาจแบง่ ความหมายออกไดเ้ ป็น ๒ ประเภท คือ “ภาษาในความหมาย
กวา้ ง” หมายถึง ภาษาท่ีใชค้ าพดู (วจั นภาษา)และภาษาท่ีไม่ไดใ้ ชค้ าพดู หรือภาษาท่า ทาง (อวจั นภาษา) ท้งั น้ี
ภาษาในความหมายน้ี อาจนบั รวมไปถึงภาษาของสตั วด์ ว้ ย แตเ่ รื่องภาษาของสตั วน์ ้ียงั มีขอ้ มูลไม่มากนกั จึง
ไมค่ อ่ ยมีใครนา มากล่าวรวมกบั ภาษาของมนุษย์
“ภาษาในความหมายแคบ” หมายถึงภาษาท่ีใชค้ าพูดจะเป็นคาพดู หรือลายลกั ษณ์อกั ษรซ่ึงเป็นเคร่ืองหมาย
ใชแ้ ทนคาพูดกไ็ ด้ ดงั น้นั ความหมายของภาษาท่ีเขียนเพือ่ การสื่อสารในชีวิตประจาวนั กค็ ือความหมาย
ประการหลงั ซ่ึงหมายถึง ถอ้ ยคาท่ีมนุษยใ์ ชส้ ่ือสารเพ่อื ความเขา้ ใจกนั น้นั เอง นกั ภาษาจึงเรียก ความหมาย
ของภาษาในแง่น้ีวา่ “ความหมายแคบ” เพราะจากดั อยเู่ พยี งคาพดู ของมนุษยเ์ ทา่ น้นั อยา่ งไรก็ตามเม่ือมนุษย์
พฒนาข้ึนกม็ ีวธิ ีถ่ายทอดเสียงพดู เป็นสิ่งอื่นในการส่ือสารสิ่งที่ใชแ้ ทนเสียงในการสื่อสารก็คือ ตวั อกั ษร
เช่นเดียวกบั ท่ีเราถ่ายทอดเสียงภาษาไทยเป็นตวั อกั ษรไทย (ภาสกร เกิดออ่ น,๒๕๕๒)
ภาษาไทยเป็นขมุ คลงั แห่งภูมิปัญญาของคนไทยท้งั ชาติเป็นเอกลกั ษณ์แห่งความรุ่งโรจน์ของอารยธรรม
ไทยที่โดเด่นมาอยา่ งยาวนานแต่ทุกวนั น้ีดูเหมือนภาษาไทยกาลงั จะถูกลืม จากคนรุ่นใหมด่ ชั นีช้ีวดั ที่สาคญั
ประการหน่ึงก็คือผลสมั ฤทธ์ิดา้ นการใชภ้ าษาไทยของเด็กเยาวชน และนกั ศึกษาในมหาวทิ ยาลยั ลว้ นตกต่า
ลงมากอยา่ งท่ีไม่เคยปรากฏมาก่อน เป็นการตกต่าลงอยา่ งต่อเนื่องจนน่าสังเกตเป็นพิเศษ ดว้ ยในรอบหลายปี
ที่ผา่ นมา นอกจากน้นั แลว้ การใชภ้ าษาไทยที่ผดิ ๆกม็ กั ใหเ้ ห็นอยอู่ ยา่ งมากมายท้งั ในส่ือมวลชน ในเพลง ใน
ละครโทรทศั น์ และในการแชทผา่ นอินเทอร์เน็ต รวมท้งั ในชีวติ ประจาวนั เราเองที่ไม่ค่อยจะใหค้ วามสาคญั
กบั การเขียน การพดู การส่ือสารใหถ้ ูกตอ้ ง รวมท้งั ไมม่ ีคา่ นิยมในการศึกษาหาความรู้ท่ีถูกตอ้ งดว้ ย(พระมหา
วฒุ ิชยั วชิรเมธี,๒๕๕๔)
“ทกุส่ิงในโลกลว้ นเป็นอนิจจง”ั วฏจั กั รของชีวติ มีเกิด แก่ เจบ็ ตาย ภาษากม็ ฏั จั กั รชีวติ เช่นเดียวกนั ภาษา
มีเกิด คือ มีการสร้างคาใหม่ ภาษามีแก่ คือ คาที่คิดวา่ เก๋เท่ในยคุ หน่ึงกก็ ลบั กลายเป็นคาที่ลา้ สมยั ในปัจจุบนั
