ค ำน ำ รายงานผลการส ารวจความพึงพอใจสื่อการจัดการศึกษาตามอัธยาศัย และแหล่งเรียนรู้/ภูมิปัญญา ของฝ่ายงานการศึกษาตามอัธยาศัย ปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 จัดท าขึ้นเพื่อแสดงผลส ารวจความพึงพอใจของผู้ ที่มารับบริการ มีความพึงพอใจมากน้อยเพียงใด เพื่อน าผลการส ารวจไปปรับปรุงการให้บริการและพัฒนาสื่อ ให้ดียิ่งขึ้น ผลการส ารวจได้น าเสนอเกี่ยวกับประเด็นของการให้บริการแหล่งเรียนรู้/ภูมิปัญญา และการจัดท าสื่อ การจัดการศึกษาตามอัธยาศัย ตลอดจนด้านกระบวนการขั้นตอนการให้บริการ ด้านสิ่งอ านวยความสะดวก สื่อมีความสมบูรณ์เหมาะสมแก่ผู้มารับบริการเพียงใด และจะได้น าข้อมูลไปปรับปรุงการให้บริการ พัฒนาสื่อ การจัดการศึกษาตามอัธยาศัย ให้ผู้รับบริการได้รับความพึงพอใจสูงสุดต่อไป ขอขอบคุณผู้มีส่วนร่วมในการ ด าเนินงาน และผู้รับบริการ ที่ได้กรอกแบบสอบถามความพึงพอใจในครั้งนี้ ฝ่ายงานการศึกษาตามอัธยาศัย
บทสรุปผู้บริหำร การส ารวจและประเมินความพึงพอใจผู้รับบริการต่อการบริการ แหล่งเรียนรู้/ภูมิปัญญา และความ พึงพอใจของสื ่อการจัดการศึกษาตามอัธยาศัย ในครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื ่อประเมินความพึงพอใจของ ผู้รับบริการ ทั้งหมด 3 แบบทดสอบ ได้แก่ 1. แหล่งเรียนรู้/ภูมิปัญญา โดยก าหนดกรอบการประเมิน ได้แก่ 1) การบริการข้อมูล 2) กระบวนการจัดกิจกรรม 3) ผู้จัดกิจกรรม 4) การอ านวยความสะดวก 2. สื่อประเภท วัสดุ/อุปกรณ์ 3. สื่อทางเครื่องมือ (สื่อ Online) โดยก าหนดกรอบการประเมิน ได้แก่ 1) ด้านความสอดคล้อง ของเนื้อหา 2) การออกแบบ/การตกแต่ง 3) การน าไปใช้งาน กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการประเมิน คือ ประชาชน นักศึกษา และผู้รับบริการที่เข้ามาศึกษาแหล่งเรียนรู้/ ภูมิปัญญา และสื่อการจัดการศึกษาตามอัธยาศัย ในปีงบประมาณ 2566 ประกอบด้วย แหล่งเรียนรู้/ภูมิปัญญา จ านวน 30 คน สื่อประเภทวัสดุ/อุปกรณ์ จ านวน 27 คน สื่อทางเครื่องมือ (สื่อ Online) จ านวน 37 คน สุ่ม ตัวอย่างโดยไม่ค านึงถึงความน่าจะเป็นทางสถิติแบบบังเอิญเครื่องมือที่ใช้คือแบบประเมินความพึงพอใจของ ผู้รับบริการ วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้โปรแกรมส าเร็จรูป วิเคราะห์หาค ่าความถี ่ค ่าร้อยละ ค ่าเฉลี ่ย และค่า เบี่ยงเบนมาตรฐาน ผลการประเมินพบว่า สื่อประเภทวัสดุ/อุปกรณ์ มีความพึงพอใจโดยภาพรวมคิดเป็นร้อยละ 40.36 อยู่ในระดับมากที่สุด สื่อทางเครื่องมือ (สื่อ Online) มีความพึงพอใจโดยภาพรวมคิดเป็นร้อยละ 37.31 อยู่ในระดับมากที่สุด แหล่งเรียนรู้/ภูมิปัญญา มีความพึงพอใจโดยภาพรวมคิดเป็นร้อยละ 32.15 อยู่ในระดับมากที่สุด
