TABLE OF CONTENTS
I Simple Random Sampling 1
II Stratified Sampling 3
III Cluster Sampling 6
IV Systematic Sampling 7
V Quiz : Sampling Method -1 11
VI Quiz : Sampling Method -2 12
VII Quiz : Sampling Method -3 13
VIII Quiz : Sampling Method -4 14
1
Simple Random Sampling
การสุ่มกลุ่มตัวอย่างอย่างง่าย (Simple Random Sampling)
เป็นการสุ่มที่สมาชิกทุกหน่ วยของประชากรที่มีจำนวนไม่มากนั กแต่มี
โอกาสอย่างเท่าเทียมกันและเป็นอิสระจากกันที่จะได้เป็นกลุ่มตัวอย่าง
เหมาะสมสำหรับใช้กับประชากรที่มีสภาพคล้ายคลึงกัน จำแนกเป็น
ดังนี้
- การสุ่มกลุ่มตัวอย่างโดยวิธีจับสลาก(Lottery) เป็นการสุ่มตัวอย่าง
จากประชากรที่มีจำนวนน้ อย ๆ และ ต้องการจำนวนตัวอย่างน้ อย ๆ มี
ขั้นตอนการดำเนิ นการ ดังนี้
1) กำหนดหมายเลขประจำตัวให้แก่สมาชิกทุกหน่ วยในประชากร
2) นำหมายเลขประจำตัวของสมาชิกมาจัดทําเป็นฉลาก
3) จับฉลากขึ้นมาที่ละหมายเลขจนกระทั่งครบจำนวนกลุ่มตัวอย่างที่
ต้องการ โดยฉลากที่จับมาแล้วจะต้องนำใส่คืนเพื่อให้จำนวน
ประชากรที่สุ่มมีจำนวนเท่าเดิม ส่งผลให้เกิดความเท่าเทียมกันในการ
ได้รับการสุ่ม เป็นกลุ่มตัวอย่าง แต่ในกรณีที่ไม่ใส่คืนจะทำให้กลุ่ม
ตัวอย่างมีโอกาสมากขึ้นในการสุ่ ม
- การสุ่มกลุ่มตัวอย่างโดยวิธีใช้ตารางเลขสุ่ม (Table of Random
Numbers) เป็นการสุ่มตัวอย่างที่มีขนาด ใหญ่โดยใช้ตารางเลขสุ่มที่
กำหนดขึ้นจากคอมพิวเตอร์ที่ไม่ต้องจัดทำสลาก มีขั้นตอนการดำเนิ น
การ ดังนี้
1) กําหนดหมายเลขประจําตัวให้แก่สมาชิกทุกหน่ วยในประชากรโดย
ให้คํานึ งถึงจํานวนของกลุ่มตัวอย่างที่ได้
ดังนี้ ประชากร 100 คน ให้กําหนดหมายเลข 001-100ประชากร 500
คน ให้กําหนดหมายเลข 001-500
ประชากร 1,000 คน ให้กําหนดหมายเลข 001-1,000 เป็นต้น
2
2) สุ่มกลุ่มตัวอย่างโดยใช้ตารางเลขสุ่มที่สอดคล้องกับจํานวน
ประชากร(ประชากรมีจํานวนเต็มสิบใช้เลข 2 หลัก,เต็มร้อยใช้เลข 3
หลักเป็นต้น) โดยเริ่มอ่านจากแถวที่ 1 หรือแถวไหนที่อาจได้จากการ