ภาษามีเจบ็ คือ ความบกพร่องในการใชภ้ าษา ตอ้ งอาศยั การเยยี วยา ภาษามีการตาย คือ คาบางคาไมม่ ีการนา
กลบั มาใชอ้ ีก(ชฎารัตน์ สุนทรธรรม,๒๕๕๔)
คาวา่ “ภาษา” เป็นคาสนั สกฤตท่ีมาจากรากศพั ทเ์ ดิมวา่ “ภาษ” เป็นคากริยา แปลวา่ กล่าว พดู หรือบอก
เม่ือนามาใชจ้ ึงเปล่ียนรูปเป็น “ภาษา” ซ่ึงมีความหมายตามรูปศพั ทว์ า่ คาพูด หรือถอ้ ยคา เป็นส่ิงที่มีมนุษยใ์ ช้
ทาความเขา้ ใจระหวา่ งคนกบั คนเป็นวธิ ีท่ีมนุษยใ์ ชแ้ สดงความในใจเพ่ือใหอ้ ีกฝ่ ายหน่ึงไดร้ ู้ โดยใชเ้ สียงพดู ท่ี
มีระเบียบและมีความหมาย พูดออกมาเพื่อสื่อความหมายใหเขา้ ใจตรงกนั อาจกล่าวโดยสรุปวา่ ภาษา คือ
เครื่องมือในการสื่อความหมายโดยผา่ นทางเสียงพดู ถอ้ ยคา กริยาอาการ หรือสัญลกั ษณ์ต่างๆ เพ่อื ใช้
ถ่ายทอดความรู้สึก ความตอ้ งการของตนใหผ้ ูอ้ ื่นทราบในการประกอบกิจการร่วมกนั (หมวดภาษาไทย
มหาวทิ ยาศรีนครินทรวิโรฒประสานมิตร(ฝ่ ายมธั ยม),๒๕๕๑)
ภาษาเป็นสิ่งแสดงภูมิปัญญาอนั ยอดของมนุษยท์ ่ีสามารถพฒั นาเสียงซ่ึงเปล่งออกไดด้ ว้ ยอาการตาม
ธรรมชาติ ใหก้ ลายเป็นเครื่องมือใชส้ ่ือสารความคิด ความรู้สึก ความตอ้ งการของตนใหผ้ อู้ ่ืนรู้และส่ือสารกนั
ไดจ้ นเกิดเป็นภาษา มนุษยใ์ ชภ้ าษาเป็นเคร่ืองมือในการติดตอ่ ส่ือสาร และทาความเขา้ ใจกนั ในหมู่คณะท่ีใช้
ภาษาเดียวกนั ภาษาทาใหม้ นุษยส์ ามารถพฒั นาชีวติ ความเป็นอยคู่ วามรู้ความสามารถในการหาเล้ียงชีพ และ
ความสามารถอื่นๆ อีกมากมาย มนุษยส์ ามารถพฒั นาความรู้ ความคิด จิตใจ คุณธรรม ความเชื่อ ศิลปะ ฯลฯ
จนแตกต่างจากสตั วท์ ุกชนิดและเป็นผคู้ รองโลกไดด้ ว้ ยภาษาของมนุษยน์ ้ีเอง ภาษาจึงเป็นส่วนสาคญั ของ
ความเป็นมนุษย์ ไม่วา่ จะเป็ น
กลุ่มชนท่ีเจริญกา้ วหนา้ จนเป็ นมหาอานาจหรือกลุ่มชนท่ีลา้ หลงั ที่สุด ตา่ งกม็ ีภาษาใชส้ ่ือสารกนั ในกลุ่มของ
ตน และทุกภาษาจะมีความสมบรูณ์เพียงพอที่จะใชส้ ื่อสารกนั ไดใ้ นกลุ่มเมื่อมนุษยไ์ ดต้ ิดตอ่ กบั คนตา่ งกลุ่ม
ติดต่อกบั คนที่ใชภ้ าษาตา่ งกนั การหยบิ ยมื ทางภาษากอ็ าจเกิดข้ึนไดใ้ นทุกกลุ่มชน การยืมจะมีมากหรือนอ้ ย
ข้ึนอยกู่ บั ความจาเป็ นและความตอ้ งการของคนในสงั คมน้นั ๆ (กาญจนา นาคสกุล,๒๕๔๕)
2.2 คาและคาสแลง