สำรบัญ เนื้อหา ความเป็นมาและความสำคัญ 1 วัตถุประสงค์ของการประเมิน 1 ขอบเขตของการประเมิน 2 ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ 2 แบบประเมินความพึงพอใจต่อการใช้สื่อประเภทวัสดุ ประกอบกิจกรรมการจัดการศึกษาตามอัธยาศัย 3 สรุปความพึงพอใจแบบประเมินความพึงพอใจต่อการใช้สื่อประเภทวัสดุ 6 แบบประเมินความพึงพอใจต่อการใช้สื่อประเภทเครื่องมือ ( สื่อทาง Online ) 8 สรุปความพึงพอใจแบบประเมินความพึงพอใจต่อการใช้สื่อประเภทเครื่องมือ ( สื่อทาง Online ) 12 แบบประเมินความพึงพอใจการใช้แหล่งเรียนรู้/ภูมิปัญญา 14 สรุปความพึงพอใจการใช้แหล่งเรียนรู้/ภูมิปัญญา 17 สรุปผลการประเมิน 19
1 ความเป็นมาและความสำคัญ ตามนโยบายและจุดเน้นการด าเนินงาน ส านักงาน กศน. ประจ าปีงบประมาณ ภารกิจต ่อเนื ่อง 1. ด้านการจัดการศึกาและการเรียนรู้ 1.4 การศึกษาตามอัธยาศัย 1) พัฒนาแหลงการเรียนรูที่มีบรรยากาศและ สภาพแวดลอมที่เอื้อตอการอานและพัฒนาศักยภาพ การเรียนรูใหเกิดขึ้นในสังคมไทย ใหเกิดขึ้นอยางกวาง ขวางและทั่วถึง เชน การพัฒนา กศน. ต าบล หองสมุด ประชาชนทุกแหงใหมีการบริการที่ทันสมัย สงเสริมและ สนับสนุนอาสาสมัครสงเสริมการอาน การสรางเครือขาย สงเสริมการอาน จัดหนวยบริการหองสมุดเคลื่อนที่ ห องสมุดชาวตลาด พรอมหนังสือและอุปกรณเพื่อจัดกิจกรรม สงเสริมการอานและการเรียนรูที่หลากหลายให บริการกับประชาชนในพื้นที่ตางๆ อยางทั่วถึง สม ่าเสมอ รวมทั้ง เสริมสรางความพรอมในดานบุคลากร สื่ออุป กรณเพื่อสนับสนุนการอาน และการจัดกิจกรรมเพื่อสงเสริมการอาน อยางหลากหลายรูปแบบ ฝ่ายงานการศึกษาตามอัธยาศัย กศน.อำเภอพร้าว จัดการศึกษาตามอัธยาศัยเป็นการจัดกิจกรรมการ เรียนรู้ให้ผู้เรียนได้เรียนรู้ด้วยตนเองตามความสนใจ ส่งเสริม สนับสนุน พัฒนาแหล่งเรียนรู้และภูมิปัญญา ท้องถิ่น รวมไปถึงการพัฒนาสื่อการจัดกิจกรรมการศึกษาตามอัธยาศัย ติดตามประเมินผลและรายงานผลการ ดำเนินงานการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย ดังนั้นเพื่อให้ทราบว่าคุณภาพการให้บริการ สื่อ แหล่งเรียนรู้/ภูมิปัญญา