The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

3.รายงานสถานการณ์จังหวัดร้อยเอ็ด 2565

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by roiet, 2022-11-14 23:59:22

3.รายงานสถานการณ์จังหวัดร้อยเอ็ด 2565

3.รายงานสถานการณ์จังหวัดร้อยเอ็ด 2565





คานา

สานกั งานพฒั นาสังคมและความมนั่ คงของมนุษย์จังหวดั ร้อยเอ็ด ดาเนินการจัดทารายงานสถานการณ์
ทางสังคมจังหวัด เพื่อการศึกษาวิเคราะห์สถานการณ์และสภาพแวดล้อม คาดการณ์แนวโน้มของสถานการณ์
ทางสังคมและผลกระทบท่จี ะเกิดขนึ้ รวมทง้ั ให้ข้อเสนอแนะแกก่ ลุ่มเป้าหมาย อาทิ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
หน่วยงานที่เก่ยี วข้อง องคก์ รภาคประชาสังคม และประชาชนในพื้นท่ีจงั หวดั รอ้ ยเอด็ เพือ่ ให้หน่วยงานและภาคี
เครือขา่ ย มขี อ้ มลู ใชป้ ระกอบการดำเนินงาน และการจัดทาแผนงานที่ทันต่อเหตุการณ์ทั้งในปัจจุบันและอนาคต

สานักงานพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์จังหวัดร้อยเอ็ด จึงจัดทารายงานสถานการณ์ทาง
สังคมจังหวัดร้อยเอ็ด ประจาปี 2565 ซ่ึงประกอบด้วย 6 ส่วน ได้แก่ ๑) บทนา ๒) ข้อมูลพื้นฐานในพื้นที่
รับผิดชอบของจังหวัดร้อยเอ็ด ๓) สถานการณ์ทางสังคมของจังหวัด ๔) สถานการณ์เชิงประเด็นทางสังคมใน
ระดับจังหวดั ๕) การวิเคราะหแ์ ละจัดลาดบั ความรนุ แรงของสถานการณท์ างสงั คมจังหวัด และ ๖) บทสรุปและ
ข้อเสนอแนะ

ผู้จัดทาหวังเป็นอย่างย่ิงว่า รายงานสถานการณ์ทางสังคมจังหวัดร้อยเอ็ด ประจาปี 2565 ฉบับน้ี
จะเป็นประโยชน์ต่อหน่วยงานและผู้สนใจทั่วไป ในการนาข้อมูลไปประกอบการวิเคราะห์และเฝ้าระวัง
สถานการณ์ทางสังคม เพื่อป้องกันและแก้ไขปัญหาทางสงั คมทเี่ กดิ ขึน้ ต่อไป

สานักงานพัฒนาสังคมและความมน่ั คงของมนุษย์จังหวัดรอ้ ยเอ็ด
กรกฎาคม 2565

รายงานสถานการณ์ทางสงั คมจงั หวัดรอ้ ยเอ็ด ประจาปี ๒๕๖๕



บทสรปุ ผู้บริหาร

การจดั ทารายงานสถานการณ์ทางสังคมจังหวัดร้อยเอ็ด มีวัตถุประสงค์เพ่ือจัดทาแนวโน้มสถานการณ์
ทา ง สั งค ม ที่ ทัน ต่ อ เห ตุ ก าร ณ์ โ ดย ห น่ วย ง า นที่ เ ก่ี ยว ข้ อ งส า ม าร ถ น า ข้ อ มู ลเ พ่ื อ ไป ใ ช้ ปร ะโ ยช น์ ค าด ก า ร ณ์
สถานการณ์ทางสังคมและประกอบการจัดทานโยบาย แผนงาน โครงการ ทั้งในระดับประเทศและระดับพ้ืนที่
การจัดทารายงานสถานการณ์ทางสังคม ฉบบั นี้ ประกอบดว้ ยเนื้อหา ๖ สว่ น ได้แก่ ๑) บทนา ๒) ข้อมูลพื้นฐาน
ในพื้นท่ีรับผิดชอบของจังหวัดร้อยเอ็ด ๓) สถานการณ์ทางสังคมของจังหวัด ๔) สถานการณ์เชิงประเด็นทาง
สังคมในระดับจังหวัด ๕) การวิเคราะห์และจัดลาดับความรุนแรงของสถานการณ์ทางสังคมจังหวัด และ
๖) บทสรปุ และข้อเสนอแนะ ซง่ึ สรุปได้ดงั นี้

จังหวัดร้อยเอ็ด ตั้งอยู่บริเวณตอนกลางของภาคตะวันออกเฉียงเหนือของไทย ลักษณะภูมิประเทศ
โดยท่ัวไปเป็นท่ีราบสูง มีภูเขาทางตอนเหนือ บริเวณตอนกลางของจังหวัด มีลักษณะเป็นที่ราบลูกคล่ืน
บริเวณตอนลา่ ง มลี กั ษณะเปน็ ทร่ี าบลมุ่ รมิ ฝัง่ แมน่ ้ามลู และสาขา บรเิ วณที่ราบต่าอนั กว้างขวาง เรียกว่า ทงุ่ กุลาร้องไห้
มีพืน้ ทปี่ ระมาณ 80,000 ไร่ มลี กั ษณะเป็นท่รี าบแอ่งกระทะ สภาพภมู ิอากาศอยู่ในประเภทฝนเมอื งรอ้ น

จังหวัดร้อยเอ็ด แบ่งการปกครองแบ่งออกเป็น 20 อาเภอ 19 3 ตาบล 2,446 หมู่บ้าน
มีองค์กรปกครองส่วนท้องถ่ินทั้งหมด 203 แห่ง โดยแบ่งองค์กรปกครองส่วนท้องถ่ิน จานวน 3 รูปแบบ คือ
องค์การบริหารส่วนจังหวัด 1 แห่ง, เทศบาลเมือง 1 แห่ง คือ เทศบาลเมืองร้อยเอ็ด, 72 เทศบาลตาบล
และองค์การบริหารส่วนตาบล 129 แหง่ (อ. เมืองร้อยเอด็ มี 14 ตาบล (ไมร่ วม ตาบลในเมือง จานวน 20 ชมุ ชน)

ดา้ นประชากรจานวน 1,296,013 คน เปน็ เพศชาย จานวน 641,883 คน คิดเป็นร้อยละ 49.52
เพศหญิง จานวน 654,130 คน คิดเป็นร้อยละ 50.54 โดยแบ่งเป็นประชากร ช่วงอายุ 0 – 17 ปี จานวน
234,732 คน คดิ เปน็ ร้อยละ 18.11 ประชากรช่วงอายุ 18 - 25 ปี จานวน 133,082 คน คิดเป็นร้อยละ
10.26 ประชากรช่วงอายุ 26 - 59 ปี จานวน 686,333 คน คิดเป็นรอ้ ยละ 52.95 ประชากรช่วงอายุ 60
ปีขนึ้ ไป จานวน 241,866 คน คิดเปน็ ร้อยละ 18.66

ด้านศาสนาประชาชนส่วนใหญ่ นับถือศาสนาพุทธ ร้อยละ 97.72 มีวัด 1,541 แห่ง พระสงฆ์
7,944 รูป สามเณร 908 รูป นอกจากนน้ั นับถอื ศาสนาอื่นๆ เชน่ ศาสนาครสิ ต์ อสิ ลาม ซกิ ข์

หนว่ ยบริการสาธารณสุขทั้งภาครัฐและเอกชน รวมจานวน 256 แห่ง แบ่งเป็น โรงพยาบาลศูนย์ 1 แห่ง
โรงพยาบาลชุมชน 19 แห่ง โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตาบล 231 แห่ง สานักงานสาธารณสุขอาเภอ 20
แห่ง โรงพยาบาลสงั กดั เอกชน 2 แห่ง และอ่นื ๆ 3 แห่ง มแี พทย์ จานวน 910 คน โดยคดิ สัดส่วนแพทย์ 1 คน
ต่อ ประชากร 1,424 คน สาเหตุการตายขอ้ มลู จากมรณบัตร ช่วงปี 2560 - 2564 พบว่า สาเหตุการตายท่ี
สาคัญ คือ มะเรง็ ทกุ ชนิด ความดนั โลหิตสูงและหลอดเลือดในสมอง และโรคไต

ด้านการศึกษา มีสถานศึกษาในระบบ นอกระบบ จานวนท้ังส้ิน 1,505 แห่ง มีจานวนนักเรียน
ในระบบ ในปี พ.ศ. 2564 จาแนกตามระดับชั้น อนุบาล - ป.ตรี มีจานวนทั้งสิ้น 207,376 คน โดยคิด
สัดส่วนนักเรียนรายระดับชั้น ดังน้ี ระดับอนุบาล คิดเป็นร้อยละ 12.14 ระดับประถมศึกษา คิดเป็นร้อยละ
37.26 ระดบั มธั ยมศกึ ษาตอนต้น คดิ เป็นรอ้ ยละ 21.77 ระดับมธั ยมศึกษาตอนปลาย คดิ เป็นร้อยละ 16.45
ระดบั ปวช. คดิ เป็นร้อยละ 6.83 ระดบั ปวส. คดิ เป็นรอ้ ยละ 2.77 ระดบั ปรญิ ญาตรี คดิ เป็นรอ้ ยละ 2.72

ด้านแรงงาน ประชากรวัยแรงงาน ไตรมาส 1 ปี 2565 พบว่า มีประชากรท่ีอยู่ในวัยทางานหรือ
อายุ 15 ปีข้ึนไป จานวน 856,320 คน เป็นผู้อยู่ในกาลังแรงงาน 585,309 คน ผู้มีงานทา 553,930 คน
ผู้ว่างงาน 1,108 คน และผู้รอฤดูกาล 30,271 คน การมีงานทา ผู้มีงานทาในจังหวัดร้อยเอ็ด จานวน
553,930 คน (ร้อยละ 94.63) ของผู้อยู่ในกาลงั แรงงาน

รายงานสถานการณท์ างสงั คมจังหวดั ร้อยเอ็ด ประจาปี ๒๕๖๕


ด้านท่ีอยู่อาศัย จังหวัดร้อยเอ็ด มีชุมชนผู้มีรายได้น้อย จานวน 3 ชุมชน ซ่ึงเป็นชุมชนแออัดทั้งหมด
โดยประกอบด้วย 80 ครัวเรือน 68 บา้ น และมีประชากรจานวน จานวน 320 คน
ด้านเศรษฐกิจและรายได้ พบว่า การขยายตัวของผลิตภัณฑ์มวลรวมจังหวัดร้อยเอ็ด ในช่วงปี
2562 – 2564 มอี ัตราการขยายตัวเพมิ่ ขน้ึ ในปี 2564 จากมาตรการกระตนุ้ เศรษฐกิจของภาครฐั
ด้านภาคีเครือข่ายทางสังคมจังหวัดร้อยเอ็ด มีกลไกขับเคลื่อนงานในระดับพื้นท่ี ประกอบด้วยองค์กร
สาธารณประโยชน์ ตาม พ.ร.บ. ส่งเสรมิ การจัดสวัสดิการสงั คม องค์กรสวัสดิการชุมชน กองทุนสวัสดิการสังคม
สภาเด็กและเยาวชน ศูนย์บริการคนพิการท่ัวไป ศูนย์พัฒนาคุณภาพชีวิตและส่งเสริมอาชีพของผู้สูงอายุ
(ศพอส.) ศูนย์พัฒนาครอบครัวในชุมชน (ศพค.) ศูนย์ช่วยเหลือสังคมตาบล และอาสาสมัครพัฒนาสังคมและ
ความมนั่ คงของมนุษย์ (อพม.) ในการร่วมบูรณาการขับเคล่ือนภารกิจในการพัฒนาคุณภาพชีวิตกลุ่มเป้าหมาย
ให้พึ่งพาตนเองได้อย่างเหมาะสมและยง่ั ยนื

รายงานสถานการณท์ างสังคมจงั หวดั ร้อยเอ็ด ประจาปี ๒๕๖๕

จ ข

สารบัญ จ
1
คานา 1
บทสรุปผู้บริหาร 2
สารบัญ 2
สว่ นท่ี ๑ บทนา 2

๑.๑ หลกั การและเหตผุ ล 3
๑.๒ วัตถปุ ระสงค์ 3
๑.๓ วธิ ีดาเนนิ งาน 3
๑.๔ ผลทค่ี าดว่าจะไดร้ ับ 3
3
ส่วนท่ี ๒ ข้อมูลพน้ื ฐานในพื้นที่รับผดิ ชอบของจังหวัดร้อยเอด็ 4
๒.๑ ที่ตั้งและอาณาเขต 4
๒.๒ ลักษณะภมู ปิ ระเทศ 4
๒.๓ ลกั ษณะภมู ิอากาศ 5
๒.๔ ดา้ นการปกครอง 7
๒.๕ ดา้ นประชากร 7
๒.๖ ดา้ นศาสนา 8
๒.๗ ดา้ นสาธารณสุข 9
๒.๘ ด้านการศกึ ษา 11
๒.๙ ด้านแรงงาน 11
๒.๑๐ ดา้ นที่อยู่อาศยั 12
๒.๑๑ ด้านเศรษฐกิจ 12
๒.๑๒ ดา้ นภาคีเครือข่าย 13
13
ส่วนที่ ๓ สถานการณ์กลมุ่ เป้าหมายทางสังคมระดับจังหวัดร้อยเอ็ด 14
๓.๑ กลุ่มเด็ก 15
๓.๒ กล่มุ เยาวชน
๓.๓ กลมุ่ สตรี
๓.๔ กลุม่ ครอบครัว
๓.๕ กลมุ่ ผสู้ ูงอายุ
๓.๖ กลมุ่ คนพิการ
๓.๗ กลุ่มผู้ดอ้ ยโอกาส