คา อาจเปรียบไดก้ บั ส่ิงมีชีวติ ท้งั หลาย คือมีเกิด ดารงอยแู่ ลว้ ก็ตายไป คาจานวนไมน่ อ้ ยที่เคยใชก้ นั มา
แต่โบราณ ปัจจุบนั ไดส้ ูญไปจากภาษา มีคาใหม่เกิดข้ึน คาใหม่ที่เกิดข้ึนน้ีบางคา เพียงแตใ่ ชพ้ ดู กนั เฉพาะ
กลุ่ม เฉพาะโอกาส และอาจเส่ือมความนิยมไป มีผเู้ รียกคา เช่นน้ีวา่ คาคะนอง บางคาใชเ้ รียกส่ิงใหม่ที่
เกิดข้ึนในสงั คม สิ่งใหม่เหล่าน้ีอาจเป็นวตั ถุส่ิงของ ความคิด กิจกรรมหรือเหตุการณ์ตา่ งๆ คา เช่นน้ีเกิดข้ึน
ดว้ ยความจาเป็ น และติดอยใู่ นภาษามกั ไม่เสื่อมความนิยม (กระทรวงศึกษาธิการ,๒๕๕๐)
บุญ ยงคเ์ กศเทศ กล่าววา่ คาสแลงเกิดข้ึน ชวั่ คร้ังชวั่ คราว เป็ นภาษาพดู ที่นิยมกนั ใน
บางหมูค่ ณะ บางกรณีก็ตอ้ งพดู เพอ่ื ใหอ้ อกรส จึงพยายามสร้างรูปภาษาใหแ้ ปลกออกไป คาสแลง
มกั ไม่ติดอยใู่ นภาษานานนกั เม่ือคาหน่ึงหาย ตายไปก็มกั นิยมคาใหมข่ ้ึนแทน คาสแลงน้นั มีใชก้ นั
มาทุก ยคุ ทุก สมยั เช่น มนั ส์เติล้ หยอ่ ย สะเหล่อ ยากส์ซ่าส์ฟฟ่ ู เก่าก๊ึกกเ์ ซ็งระเบิด
สมโรจน์สวสั ดิกลุ ณ อยธุยา เรียกคาสแลงวา่ “คาคะนอง” และกล่าววา่ คาสแลงเป็น
ภาษาปาก เป็นภาษาไมเ่ ป็นแบบแผน แต่ไมใ่ ช่คาต่า หรือ คาหยาม เป็นคาพิเศษเฉพาะกลุ่มที่
สร้างข้ึนเพื่อใหม้ ีคาแปลกๆสร้างความสนุกสนาน ระดบั คามีการเปล่ียนแปลงตามกาลสมยั
2.3 ปัจจัยทม่ี ผี ลกระทบต่อการใช้ภาษาไทยของวยั รุ่น
ปัญหาการใชภ้ าษาไทยไดเ้ กิดข้ึนมาเป็ นระยะเวลาอนั ยาวนานหลายสิบปี แตใ่ นยุคปัจจุบนั น้ีปัญหายง่ิ
วกิ ฤติความรุนแรงมากข้ึนเร่ือย ๆ ซ่ึงมีปัจจยั หนุนนาท่ีสาคญั นนั่ คือความกา้ วหนา้ ทางเทคโนโลยที ่ีกา้ วลา้ ไป
อยา่ งรวดเร็ว เราจึงพบการใชภ้ าษาไทยแบบผดิ ๆ มากมายจนเกือบจะกลายเป็นความคุน้ ชิน โดยเฉพาะใน
กลุ่มวยั รุ่นยง่ิ น่าเป็นห่วงมากท่ีสุด เป็นกลุ่มท่ีนิยมใชภ้ าษาท่ีมีววิ ฒั นาการทางภาษาท่ีเฉพาะกลุ่ม ซ่ึงเป็นภาษา
ที่เกือบจะไม่มีไวยากรณ์ ไมว่ า่ จะจากการรับส่งขอ้ ความส้นั (SMS) การส่งจดหมายอิเล็กทรอนิกส์ (E-
mail) การสนทนาออนไลน์ (MSN) หรือแมแ้ ต่การแสดงความคิดเห็นในโลกอินเทอร์เน็ต
การใชภ้ าษาไทยที่เกิดจากอินเทอร์เน็ตน้นั เริ่มลุกลามมาจากโปรแกรมแช็ทรูมและเกมออนไลน์ ซ่ึงดู