สุ่ม และจะ อ่านตามแนวนอนหรือแนวตั้งก็ได้ ตามเลขหลักจนกระ
ทั่งครบจํานวนตัวอย่างที่ต้องการ ซึ่งหมายเลขที่ได้ จากตารางจะเป็น
หมายเลขที่ได้กําหนดให้แก่ประชากรแล้ว แต่ถ้าได้หมายเลขที่มีค่า
มากกว่าจํานวน ประชากรจะต้องอ่านข้ามไปยังหมายเลขต่อไป
ดังตัวอย่าง การสุ่มกลุ่มตัวอย่างที่ใช้ตารางเลขสุ่ม ดังนี้
จากประชากร 90 คน ต้องการกลุ่มตัวอย่างจํานวน 20 คน
โดยใช้ตารางเลขสุ่มมีวิธีการอ่านตารางเลขสุ่ม ดังนี้ เริ่มต้นการอ่าน
หมายเลขที่แถวที่1(ได้จากการสุ่มโดยอ่านตามแนวนอน(ครั้งละ 2
หลักเนื่ องจากประชากรเป็น จํานวนเต็มสิบ) จะได้หมายเลขของ
ประชากรที่เป็นกลุ่มตัวอย่าง ดังนี้
ข้อสั งเกตของการสุ่ มตัวอย่างอย่างง่าย
1) เป็นวิธีการที่นํ ามาใช้ค่อนข้างมากเนื่ องจากมีวิธีการที่ไม่ซับซ้อนและ
การประมาณค่าความคลาดเคลื่อน ทําได้ง่าย ไม่ต้องใช้สูตรปรับแก้เมื่อ
ใช้การสุ่ มด้วยวิธีการอื่น
2) สาเหตุที่จะไม่นํ าวิธีการสุ่มตัวอย่างอย่างง่ายมาใช้ มีดังนี้
(1) ถ้าประชากรมีจํานวนสมาชิกมากจะทําให้การเตรียมรายละเอียด
ที่ถูกต้องค่อนข้างยาก จะต้องใช้เวลา มาก แรงงานและงบประมาณสูง
หรืออาจมีการเปลี่ยนแปลงสมาชิกระหว่างการเตรียมการทําให้ได้ราย
ชื่อ สมาชิกที่ไม่ถูกต้อง
(2) ลักษณะของประชากรมีลักษณะเป็นวิวิธพันธ์ เพราะจะทําให้ไม่
ได้กลุ่มตัวอย่างที่มีความครอบคลุม หรือเป็นตัวแทนที่ดีของประชากร
อ้างอิงhttps://www.udru.ac.th/oldsite/attachments/elearning/01/07.pdf
3
Stratified Sampling
เป็นการสุ่ มตัวอย่างโดยแยกประชากรออกเป็นกลุ่มประชากร
ย่อยๆ หรือแบ่งเป็นชั้นภูมิก่อน โดย หน่ วย ประชากรในแต่ละชั้นภูมิจะมี
ลักษณะเหมือนกัน (homogenious) แล้วสุ่มอย่างง่ายเพื่อ ให้ได้จํานวน
กลุ่ม ตัวอย่างตามสัดส่วนของขนาดกลุ่มตัวอย่างและกลุ่มประชากร
การเลือกตัวอย่างแบบแบ่งชั้นภูมิ (Stratified Sampling) การ
เลือกตัวอย่างวิธีนี้ ประชากรจะถูกแบ่ง ออกเป็นชั้นภูมิ (Stratum) ตาม
ลักษณะอย่างใดอย่างหนึ่ ง โดย ไม่ให้มีหน่ วยซ้ํากัน คือแต่ละหน่ วยใน