รายงานสถานการณ์ทางสงั คมจังหวัดรอ้ ยเอ็ด ประจาปี ๒๕๖๕

ฉ 16
16
สว่ นที่ ๔ สถานการณเ์ ชงิ ประเดน็ ทางสังคมในระดับจังหวัดร้อยเอ็ด 18
๔.๑ สถานการณ์กลุ่มเปราะบางรายครัวเรือน
๔.๒ สถานการณภ์ ายใต้การระบาดของ COVID-19 19
21
4.3 สถานการณเ์ ชิงประเด็นสาคญั ในพน้ื ทจี่ งั หวดั รอ้ ยเอ็ด 24
ส่วนท่ี ๕ การวเิ คราะห์สถานการณท์ างสังคมจังหวัดรอ้ ยเอ็ด 25
สว่ นที่ ๖ บทสรุปและขอ้ เสนอแนะ 25
25
๖.๑ บทสรปุ 27
๖.๒ ขอ้ เสนอแนะเชิงนโยบาย
๖.๓ ขอ้ เสนอแนะเชิงปฏบิ ตั ิระดบั จังหวัดร้อยเอ็ด
อ้างอิง

รายงานสถานการณท์ างสังคมจังหวดั ร้อยเอ็ด ประจาปี ๒๕๖๕

1

ส่วนที่ ๑

บทนา

๑.๑ หลกั การและเหตผุ ล
ตามพระราชกฤษฎีกาว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการบริหารกิจการบ้านเมืองท่ีดี พ.ศ. ๒๕๔๖

มีสาระสาคัญเก่ียวข้องกับการบูรณาการ โดยกาหนดว่า “ในกรณีท่ีภารกิจใดมีความเกี่ยวข้องกับหลายส่วน
ราชการหรือเปน็ ภารกจิ ที่ใกล้เคียงหรือต่อเน่ืองกัน ให้สว่ นราชการทีเ่ ก่ียวข้องนัน้ กาหนดแนวทางปฏิบัติราชการ
เพื่อให้เกิดการบริหารราชการแบบบูรณาการร่วมกัน โดยมุ่งให้เกิดผลสัมฤทธิ์ต่อภารกิจของรัฐ ”
(มาตรา 10 วรรค 1) ในทางปฏิบัติแม้ว่าจะมีความพยายามในการบริหารแบบบูรณาการในภารกิจท่ี มี
ความสาคัญหลายเรื่อง แต่ยังเกิดปัญหาความซ้าซ้อนในการปฏิบัติในหลายๆ ภารกิจ เป็นผลให้เป็นการ
สน้ิ เปลืองทรพั ยากรเปน็ อยา่ งมาก การปฏริ ูปงบประมาณประเทศจาก “ระบบงานงบประมาณเชิงยุทธศาสตร์”
สู่ “ระบบงบประมาณเชิงพ้ืนท่ี” (Arae-Based Budgeting : ABB) ซึ่งเป็นแนวคิดของการทางบประมาณ
แบบมีส่วนรว่ ม (Participatory Budgeting) โดยมีการฟังเสียงประชาชนในพื้นท่ี มีกระบวนการทาแผนพัฒนา
จากล่างขึ้นบนต้ังแต่แผนชุมชนจนถึงแผนจังหวัด และให้หน่วยงานทั้งภูมิภาคและท้องถ่ินร่วมกันกลั่นกรอง
ทาให้งบประมาณสามารถใช้ให้ตรงกับปัญหาความต้องการของคนในพ้ืนท่ีได้อย่างมีประสิทธิภาพมากขึ้น
ซ่ึงเปน็ ท้ังกระบวนการเพิ่มประสทิ ธภิ าพประสิทธผิ ลการใช้งบประมาณแผ่นดิน การมีส่วนร่วมของประชาชนใน
การบริหารจัดการตนเอง การสร้างความโปร่งใสและธรรมาภิบาล การควบคุมพฤติกรรมนักการเมืองโดย
ประชาชนในพื้นที่และการบูรณาการการทางานของหน่วย Function และหน่วย Area ที่อยู่ในพ้ืนท่ีร่วมกัน
ซ่งึ ตามแผนปฏิรูปกาหนดใหเ้ รม่ิ ตัง้ แตป่ ีงบประมาณ ๒๕๔๘

สานักงานพัฒนาสังคมและความม่ันคงของมนุษย์จังหวัดร้อยเอ็ดในฐานะหน่วยงานด้านสังคม
ที่สาคัญในการขับเคลื่อนงานด้านสังคม พิทักษ์และคุ้มครองสิทธิแก่กลุ่มเป้าหมาย เช่น เด็ก เยาวชน สตรี
คนพิการ ผู้สูงอายุ และผู้ด้อยโอกาส เป็นต้น เพื่อให้ประชาชนได้รับบริการด้านสังคมจากหน่วยงานรัฐ
และภาคเอกชน และสามารถดารงชีวิตในสังคมได้อย่างมีศักดิศรีรวมทั้งผลักดันให้เกิดการป้องกันและแก้ไข
ปัญหาสังคมและพัฒนาคุณภาพชีวิตของประชาชน เพ่ือมุ่งสู่สังคมคุณภาพบนพื้นฐานความรับผิดชอบร่วมกัน
สานักงานพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์จังหวัด ร้อยเอ็ด จึงได้จัดทารายงานสถานการณ์
ทางสังคมจังหวัดร้อยเอ็ด ประจาปี 256๕ ขึ้น เพื่อรวบรวม วิเคราะห์สังเคราะห์ข้อมูลด้านสังคม
ในจังหวัดประกอบด้วยสถิติการให้บริการที่เป็นปัจจุบัน ทันต่อสถานการณ์ ครอบคลุมทั้งข้อมูล
เชงิ กลมุ่ เป้าหมาย ขอ้ มูลเชิงประเดน็ ขอ้ มูลจากระบบสารสนเทศของกระทรวงการพัฒนาสังคมและความม่ันคง
ของมนุษย์ข้อมูลด้านสังคมจากหน่วยงานแวดล้อมกระบวนงาน ข้อมูลที่บ่งช้ีถึงสถานการณ์ทางสังคมตัวชี้วัด
ที่เป็นสากล รวมทั้งสถานการณ์ทางสังคมอื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง และข้อเสนอแนะในการป้องกัน แก้ไขปัญหา
ทัง้ ในเชิงนโยบายและปฏิบัติอย่างมปี ระสิทธิภาพและประสิทธผิ ล

2
๑.๒ วัตถุประสงค์

๑.๒.๑ เพื่อรวบรวม วิเคราะห์ และจัดทารายงานสถานการณ์ทางสังคมที่เกิดขึ้น ในเขตพ้ืนที่
รับผิดชอบของจังหวัดร้อยเอ็ด

๑.๒.๒ เพื่อคาดการณแ์ นวโนม้ สถานการณท์ างสงั คมและผลกระทบในเขตพื้นท่ีรับผดิ ชอบของจงั หวัดรอ้ ยเอด็
๑.๒.๓ เพื่อเสนอแนะแนวทางในการแกไ้ ขปัญหาทางสังคมในเขตพื้นท่รี ับผิดชอบของจงั หวัดร้อยเอด็
๑.๓ วธิ ีการดาเนินงาน
1.3.1 มีหนังสือชี้แจงแนวทางและกาหนดรูปแบบการจัดทารายงานสถานการณ์ทางสังคมในระดับ
จงั หวัด ประจาปี ๒๕๖๕
1.3.2 สานกั งานพัฒนาสังคมและความม่ันคงของมนุษย์จังหวัด ดาเนินการจัดทารายงานสถานการณ์
ทางสงั คมจังหวัด
1.3.3 นาเสนอรายงานฯ ให้สานักงานส่งเสริมและสนับสนุนวิชาการ ๑ – ๑๑ เพื่อนาข้อมูลไปจัดทา
รายงานสถานการณ์ทางสังคมระดับกลุ่มจังหวัดและขับเคล่ือนโครงการระดับจังหวัด กลุ่มจังหวัด รวมถึง
นาเสนอรายงานฯ ให้กองมาตรฐานการพัฒนาสังคมและความม่ันคงของมนุษย์ เพื่อนาข้อมูลไปจัดทารายงาน
สถานการณท์ างสังคมระดับประเทศ
1.3.4 ประชมุ ถอดบทเรยี นการจัดทารายงานสถานการณ์ทางสังคมจังหวัด ประจาปี ๒๕๖๕
1.3.5 เผยแพรแ่ ละประชาสัมพันธก์ ารนาไปใชป้ ระโยชน์ผา่ นช่องทางต่าง ๆ
๑.๔ ประโยชน์ท่คี าดว่าจะไดร้ บั
1.4.1 มีข้อมูลสถานการณ์ทางสังคมระดับพื้นที่ที่ครอบคลุมทุกกลุ่มเป้าหมาย สามารถใช้ประโยชน์
ในการปอ้ งกัน และแกไ้ ขปญั หาสังคม
1.4.2 หนว่ ยงานระดบั ทอ้ งถิน่ และระดับจังหวดั สามารถนาขอ้ มูลในพื้นที่ไปใช้ในการกาหนดนโยบาย
แผนงาน โครงการ ในการคุ้มครอง ป้องกัน และแก้ไขปัญหาทางสังคมในระดับพื้นท่ี และหน่วยงานระดับ
กระทรวง สามารถนาข้อมูลในภาพรวมไปใช้ประโยชน์วิเคราะห์สถานการณ์ปัญหาทางสังคมที่สาคัญและ
กาหนดนโยบาย แผนงานในการป้องกันและแก้ไขปัญหาสังคมภาพรวมต่อไป

รายงานสถานการณ์ทางสังคมจังหวดั ร้อยเอ็ด ประจาปี ๒๕๖๕

3

สว่ นที่ ๒

ขอ้ มลู พ้ืนฐานในพน้ื ท่ีจงั หวัดร้อยเอด็

๒.๑ ที่ตง้ั และอาณาเขต

ตาราง แสดงท่ตี ัง้ และอาณาเขตพน้ื ที่จังหวัดรอ้ ยเอด็

จงั หวัด พ้ืนท่ี ไร่ จานวนประชากร ความหนาแน่น
รอ้ ยเอด็ ตารางกิโลเมตร (คน) ของประชากร
(ตร.กม./คน)

8,299.46 5,187,165 1,298,640 156.47

ทม่ี า กรมการปกครอง กระทรวงมหาดไทย ขอ้ มลู ณ วันท่ี ๓๑ ธนั วาคม ๒๕๖๔

๒.๒ ลกั ษณะภูมปิ ระเทศ

จังหวัดร้อยเอ็ด ตั้งอยู่บริเวณตอนกลางของภาคตะวันออกเฉียงเหนือของไทย ลักษณะภูมิประเทศ
โดยท่ัวไปเป็นท่ีราบสูง สูงจากระดับน้าทะเลปานกลางประมาณ 120 - 160 เมตร มีภูเขาทางตอนเหนือ
ซึ่งติดต่อจากเทือกเขาภูพาน บริเวณตอนกลางของจังหวัด มีลักษณะเป็นท่ีราบลูกคลื่น บริเวณตอนล่าง
มีลักษณะเป็นท่รี าบลุ่มริมฝ่ังแม่น้ามูลและสาขา ได้แก่ ลาน้าชี ลาน้าพลับพลา ลาน้าเตา เป็นต้น บริเวณท่ีราบ
ต่าอนั กว้างขวาง เรียกว่า ท่งุ กลุ ารอ้ งไห้ มพี นื้ ท่ปี ระมาณ 80,000 ไร่ มีลักษณะเปน็ ทร่ี าบแอ่งกระทะ

๒.๓ ลกั ษณะภมู ิอากาศ

จังหวัดร้อยเอ็ดได้รับอิทธิพลจากลมมรสุมตะวันออกเฉียงเหนือและลมมรสุมตะวันตกเฉียงใต้
สภาพภูมิอากาศอยู่ในประเภทฝนเมืองร้อน ปริมาณน้าฝนเฉล่ีย 1,196.80 ลูกบาศก์มิลลิเมตร ฝนตกชุก
ในเดือนมถิ นุ ายนถงึ ตุลาคม อากาศรอ้ นแหง้ แลง้ ในเดือนมนี าคมถงึ พฤษภาคม

๒.๔ ขอ้ มูลการปกครอง

ตาราง แสดงจานวนเขตการปกครองพื้นที่จงั หวดั ร้อยเอ็ด

จังหวดั อาเภอ ตาบล หม่บู า้ น อบจ. เทศบาล เทศบาล เทศบาล (หน่วย:แห่ง)
ร้อยเอ็ด นคร เมอื ง ตาบล อบต.
20 193 2446
1 - 1 72 129

ทีม่ า : กรมการปกครอง กระทรวงมหาดไทย, วนั ที่ ๓๑ ธนั วาคม ๒๕๖๔

จังหวัดร้อยเอ็ด แบ่งการปกครองแบ่งออกเป็น 20 อาเภอ 19 3 ตาบล 2,446 หมู่บ้าน

มีองค์กรปกครองส่วนท้องถ่ินท้ังหมด 203 แห่ง โดยแบ่งองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น จานวน 3 รูปแบบ คือ

องค์การบริหารส่วนจังหวัด 1 แห่ง, เทศบาลเมือง 1 แห่ง คือ เทศบาลเมืองร้อยเอ็ด, เทศบาลตาบล 72 แห่ง

และองคก์ ารบรหิ ารสว่ นตาบล 129 แหง่ (อ. เมืองรอ้ ยเอด็ มี 14 ตาบล (ไมร่ วม ตาบลในเมือง จานวน 20 ชมุ ชน)

รายงานสถานการณ์ทางสงั คมจงั หวัดร้อยเอด็ ประจาปี ๒๕๖๕

4

๒.๕ ดา้ นประชากร

ตาราง แสดงจานวนประชากรแยกตามช่วงอายุ จาแนกตามเพศ จังหวดั ร้อยเอ็ด

อายุ ๐-๑๗ ปี อายุ ๑๘ – ๒๕ ปี อายุ ๒๖ – ๕๙ ปี (หนว่ ย : คน)