คลา้ ยเป็นการสนทนากนั ธรรมดา แตเ่ มื่อไดเ้ ขา้ ไปสัมผสั แลว้ มิใช่เลย การสนทนาอนั ไมม่ ีขีดจากดั ของภาษา
ทาใหเ้ กิดปัญหาข้ึนมากมาย ดงั เช่นท่ีพบตามหนา้ หนงั สือพมิ พใ์ นปัจจุบนั และในขณะเดียวกนั ก็สร้างปัญหา
ใหแ้ ก่วงการภาษาไทยดว้ ย นนั่ คือการกร่อนคา และการสร้างคาใหมใ่ หม้ ีความหมายแปลกไปจากเดิม หรือ
อยา่ งท่ีเรียกวา่ ภาษาเด็กแนวนนั่ เองวยั รุ่น เป็นช่วงวยั ท่ีมีการสื่อสารกนั มากและมีรูปแบบการสื่อสารดว้ ยคาที่
ทนั สมยั มีความหมายเฉพาะสาหรับกลุ่มและช่วงวยั วยั รุ่นจึงขาดความคานึงถึงความถูกตอ้ งเหมาะสมของ
ภาษาท่ีใชใ้ หเ้ หมาะสม มีหลายสาเหตุท่ีทาใหว้ ยั รุ่นใชภ้ าษาที่ผดิ ๆ โดยเฉพาะเทคโนโลยเี ขา้ มาเกี่ยวขอ้ งอยา่ ง
มาก ทาใหม้ ีความสะดวกในการใชช้ ีวติ ประจาวนั รวมท้งั การสื่อสาร วยั รุ่นในประเทศไทยยคุ ใหม่บางกลุ่ม
ไดส้ ร้างคา่ นิยมท่ีผดิ ๆ มาใช้ คือ การใชภ้ าษาไทยท่ีผดิ จากคาเดิม จึงทาใหภ้ าษาไทยของเราเปลี่ยนแปลงไป
เยาวชนยคุ หลงั ๆ จึงใชภ้ าษาไทยไม่ถูกตอ้ งส่ือมวลชน กเ็ ป็นปัจจยั หน่ึงท่ีทาใหเ้ กิดการใชภ้ าษาไทยแบบ
ผดิ ๆของประชาชนเพราะ สื่อมวลชนเป็นผทู้ ่ีใหข้ อ้ มูล ข่าวสารกบั ประชาชนทุกวนั สื่อมวลชนตอ้ งเป็นผนู้ า
ท่ีดีที่สุดของการใชภ้ าษาและตอ้ งใหข้ อ้ คิดอยเู่ สมอวา่ ภาษาน้นั สะทอ้ นความเป็นตวั ของเราเอง ถา้ ใชภ้ าษาดี
ภาษาท่ีถูกตอ้ ง ภาษาที่นาสังคมไปในทางสร้างสรรค์ สร้างความสามคั คี สร้างความรัก สร้างความภูมิใจใน
ชาติจะทาใหท้ ุกคนเห็นคลอ้ ยตาม แต่ถา้ หากวา่ สื่อมวลชนนาภาษาที่ประหลาด ภาษาที่ไม่ถูกตอ้ งเอามา
เผยแพร่บ่อยๆ คนจะคิดวา่ สิ่งที่สื่อมวลขนมาเผยแพร่น้นั ถูกตอ้ ง เป็ นสิ่งที่ดี มนั จะทาลายภาษาไทย
โดยเฉพาะการใชภ้ าษาในข่าวพาดหวั หนงั สือพมิ พห์ รือโทรทศั นต์ ่างๆ เป็ นตน้
ปัจจยั อีกอยา่ งหน่ึงในการใชภ้ าษาไทย ก็คือ ปัญหาการใชภ้ าษาไทยของครูและนกั เรียน เกิดจาก ครู
เน่ืองจากครู คือ ผปู้ ระสาทวชิ า เป็นผใู้ หค้ วามรู้แก่ศิษย์ ดงั น้นั ความรู้ในดา้ นตา่ งๆ เด็กๆจึงมกั จะไดร้ ับมาจาก
ครูเป็นส่วนใหญ่ ในขณะท่ีครูบางคนน้นั มีความรู้แตไ่ มแ่ ตกฉาน โดยเฉพาะวชิ าภาษาไทยเป็นวชิ าที่มีความ
ละเอียดอ่อน และมีส่วนประกอบแยกยอ่ ยอยา่ งละเอียดลออ เม่ือครูไม่เขา้ ใจภาษาไทยอยา่ งกระจ่าง จึงทาให้