ประชากร จะต้องอยู่ในชั้นภูมิใดชั้นภูมิหน่ึ งเท่านั้ น โดยที่พยายามจัดให้ชั้น
ภูมิเดียวกันประกอบด้วยหน่ วยที่มีลักษณะ คล้ายคลึงกันมากที่สุด และมี
ความแตกต่างระหว่างชั้นภูมิมากที่สุด เมื่อจัดชั้นภูมิแล้วจะเกิดชั้นภูมิย่อย
L ชั้น ภูมิ แต่ละชั้นภูมิมีประชากร N1, N2 ... NL หนว่ ย แล้วจึงเลือก
ตัวอย่างหรือตัวแทนจากแต่ละชั้นภูมิด้วยขนาด n1,n2 ...... nL ตามลําดับ
อย่างเป็นอิสระกัน ดังนั้ นวิธีการเลือกตัวอย่างแบบนี้ จําเป็นต้องรู้
ลักษณะของ หน่ วย ต่างๆ ในประชากรเพื่อจะได้ทําการแบ่งเป็นชั้นภูมิได้
และการกําหนดขนาดตัวอย่างในแต่ละชั้นภูมิทําได้ 3 ลักษณะ คือ
4
- ขนาดตัวอย่างเท่ากันในทุกชั้นภูมิ เป็นวิธีที่ง่ายที่สุด ซึ่งมักใช้ในกรณี
ที่ไม่มีข้อมูลช่วยในการตัดสินใจอย่าง เพียงพอ
โดยมี
nh=จํานวนของกลุ่มตัวอย่างแต่ละชั้นภูมิ • n=ขนาดของกลุ่มตัวอย่าง
L=ชั้นภูมิ
- ขนาดตัวอยา่งเป็นสัดส่วนกับจํานวนประชากรเป็นวิธีที่กําหนดให้ชั้น
ภูมิที่มีขนาดใหญ่ถูกเลือกมาเป็น ตัวอย่างมาก และชั้นภูมิที่มีขนาดเล็ก
ถูกเลือกเป็น ตัวอย่างน้ อย
โดยมี
nh=จํานวนของกลุ่มตัวอย่างแต่ละชั้นภูมิ • Nh=จํานวนของกลุ่มแตละ
ชั้นภูมิ
n=ขนาดของกลุ่มตัวอย่าง
N=ประชากร
- ขนาดตัวอย่างไม่เป็นสัดส่วนกับจํานวนประชากร ใช้เมื่อบางชั้นภูมิ
ประกอบด้วยหน่ วยที่มีค่าใกล้เคียงกัน จึง ไม่จําเป็นต้องใช้ขนาดตัวอย่าง
มาก และบางชั้น ภูมิถึงแม้มีจํานวนหน่ วยไม่มากนั ก แต่หน่ วยเหล่านั้ นมี
ค่า แตกต่างกันมาก จึงจําเป็นต้องใช้ขนาดตัวอย่างมากเพื่อให้ได้ตัวแทน
ทุกลักษณะ หรืออาจมองได้ ว่าขนาด ตัวอย่างในแต่ละชั้นภูมิขึ้นอยู่กับค่า
เบี่ยงเบนมาตรฐาน
5
โดยมี
= ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐานประชากรในชั้นภูมิที่ h • nh=จํานวนของ
กลุ่มตัวอย่างแต่ละชั้นภูมิ
Nh=จํานวนของกลุ่มแตละชั้นภูม • n=ขนาดของกลุ่มตัวอย่าง
N=ประชากร
L=ชั้นภูม
อ้างอิง
http://service.nso.go.th/statstd/method1_04.html?