อายุ ๖๐ ปขี ึ้นไป

จงั หวัด ชาย หญงิ รวม ชาย หญิง รวม ชาย หญงิ รวม ชาย หญงิ รวม

ร้อยเอด็ 120,633 114,099 234,732 68,507 64,575 133,082 343,701 342,632 686,333 109,042 132,824 241,866

ทีม่ า: ระบบสถิติทางทะเบียน กรมการปกครอง ข้อมลู ณ ๓๑ ธันวาคม ๒๕๖๔

จังหวัดร้อยเอ็ด มีประชากรจานวน 1,296,013 คน เป็นเพศชาย จานวน 641,883 คน
คิดเป็นร้อยละ 49.52 เพศหญิง จานวน 654,130 คน คิดเป็นร้อยละ 50.54 โดยแบ่งเป็นประชากร
ช่วงอายุ 0 – 17 ปี จานวน 234,732 คน คิดเป็นร้อยละ 18.11 ประชากรช่วงอายุ 18 - 25 ปี
จานวน 133,082 คน คิดเป็นร้อยละ 10.26 ประชากรช่วงอายุ 26 - 59 ปี จานวน 686,333 คน
คดิ เป็นร้อยละ 52.95 ประชากรช่วงอายุ 60 ปขี ึ้นไป จานวน 241,866 คน คดิ เป็นร้อยละ 18.66

๒.๖ ดา้ นศาสนา ประเพณี วัฒนธรรม และข้อมูลชาติพันธุ์

ด้านศาสนาประชาชนส่วนใหญ่ นับถือศาสนาพุทธ ร้อยละ 97.72 มีวัด 1,541 แห่ง พระสงฆ์
7,944 รูป สามเณร 908 รปู นอกจากน้ันนบั ถือศาสนาอื่นๆ เช่น ศาสนาครสิ ต์ อิสลาม ซิกข์

(ท่มี า: ศนู ยเ์ ทคโนโลยสี ารสนเทศ สานกั งานพระพทุ ธศาสนาแห่งชาติ ณ 30 กันยายน 2560)

๒.๗ ด้านสาธารณสุข

ตาราง แสดงจานวนหนว่ ยบรกิ ารสาธารณสุข ภาครัฐและภาคเอกชน จังหวัดรอ้ ยเอ็ด

(หนว่ ย:แหง่ )

จังหวดั โรงพยาบาลสงั กดั ภาครฐั (แห่ง) โรงพยาบาลสังกัดเอกชน (แหง่ )
รพศ. รพท. รพช. รพ.สต. อน่ื ๆ

ร้อยเอ็ด 1 - 19 231 3 2

ที่มา HDC Report กระทรวงสาธารณสุข ณ วันที่ 31 มนี าคม 2565

หมายเหต.ุ รพศ.=โรงพยาบาลศนู ย์
รพท. = โรงพยาบาลทวั่ ไป
รพ.สต. = โรงพยาบาลส่งเสรมิ สขุ ภาพตาบล
รพช. = โรงพยาบาลชุมชน อ่ืน ๆ

จังหวัดร้อยเอ็ดมีหน่วยบริการสาธารณสุขท้ังภาครัฐและเอกชน รวมจานวน 256 แห่ง แบ่งเป็น
โรงพยาบาลศูนย์ 1 แห่ง โรงพยาบาลชมุ ชน 19 แห่ง โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตาบล 231 แห่ง สานักงาน
สาธารณสขุ อาเภอ 20 แหง่ โรงพยาบาลสังกดั เอกชน 2 แหง่ และอ่นื ๆ 3 แห่ง

รายงานสถานการณ์ทางสังคมจังหวัดร้อยเอด็ ประจาปี ๒๕๖๕

5

ตาราง แสดงจานวนประชากรต่อแพทย์จงั หวดั รอ้ ยเอด็ ประชากร (หนว่ ย : คน)
จงั หวัด แพทย์
ประชากรต่อแพทย์

รอ้ ยเอด็ 910 1,296,013 1,424 : 1

ท่ีมา : ฐานขอ้ มลู สารสนเทศ กระทรวงสาธารณสุข https://hdcservice.moph.go.th/ ข้อมูล ณ วนั ที่ 31 มนี าคม 2565

จงั หวดั ร้อยเอด็ มีแพทย์ จานวน 910 คน โดยคิดสัดส่วนแพทย์ 1 คน ตอ่ ประชากร 1,424 คน

ตาราง แสดงสาเหตุการตาย ๕ อนั ดบั แรกจากโรคต่างๆ จังหวดั ในเขตพ้ืนที่จังหวัดร้อยเอ็ด

(หน่วย:คน)

จังหวัด โรคมะเร็งทุก โรคความดัน โรคไตอกั เสบ กลมุ่ โรคอุบัตเิ หตุ โรคปอดอักเสบ

ชนดิ (C00 - เลอื ดสูง และ อาการของไต และการเปน็ พิษ และโรคอื่นๆ

D48) โรคหลอดเลอื ด พิการ และไต ของปอด

ในสมอง พิการ

รอ้ ยเอ็ด 2,033 1,131 805 722 716

ทมี่ า : ฐานข้อมูลสารสนเทศ กระทรวงสาธารณสขุ https://hdcservice.moph.go.th/ ขอ้ มูล ณ วนั ท่ี 31 มนี าคม 2565

จากการวิเคราะห์สาเหตุการตาย ข้อมูลจากมรณบัตร จังหวัดร้อยเอ็ด ปี 2560 - 2564 พบว่า
สาเหตกุ ารตายท่สี าคญั คอื มะเร็งทกุ ชนิด ความดนั โลหติ สงู และหลอดเลอื ดในสมอง และโรคไต

๒.๘ ดา้ นการศึกษา

ตาราง สถานศึกษาในระบบ นอกระบบ จาแนกรายสังกดั จงั หวัดร้อยเอ็ด ปีการศึกษา 256๔

(หน่วย:จานวน:แหง่ )

รายการสถานศึกษา (แหง่ )

จงั หวัด ในระบบ นอกระบบ รวม

สพฐ. เอกชน อาชวี ศกึ ษา อุดมศกึ ษา ทอ้ งถ่ิน สานักพทุ ธ ฯ กศน.

ร้อยเอด็ 842 60 20 2 547 14 20 1,505

ทม่ี า : สานกั งานปลัดกระทรวงศกึ ษาธิการ ข้อมลู ณ วันที่ 31 มนี าคม 2565

จงั หวัดรอ้ ยเอด็ มีสถานศึกษาในระบบ นอกระบบ จานวนทั้งส้ิน 1,505 แห่ง โดยมีสถานศึกษาสังกัด
สานักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพ้ืนฐานมากท่ีสุด จานวน 842 แห่ง รองลงมาคือ สถานศึกษาสังกัด
องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น จานวน 547 แห่ง และสานักงานคณะกรรมการส่งเสริมการศึกษาเอกชน
จานวน 60 แห่ง ตามลาดับ

รายงานสถานการณ์ทางสงั คมจงั หวัดรอ้ ยเอ็ด ประจาปี ๒๕๖๕

6

ตาราง จานวนนกั เรยี นนกั ศกึ ษาในระบบ จาแนกตามระดับชัน้ ปี พ.ศ. ๒๕๖๔

(หนว่ ย:คน)

จงั หวดั ระดับการศึกษา (คน) ป.ตรี รวม
อนบุ าล ประถม ม.ตน้ ม.ปลาย ปวช. ปวส.

ร้อยเอด็ 25,182 77,322 45,156 34,119 14,179 5,757 5,661 207,376

ทม่ี า : ศูนยเ์ ทคโนโลยสี ารสนเทศและการส่อื สาร สานกั งานปลัดกระทรวงศกึ ษาธิการ ขอ้ มลู ณ วนั ท่ี 31 มีนาคม 2565

จังหวัดร้อยเอ็ด มีจานวนนักเรียนในระบบ ในปี พ.ศ. 2564 จาแนกตามระดับชั้น อนุบาล - ป.ตรี
มีจานวนทั้งสิน้ 207,376 คน โดยคิดสดั สว่ นนักเรยี นรายระดบั ชนั้ ดงั น้ี ระดบั อนบุ าล คดิ เป็นร้อยละ 12.14
ระดับประถมศึกษา คิดเป็นร้อยละ 3 7.26 ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น คิดเป็นร้ อยละ 21.77
ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย คิดเป็นร้อยละ 16.45 ระดับ ปวช. คิดเป็นร้อยละ 6.83 ระดับ ปวส. คิดเป็น
รอ้ ยละ 2.77 ระดับปริญญาตรี คิดเปน็ รอ้ ยละ 2.72

ตาราง จานวนผเู้ รียนนอกระบบโรงเรยี น จาแนกตามระดับการศึกษา ปกี ารศกึ ษา 2560 - 2564

จงั หวดั ปีการศึกษา

2560 2561 2562 2563 2564

ร้อยเอด็ 30,204 22,903 44,903 22,473 21,492

ทม่ี า : ศูนยเ์ ทคโนโลยสี ารสนเทศและการสอื่ สาร สานักงานปลัดกระทรวงศึกษาธกิ าร ข้อมลู ณ วันท่ี 31 มนี าคม 2565

จังหวัดรอ้ ยเอ็ด มผี ้เู รยี นนอกระบบโรงเรียน ปีการศึกษา 2560 – 2564 รวมท้ังส้ิน 141,975 คน
โดยในปีการศึกษา 2562 มีจานวนผู้เรียนมากที่สุด นอกจากน้ียังพบว่า ในช่วง 3 ปีท่ีผ่านา มีสัดส่วนผู้เรียน
นอกระบบโรงเรยี นนอ้ ยลงตามลาดบั

ตาราง จานวนนกั เรียนออกกลางคนั ระดับประถมศึกษา - มธั ยมศึกษาตอนปลาย สังกดั สานักงาน
คณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ปกี ารศึกษา 2560 - 2564

จังหวัด ปีการศึกษา

2560 2561 2562 2563 2564

รอ้ ยเอด็ no data no data no data no data 273

ทมี่ า : ศนู ย์เทคโนโลยสี ารสนเทศและการสอื่ สาร สานักงานปลดั กระทรวงศึกษาธกิ าร ขอ้ มลู ณ วนั ที่ 31 มนี าคม 2565

จากข้อมลู การประชมุ ผอู้ านวยการสานักงานเขตพน้ื ทกี่ ารศึกษา ท่วั ประเทศ ครั้งท่ี 1/2565 โดยได้มี

การแจง้ แนวทางการดาเนนิ งานติดตามคน้ หาเด็กตกหล่นและเด็กออกกลางคันให้กลับเข้าสู่ระบบการศึกษา

โดยจังหวัดรอ้ ยเอด็ มเี ด็กนอกระบบ จานวนทงั้ สน้ิ 273 ราย

รายงานสถานการณท์ างสงั คมจงั หวดั ร้อยเอ็ด ประจาปี ๒๕๖๕

7

๒.๙ ดา้ นแรงงาน

ตาราง ภาวะการมงี านทาของประชากรในจงั หวดั ร้อยเอด็ ไตรมาส 1 (มกราคม – มีนาคม ๒๕๖๕)

(หนว่ ย:คน)

จงั หวัด กาลงั แรงงานในปัจจบุ นั กาลงั แรงงานทีร่ อ ผู้ไม่อยูใ่ นกาลังแรงงาน

ผ้มู งี านทา ผวู้ า่ งงาน ฤดูกาล ทางานบ้าน เรียนหนังสือ อน่ื ๆ

รอ้ ยเอ็ด 553,930 1,108 30,271 45,136 73,519 133,580

ทม่ี า : สานกั งานสถติ แิ หง่ ชาติ ข้อมูล ณ วนั ท่ี 31 มีนาคม 2565

ประชากรวัยแรงงาน ไตรมาส 1 ปี 2565 พบว่า จังหวัดร้อยเอ็ดมีประชากรที่อยู่ในวัยทางานหรือ
อายุ 15 ปีข้ึนไป จานวน 856,320 คน เป็นผู้อยู่ในกาลังแรงงาน 585,309 คน ผู้มีงานทา 553,930 คน
ผู้ว่างงาน 1,108 คน และผรู้ อฤดกู าล 30,271 คน

การมีงานทาผู้มีงานทาในจังหวัดร้อยเอ็ด จานวน 553,930 คน (ร้อยละ 94.63) ของผู้อยู่ในกาลัง
แรงงาน ทางานในภาคการเกษตร การป่าไม้ และการประมง จานวน 298,416 คน (ร้อยละ 50.98)
และจาแนกตามอุตสาหกรรม ดังน้ี การขายส่งและการขายปลีกการซ่อมแซมยานยนต์และจักรยานยนต์
70,392 คน (ร้อยละ 12.02) กิจกรรมบริการด้านอื่นๆ จานวน 32,835 คน (ร้อยละ 5.6) การบริหาร
ราชการ การป้องกันประเทศ และการประกันสังคมภาคบังคับ จานวน 29,614 คน (ร้อยละ 5.05)
การก่อสร้างจานวน 24,653 คน (ร้อยละ 4.21) การผลิต จานวน 22,027 คน (ร้อย ละ 3.76)
ของผ้มู งี านทาทั้งหมด ตามลาดบั

ตาราง จานวนคนต่างด้าวที่ได้รับอนญุ าตทางานคงเหลอื พ.ศ.256๐ - 256๔ ของจังหวดั รอ้ ยเอ็ด
(หน่วย: คน)

จงั หวดั 2560 2561 256๒ 256๓ 2564

ร้อยเอ็ด 585 895 807 1,165 725

ท่ีมา : สานกั งานสถติ ิแหง่ ชาติ ข้อมลู ณ วนั ท่ี 31 ธันวาคม 256๔

จานวนคนต่างด้าวที่ได้รับอนุญาตทางาน ณ ปี 2564 มีจานวนท้ังส้ิน 725 คน โดยแรงงานต่างด้าว
ส่วนใหญ่เป็นประเภทชั่วคราว 3 สัญชาติ คือ พม่า ลาว กัมพูชา เป็นการจ้างงานเพ่ือทดแทนการขาดแคลน
แรงงานในจังหวดั