นกั เรียนไม่เขา้ ใจตามไปดว้ ย จนพานเกลียดภาษาไทยไปในท่ีสุด ซ่ึงเป็นปัญหาท่ีปรากฏใหเ้ ห็นอยมู่ ากมาย
ในปัจจุบนั
2.4 รูปแบบการใช้ภาษาไทยของวยั รุ่น
การใชภ้ าษาเป็นเร่ืองของการสื่อสาร ซ่ึงผสู้ ่งสารจะตอ้ งทาใหผ้ รู้ ับสารเขา้ ใจความหมายของตน ใหม้ าก
ที่สุด แต่การสื่อสารที่มีรูปแบบแตกต่างกนั จะทาใหก้ ารใชภ้ าษามีความแตกต่างกนั ไปดว้ ย เช่น การสื่อสาร
แบบเผชิญหนา้ ยอ่ มแตกตา่ งจากการสื่อสารแบบผา่ นเครื่องมือการส่ือสาร หรือการสื่อสารดว้ ย ส่ือสิ่งพมิ พ์
ยอ่ มมีความแตกต่างการส่ือสารดว้ ยส่ืออิเลก็ ทรอนิกส์ ซ่ึงมีท้งั ภาพและเสียง ในปัจจุบนั ปัญหาที่พบเป็ นอยา่ ง
มากเกี่ยวกบั การใชภ้ าษาไทย คือการใชภ้ าษาในทางวบิ ตั ิ และมีการเปลี่ยนแปลงรูปแบบการใชภ้ าษาอยหู่ ลาย
ประเภท เช่น
2.4.1 รูปแบบการพูด เป็ นประเภทของภาษาวบิ ตั ิที่ใชเ้ วลาพดู กนั ซ่ึงบางคร้ังก็ปรากฏข้ึนในการเขียน
ดว้ ย แตน่ อ้ ยกวา่ กลุ่มที่ใชใ้ นเวลาเขียน โดยการพูดมกั จะพูดใหม้ ีเสียงส้ันลง หรือยาวข้ึน หรือไม่ออกเสียง
ควบกล้าเลย ประเภทน้ีเรียกไดอ้ ีกอยา่ งวา่ กลุ่มเพ้ียนเสียง
2.4.2 รูปแบบการเขียน รูปแบบของภาษาวบิ ตั ิประเภทน้ี โดยท้งั หมดจะเป็นคาพอ้ งเสียงที่นามาใชผ้ ดิ
หลกั ของภาษา คนท่ีใชภ้ าษาวบิ ตั ิเวลาเขียนน้นั จะเขียนตามเสียงอ่าน เพราะไมต่ อ้ งการอยใู่ นกรอบหรือ
ตอ้ งการทาอะไรที่คิดวา่ ใหม่ ไม่เลียนแบบของเก่า ไดแ้ ก่
2.4.2.1 การเขียนตามเสียงพูด
2.4.2.2 การสร้างรูปการเขียนใหม่
2.4.3 รูปแบบของการเปล่ียนแปลงเสียงอ่าน
2.4.4 กลุ่มที่เปล่ียนแปลงความหมาย
บทที่ 3
วธิ ีการดาเนินงานโครงงาน
3.1 วสั ดุอุปกรณ์
1. กระดาษ ปากกา ยางลบ ดินสอ ไมบ้ รรทดั
2. คอมพิวเตอร์/อินเตอร์เน็ต
3. โปรแกรม Microsoft Word
4. แบบสารวจการใชภ้ าษาวยั รุ่นในส่ือออนไลน์
3.2 ข้นั ตอนการดาเนินโครงงาน
1. ผศู้ ึกษานา เสนอหวั ขอ้ โครงงานต่อ อาจารยท์ ี่ปรึกษาโครงงานเพ่ือขอคาแนะนาและกาหนดขอบเขตใน
การทาโครงงาน
2. ผศู้ ึกษาโครงงานวเิ คราะห์หวั ขอ้ โครงงานเพ่ือกาหนดวตั ถุประสงคข์ อง
3. กาหนดกลุ่มประชากร ซ่ึงไดก้ าหนดกลุ่มประชากร คือ นกั เรียนระดบั ช้นั มธั ยมศึกษาปี ท่ี 3 โรงเรียนบา้ น