ดำเนินงานเป็นอย่างไรจึงได้ ดำเนินทำแบบประเมินความพึงพอใจของผู้รับบริการ เพราะจะเป็นเสมือนกระจกที่สะท้อนความคิดเห็นของ ผู้รับบริการ ว่ามีความพึงพอใจต่อการใช้ สื่อ แหล่งเรียนรู้/ภูมิปัญญา อย่างไร ข้อมูลที่ได้จากการประเมิน จะเป็นเข็มทิศสำหรับแก้ไขปัญหาการบริการได้อย่างตรงประเด็น อันจะนำไปสู่การบริการที่มีคุณภาพ เพื่อสร้าง ความพึงพอใจให้แก่ผู้รับบริการต่อไป วัตถุประสงค์ของการประเมิน 1. เพื่อประเมินความพึงพอใจของผู้รับบริการที่มีต่อการใช้บริการ แหล่งเรียนรู้/ภูมิปัญญา และสื่อ การจัดการศึกษาตามอัธยาศัย 2. เพื่อนำผลไปสู่การปรับปรุงการการบริการแหล่งเรียนรู้/ภูมิปัญญาและพัฒนาสื่อการจัดการศึกษา ตามอัธยาศัย
2 ขอบเขตของการประเมิน ขอบเขตประชำกรและกลุ่มตัวอย่ำง ผู้รับบริการแหล่งเรียนรู้/ภูมิปัญญาท้องถิ่น จ านวน 30 คน ผู้รับบริการสื่อประเภทวัสดุ/อุปกรณ์ จ านวน 27 คน ผู้รับบริการสื่อประเภทเครื่องมือ (สื่อ Online) จ านวน 37 คน วิธีการสุ่มขนาดของกลุ่มตัวอย่าง แยกเป็นแต่ละด้านโดยใช้สูตรวิธีการค านวณของทาโร ยามาเน่ (Taro Yamane) ที่ระดับความเชื่อมั่นร้อยละ 90 ก าหนดค่าความคลาดเคลื่อน ±10% สูตรวิธีการค านวณขนาดของกลุ่มตัวอย่าง เมื่อ n คือขนาดกลุ่มตัวอย่าง N คือขนาดประชากร e คือความคลาดเคลื่อนของกลุ่มตัวอย่าง ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ ฝ่ายงานการศึกษาตามอัธยาศัย กศน.อ าเภอพร้าว จะได้ทราบผลการปฏิบัติงานเพื่อน าไปปรับปรุงและ ใช้เป็นแนวทางในการบริหาร แหล่งเรียนรู้/ภูมิปัญญาและพัฒนาสื่อการจัดการศึกษาตามอัธยาศัยให้เข้ากับ บริบทของเนื้อหากิจกรรมต่อไป
3 3 แบบประเมินความพึงพอใจต่อการใช้สื่อประเภทวัสดุ ประกอบกิจกรรมการจัดการศึกษาตามอัธยาศัย
4 4
5 5
6 6 สรุปความพึงพอใจแบบประเมินความพึงพอใจต่อการใช้สื่อประเภทวัสดุ
7 7 กราฟสรุปข้อมูล ผู้ตอบแบบทดสอบมีควำมพึงพอใจในระดับ มากที่สุดคิดเป็นร้อยละ 40.36 มากคิดเป็นร้อยละ 48.47 ปานกลางคิดเป็นร้อยละ 11.17 40.36 48.47 11.17 มากที่สุด มาก ปานกลาง
8 8 แบบประเมินความพึงพอใจต่อการใช้สื่อประเภทเครื่องมือ ( สื่อทาง Online )
9 9
10 10
11 11
12 12 สรุปความพึงพอใจแบบประเมินความพึงพอใจต่อการใช้สื่อประเภทเครื่องมือ ( สื่อทาง Online )