๒.๑๐ ดา้ นทอี่ ยอู่ าศัย

ตาราง แสดงจานวนชุมชนผมู้ รี ายไดน้ อ้ ยของจังหวดั ร้อยเอด็ พ.ศ. 2565

(หน่วย:แห่ง:คน)

จงั หวัด จานวน ชุมชนแออัด ชุมชนเมือง ชมุ ชนชานเมอื ง จานวน จานวน จานวน

ชมุ ชน ชมุ ชน ครวั เรอื น ชุมชน ครัวเรอื น ชุมชน ครัวเรอื น บ้าน ครัวเรอื น ประชากร

ร้อยเอ็ด 3 3 80 0 0 0 0 68 80 320

ทม่ี า : กองยทุ ธศาสตรแ์ ละสารสนเทศทอี่ ยู่อาศยั ฝา่ ยวชิ าการพัฒนาที่อยอู่ าศยั การเคหะแห่งชาติ ขอ้ มูล ณ 31 มนี าคม 2565

รายงานสถานการณท์ างสังคมจังหวัดรอ้ ยเอด็ ประจาปี ๒๕๖๕

8

จากการสารวจชุมชนผู้มีรายได้น้อย ปี 2562 ของการเคหะแห่งชาติ พบว่า มีชุมชนผู้มีรายได้น้อย
ทั่วประเทศ ท้ังหมดประมาณ 1,678 ชุมชน จานวนบ้าน 102,139 หลังคาเรือน จานวนครัวเรือน
118,345 ครัวเรือน และจานวนประชากร 473,380 คน โดยจาแนกประเภทชุมชนได้ ดังนี้ คือ ชุมชน
แออัด 1,561 ชุมชน 108,871 ครัวเรือน ชุมชนเมือง 34 ชุมชน 2,210 ครัวเรือน และชุมชนชานเมือง
83 ชุมชน 7,264 ครัวเรือน ในขณะที่จังหวัดร้อยเอ็ด มีชุมชนผู้มีรายได้น้อย จานวน 3 ชุมชน ซึ่งเป็นชุมชน
แออัดทงั้ หมด โดยประกอบด้วย 80 ครวั เรอื น 68 บา้ น และมีประชากรจานวน จานวน 320 คน

๒.๑๑ ด้านเศรษฐกิจและรายได้

ผลติ ภัณฑ์มวลรวม

ตาราง แสดงการขยายตัวของผลติ ภณั ฑม์ วลรวมจังหวดั รอ้ ยเอ็ด

จังหวัด ปี ๒๕๖2 อตั ราการขยายตัว GPP (รอ้ ยละ) (หน่วย:ร้อยละ)
ปี ๒๕๖3
ปี ๒๕๖4

ร้อยเอด็ 0.1 -0.2 2.4

ทีม่ า: สานักงานคณะกรรมการพัฒนาเศรษฐกิจและสงั คมแห่งชาติ ข้อมลู ณ 31 มนี าคม 2565

ผลิตภัณฑ์มวลรวมจังหวัด (Gross Provincial Product : GPP) เป็นข้อมูลรายได้ประชาชาติระดับ
จังหวดั ท่ีอธบิ ายภาพรวมด้านเศรษฐกิจของจังหวัดได้ เป็นการประมวลผลรวมรายได้ท่ีมาจากกิจกรรมการผลิต
ท้ังหมดท่ีดาเนินการอยู่ในพื้นที่ของจังหวัด ซ่ึงจากข้อมูลดังกล่าว พบว่า การขยายตัวของผลิตภัณฑ์มวลรวม
จังหวัดร้อยเอ็ด ในช่วงปี 2562 – 2564 มีอัตราการขยายตัวเพ่ิมข้ึนในปี 2564 จากมาตรการกระตุ้น
เศรษฐกจิ ของภาครัฐ

ตาราง แสดงผลิตภณั ฑ์จงั หวดั ต่อหัว (GPP per capita) ปี ๒๕๖๔

จังหวดั บาทต่อปี

รอ้ ยเอ็ด 76,334

ท่มี า: ผลิตภัณฑภ์ าคและจงั หวดั แบบปรมิ าณลกู โซ่ ฉบับ พ.ศ. 256๔ สานกั งานคณะกรรมการพฒั นาเศรษฐกิจและสงั คมแห่งชาติ

ผลติ ภณั ฑจ์ ังหวัดตอ่ หวั (GPP per capita) ปี 2563 มูลค่าสูงสุด 10 อันดับแรกส่วนใหญ่อยู่ในพ้ืนที่
ภาคตะวันออก เขตกรุงเทพฯและปริมณฑล และภาคกลาง โดยส่วนใหญ่เป็นจังหวัดท่ีมีการผลิตจากภาคนอก
เกษตรเป็นหลัก ได้แก่ สาขาอุตสาหกรรม สาขาการขายส่งและการขายปลีกฯ สาขากิจกรรมทางการเงินและ
การประกันภัย และสาขาการขนส่งและสถานที่เก็บสินค้า โดยจังหวัดท่ีมีมูลค่าผลิตภัณฑ์จังหวัดต่อหัวสูงสุด
10 อันดับแรก ได้แก่ ระยอง กรุงเทพมหานคร ปราจีนบุรี ชลบุรีพระนครศรีอยุธยา ฉะเชิงเทราสมุทรสาคร
สระบุรี นครปฐม และสมุทรปราการ โดยจังหวัดระยอง ซ่ึงจังหวัดร้อยเอ็ดอยู่ในลาดับท่ี 63 จาก 76 จังหวัด
โดยผลติ ภณั ฑ์จงั หวดั ต่อหวั (GPP per capita) ปี ๒๕๖2 เท่ากับ 736,334 บาทตอ่ ปี

รายงานสถานการณท์ างสังคมจงั หวัดรอ้ ยเอด็ ประจาปี ๒๕๖๕

9

ตาราง แสดงรายได้โดยเฉล่ยี ต่อเดือนตอ่ ครวั เรือนของจงั หวดั ร้อยเอด็ พ.ศ. ๒๕๖๐ – ๒๕๖๔

จงั หวัด ๒๕๖๐ ๒๕๖๒ (หน่วย:บาท)

๒๕๖๔

รอ้ ยเอด็ 19,026.86 18,818.99 17,714

ที่มา สานกั งานสถิติแห่งชาติ

รายได้โดยเฉลี่ยต่อเดือนต่อครัวเรือนของจังหวัดร้อยเอ็ด พ.ศ. ๒๕60 – ๒๕๖4 มีแนวโน้มลดลง
เร่ือยๆ ทัง้ น้สี าเหตุสบื เน่ืองมาจากภาวะเศรษฐกจิ และการแพรร่ ะบาดของโรค

ตาราง แสดงหนสี้ ินเฉล่ียตอ่ ครวั เรอื น จาแนกตามวัตถุประสงค์ของการกยู้ มื พ.ศ. ๒๕๖๐ – ๒๕๖๔

(หนว่ ย:บาท)

จงั หวัด วตั ถุประสงค์ของการกยู้ ืม ๒๕๖๐ ๒๕๖๒ ๒๕๖๔

หน้สี นิ ทั้งสิน้ 182,395.82 97,318.13 155,726

เพอ่ื ใช้จา่ ยในครัวเรือน 91,232.64 57,420.40 36,321

ร้อยเอ็ด เพื่อใชท้ าธรุ กจิ ท่ีไม่ใช่ 9,740.28 4,810.77 9,116
การเกษตร 46,786.40 19,690.78 39,109

เพ่ือใชท้ าการเกษตร

เพื่อใช้ในการศึกษา 6,980.14 4,583.33 4,534

เพื่อใช้ซอ้ื /เชา่ ซ้ือบา้ นและที่ดิน 26,649.33 10,652.79 66,380

อื่นๆ 1,007.03 160.07 277

ทมี่ า สานกั งานสถติ ิแห่งชาติ
หมายเหต:ุ หน้ีอนื่ ๆ ได้แก่ หนจ้ี ากการคา้ ประกันบคุ คลอน่ื หน้คี า่ ปรบั หรือจา่ ยชดเชยคา่ เสยี หายเปน็ ตน้

ข้อมูลแสดงหน้ีสินเฉล่ียต่อครัวเรือน จาแนกตามวัตถุประสงค์ของการกู้ยืม พ.ศ. ๒๕๖4 พบว่า
จังหวัดร้อยเอ็ด มีการกู้หนี้เพื่อใช้ซื้อ/เช่าซ้ือบ้านและที่ดิน มากที่สุด ร้อยละ 42.6 รองลงมาคือกู้เพ่ือใช้ใน
การเกษตร รอ้ ยละ 25.1 และการกู้เพอ่ื ใช้อปุ โภค บรโิ ภค รอ้ ยละ 23.3 ตามลาดับ

๒.๑๒ ดา้ นภาคเี ครือขา่ ย (หน่วย : แหง่ )

ตาราง แสดงจานวนองค์กรภาคีเครือข่าย จานวน
58
องค์กร 156
องค์กรสาธารณประโยชน์ ตาม พ.ร.บ. สง่ เสริมการจดั สวสั ดิการสงั คม 179
องค์กรสวัสดิการชมุ ชน ตาม พ.ร.บ. สง่ เสรมิ การจัดสวัสดกิ ารสงั คม 202
กองทุนสวัสดิการสังคม 1
สภาเดก็ และเยาวชน 151
สภาองคก์ รคนพิการ 40
ศูนย์บรกิ ารคนพกิ ารทัว่ ไป
ศนู ย์พัฒนาคุณภาพชีวติ และส่งเสรมิ อาชพี ของผ้สู ูงอายุ (ศพอส.)

รายงานสถานการณท์ างสังคมจังหวัดร้อยเอ็ด ประจาปี ๒๕๖๕

10

องคก์ ร จานวน
ศนู ยพ์ ฒั นาครอบครวั ในชมุ ชน (ศพค.) 199

ศูนย์ช่วยเหลอื สังคมตาบล (ศชส.ต.) 193

อาสาสมคั รพัฒนาสังคมและความมน่ั คงของมนุษย์ (อพม.) ณ วนั ที่ 8,824
ขอ้ มูลคลงั ปัญญาผู้สงู อายุ 86

ที่มา สานักงานพฒั นาสงั คมและความมนั่ คงของมนุษย์จงั หวัด ขอ้ มลู ณ วนั ท่ี 31 มนี าคม 2565

ข้อมูลภาคีเครือข่ายทางสังคม ซ่ึงเป็นกลไกขับเคลื่อนงานในระดับพื้นที่ ประกอบด้วย
องคก์ รสาธารณประโยชน์ ตาม พ.ร.บ. สง่ เสรมิ การจดั สวัสดิการสงั คม จานวน 58 แหง่ องคก์ รสวัสดิการชุมชน
จานวน 156 แห่ง กองทุนสวัสดิการสังคม 179 แห่ง สภาเด็กและเยาวชน จานวน 202 แห่ง ศูนย์บริการ
คนพิการทั่วไป จานวน 151 แห่ง ศูนย์พัฒนาคุณภาพชีวิตและส่งเสริมอาชีพของผู้สูงอายุ (ศพอส.)
จานวน 40 แหง่ ศูนย์พฒั นาครอบครัวในชุมชน (ศพค.) จานวน 199 แห่ง ศูนย์ช่วยเหลือสังคมตาบล จานวน
193 แห่ง อาสาสมัครพฒั นาสงั คมและความมั่นคงของมนษุ ย์ (อพม.) จานวน 8,824 คน

รายงานสถานการณท์ างสังคมจังหวัดรอ้ ยเอ็ด ประจาปี ๒๕๖๕

11

ส่วนที่ ๓

สถานการณ์กล่มุ เปา้ หมายทางสงั คมระดับจังหวัดรอ้ ยเอด็

๓.๑ กลุม่ เดก็ (อายตุ า่ กว่า ๑๘ ปี บริบูรณ)์

ตาราง แสดงสถานการณ์เด็ก จงั หวัดรอ้ ยเอ็ด

จงั หวดั จานวน (๑) (๒) (๓) (๔) (๕) (๖) (หนว่ ย:คน)
เดก็ ทีถ่ ูก เดก็ ทอี่ ยู่ เด็กที่ เด็กนอก
กลุ่มเป้า เดก็ ทไี่ ด้รับ *เดก็ ที่มี ทารุณกรรม ในครอบ ตัง้ ครรภ์ ระบบ (๗)
ทางรา่ งกาย ครัวเลย้ี ง กอ่ นวยั เดก็ ไร้
หมาย เงิน พฤติกรรม จิตใจและ เด่ียว อันควร 273 สัญชาติ
ทางเพศทม่ี ี
ทัง้ หมด อดุ หนนุ ไม่ 66 786 No data
การ
เพื่อการ เหมาะสม ดาเนินคดี

เล้ยี งดูเด็ก 6

แรกเกดิ

รอ้ ยเอด็ 234,732 51,058 13

แหล่งทีม่ าของขอ้ มลู ณ วันที่ 31 มีนาคม 2565
หมายเหตุ *เด็กที่มีพฤติกรรมไมเ่ หมาะสม หมายถงึ