หนองอีดา จานวน 20 คน กลุ่มตวั อยา่ งคือ นกั เรียนระดบั ช้นั มธั ยมศึกษาปี ท่ี 3 โรงเรียนบา้ นหนองอีดา
ภาคเรียนที่ 2 ปี การศึกษา2557 จานวน 20 คน
4. สร้างเคร่ืองมือการวจิ ยั การสร้างเคร่ืองมือการวจิ ยั ผวู้ จิ ยั ศึกษาจากหลกั การ ทฤษฎี แนวคิด วตั ถุประสงค์
เพอ่ื จาแนกวา่ ควรสร้างเคร่ืองมือวดั ดา้ นใดบา้ ง ใหเ้ หมาะสมกบั สภาพของนกั เรียนระดบั ช้นั มธั ยมศึกษาปี ท่ี 3
โรงเรียนบา้ นหนองอีดา ภาคเรียนที่ 2 ปี การศึกษา2557 จานวน 20 คน ท่ีตอ้ งการศึกษา
5. การเก็บรวบรวมขอ้ มูล ผศู้ ึกษาโครงงานนาเครื่องมือท่ีสร้างข้ึน ใหน้ กั เรียนกลุ่มตวั อยา่ งไดต้ อบ
แบบสอบถามและเกบ็ ขอ้ มูลดว้ ยตนเอง เพ่ือวเิ คราะห์และนามาจดั ทาโครงงาน
7. สรุปผลการศึกษา และนาเสนอผลการศึกษา โดยนาขอ้ มูลท่ีไดม้ าวเิ คราะห์ขอ้ มูลและเขียนสรุปผลการ
วเิ คราะห์ขอ้ มูล นาเสนอเป็ นรูปเล่ม
8. นาเสนอผลงานต่ออาจารยท์ ่ีปรึกษาเพอื่ รายงานผลการดาเนินงาน
บทท่ี 4
ผลการดาเนินงาน
4.1 ผลการดาเนนิ งาน
จากการศกึ ษาเร่ือง การสารวจการใช้ภาษาวยั รุ่นในส่ือออนไลน์ ซง่ึ ได้ดาเนนิ การสารวจจาก นกั เรียน
ชนั้ มธั ยมศกึ ษาปีที่ 3 ของโรงเรียนบ้านหนองอีดา และ อินเตอร์เนต็ ได้ผลการศกึ ษาดงั นี ้คือ
คาท่ีใช้ในกลมุ่ เพ่ือน คาที่ใช้บอ่ ย คาท่ีใช้กบั แฟน
เธอ แปลงเป็น เทอ อะไร แปลงเป็น อาราย ปลงเป็น จร้า
กู แปลงเป็น กรู ได้ แปลงเป็น ด้าย จริง แปลงเป็น จิงดิ
สตั ว์ แปลงเป็น สาด ไมใ่ ช่ แปลงเป็น มา่ ยชา่ ย คดิ ถึง แปลงเป็น คดิ ถงุ
เปลา่ แปลงเป็น ป่าว เปลา่ แปลงเป็น ป่าว รัก แปลงเป็น ร๊าก
เพ่ือน แปลงเป็น เพ่ลิ จริง แปลงเป็น จงิ ขอบใจ แปลงเป็น ขอบจยั
อยา่ งไร แปลงเป็น ยงั งยั เสียงหวั เราะฮา่ ฮา่ ฮา่ ฮา่ แปลง จริงหรือเปล่า แปลงเป็น จิงเป่า
จริง แปลงเป็น จิง เป็น 5555 ตวั เอง แปลงเป็น ตะเอง
แดก แปลงเป็น แดร๊ก ยืม แปลงเป็น : )
เสียงหวั เราะฮา่ ฮา่ ฮา่ ฮา่ แปลง เธอ แปลงเป็น เทอ
เป็น 5555 กู แปลงเป็น กรู
ยมิ ้ แปลงเป็น : ) สตั ว์ แปลงเป็น สาด
ทาหน้าตาเบ่ือโลก แปลงเป็น เปลา่ แปลงเป็น ป่าว
-_- เพ่ือน แปลงเป็น เพิล่
อยา่ งไร แปลงเป็น ยงั งยั
เหรอ แปลงเป็น หรา
4.1 การนาไปใช้
1. การนาคาท่ีบกพร่องไปปรับปรุงแกไ้ ขใหถ้ ูกตอ้ งตามหลกั ภาษาไทย