fbclid=IwAR0XxrhZGuTQf0rOVQOC0EzjUaS
SdKoofydRlPfLmUVS1WJKGGE-K8vDLTY
https://www.youtube.com/watch?v=2waRx4y3Ee8&t=1856s
6
Cluster Sampling
การสุ่มตัวอย่างแบบกลุ่ม (Cluster sampling ) เป็นการสุ่ม
ตัวอย่างโดยแบ่ง ประชากรออกตามพื้นที่โดยไม่จำเป็นต้องทำบัญชีราย
ชื่อของประชากร และสุ่มตัวอย่าง ประชากรจากพื้นที่ดังกล่าวตามจำนวน
ที่ต้องการ แล้วศึกษาทุกหน่ วยประชากรในกลุ่ม พื้นที่นั้ นๆ หรือจะ
ทำการสุ่มต่อเป็นลำดับขั้นมากกว่า 1 ระดับ โดยอาจแบ่งพื้นที่จากภาค
เป็นจังหวัด จาก จังหวัดเป็นอำเภอ และเรื่อยไปจนถึงหมู่บ้านnนอกจาก
นี้ การสุ่มตัวอย่าง ยังสามารถเลือกสุ่มตัวอย่างผสมระหว่างแบบง่ายแบบ
ชั้นภูมิและแบบกลุ่มด้วยก็ได้
แบบง่าย : คือ เป็นการสุ่มเลือกตัวแทนจาก “กลุ่ม”เนื่ องจากแต่ละกลุ่มมี
คุณลักษณะที่คล้ายคลึงกัน หรือมีคุณลักษณะร่วมอยู่ อาจเริ่มแบ่งพื้นที่
จากภาค เป็น จังหวัด จาก จังหวัดเป็นอำเภอ และเรื่อยไปจนถึงหมู่บ้าน
วิธีการหาค่า ความแปรปรวนและ ค่า Design effect เพื่อนำไปใช้ใน
การหา Design effect
อ้างอิงhttp://pioneer.netserv.chula.ac.th/~jaimorn/re6.htm
7
Systematic Sampling
การสุ่มตัวอย่างแบบมีระบบ เป็นการสุ่มตัวอย่างโดยมีรายชื่อของทุก
หน่ วยประชากรมาเรียงเป็น ระบบตามบัญชี เรียกชื่อ การสุ่มจะแบ่ง
ประชากรออกเป็น ช่วงๆที่เท่ากัน อาจใช้ช่วงจากสัดส่วนของ ขนาด กลุ่ม
ตัวอย่างและประชากร แล้วสุ่ม ประชากรหน่ วยแรก ส่วนหน่ วยต่อๆไป
นั บจากช่วงสัดส่วนที่คํานวณไว้
วิธีการเลือกหน่ วยตัวอย่างแบบมีระบบ เป็นการเลือกหน่ วยตัวอย่างที่ได้
มีการเรียง ลําดับอย่างใด อย่างหนึ่ งแล้ว การสุ่มแบบมี ระบบท่าได้โดย
การเลือกหน่ วยตัวอย่างแรก แบบสุ่ม จากหน่ วยที่ 1 ถึงหน่ วยที่ k และ
เลือกหน่ วยตัวอย่างถัดไปทุก ๆ k หน่ วย จนครบตามขนาดตัวอย่าง n
หน่ วยที่ต้องการ
วิธีการเลือกหน่ วยตัวอย่างแบบมีระบบแบบเส้นตรง
1) ให้นํ าดับแก่หน่ วยทุกหน่ วยในประชากร ตั่งแต่ 1,2,3,..., N
2) ให้ n เป็นขนาดตัวอย่างที่กําหนดไว้
3) คํานวณค่าช่วงการสุ่ม (Sampling Interval) โดยใช้สัญลักษณ์ k แทน
ซึ่ง
4) เลือกเลขสุ่มเริ่มต้น (Random Start : R) ซึ่ง R มีค่าอยู่ ระหว่าง 1 ถึง
k โดยค่า R อาจจะได้จากการจับฉลาก ใช้ตารางเลขสุ่ม หรือ
โปรแกรมคอมพิวเตอร์ในการสุ่ ม
5) หน่ วยที่ถูกเลือกเป็นตัวอย่าง คือหน่ วยที่มีเลขลําดับที่ตรงกับค่า
R, R+k,R + 2k, R + 3k, R+ 4k,........, R + (n - 1)k
ข้อสังเกตของการสุ่มตัวอย่างแบบมีระบบ (นงลักษณ์ วิรัชชัย, 2543 :
148)
1) เป็นวิธีการสุ่มที่ใช้ได้ง่าย เพียงแต่มีรายชื่อของประชากรที่เรียงลําดับ