13 13 สรุปแยกเป็นด้าน จำกกรำฟแท่งข้อมูลสรุปได้ว่ำ ด้ำนกำรออกแบบ มีความพึงพอใจในระดับมากที่สุดคิดเป็นร้อยละ 35.19 ความพึงพอใจระดับมากคิดเป็นร้อย ละ 50.93 ความพึงพอใจระดับปานกลางคิดเป็นร้อยละ 13.89 ด้ำนเนื้อหำ มีความพึงพอใจในระดับมากที่สุดคิดเป็นร้อยละ 37.04 ความพึงพอใจระดับมากคิดเป็นร้อยละ 46.67 ความพึงพอใจระดับปานกลางคิดเป็นร้อยละ 16.30 ด้ำนกำรตกแต่ง/ควำมสวยงำม มีความพึงพอใจในระดับมากที่สุดคิดเป็นร้อยละ 37.04 ความพึงพอใจระดับ มากคิดเป็นร้อยละ 51.58 ความพึงพอใจระดับปานกลางคิดเป็นร้อยละ 11.11 ด้ำนกำรน ำไปใช้มีความพึงพอใจในระดับมากที่สุดคิดเป็นร้อยละ 40.74 ความพึงพอใจระดับมากคิดเป็นร้อย ละ 44.44 ความพึงพอใจระดับปานกลางคิดเป็นร้อยละ 14.81 0 10 20 30 40 50 60 มากที่สุด มาก ปานกลาง
14 14 แบบประเมินความพึงพอใจการใช้แหล่งเรียนรู้/ภูมิปัญญา
15 15
16 16
17 17 สรุปความพึงพอใจการใช้แหล่งเรียนรู้/ภูมิปัญญา
18 18 จากกราฟแท่งข้อมูลสรุปได้ว่า ด้ำนกำรบริกำรข้อมูล มีความพึงพอใจในระดับมากที่สุดคิดเป็นร้อยละ 37.50 ความพึงพอใจระดับมากคิดเป็น ร้อยละ 50.83 ความพึงพอใจระดับปานกลางคิดเป็นร้อยละ 11.67 ด้ำนเนื้อหำ มีความพึงพอใจในระดับมากที่สุดคิดเป็นร้อยละ 30 ความพึงพอใจระดับมากคิดเป็นร้อยละ 54.44 ความพึงพอใจระดับปานกลางคิดเป็นร้อยละ 15.56 ด้ำนกำรตกแต่ง/ควำมสวยงำม มีความพึงพอใจในระดับมากที่สุดคิดเป็นร้อยละ 34.44 ความพึงพอใจระดับ มากคิดเป็นร้อยละ 51.11 ความพึงพอใจระดับปานกลางคิดเป็นร้อยละ 14.44 ด้ำนกำรน ำไปใช้มีความพึงพอใจในระดับมากที่สุดคิดเป็นร้อยละ 26.67 ความพึงพอใจระดับมากคิดเป็นร้อย ละ 57.78 ความพึงพอใจระดับปานกลางคิดเป็นร้อยละ 15.56 0 10 20 30 40 50 60 70 การบริการข้อมูล กระบวนการจัดกิจกรรม วิทยากร การอ านวยความสะดวก สรุปแยกเป็ นด้าน มากที่สุด มาก ปานกลาง
19 19 สรุปผลการประเมิน การส ารวจและประเมินความพึงพอใจของผู้รับบริการที่มีต่อแหล่งเรียนรู้/ภูมิปัญญาและสื่อการจัด การศึกษาตามอัธยาศัย ฝ ่ายงานการศึกษาตามอัธยาศัย กศน.อ าเภอพร้าว ประจ าปีงบประมาณ 2564 ครอบคลุมแบบประเมินความพึงพอใจทั้ง 3 แบบ ได้แก่ 1. แหล่งเรียนรู้/ภูมิปัญญา โดยก าหนดกรอบการ ประเมิน ได้แก่ 1) การบริการข้อมูล 2) กระบวนการจัดกิจกรรม 3) ผู้จัดกิจกรรม 4) การอ านวยความสะดวก 2. สื่อประเภทวัสดุ/อุปกรณ์ 3. สื่อทางเครื่องมือ (สื่อ Online) โดยก าหนดกรอบการประเมิน ได้แก่ 1) ด้าน ความสอดคล้องของเนื้อหา 2) การออกแบบ/การตกแต่ง 3) การน