2. ผศู้ ึกษาจะนาความรู้ที่ไดไ้ ปบอกต่อแก่ผทู้ ่ียงั มีความบกพร่องในประเด็นปัญหาน้ีและปรับปรุงแกไ้ ขต่อไป
บทที่ 5
สรุป อภิปราย และข้อเสนอแนะ
5.1 สรุปผลการดาเนินงาน
จากการศึกษาเรื่อง การสารวจการใชภ้ าษาวยั รุ่นในสื่อออนไลน์ จากการตอบแบบสอบถาม
ท่ีปรากฏการใชค้ าของวยั รุ่นคือ คาสแลงหรือคาคะนองที่พบในอินเตอร์เน็ตหรือสื่อส่ิงพมิ พต์ า่ งๆ โดยมี
วตั ถุประสงค์ เพอื่ ศึกษาการเปล่ียนแปลงภาษาของวยั รุ่นที่ใชใ้ นปัจจุบนั รวบรวมและเผยแพร่ คาศพั ทท์ ่ี
วยั รุ่นใชก้ นั ในปัจจุบนั และเป็นการสร้างความตระหนกั ในการใชภ้ าษาไทยใหถ้ ูกตอ้ งตาม
ราชบณั ฑิตยสถาน
ผลการศึกษาเรื่องการเปลี่ยนแปลงภาษาของวยั รุ่นที่ใชใ้ นปัจจุบนั มีรายละเอียด
ดงั น้ีคือ
คำท่ใี ช้ในกลุ่มเพ่ือน คำท่ีใช้บ่อย คำท่ใี ช้กับแฟน
เธอ แปลงเป็น เทอ อะไร แปลงเป็น อาราย จา้ แปลงเป็น จร้า
กู แปลงเป็น กรู ได้ แปลงเป็น ดา้ ย จริง แปลงเป็ น จิงดิ
สตั ว์ แปลงเป็น สาด ไมใ่ ช่ แปลงเป็น มา่ ยช่าย คิดถึง แปลงเป็น คิดถุง
เปล่า แปลงเป็น ป่ าว เปล่า แปลงเป็น ป่ าว รัก แปลงเป็น ร๊าก
เพือ่ น แปลงเป็ น เพ่ิล จริง แปลงเป็ น จิง ขอบใจ แปลงเป็น ขอบจยั
อยา่ งไร แปลงเป็น ยงั งยั เสียงหวั เราะฮา่ ฮ่าฮ่าฮา่ แปลงเป็น จริงหรือเปล่า แปลงเป็น จิงเป่ า
จริง แปลงเป็ น จิง 5555 ตวั เอง แปลงเป็น ตะเอง
แดก แปลงเป็น แดร๊ก ยมื แปลงเป็น : )
เสียงหวั เราะฮา่ ฮา่ ฮ่าฮา่ แปลงเป็น เธอ แปลงเป็น เทอ
5555 กู แปลงเป็น กรู
ยมิ้ แปลงเป็น : ) สัตว์ แปลงเป็น สาด
ทาหนา้ ตาเบื่อโลก แปลงเป็น เปล่า แปลงเป็น ป่ าว
-_- เพือ่ น แปลงเป็ น เพ่ิล
อยา่ งไร แปลงเป็น ยงั งยั
เหรอ แปลงเป็น หรา
5.2 อภิปรายผล
สาเหตุที่สาคญั ในการเปลี่ยนแปลงภาษาของวยั รุ่นท่ีใชก้ นั ในปัจจุบนั เน่ืองมาจากสาเหตุหลายประการ
๑. เม่ือการติดต่อผา่ นเครือขา่ ยคอมพวิ เตอร์กลายเป็นช่องทางใหม่ในการสื่อสาร ภาษา
ในยคุ น้ีจึงแปลกเปล่ียนเกิดภาษาใหม่บางคามาจากแป้นพมิ พท์ ่ีอยตู่ ิดกนั พมิ พง์ ่ายกวา่ จึงเกิดคาใหม่แทน
๒. เพอ่ื ลดความรุ่นแรงในการใชภ้ าษาที่ไมส่ ุภาพ
๓. คาศพั ทใ์ หมๆ่ ที่วยั รุ่นหรือคนบางกลุ่มนามาใชจ้ นแพร่หลายน้นั ก็เพราะวา่ คาไทยที่มีอยเู่ ดิมอาจจะไม่