1) ดืม่ เคร่อื งด่ืมทมี่ แี อลกอฮอล์ สบู บุหรแี่ ละตดิ สารเสพติดรา้ ยแรง เชน่ ยาบ้า ยาอี สารระเหย กญั ชา เป็นตน้
2) มว่ั สมุ และทาความราคาญใหก้ บั ชาวบ้าน
3) ตดิ เกมส์ และเลน่ การพนนั ตา่ ง ๆ
4) มีพฤติกรรมทางเพศ
5) อืน่ ๆ (ระบุ) ................-..............................
**เด็กนอกระบบ หมายถึง เด็กทีม่ อี ายอุ ยใู่ นช่วงทีต่ ้องเขา้ เรยี นในสถานศกึ ษา แตไ่ ม่มโี อกาสเข้าเรียนหรือเคยเขา้
เรียนแล้ว มเี หตตุ ้องออกจากสถานศกึ ษาไปกลางคนั และไมไ่ ดก้ ลับเข้ามาเรยี นอกี (UNESCO, 2019)
***เด็กไรส้ ัญชาติ หมายถึง เด็กทไี่ มม่ สี ัญชาตใิ ดเลย (ไม่วา่ จะเปน็ สญั ชาตไิ ทยหรือสัญชาตริ ัฐใดๆ) แต่อาจไดร้ บั การ
ระบตุ วั ตนทางกฎหมายในรูปแบบใดรูปแบบหน่ึง เชน่ ไดร้ บั การจดทะเบยี นการเกิด ไดข้ ึน้ ทะเบียนเปน็ บุคคลไร้สัญชาตใิ นกลมุ่ ต่าง ๆ

(๑) เด็กทไี่ ดร้ บั เงนิ อดุ หนุนเพอ่ื การเลยี้ งดเู ดก็ แรกเกดิ ข้อมลู จากสานกั งานพฒั นาสงั คมและความม่ันคง
ของมนษุ ยจ์ งั หวดั

(๒) เด็กทม่ี ีพฤติกรรมไม่เหมาะสม ขอ้ มลู จากสานักงานพัฒนาสงั คมและความมน่ั คงของมนษุ ย์จงั หวัด .
(๓) เดก็ ท่ีถกู ทารณุ กรรมทางรา่ งกายจติ ใจและทางเพศทม่ี ีการดาเนนิ คดี ขอ้ มลู จากสานักงานพัฒนาสงั คม
และความมน่ั คงของมนษุ ยจ์ งั หวดั .
(๔) เด็กทอี่ ย่ใู นครอบครวั เลย้ี งเด่ียว ข้อมูลจากสานักงานพัฒนาสังคมและความม่นั คงของมนุษยจ์ งั หวดั .
(๕) เดก็ ทีต่ ้ังครรภ์กอ่ นวยั อนั ควรและไม่พร้อมในการเลย้ี งดู ทม่ี าจากสานักงานสาธารณสขุ จงั หวัด

(๖) เด็กนอกระบบ ขอ้ มลู จากสานกั งานสานกั งานศกึ ษาธกิ ารจังหวดั

(๗) เด็กไรส้ ญั ชาติ ขอ้ มูลจากกรมการปกครอง กระทรวงมหาดไทย

สถานการณ์เด็กในจังหวัดร้อยเอ็ด มีจานวน 234,732 คน โดยมีจานวนเด็กอายุ 0 – 6 ปี ท่ีได้รับ
เงินอุดหนุนเพื่อการเล้ียงดูเด็กแรกเกิด จานวน 51,058 คน เด็กท่ีมีพฤติกรรมไม่เหมาะสม ท่ีเข้ารับการดูแลใน
บ้านพกั เดก็ และครอบครัวจังหวัดร้อยเอ็ด ในปีงบประมาณ 2565 จานวน 13 คน เด็กท่ีถูกทารุณกรรมทางร่างกาย
จิตใจ จานวน 6 คน และเด็กท่ีมีอายุอยู่ในช่วงที่ต้องเข้าเรียนในสถานศึกษา แต่ไม่มีโอกาสเข้าเรียนหรือเคยเข้าเรียน
แล้ว มีเหตุตอ้ งออกจากสถานศกึ ษาไปกลางคนั และไม่ไดก้ ลบั เข้ามาเรยี นอกี หรือเดก็ นอกระบบ จานวน 273 คน

รายงานสถานการณท์ างสงั คมจังหวดั ร้อยเอ็ด ประจาปี ๒๕๖๕

12

๓.๒ กลมุ่ เยาวชน (อายุ ๑๘ - ๒๕ ปี)

ตาราง แสดงสถานการณ์เยาวชน จงั หวดั รอ้ ยเอ็ด

จงั หวัด จานวนกลุ่มเป้าหมาย (๑) (หน่วย:คน)
รอ้ ยเอด็ ท้ังหมด **เยาวชนทีม่ พี ฤติกรรม
(๒)
133,082 ไมเ่ หมาะสม เยาวชนทีถ่ กู ทารุณกรรม
184 ทางร่างกายจิตใจและทางเพศ

(เม.ย. 63 - ก.พ. 64) No data

หมายเหตุ *เยาวชนท่มี พี ฤตกิ รรมไมเ่ หมาะสม หมายถึง
1) ดื่มเครือ่ งด่ืมทีม่ แี อลกอฮอล์ สบู บหุ ร่ีและติดสารเสพตดิ รา้ ยแรง เช่น ยาบ้า ยาอี สารระเหย กญั ชา เป็นต้น
2) มั่วสมุ และทาความราคาญใหก้ บั ชาวบา้ น
3) ตดิ เกมส์ และเลน่ การพนันตา่ ง ๆ
4) มพี ฤตกิ รรมทางเพศ
5) อ่ืน ๆ (ระบุ) ..............................................

แหล่งท่ีมาของข้อมลู ณ วนั ท่ี 31 มนี าคม 2565
(๑) เยาวชนท่ีมีพฤติกรรมไม่เหมาะสม สถานพินิจคุ้มครองเด็กและเยาวชนจังหวัดร้อยเอ็ด ข้อมูล ณ

กมุ ภาพันธ์ 2564

(๒) เยาวชนท่ีถูกทารุณกรรมทางร่างกายจิตใจและทางเพศ ข้อมูลจากสานักงานพัฒนาสังคมและความ

มนั่ คงของมนษุ ยจ์ ังหวัด

สถานการณ์เยาวชนจังหวัดร้อยเอด็ มีเยาวชน จานวน 133,082 คน (รอ้ ยละ 10.26) โดยมเี ยาวชน
ท่มี ีพฤตกิ รรมไมเ่ หมาะสม จานวน 184 คน

๓.๓ กล่มุ สตรี (หญิงทม่ี ีอายุ ๒๕ ปี – ๕๙ ปี)

ตาราง แสดงสถานการณ์กล่มุ สตรี จังหวดั ร้อยเอ็ด

(หนว่ ย:คน)

จงั หวดั จานวน (๑) (๒) (๓) (๔)
รอ้ ยเอ็ด กลมุ่ เป้าหมา สตรีท่ีถูกละเมดิ สตรที ่ถี กู ทา แม่เลี้ยงเดี่ยว สตรีทถี่ กู เลกิ
ยท้ังหมด รายรา่ งกาย ฐานะยากจน จ้าง/ตกงาน
ทางเพศ
654,130 จติ ใจ 954 691
no data
4

หมายเหตุ แหล่งทีม่ าของขอ้ มูล ณ วันท่ี 31 มนี าคม 2565
(๑) สตรที ี่ถูกละเมดิ ทางเพศ ท่ีมาจาก…………-……….

(๒) สตรีทีถ่ กู ทาร้ายรา่ งกาย จติ ใจ ทม่ี าจาก บ้านพักเดก็ และครอบครัวจังหวัดร้อยเอด็

(๓) แมเ่ ลี้ยงเดย่ี วฐานะยากจนทีต่ ้องเล้ยี งดูบตุ รเพียงลาพัง ทีม่ าจาก สานักงานพฒั นาสงั คมฯ จงั หวัดรอ้ ยเอด็

(๔) สตรที ถ่ี กู เลกิ จา้ ง/ตกงาน ทม่ี าจาก สานักงานแรงงานจังหวัดร้อยเอด็

สถานการณ์กลุ่มสตรีในจังหวัดร้อยเอ็ด มีจานวนสตรีท้ังหมด 654,130 คน (ร้อยละ 50.47)
โดยมีสตรีที่เป็นแม่เลี้ยงเดี่ยวที่มีฐานะยากจน จานวน 954 คน และสตรีวัยแรงงานตกงานหรือถูกเลิกจ้าง
จานวน 691 คน

รายงานสถานการณ์ทางสงั คมจงั หวัดรอ้ ยเอด็ ประจาปี ๒๕๖๕

13

๓.๔ กลุ่มครอบครัว

ตาราง แสดงสถานการณก์ ลุม่ ครอบครัวจังหวัดร้อยเอด็

(หน่วย:ครอบครวั )

จงั หวัด จานวน (๑) (๒) (๓) (๔)
รอ้ ยเอ็ด กลมุ่ เป้าหมาย ครอบครัวทีจ่ ด ครอบครวั หย่า ครอบครวั ท่มี ีคนใน ครอบครัว
ทะเบยี นสมรส ครอบครัวกระทา ยากจน
ทงั้ หมด รา้ ง ความรนุ แรงต่อกนั
3,796
400,811 1,696 18 6,941

หมายเหตุ แหล่งท่ีมาของขอ้ มูล ณ วนั ที่ 31 มนี าคม 2565
(๑) ครอบครัวทจี่ ดทะเบยี นสมรส ทม่ี าจากกรมการปกครอง
(๒) ครอบครัวหยา่ รา้ ง ทีม่ าจากกรมการปกครอง
(๓) ครอบครัวทม่ี ีคนในครอบครวั กระทาความรนุ แรงต่อกนั ทมี่ าจาก สนง.พฒั นาสงั คมฯ
(๔) ครอบครัวยากจน ทม่ี าจาก ระบบ TPMAP

สถานการณ์กลุ่มครอบครัว พบว่า จังหวัดร้อยเอ็ด มีครอบครัว จานวน 400,811 ครอบครัว
เป็นครอบครัวหย่าร้าง จานวน 1,693 ครอบครัว คิดเป็นร้อยละ 0.42 ของครอบครัวทั้งจังหวัด มีสถิติการ
คมุ้ ครองผถู้ กู กระทาด้วยความรุนแรงในครอบครัวโดยสานักงานพัฒนาสังคมและความม่ันคงของมนุษย์จังหวัด
ร้อยเอ็ด ช่วงเดือนตุลาคม 2563 - มิถุนายน 2564 จานวน 18 และมีครัวเรือนยากจนตาม ระบบ Thai People
Map and Analytics Platform (ระบบบริหารจัดการขอ้ มูลการพฒั นาคนแบบช้ีเป้า) จานวน 6,941 ครวั เรอื น

๓.๕ กล่มุ ผู้สงู อายุ (อายุ ๖๐ ปีข้นึ ไป)

ตาราง แสดงสถานการณผ์ สู้ งู อายุ จังหวดั ร้อยเอ็ด

(หนว่ ย:คน)

จงั หวัด จานวน (๑) (๒) (๓) (๔) (๕)
ร้อยเอด็ กลุม่ เป้าหมา ผูส้ ูงอายทุ ี่ ผ้สู งู อายุจาแนกตามความสามารถในการ ผู้สงู อายทุ ี่ ผ้สู งู อายุ ผูส้ งู อายุ
ยทั้งหมด ไดรบั เบี้ย ตอ้ งดารง มีท่ีอยู่ ทีบ่ ริจาค
ทากิจวตั รประจาวนั (ADL) ชพี ด้วย อาศยั ไม่ เบีย้ ยังชพี
241,866 ยงั ชพี การเรร่ ่อน เหมาะสม
ตดิ บา้ น ตดิ สังคม ช่วยเหลือ ขอทาน
207,116 ตัวเองไมได้ 52 -
(ตดิ เตียง) 6

3,140 129,327 656

หมายเหตุ แหล่งท่มี าของข้อมลู ณ วนั ที่ 31 มีนาคม 2565
(๑) ผู้สงู อายุทไี่ ด้รับเบี้ยยงั ชพี ทมี่ าจาก สนง.สง่ เสรมิ การปกครองทอ้ งถิ่นจังหวดั ร้อยเอด็
(๒) ผสู้ ูงอายจุ าแนกตามความสามารถในการทากิจวตั รประจาวนั (ADL) ที่มาจาก สานกั งานสาธารณสขุ จังหวัดร้อยเอ็ด
(๓) ผสู้ ูงอายทุ ี่ต้องดารงชีพดว้ ยการเรร่ อ่ น ขอทาน ที่มาจากศนู ยค์ มุ้ ครองคนไรท้ พ่ี ึ่งจังหวัดรอ้ ยเอ็ด
(๔) ผสู้ งู อายมุ ีทอี่ ยูอ่ าศยั ไม่เหมาะสม ท่มี าจาก สานกั งานพัฒนาสงั คมและความม่ันคงของมนุษยจ์ ังหวดั ร้อยเอด็
(๕) ผูส้ งู อายทุ บี่ รจิ าคเบย้ี ยงั ชีพ ท่มี าจาก…………-……….