แบบสุ่ม จะทําให้ได้กลุ่มตัวอย่างที่มี ลักษณะใกล้เคียงกับการสุ่มอย่าง
ง่าย
8
2) การเรียงลําดับรายชื่อของประชากรเป็นการเรียงอย่างเป็นระบบ
มากกว่าการสุ่ม และถ้ากลุ่มย่อยของ ประชากรมีการเรียงลําดับใน
ลักษณะเดียวกันทําให้การสุ่มสมาชิก ที่เป็นตัวแทนของกลุ่มย่อยเพื่อ
เป็นกลุ่ม ตัวอย่างจะมีความซําซ้อนไม่เป็นกลุ่มตัวอย่างสุ่มที่มี ความครบ
ถ้วนตามคุณลักษณะของประชากร ทําให้การ ประมาณค่าพารามิเตอร์
หรือการทดสอบ สมมุติฐานไม่สามารถดําเนิ นการได้อย่างมีประสิทธิภาพ
ตัวอย่างที่ 1) ต้องการเลือกคนตัวอย่างจํานวน 4 คน จากทังสิน 24
คน โดยใช้วิธีการ เลือกหน่ วยตัวอย่าง แบบมีระบบแบบ เส้นตรง สามา
รถดําเนิ นการดังน
หน่ วยที่ถูกเลือกเป็นตัวอย่าง คือหน่ วยที่มีเลขลําดับที่ ตรงกับค่า
R, R+k,R+2k,R+3k, R+ 4k,..., R+(n - 1)k
หรือ 3, 3+6, 3+(2x6), 3+(3x6)
หรือ คนลําดับที่ 3, 9, 15 และ 21
9
ตัวอย่างที่ 2) ผู้วิจัยต้องการเลือกกลุ่ม ตัวอย่าง จํานวน 90 คน จาก
พนั กงาน ของบริษัท X มีจํานวน 900 คน
1. พนั กงานทุกคนในบริษัท X จะแสดง ด้วยหมายเลข
2. ค้นหาช่วงเวลา k
3. ค้นหาจุดเริ่มต้น: หมายเลข สุ่ม ( r: 1≤r≤ 10)
ตัวอย่างหมายเลข 1 : r = 3 : เลือกพนั กงานที่อยู่ในรายการ
หมายเลข 3
ตัวอย่างหมายเลข 2 : r = 3 + 10= 13 : เลือกพนั กงานที่อยู่ในรายการ
หมายเลข 13
อ้างอิง https://youtu.be/4KpK0JYE-Ek
https://www.udru.ac.th/oldsite/attachments/elearning/01/07.pdf
Quiz
Sampling Method
11
Quiz : Sampling Method -1
2) Mr. David wants to change his sampling method.
Describe how Mr. David could find a sample of 30 students by
using a
probability sampling method as follows.
a) using simple random sampling, describe how Mr. David could
find the sampling unit.
กำหนดวัตถุประสงค์ คือต้องการสำรวจเกี่ยวกับทางเลือกสินค้าที่จะ
ขายใน BIZ Convenience Store เมื่อ กำหนดแล้วกำหนดกลุ่มตัวอย่าง
แล้วได้กำหนดจากนั กศึกษา 30 คนก่อน 9 โมง หลังจากกำหมดกลุ่ม
ตัวอย่าง แล้ว ใช้การสุ่มตัวอย่างอย่างง่ายเป็นการสุ่มตัวอย่างโดยถือว่า
ทุกๆหน่ วยหรือทุกๆสมาชิกของนั กเรียนทั้ง 30 มิโลก จะ ก ก ๆ กัน การ
สุ่มวิธีนี้ จะต้องมีรายนั กเรียนทั้ง 30 และ บ วิธีการอาจใช้วิธีการจับสลาก
โดยทำรายชื่อนั กเรียนทั้งหมด หรือใช้ตารางเลขสุ่มโดยมีเลขกำกับหน่ วย
รายชื่อ ทั้งหมดของประนั กเรียน
b) Describe the advantage and disadvantages of using a random
sample method in Item (1) and Item (2).