าไปใช้งาน ผู้ประเมินขอสรุปผลการประเมิน โดยเรียงล าดับตามนี้ สื่อประเภทวัสดุ/อุปกรณ์ มีความพึงพอใจโดยภาพรวมคิดเป็นร้อยละ 40.36 อยู่ในระดับมากที่สุด มากคิดเป็นร้อยละ 48.47 ปานกลางคิดเป็นร้อยละ 11.17 สื่อทำงเครื่องมือ (สื่อ Online) ด้านการออกแบบ มีความพึงพอใจในระดับมากที ่สุดคิดเป็นร้อยละ 35.19 ความพึงพอใจ ระดับมากคิดเป็นร้อยละ 50.93 ความพึงพอใจระดับปานกลางคิดเป็นร้อยละ 13.89 ด้านเนื้อหา มีความพึงพอใจในระดับมากที่สุดคิดเป็นร้อยละ 37.04 ความพึงพอใจระดับมาก คิดเป็นร้อยละ 46.67 ความพึงพอใจระดับปานกลางคิดเป็นร้อยละ 16.30 ด้านการตกแต่ง/ความสวยงาม มีความพึงพอใจในระดับมากที่สุดคิดเป็นร้อยละ 37.04 ความ พึงพอใจระดับมากคิดเป็นร้อยละ 51.58 ความพึงพอใจระดับปานกลางคิดเป็นร้อยละ 11.11 ด้านการน าไปใช้มีความพึงพอใจในระดับมากที่สุดคิดเป็นร้อยละ 40.74 ความพึงพอใจระดับ มากคิดเป็นร้อยละ 44.44 ความพึงพอใจระดับปานกลางคิดเป็นร้อยละ 14.81 มีความพึงพอใจโดยภาพรวมคิดเป็นร้อยละ 37.31 อยู่ในระดับมากที่สุด มากคิดเป็นร้อยละ 48.84 ปานกลางคิดเป็นร้อยละ 13.83
20 20 แหล่งเรียนรู้/ภูมิปัญญำ ด้านการบริการข้อมูล มีความพึงพอใจในระดับมากที่สุดคิดเป็นร้อยละ 37.50 ความพึงพอใจ ระดับมากคิดเป็นร้อยละ 50.83 ความพึงพอใจระดับปานกลางคิดเป็นร้อยละ 11.67 ด้านเนื้อหา มีความพึงพอใจในระดับมากที่สุดคิดเป็นร้อยละ 30 ความพึงพอใจระดับมากคิด เป็นร้อยละ 54.44 ความพึงพอใจระดับปานกลางคิดเป็นร้อยละ 15.56 ด้านการตกแต่ง/ความสวยงาม มีความพึงพอใจในระดับมากที่สุดคิดเป็นร้อยละ 34.44 ความ พึงพอใจระดับมากคิดเป็นร้อยละ 51.11 ความพึงพอใจระดับปานกลางคิดเป็นร้อยละ 14.44 ด้านการน าไปใช้มีความพึงพอใจในระดับมากที่สุดคิดเป็นร้อยละ 26.67 ความพึงพอใจระดับ มากคิดเป็นร้อยละ 57.78 ความพึงพอใจระดับปานกลางคิดเป็นร้อยละ 15.56 มีความพึงพอใจโดยภาพรวมคิดเป็นร้อยละ 32.15 อยู่ในระดับมากที่สุด มากคิดเป็นร้อยละ 53.54 ปานกลางคิดเป็นร้อยละ 14.31 สรุปได้ว่าความพึงพอใจของผู้รับบริการทั้ง 3 แบบทดสอบของฝ่ายงานการศึกษาตามอัธยาศัย กศน. อ าเภอพร้าว จังหวัดเชียงใหม่ปีงบประมาณ 2564 อยู่ในระดับมากที่สุด โดยเรียงล าดับคะแนนจากมากไปน้อย ตามล าดับ คือ สื่อประเภทวัสดุ/อุปกรณ์ สื่อทางเครื่องมือ (สื่อ Online) แหล่งเรียนรู้/ภูมิปัญญา ตาล าดับ ภาพรวมคิดเป็นค่าร้อยละเท่ากับ 36.60