สามารถสื่อถึงลกั ษณะและรายละเอียดของสิ่งที่ตอ้ งการจะส่ือสารไดม้ ากพอคน ส่งสารกเ็ ลยตอ้ งพยายามคิด
คาข้ึนมาใหมใ่ หส้ ามารถบอกรายละเอียดและความรู้สึกของตนเองใหไ้ ดม้ ากท่ีสุด
๔. การเขียนคาไทยในอินเตอร์เน็ต หรือนิตยสารเพอื่ ความบนั เทิง จะเขียนตามเสียงอ่านเพราะไมต่ อ้ งการอยู่
ในกรอบ หรือ ตอ้ งการทาอะไรที่คิดวา่ ใหม่ ไมเ่ ลียนแบบของเก่า
ทุกส่ิงในโลกลว้ นเป็นอนิจจงั วฏั จกั รของชีวติ มีเกิด แก่ เจบ็ ตาย ภาษาก็มีวฎั จกั รชีวติ เช่นเดียวกนั
ภาษามีเกิด คือ มีการสร้างคาใหม่ๆ ข้ึนมา
ภาษามีแก่ คือ คาที่คิดวา่ เก๋ เท่ ในยคุ หน่ึง ก็กลบั กลายเป็นคาท่ีลา้ สมยั ในปัจจุบนั
ภาษามีเจบ็ คือ ความบกพร่องในการใชภ้ าษา ตอ้ งอาศยั การเยยี วยารักษา
ภาษามีตาย คือ คาบางคาไมม่ ีการนากลบั มาใชอ้ ีก
การใชภ้ าษาในการส่ือสารของวยั รุ่นน้นั ถา้ ใชก้ นั เฉพาะกลุ่มหรือใชใ้ นระดบั กนั เองไม่เป็นทางการกค็ ง
ไมท่ าใหภ้ าษาไทยของชาติถึงกบั วบิ ตั ิถา้ รู้จกั ใชใ้ หถ้ ูกตอ้ งและเหมาะสม หลงั จากที่รวบรวมคาท่ีวยั รุ่นมกั ใช้
ในปัจจุบนั ไดแ้ ลว้ นาไปเผยแพร่โดย การติดบอร์ดใหค้ วามรู้หนา้ ห้องสมุด รวมท้งั เผยแพร่ทางเวป็ ไชตข์ อง
โรงเรียน
5.2 ปัญหาและอปุ สรรค
1. ผตู้ อบแบบสอบถามตอบคาถามนอ้ ย
2. งบประมาณในการทาโครงงานไม่เพยี งพอ
5.3 ข้อเสนอแนะและแนวทางในการพฒั นา
จากการศึกษาการเปลี่ยนแปลงภาษาของวยั รุ่นท่ีใชใ้ นปัจจุบนั ผศู้ ึกษามีขอ้ เสนอแนะ
เก่ียวกบั โครงงานคือ
๑. รวบรวมคาที่วยั รุ่นใชก้ นั ในปัจจุบนั ใหม้ ากกวา่ น้ี
๒. ภาษาท่ีวยั รุ่นใชม้ ีการเปลี่ยนแปลงรวดเร็วมากควรมีการศึกษาและรวบรวมใหท้ นั ต่อการเปล่ียนแปลง
เสมอๆ
๓. ครูทุกคนควรร่วมกนั สร้างความตระหนกั ในการใชภ้ าษาไทยท่ีถูกตอ้ งไมค่ ิดวา่ เป็นหนา้ ท่ีของครูท่ีสอน
ภาษาไทยเพยี งอยา่ งเดียว
๔. ธรรมชาติของภาษามีการเปล่ียนแปลงเสมอ ผใู้ หญห่ รือครูควรใหค้ าช้ีแนะในดา้ นการเลือกใชค้ าที่ถูกตอ้ ง
แก่วยั รุ่น
บรรณานุกรม
อ้างองิ
https://www.slideshare.net/KanisthaChudchum/ss-9222091
https://churaizaza.blogspot.com/2014/12/blog-
post.html?fbclid=IwAR3Ei5avVtCZrnrybvGB_5xMdaSew44-cBBEvBKI4kBX5eTv-cL4Xs7Wkac