ข้อดี : ขั้นตอนการสุ่มตัวอย่างที่ปฏิบัติได้ง่ายและสะดวก จะดีกรณี
ประชากรที่มีลักษณะคล้ายคลึงกัน
ข้อจำกัด : ไม่เหมาะสมที่จะนำไปใช้กับประชากรที่มีความแตกต่างกันมาก
เพราะต้องใช้ตัวอย่างจำนวนมาก อาจทำให้เสียค่าใช้จ่ายสูงและเสียเวลา
ดำเนิ นการมาก
12
Quiz : Sampling Method -2
2) Mr. Jack wants to change his sampling method. Describe
how Mr. Jack could find a sample of 30 students by using a
probability sampling method as follows.
a) By using stratified random sampling, what strata would
you recommend that he choose? Describe how Mr. Jack
could find the sampling unit.
1.Separated by sex
2.Separated by body weight
3.Separated by skin color
4.Separated by thought
5.Separated by height
b) Describe the advantage and disadvantages of using a
random sample method in Item (1) and Item (2)
Advantages
1.Distorted low
2.compare each group
disadvantages
High cost
Quiz : Sampling Method -3 13
2) Mr. Paul wants to survey about the choice of products to be
sold at BIZ Convenience Store in his College. He wants to
obtain a random sample and he proposes the following method:
2) Mr. Paul wants to change his sampling method.
Describe how Mr. Paul could find a sample of about 30 students
by using a probability sampling method as follows.
a) By using cluster random sampling, describe how Mr.Paul could
find the sampling unit.
Mr.Paul ต้องเริ่มต้นด้วยการกำหนดวัตถุประสงค์นั่ นคือเขาต้องการ
สำรวจเกี่ยวกับทางเลือกสินค้าที่จะขายใน BIZ Convenience Store เมื่อ
กำหนดวัตถุประสงค์ได้แล้วให้เขากำหนดกลุ่มประชากรที่ต้องการศึกษา
นั่ นคือนั กเรียนใน วิทยาลัยของเขา เมื่อกำหนดกลุ่มประชากรได้ให้เลือก
กลุ่มตัวอย่างมา ซึ่ง Mr.Paul เลือกนั กเรียน 30 คนแรกที่เข้ามา วิทยาลัย
ก่อนเวลา 09.00 น. และให้เขาแบ่งตัวอย่างออกเป็นกลุ่มซึ่งแต่ละกลุ่มที่
แบ่งควรมีความหลากหลายมากที่สุดเท่าที่ จะเป็นไปได้ หลังจากนั้ นให้เขา
สุ่มเลือกกลุ่มมาเพื่อใช้เป็นตัวอย่าง เมื่อสุ่มเลือกกลุ่มตัวอย่างได้แล้วให้
ทำการรวบรวม ข้อมูลจากกลุ่มตัวอย่าง
ข้อดีและข้อจำกัดของการสุ่ มตัวอย่างแบบกลุ่ม
ข้อดี : ใช้ได้ดีในกรณีที่ประชากรไม่มีกรอบตัวอย่าง หรือไม่สะดวกในการ
จัดเตรียมกรอบตัวอย่าง จะประหยัดเวลาและ
ค่าใช้จ่าย การปฏิบัติงานภาคสนามสามารถทำได้สะดวก ซึ่งจะช่วยลด
ความคลาดเคลื่อนในการรวบรวมข้อมูล
ข้อจำกัด : กรณีที่ตัวอย่างภายในกลุ่มเดียวกันมีความคล้ายคลึงกันวิธีนี้
จะมีประสิทธิภาพเชิงสถิติต่ำ และโดยธรรมชาติ ประชากรมักจะไม่จัดแบ่ง
กลุ่มแบบคละ
14
Quiz : Sampling Method -4
Mr. Tony wants to survey about the choice of products to be sold at
BIZ Convenience Store in his College. He wants to obtain a random
sample and he proposes the following method :
2) Mr. Tony wants to change his sampling method.