สถานการณ์ผู้สูงอายุจังหวัดร้อยเอ็ด มีจานวน 241,866 คน (ร้อยละ 18.66) โดยเป็นผู้สูงอายุ
จาแนกตามความสามารถในการทากิจวัตรประจาวัน (ADL) ผู้สูงอายุติดบ้าน ร้อยละ 1.29 ติดสังคม 53.47

รายงานสถานการณ์ทางสงั คมจงั หวัดร้อยเอด็ ประจาปี ๒๕๖๕

14

ติดเตียง 0.27 และผู้สูงอายุท่ีได้รับการปรับสภาพแวดล้อมล้อมท่ีอยู่อาศัยตามภารกิจของกระทรวง พม.
จานวน 52 ราย

๓.๖ กลุ่มคนพกิ าร

ตาราง แสดงสถานการณ์คนพกิ าร จงั หวัดรอ้ ยเอด็

(หนว่ ย:คน)

คนพิการทม่ี บี ตั ร คนพิการทไี่ ด้รบั เบี้ยยังชีพ
ประจาตวั คนพิการ
จงั หวัด จานวน เบ้ียยงั ชีพ เบยี้ ยงั ชีพ
รอ้ ยเอ็ด 51,232 51,232 คนพกิ าร ผู้สูงอายุ

51,232 30,012

ที่มา ขอ้ มลู จากศนู ยบ์ รกิ ารคนพกิ ารจงั หวัด ณ วนั ท่ี ๓๑ มนี าคม ๒๕๖๕

สถานการณ์คนพิการจังหวัดร้อยเอ็ด พบว่า จังหวัดร้อยเอ็ดมีคนพิการที่จดทะเบียนคนพิการตาม
พระราชบัญญัติส่งเสริมและพัฒนาคุณภาพชีวิตคนพิการ พ.ศ.2550 และท่ีแก้ไขเพิ่มเติม จานวน 51,232 คน
โดยคนพกิ ารทสี่ ว่ นมากเป็นผู้สงู อายุ ซึง่ มจี านวน 30,012 คิดเปน็ ร้อยละ 58.58

ตาราง แสดงจานวนคนพิการจาแนกตามสาเหตคุ วามพกิ าร จังหวัดรอ้ ยเอด็

(หนว่ ย:คน)

สาเหตคุ วามพิการ

จงั หวดั พนั ธกุ รรม โรคติดเช้ือ อุบัตเิ หตุ โรคอ่นื ๆ ไมท่ ราบ มากกว่า 1 รวม
สาเหตุ สาเหตุ

ร้อยเอด็ 10,368 7,027 23,457 4,801 2,841 148 51,232

ทม่ี า ขอ้ มลู จากศนู ยบ์ รกิ ารคนพกิ ารจังหวดั ณ วนั ที่ ๓๑ มนี าคม ๒๕๖๕

จากการจัดเก็บข้อมูลคนพิการที่มีบัตรประจาตัวคนพิการของสานักงานพัฒนาสังคมและความม่ันคง

ของมนษุ ย์จังหวัดรอ้ ยเอด็ ซง่ึ มีจานวน 51,232 คน พบวา่ สาเหตขุ องความพิการส่วนมากมาจากอุบัติเหตุมาก

ทีส่ ุด ร้อยละ45.78 รองลงมาคือสาเหตุจากพนั ธุกรรม ร้อยละ 20.23 และสาเหตุจากโรคตดิ เช้ือ รอ้ ยละ 13.71

ตาราง แสดงจานวนคนพกิ ารจาแนกตามประเภทความพิการ จังหวัดร้อยเอด็

(หนว่ ย:คน)

ความพิการ

จงั หวัด พิการ พิการ พกิ าร พิการทาง พิการทาง พกิ าร ออทิ พิการ
รอ้ ยเอ็ด ทางการ ทางการได้ ทางการ จติ ใจหรอื สติปญั ญา ทางการ สตกิ มากกวา่

เหน็ ยนิ หรอื ส่อื เคลือ่ นไหว พฤติกรรม เรียนรู้ 1
ความหมาย หรือ ประเภท
ทาง 2,841 148 215
รา่ งกาย 2,375

10,368 7,027 23,457 4,801

ท่มี า ขอ้ มูลจากศูนยบ์ รกิ ารคนพิการจังหวัด ณ วนั ท่ี ๓๑ มนี าคม ๒๕๖๕

รายงานสถานการณ์ทางสังคมจังหวัดรอ้ ยเอด็ ประจาปี ๒๕๖๕

15

ขอ้ มูลคนพิการจาแนกตามประเภทความพกิ ารของจังหวัดร้อยเอ็ด พบว่า ประเภทความพิการที่มีมากท่ีสุด
คอื พกิ ารทางการเคลื่อนไหวหรือทางร่างกาย ร้อยละ 45.78 รองลงมาคือ พิการทางการเห็น ร้อยละ 20.23
และพกิ ารทางการได้ยินหรือส่ือความหมาย รอ้ ยละ 13.71

๓.๗ กลมุ่ ผู้ดอ้ ยโอกาส

ตาราง แสดงสถานการณ์กลุม่ ผดู้ อ้ ยโอกาส จงั หวัดรอ้ ยเอด็

จงั หวดั คนยากจน คนเร่ร่อน/ไรท้ อี่ ยู่ ไม่มีสถานะทาง (หนว่ ย:คน)
ร้อยเอด็ 6,941 อาศยั ทะเบียนราษฎร
ผู้พน้ โทษ ผู้ตดิ เช้ือ HIV
340 no data
no data 6,117

(ณ ปี 2563)

ท่มี าข้อมูลจาก

ศนู ย์คุ้มครองคนไร้ทีพ่ ึง่ จ.รอ้ ยเอด็

สานกั งานสาธารณสุข จ.รอ้ ยเอด็

ระบบ TPMAP

หมายเหตุ นิยาม ผู้ด้อยโอกาส หมายถึง ผู้ท่ีประสบปัญหาความเดือดร้อน และได้รับผลกระทบในด้านเศรษฐกิจ
สังคม การศึกษา สาธารณสุข การเมือง กฎหมาย วัฒนธรรม ภัยธรรมชาติและภัยสงคราม รวมถึงผู้ที่ขาดโอกาสท่ีจะเข้าถึง
บริการขั้นพ้ืนฐานของรัฐ ตลอดจนผู้ประสบปัญหาที่ยังไม่มีองค์กรหลักรับผิดชอบอันจะส่งผลให้ไม่สามารถดารงชีวิตได้เท่า
เทียมกับผ้อู ่นื ” โดย กรมพฒั นาสงั คมและสวัสดิการ กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมัน่ คงของมนษุ ย์ (พม.)

สถานการณก์ ลมุ่ ผดู้ ้อยโอกาส จงั หวัดร้อยเอ็ด พบว่า มีครอบครวั ยากจนตาม TPMAP จานวน 6,941
ครอบครัว คนเร่ร่อน/ไร้ที่อยู่อาศัย จานวน 340 ราย และผู้ติดเช้ือ HIV ตามฐานข้อมูลของสานักงาน
สาธารณสุขจงั หวัดรอ้ ยเอด็ จานวน 6,117 คน

รายงานสถานการณ์ทางสงั คมจังหวดั รอ้ ยเอด็ ประจาปี ๒๕๖๕

16

สว่ นท่ี ๔

สถานการณ์เชิงประเดน็ ทางสังคมในระดบั จงั หวัดร้อยเอด็

๔.๑ สถานการณก์ ลุ่มเปราะบางรายครวั เรือน

4.1.1 ตาราง แสดงกลุ่มคนเป้าหมายตามฐานข้อมูลระบบการพัฒนาคนแบบช้ีเป้า TP MAP แยกรายมิติ
จังหวัดร้อยเอ็ด

(หนว่ ย:คน)

จงั หวดั จานวนคน ด้านความ ดา้ น ด้านสขุ ภาพ ดา้ นรายได้ ดา้ นการเข้าถึง
รอ้ ยเอ็ด เปราะบาง เปน็ อยู่ การศกึ ษา บรกิ ารภาครฐั

97,728 1,077 1,340 1,313 3,991 7

ท่ีมา ฐานข้อมลู ระบบการพัฒนาคนแบบช้เี ปา้ TP MAP สานักงานการพัฒนาการเศรษฐกจิ และสงั คมแหง่ ชาติ

หมายเหตุ กลุ่มคนเปราะบาง หมายถึง บุคคลท่ีต้องการได้รับการพ่ึงพิงจากผู้อื่น ไม่สามารถแสดงความคิดเห็นได้อย่างอิสระ
หรือตัดสินใจได้ด้วยตัวเอง โดยสามารถแบง่ กลุ่มคนเปราะบางได้ ดงั น้ี

1.กลุ่มท่ีมคี วามเสย่ี งสูงกวา่ บุคคลทวั่ ไป อาทิ หญงิ ตง้ั ครรภ์ ผ้สู ูงอายุ
2.กลุ่มทพุ พลภาพ อาทิ ผู้พกิ าร ผปู้ ว่ ยจติ เวช ผ้ปู ว่ ยเดก็ ผู้ป่วยสมองเส่ือม
3. กลุ่มทไ่ี ม่มอี สิ ระพอในการตัดสนิ ใจ อาทิ นักโทษ ทหารเกณฑ์

สถานการณ์กลุ่มเปราะบางรายครัวเรือนของจังหวัดร้อยเอ็ด มีครัวเรือนเปราะบาง จานวน 79,728
ครัวเรือน ครัวเรือนยากจนตามฐานข้อมูลระบบการพัฒนาคนแบบช้ีเป้า TPMAP จานวน 6,941 ครัวเรือน
โดยแยกรายมิติ 5 มิติ ดังนี้ (1) ด้านความเป็นอยู่ จานวน 1,077 ครัวเรือน (2) ด้านการศึกษา จานวน
1,340 ครัวเรือน (3) ด้านสุขภาพ จานวน 1,313 ครัวเรือน (4) ด้านรายได้ จานวน 3,991 ครัวเรือน (5)
ดา้ นการเข้าถงึ บรกิ ารรัฐ 7 ครัวเรอื น

๔.๑.๒ ตาราง แสดงข้อมูลครวั เรือนเปราะบาง จงั หวดั ร้อยเอด็

(หนว่ ย:ครัวเรือน)

จงั หวดั *จานวน ครัวเรือนที่อยู่ **ระดบั ความเปราะบางของครัวเรือน
ร้อยเอ็ด ครัวเรอื น อาศยั ไม่มัน่ คง ระดบั 0 ระดบั ๑ ระดบั ๒ ระดบั ๓
เปราะบาง

79,728 2,678 70,645 2,678 5,040 1,365

ท่ีมา กองตรวจราชการ กระทรวงการพฒั นาสงั คมและความมนั่ คงของมนษุ ย์ ข้อมูล ณ ๓๑ มีนาคม ๒๕๖๕

*นิยาม ครัวเรือน หมายถึง บุคคลหรือกลุ่มคนที่อยู่ร่วมกันและกินอยู่ร่วมกันในสถานที่เดียวกันจานวน 6 เดือน เป็นอย่าง
น้อย โดยจาแนกออกได้เปน็ 2 ชนิด คอื

1. ครวั เรือนคนเดยี ว ได้แก่ ครวั เรือนซง่ึ ประกอบด้วยบุคคลคนเดยี วโดยไมเ่ กี่ยวข้องเป็นสมาชิกของครัวเรือนอ่ืนใดท่ี
อยูใ่ นบา้ นเดียวกนั หรอื บคุ คลคนเดียวอาศยั อยูต่ ามลาพังในบ้านหลังหนงึ่

รายงานสถานการณท์ างสงั คมจงั หวัดรอ้ ยเอด็ ประจาปี ๒๕๖๕

17

2. ครวั เรอื นท่ีไมม่ ีความสัมพนั ธท์ างเครือญาติ ได้แก่ ครัวเรอื นทม่ี ีบุคคลตง้ั แต่ 2 คนขึน้ ไป อยู่รวมกนั ในบ้านเดยี วกัน
หรือส่วนหนึ่งของบ้าน และร่วมกันในการจัดหาและใช้ส่ิงอุปโภค บริโภคอันจาเป็นแก่การครองชีพของบุคคลกลุ่มนั้น บุคคล
เหล่านอ้ี าจเป็นญาติกัน หรอื ไมเ่ ป็นญาตกิ ันเลย

ครัวเรือนเปราะบาง ครัวเรือนท่ีมีรายได้น้อยและมีบุคคลที่อยู่ในภาวะพึ่งพิงท่ีต้องการได้รับความช่วยเหลือ เช่น
ครอบครัวยากจนที่มีเด็กเล็ก แมเ่ ลี้ยงเดย่ี ว ผ้สู ูงอายุ คนพกิ าร สามารถแบง่ ระดับความเปราะบางได้ ดังนี้

ครวั เรอื นระดบั ๐ หมายถึง ครวั เรอื นทไี่ ม่ตกมิติเรื่องรายไดแ้ ละมบี คุ คลที่มีภาวะพงึ่ พิง
ครัวเรือนระดบั 1 หมายถึงครัวเรอื นท่มี รี ายไดน้ ้อย ครวั เรือนทมี่ รี ายได้น้อยและมีปญั หาท่อี ยู่อาศัย
ครัวเรอื นระดบั 2 หมายถึงครวั เรอื นท่ีมีรายได้น้อยและมบี ุคคลทีอ่ ย่ใู นภาวะพ่ึงพิง 1 – 2 คน
ครัวเรอื นระดบั 3 หมายถงึ ครวั เรือนท่ีมรี ายไดน้ อ้ ยและมบี ุคคลท่อี ยู่ในภาวะพง่ึ พิงมากกวา่ 2 คน
ครัวเรอื นทมี่ ีรายไดน้ อ้ ย คือ ครัวเรอื นทม่ี ีรายไดเ้ ฉล่ยี ต่อปีไม่เกนิ ๑๐๐,๐๐๐ ต่อคน ตอ่ ปี
ภาวะพึง่ พงิ หมายถงึ คนท่ตี ้องได้รบั การดูแล/ชว่ ยเหลอื จากคนอนื่ (อาทิ เดก็ เล็ก ผู้สงู อายุ คนพิการ และผู้ป่วย
ติดเตยี ง เป็นตน้ )

๔.๑.๓ ผลการขับเคล่ือนโครงการพฒั นาคุณภาพชีวิตกลุ่มเปราะบางรายครวั เรอื น

ดา้ น จานวน ผลการดาเนนิ งาน
ดา้ นสขุ ภาพ (ครวั เรือน)
ดา้ นทีอ่ ยู่อาศัย/ความเป็นอยู่ - ช่วยเหลือคนพิการตามโครงการร้อยเอ็ดปันสุขบาบัดทุกข์ให้คนพิการ
1,548 ด้วยวีลแชร์ งบประมาณรายจ่ายประจาปี งบประมาณ พ.ศ. 2564
ดา้ นการศกึ ษา 698 (งบกลาง สานักนายกรฐั มนตรี)
ด้านรายได้ - โครงการส่งเสริมคุณภาพชีวิตกลุ่มเปราะบาง สร้างความมั่นคงเรื่องน้า
ด้านการเข้าถึงบรกิ ารภาครฐั 2,000 และการใชช้ วี ติ ประจาวนั จานวน 300 ครวั เรอื น
7,102
- ปรับสภาพแวดล้อมและสิ่งอานวยความสะดวกของผู้สูงอายุ/คนพิการให้
1,888 เหมาะสมและปลอดภัย จานวน 55 ครัวเรอื น

- ซ่อมแซมปรับปรุงที่อยู่อาศัยของบ้านพอเพียงชนบท จานวน 343
ครัวเรือน

- ทุนการศึกษามูลนิธิช่วยเด็กยากจน จานวน 2,000 คน จาก 308
โรงเรยี นใน 20 อาเภอ (งบจากหน่วยงานภาคเอกชน)
- ก้ยู มื เงนิ ทนุ ประกอบอาชพี ผูส้ ูงอายุ/คนพกิ าร

- เงินสงเคราะห์ผู้ประสบปัญหาทางสังคมกรณีฉุกเฉิน/รายได้น้อย/ผู้สูงอายุใน
ภาวะยากลาบาก/คนพิการ/เด็กในครอบครวั ยากจน/จัดการศพตามประเพณี

- แนะนาสทิ ธแิ ละสวัสดิการของกระทรวง พม. และสวัสดิการของรัฐบาล

ที่มา กองตรวจราชการ กระทรวงการพัฒนาสงั คมและความมั่นคงของมนษุ ย์ ขอ้ มูล ณ ๓๑ พฤษภาคม ๒๕๖๕

รายงานสถานการณ์ทางสังคมจงั หวดั ร้อยเอด็ ประจาปี ๒๕๖๕

18

๔.๒ สถานการณภ์ ายใต้การแพร่ระบาดของเช้ือ COVID-19

ตาราง แสดงสถานการณ์การแพร่ระบาดของ COVID-19 พนื้ ทจี่ ังหวัดรอ้ ยเอ็ด

จงั หวัด ติดเชือ้ สะสม กาลังรักษา รกั ษาหาย (หนว่ ย:คน)
รอ้ ยเอด็ 54,553 730 53,441
เสยี ชีวติ
382

ท่ีมา รายงานสถานการณ์ COVID-19 สานกั งานสาธารณสุขจังหวดั ข้อมลู ณ วันที่ ๓๑ พฤษภาคม 256๕

สถานการณ์การแพร่ระบาดของ COVID-19 พื้นที่จังหวัดร้อยเอ็ด มียอดผู้ติดเชื้อสะสม จานวน
54,553 ราย กาลังรักษา จานวน 730 ราย รักษาหาย จานวน 53,441 ราย และเสียชีวิต จานวน 382 ราย
โดยอาเภอท่ีมียอดผตู้ ิดเช้ือมากท่สี ดุ คอื อาเภอ โพนทอง อาเภอเมืองร้อยเอ็ด อาเภอสุวรรณภูมิ อาเภอเสลภูมิ
อาเภอเกษตรวิสัย ตามลาดบั

ตาราง แสดงข้อมลู การได้รบั วคั ซีนปอ้ งกันโรค โควดิ 19 ประชาชนในพน้ื ทจ่ี งั หวัดร้อยเอ็ด

จังหวดั เขม็ ท่ี ๑ เข็มที่ ๒ (หนว่ ย:คน)

กระตนุ้ เข็มท่ี ๓ กระตุ้นเข็มท่ี ๔

ร้อยเอด็ 802,292 742,037 302,233 22,992

ทีม่ า MOPH-Immunization Center (IC) กระทรวงสาธารณสขุ ข้อมูล ณ ข้อมลู ณ วันท่ี ๓๑ พฤษภาคม 256๕

สถานการณ์การได้รับวัคซีนป้องกันโรคโควิด 19 ของประชาชนในพื้นท่ีจังหวัดร้อยเอ็ด รวมเข็มที่
1 – 4 มีจานวนทั้งส้ิน 1,871,112 เข็ม โดยมีผู้ฉีดวัคซีนเข็มท่ี 1 คิดเป็นร้อยละ 72.93 เข็มท่ี 2 คิดเป็น
รอ้ ยละ 67.45 เขม็ ที่ 3 คดิ เป็นรอ้ ยละ 27.47 และเข็มที่ 4 คิดเปน็ ร้อยละ 2.09 (ข้อมูล ณ วันที่ 24 ก.ค. 65)

ตาราง แสดงข้อมูลการใหค้ วามชว่ ยเหลอื ผู้ได้รบั ผลกระทบจากสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรค COVID-19

พน้ื ทีจ่ ังหวดั รอ้ ยเอด็

จงั หวดั ผู้ป่วย COVID-19 ครอบครัวผ้เู สยี ชวี ิต ผ้ไู ดร้ ับผลกระทบท่ี ครอบครวั ผูไ้ ดร้ ับ
ร้อยเอ็ด (คน) จาก COVID-19 ได้รบั การช่วยเหลือ ผลกระทบทไ่ี ด้รบั
การที่ชว่ ยเหลอื
(ครอบครวั ) (คน)
(ครอบครัว)
54,553 382 54,553
54,553

ท่ีมา รายงานข้อมูลการให้ความชว่ ยเหลือผไู้ ด้รับผลกระทบจากสถานการณก์ ารแพร่ระบาดของโรค COVID-19

ขอ้ มูล ณ วันท่ี 9 สิงหาคม 256๕

ข้อมูลการให้ความช่วยเหลือผ้ไู ดร้ ับผลกระทบจากสถานการณ์ การแพร่ระบาดของโรค COVID-19 ใน

พ้ืนที่จังหวัดร้อยเอ็ด พบว่า ประชาชนที่ติดเชื้อไวรัสโควิด-19 จานวน 54,553 คน ครอบครัวผู้เสียชีวิตจาก
COVID-19 จานวน 382 คน ประชาชนผู้ได้รับผลกระทบท่ีได้รับการช่วยเหลือ จานวน 54,553 คน
และครอบครัวผู้ได้รบั ผลกระทบทไี่ ด้รบั การชว่ ยเหลือ จานวน 54,553 ครอบครวั

รายงานสถานการณท์ างสังคมจังหวดั รอ้ ยเอด็ ประจาปี ๒๕๖๕

19

๔.๓ สถานการณเ์ ชิงประเดน็ สาคญั ในพนื้ ทีจ่ งั หวัดรอ้ ยเอ็ด
๔.3.1 สถานการณก์ ารค้ามนุษย์

จากเกณฑ์การจัดระดับสถานการณ์ค้ามนุษย์ จังหวัดร้อยเอ็ดถูกจัดอยู่ในระดับเล็กน้อย คือ
มีสถานการณ์ในพ้ืนท่ีแต่ไม่รุนแรง ปัญหาการค้ามนุษย์และค้าประเวณีของจังหวัดร้อยเอ็ด มักเก่ียวพันกับ
ปญั หาเศรษฐกจิ และปัญหาสังคมที่ทาให้คนดิ้นรนแสวงหางานทา ไม่ว่างานน้ันจะเส่ียงต่อการค้ามนุษย์เพียงใด
ก็ตาม หรือแม้แต่กระบวนการถูกหลอกลวงให้ไปทางานต่างประทศ หรือแต่งงานกับชาวต่างชาติเพื่อแสวงหา
โอกาสเพ่อื ยกระดับคุณภาพชวี ติ ให้ดีขึ้น

สถานะเส้นทางคือการเป็นทางผ่าน จังหวัดร้อยเอ็ดเป็นทางผ่านอีกหนึ่งช่องทางของขบวนการค้า
มนุษยท์ สี่ าคญั พบวา่ มเี สน้ ทางผา่ นของกระบวนการคา้ มนษุ ย์ ดงั น้ี

๑. เส้นทางอาเภอโพนทราย - อาเภอราศีไศล - อาเภอยางชมุ นอ้ ย จังหวัดศรีสะเกษ
๒. เสน้ ทางอาเภอพนมไพ - อาเภอมหาชนะชยั - คาเข่ือนแก้ว จังหวัดยโสธร - ต. อาเภอหนองพอก -
อาเภอเลิงนกทา - เสนาคนิคม จงั หวดั อานาจเจริญ และอาเภอหนองสูง จงั หวดั มุกดาหาร
๔. อาเภอสุวรรณภมู ิ - อาเภอเมอื ง - อาเภอปาตวิ้ จงั หวัดยโสธร
๕. อาเภอเสลภมู ิ -อาเภอหนองพอก - อาเภอเมอื ง - อาเภอกดุ ชุม – เลงิ นกทา จงั หวัดยโสธร
เส้นทางเหล่าน้ีมีเจ้าหน้าท่ีตรวจและสกัดก้ัน เพ่ือมิให้มีการเคลื่อนย้ายแรงงานท่ีผิดกฎหมายและ
ร่วมกันเฝ้าระวังป้องกันทุกภาคส่วน แนวทางการป้องกันคือรณรงค์ให้ความรู้กับประชาชนในชุมชน และการ
สรา้ งแกนนาเยาวชนเป็นเครอื ข่ายอาสาสมคั รเฝา้ ระวังป้องกันการค้ามนุษย์ในจังหวัดร้อยเอ็ด โดยมีองค์กรภาคี
ทกุ สว่ นร่วมมอื กนั อยา่ งเปน็ ระบบ
ด้านการบูรณาการความร่วมมือภาคีเครือข่าย จังหวัดร้อยเอ็ดมีการบูรณาการออกตรวจสถาน
ประกอบการกลุ่มเส่ียงเพื่อป้องกันการใช้แรงงานบังคับและแก้ไขปัญหาการค้ามนุษย์ ด้านแรงงานการจัด
ระเบยี บสถานประกอบการวดี ีทศั น์ ร้านคาราโอเกะ/ร้านเกม/อนิ เตอร์เน็ต โดยบูรณาการร่วมกันของหน่วยงาน
ท่ีเกี่ยวข้อง ได้แก่ ปกครองจังหวัด ,สนง.วัฒนธรรมจังหวัด , ตารวจ , ทหาร , กอ.รมน. , ตม., สนง.พมจ.
ร้อยเอ็ด, สนง.จัดหางานจังหวัด, สนง.แรงงานจังหวัด ,สนง.สวัสดิการและคุ้มครองแรงงานจังหวัด ,
สนง.สาธารณสุขจงั หวัด และหน่วยงานทเี่ ก่ียวข้อง ร่วมออกตรวจบูรณาการร่วมกันเพื่อป้องกันและปราบปราม
การคา้ มนษุ ย์ พร้อมทั้งประชาสัมพันธ์ ให้ความรู้เกี่ยวกับเร่ืองการค้ามนุษย์ให้ช่วยกันสอดส่องเฝ้าระวังในพื้นท่ี
และชมุ ชนของตนเองชว่ ยเฝ้าระวงั ขบวนการค้ามนุษย์
การค้มุ ครองผเู้ สียหายจากการคา้ มนุษย์ ในปี ๒๕๖๐ – ๒๕๖4 สานักงานพฒั นาสังคมและความม่ันคง
ของมนุษย์จังหวัดร้อยเอ็ด ดาเนินการคุ้มครองสวัสดิภาพผู้เสียหายจากคดีค้ามนุษย์ และส่งต่อเข้าคุ้มครอง
สวสั ดิภาพท่ีบา้ นนารีสวสั ดิ์ จงั หวัดนครราชสมี า โดยมีสถติ ิการคุ้มครองผู้เสียหายคดีค้ามนุษย์ จานวน 14 ราย
ซ่ึงผู้เสียหายทั้งหมดถกู แสวงหาประโยชน์จากการค้าประเวณี

สถติ ิการคุ้มครองผ้เู สยี หายคดีค้ามนษุ ย์

ปี 2560 (ราย) ปี 2561 (ราย) ปี 2562 (ราย) ปี 2563 (ราย) ปี 2564 (ราย)
1 3 23 5

รายงานสถานการณท์ างสังคมจงั หวดั ร้อยเอ็ด ประจาปี ๒๕๖๕

20

ปจั จัยเสยี่ งท่ีนาไปสูป่ ัญหาการค้ามนษุ ย์จงั หวัดรอ้ ยเอด็
1. สถานะทางครอบครัวมีความยากจน แต่พฤติกรรมของเด็กและเยาวชนในปัจจุบัน มีความต้องการ
ส่ิงอานวยความสะดวกที่มีความทันสมัย ซ่ึงผู้ปกครองบางครอบครัวไม่สามารถหาเงินได้เพียงพอกับความ
ต้องการ ทาใหเ้ ดก็ และเยาวชนต้องหารายได้มาตอบสนองความต้องการของตนเอง
2. ประชาชนบางกลุ่มยังขาดความรู้และทักษะไม่ทันรูปแบบการค้ามนุษย์ที่มีการพัฒนาและเปลี่ยนไป
ของผู้แสวงหาผลประโยชน์
3. ผู้ปกครองท่ีต้องทางานเพือ่ หารายไดม้ าจนุ เจอื ครอบครวั ไม่มีเวลาในการอบรมดูแลบุตรให้รู้จักการ
ปอ้ งกนั ตนเองมิใหต้ กเปน็ เหยอื่ ของการค้ามนุษย์

๔.3.2 ความรนุ แรงในครอบครัว

จงั หวัดร้อยเอด็ มดี ชั นีความรนุ แรงในครอบครวั ตอ่ 1,000 ครัวเรอื น เท่ากบั 0.08 ซ่ึงอยู่ลาดับท่ี 47
จาก 77 จังหวัด ช่วง 5 ปี ท่ีผ่านมาจังหวัดร้อยเอ็ด มีสถิติการคุ้มครองผู้ถูกกระทาด้วยความรุนแรงใน
ครอบครวั มากทีส่ ุดในช่วงปี 2562 โดยผถู้ กู กระทาส่วนมาก คือเพศหญงิ สาเหตมุ าจากการด่ืมสุรา และยาเสพตดิ