Describe how Mr. Paul could find a sample of about 30 students by
using a probability sampling method as follows.
a) By using cluster random sampling, describe how Mr.Paul could
find the sampling unit.
เนื่ องจาก Mr.Tony คือเขาต้องการสำรวจเกี่ยวกับทางเลือกสินค้าที่จะขาย
ใน BIZ Convenience Store ของกลุ่ม ตัวอย่างนั กเรียน 30 คน ที่เข้ามามหา
ลัยก่อน 9.00 น. โดยการกำหนดคนตัวอย่างจำนวนที่ 1 จากนั้ นก็เอาจำนวน
นั กเรียน 30 คน มาหารกับจำนวนคน 1 คนที่ได้กำหนดไว้ จากนั้ นเลือกเลข
สุ่มเบื้องต้น เมื่อได้หมายเลขสุ่มมาแล้วให้นำ มาคำนวณหาลำดับของหมายเลข
เราก็จะรู้ว่าของที่เราต้องการจะขายเป็นอะไรจากวิธีการสุ่ มตัวอย่างดังกล่าว
b) Describe the advantage and disadvantages of using a random
sample method in Item (1) and Item (2).
ข้อดี
1. เป็นตัวแทน (proxy) ของการเลือกตัวอย่างอย่างง่ายในกรณีที่ไม่มีกรอบ
ตัวอย่าง
2. ไม่ต้องการข้อมูลสนั บสนุนอื่น ๆ ในกรอบตัวอย่าง เช่นเดียวกับการเลือก
ตัวอย่างอย่างง่าย
3. ตัวอย่างที่เลือกได้จะมีการกระจายได้มากกว่าการเลือกตัวอย่างอย่างง่าย
แต่ก็ขึ้นอยู่กับช่วงของการสุ่มและการจัดเรียง หน่ วยตัวอย่างในกรอบตัวอย่าง
4. การคำนวณค่าประมาณง่ายไม่ซับซ้อน เช่นเดียวกับการเลือกตัวอย่างอย่าง
ง่าย
5. ง่ายและสะดวกกว่าตัวอย่างอย่างง่ายเนื่ องจากต้องการเลขสุ่ม (random
number ) เพียงค่าเดียว
15
ข้อจํากัด
1. เช่นเดียวกับการเลือกตัวอย่างอย่างง่าย คือถ้ากรอบตัวอย่างมีข้อมูล
สนั บสนุนอื่น ๆ การเลือกตัวอย่างแบบมีระบบจะมี ประสิทธิภาพน้ อยกว่า การ
เลือกตัวอย่างด้วยวิธีอื่น
2. ในกรณีที่ไม่มีกรอบตัวอย่างจะทำให้ไม่ทราบขนาดตัวอย่างล่วงหน้ าจนกว่า
จะดำเนิ นการเก็บรวบรวมข้อมูลจนเสร็จ 3.ถ้าขนาดตัวอย่าง (1) ไม่สามารถ
หารขนาดของประชากร (N) ได้ลงตัวอาจทำให้ได้ขนาดตัวอย่างที่ไม่แน่ นอน
ตามที่ กำหนดไว้ล่วงหน้ า ซึ่งโดยปกติจะเลี่ยง ไปใช้การเลือกตัวอย่างแบบมี
ระบบแบบวงกลม
Thank
you
Group Members.
1. Phattharawadee Namcharee 64121201001
2. Hatthachai Tunjalern 64121201002
3. Napat Jawjaroenwatttana 64121201003
4. Sutthirak Thongthachang 64121201019
5. Kanyarat Napanang 64121201013