ด้านการป้องกัน สานักงานพัฒนาสังคมและความม่ันคงม่ันคงของมนุษย์จังหวัดร้อยเอ็ด ร่วมกับทีม
One home จังหวัด รณรงค์ยุติปัญหาความรุนแรงต่อสตรี ในช่วงพฤศจิกายนของทุกปี “ เดือนรณรงค์ยุติ
ความรุนแรง ต่อเด็กและสตรี ” และร่วมกันจัดกิจกรรมเผยแพร่ประชาสัมพันธ์รณรงค์ยุติความรุนแรงต่อเด็ก
สตรี และความรุนแรงในครอบครัวตลอดเดือนพฤศจิกายน เพื่อให้สังคมได้ตระหนักและเห็นความสาคัญของ
ปัญหา ความรนุ แรง รวมทัง้ พระราชบญั ญัติคุ้มครองผถู้ ูกกระทาดว้ ยความรนุ แรงในครอบครวั พ.ศ. 2550

สานักงานพฒั นาสงั คมและความมนั่ คงของมนุษยจ์ งั หวัดร้อยเอ็ด ได้มีการเปิดช่องทางแจ้งเหตุเพื่อร่วม
ยุติความรุนแรงทุกรูปแบบ หากพบเห็นการกระทาความรุนแรงต่อเด็ก สตรี และบุคคลในครอบครัว สามารถ
แจ้งเบาะแส ไดท้ ี่ OSCC ศนู ยช์ ่วยเหลอื สังคม โทรสายด่วน 1300 ตลอด 24 ชัว่ โมง

ขอ้ มลู สถติ ิการคุ้มครองผู้ถูกกระทาดว้ ยความรนุ แรงในครอบครวั ปี 2560 – 2564 จงั หวดั ร้อยเอ็ด

ปี 2560 ปี 2561 ปี 2562 ปี 2563 ปี 2564
20 27 48 22 16

๔.3.3 การใหบ้ รกิ ารของศนู ย์ชว่ ยเหลอื สังคมสายด่วน ๑๓๐๐

จังหวัดร้อยเอ็ด มีการดาเนินงานขับเคล่ือนศูนย์ช่วยเหลือสังคม สายด่วน 1300 ให้บริการตลอด 24 ช่ัวโมง
7 วัน โดยมีสถานท่ีปฏิบัติงาน ณ บ้านพักเด็กและครอบครัวจังหวัดร้อยเอ็ด ซ่ึงมีภารกิจในการเป็นช่องทางให้
ประชาชนเข้าถึงบริการของกระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์และหน่วยงานที่เกี่ยวข้องได้
อย่างรวดเร็วทันท่วงที ตรงตามสภาพปัญหา เป็นศูนย์กลางการให้คาปรึกษาแนะนาทางโทรศัพท์ และ
ช่วยเหลือผู้ประสบปัญหาสังคมเบ้ืองต้นประสานส่งต่อความช่วยเหลือไปยังหน่วยงานที่เก่ียวข้องทั้งภาครัฐ
เอกชน และองคก์ รปกครองสว่ นท้องถ่นิ

ในปี 2564 - 2565 จังหวัดร้อยเอ็ด มีสถิติการให้บริการผ่านสายด่วน 1300 (Call Center)
จานวนผู้ใช้บริการทั้งสิ้น 1010 กรณี (ชาย 210 หญิง 799 ไม่ทราบเพศ 1 ) ซ่ึงสายท่ีโทรเข้ารับบริการ
ส่วนมาก คือ ปัญหาใหม่/สอบถามบริการ รองลงมาคือ สอบถามหมายเลขโทรศัพท์และท่ีต้ังหน่วยงาน/อ่ืนๆ
ซึง่ กลุ่มเปา้ หมายทีใ่ ชบ้ ริการมากท่ีสุด คือ กลุ่มผู้ใหญ่ ส่วนปัญหาที่มีการขอความช่วยเหลือมากท่ีสุด คือ ปัญหา
เรื่องสิทธิ สวัสดิการ และกฎหมาย และ ปัญหาท่ีเป็นปราฏการณ์ทางสังคม เหตุการณ์อุบัติใหม่ อยู่ในความสนใจ
ของประชาชน ตามลาดบั

รายงานสถานการณ์ทางสงั คมจงั หวดั ร้อยเอด็ ประจาปี ๒๕๖๕

21

สว่ นท่ี ๕

การวเิ คราะหส์ ถานการณ์ทางสงั คมในพืน้ ทจ่ี ังหวดั ร้อยเอด็

๕.1 กลมุ่ เด็ก

ประเดน็ สถานการณ์กลมุ่ เป้าหมาย

 เด็กท่ีตง้ั ครรภก์ ่อนวยั อนั ควร

สถานการณท์ างสงั คมของกลุ่มเด็ก พบว่า จังหวัดร้อยเอ็ดมีเด็กที่ตั้งครรภ์ก่อนวัยอันควร จานวน 786 คน
ซ่ึงถือว่าเป็นปัญหาสาคัญและสมควรได้รับการแก้ไข โดยจากข้อมูลอัตราการคลอดมีชีพในหญิง อายุ ๑๐ – ๑๔ ปี
ของจังหวัดรอยเอ็ด ในป พ.ศ. ๒๕๕๗ – ๒๕๖๓ มีแนวโน้มลดลง แตถือวาเปนปญหาสาธารณสุขท่ีสาคัญและ
สมควรไดรับการแกไข ซ่ึงปัญหาการตั้งครรภ์ของมารดาที่ อายุ 15 – 19 ปี ส่งผลกระทบต่อปัญหาทางด้าน
ร่างกายของวยั รุ่นและทารก รวมถึง สภาพจติ ใจ อารมณ์ สังคม และเศรษฐกจิ

อย่างไรก็ตามสถานการณ์การต้ังครรภ์ก่อนวัยอันควรในภาพรวมของจังหวัดร้อยเอ็ดมีแนวโน้มลดลง
เนื่องจากมีการส่งเสริมให้เด็ก เยาวชนได้มีองค์ความรู้ในเร่ืองของการป้องกันหาวิธีที่จะไม่ให้มีเพศสัมพันธ์ที่
เสี่ยงต่อการต้ังครรภท์ ่ีไมพ่ ร้อม ตลอดจนความรว่ มมือกับสถานศึกษาเพื่อหาทางช่วยกันจัดระบบป้องกันปัญหา
การต้งั ครรภ์ทีไ่ มพ่ ร้อมอีกดว้ ย

๕.2 กลมุ่ เยาวชน

ประเดน็ สถานการณ์กลุ่มเป้าหมาย

 เยาวชนท่มี พี ฤติกรรมไม่เหมาะสม

สถานการณ์ทางสงั คมของเยาวชน พบว่า ประเด็นปัญหาที่หลายหน่วยงานให้ความสาคัญในการแก้ไข
คอื เยาวชนทม่ี พี ฤตกิ รรมไม่เหมาะสม เชน่ การด่ืมเครื่องด่ืมที่มีแอลกอฮอล์ สูบบุหร่ีและติดสารเสพติดร้ายแรง
เชน่ ยาบา้ ยาอี สารระเหย กัญชา เป็นต้น เป็นผลกระทบท่ีเกิดมาจากปัญหาหลายด้าน เช่น ปัญหาของวัยรุ่น
เอง ปัญหาด้านครอบครัว ปัญหาด้านการศึกษา ปัญหาด้านเศรษฐกิจและสังคม ซ่ึงจากปัญหาดังกล่าว
หลายหน่วยงานได้มีการบูรณาการความร่วมในการป้องกันและแก้ไขปัญหาในมิติต่าง เช่น การรณรงค์ป้องกัน
และแกไ้ ขปัญหาการตัง้ ครรภ์ในวยั ร่นุ การจัดอบรมพฒั นาเดก็ และเยาวชนแกนนาในระดบั พ้นื ที่ เป็นตน้

๕.3 กลุ่มสตรี

ประเด็นสถานการณ์กลมุ่ เป้าหมาย

 แม่เลยี้ งเดี่ยวฐานะยาก

สถานการณ์กล่มุ สตรี พบวา่ มสี ตรจี านวนสตรีท้งั หมด 654,130 คน (ร้อยละ 50.47) โดยปัจจุบัน
มีสตรีท่ีเป็นแม่เลี้ยงเด่ียวมากข้ึน จากการหย่าร้างท่ีมีแนวโน้มสูงข้ึน และบุตรส่วนใหญ่อยู่ในการปกครองของ
มารดาทาให้ต้องรับภาระในการเลี้ยงดูบุตรตามลาพัง นาไปสู่การดิ้นรนหารายได้เพิ่มให้เพียงพอแก่การดูแล

รายงานสถานการณ์ทางสังคมจงั หวดั ร้อยเอด็ ประจาปี ๒๕๖๕

22

ครอบครวั กอ่ ให้เกิดปัญหาท้ังด้านสุขภาพกาย ใจ มีความเสี่ยงของคุณภาพการเจริญเติบโต และพัฒนาการเด็ก
เป็นพลเมืองมีคุณภาพของสังคม อีกหน่ึงสาเหตุของการกลายเป็นแม่เลี้ยงเดี่ยว มาจากความเปราะบางของ
ครอบครวั ได้แก่ ปญั หาการหยา่ ร้าง ความรุนแรงในครอบครวั การใช้สารเสพติดการพนัน ซ่ึงมีความสอดคล้อง
กับสถานการณ์ด้านเด็กและเยาวชนในการเปน็ แมว่ ยั ใส มลี กู ไม่พรอ้ ม นามาส่กู ารเป็นแมต่ อ้ งเลยี้ งลูกตามลาพงั

๕.๔ กลมุ่ ครอบครวั

ประเด็นสถานการณ์กลมุ่ เป้าหมาย

 ครอบครวั ยากจน

จังหวัดร้อยเอ็ดมีครอบครัว จานวน 400,811 ครอบครัว มีครอบครัวยากจน ตาม TPMAP จานวน
6,941 ครอบครัว ปัจจัยของความยากจน มีดังน้ี 1) ปัจจัยที่ดิน/ความมั่งคั่งของครอบครัว 2) ทักษะ
ความสามารถในการประกอบอาชีพ 3) อบุ ัติเหตรุ ะหวา่ งทางของชวี ติ เช่น การตายกอ่ นวัยอนั ควร การเจ็บป่วย
เร้ือรัง และการหย่าร้างของครอบครัว ประเด็นการพัฒนาครัวเรือนเปราะบาง คือการขาดทักษะการประกอบ
อาชพี และการเลีย้ งดสู มาชิกของครอบครวั
๕.๕ กลมุ่ ผ้สู ูงอายุ

ประเดน็ สถานการณก์ ลุ่มเป้าหมาย

 สงั คมผสู้ ูงอายุ

สถานการณ์ผ้สูงอายุ จังหวัดร้อยเอ็ดมีสัดส่วนประชากรสูงอายุ (อายุ 60 ปี ข้ึนไป) ร้อยละ 18.66
ซึ่งถือเป็นสังคมสูงวัย ตามนิยามของนิยามผู้สูงอายุองค์การสหประชาชาติ (สังคมสูงวัย : มีประชากรอายุ 60 ปี ข้ึนไป
มากกว่าร้อยละ 10 ของประชากรทั้งหมด) เมื่อเปรียบเทียบจานวนผู้สูงอายุจากปี 2558 - 2564 พบว่า จังหวัด
ร้อยเอ็ดมีแนวโน้มผู้สูงอายุเพิ่มสูงขึ้นเร่ือยๆ โดยเป็นผู้สูงอายุจาแนกตามความสามารถในการทากิจวัตร
ประจาวนั (ADL) ผสู้ งู อายตุ ดิ บา้ น รอ้ ยละ 1.29 ตดิ สงั คม 53.47 ติดเตียง 0.27

จากการคาดประมาณประชากรผู้สูงอายุของจังหวัดร้อยเอ็ด ในอีก 15 ปีถัดไปของสานัก
คณะกรรมการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ พบว่าผู้สูงอายุ (อายุ 60 ปีข้ึนไป) ของจังหวัดร้อยเอ็ด
มอี ัตราเพิ่มสงู ขึน้

๕.๖ กลมุ่ คนพกิ าร

ประเด็นสถานการณ์กลุ่มเป้าหมาย

 ทกั ษะการประกอบอาชีพคนพิการ

สถานการณค์ นพิการจังหวดั รอ้ ยเอด็ มีคนพกิ ารท่ีจดทะเบยี นคนพิการตามพระราชบัญญัติส่งเสริมและ
พัฒนาคุณภาพชีวิตคนพิการ พ.ศ. 2550 และที่แก้ไขเพ่ิมเติม จานวน 51,232 คน คิดเป็นร้อยละ 3.95
ของประชากรทั้งจังหวัด โดยเป็นความพิการจากสาเหตุอุบัติเหตุมากท่ีสุด ร้อยละ45.78 รองลงมาคือสาเหตุ

รายงานสถานการณ์ทางสงั คมจงั หวดั รอ้ ยเอ็ด ประจาปี ๒๕๖๕

23
จากพันธกุ รรม ร้อยละ 20.23 และสาเหตุจากโรคติดเช้ือ ร้อยละ 13.71 ซึ่งสาเหตุความพิการดังกล่าว เป็น
ปจั จยั หลักท่ีเป็นอุปสรรคตอ่ การพัฒนาทกั ษะในการประกอบอาชีพของคนพกิ าร

นอกจากนี้ยังพบว่า ประเภทความพิการท่ีมีมากท่ีสุด คือ พิการทางการเคลื่อนไหวหรือทางร่างกาย
ร้อยละ 45.78 รองลงมาคือ พิการทางการเหน็ ร้อยละ 20.23 และพกิ ารทางการได้ยินหรือส่ือความหมาย ร้อยละ 13.71
๕.๗ กลมุ่ ผู้ด้อยโอกาส
ประเด็นสถานการณก์ ลมุ่ เป้าหมาย
 การเข้าถงึ สิทธขิ องผดู้ ้อยโอกาสในสงั คม

สถานการณ์ของกลมุ่ ผ้ดู ้อยโอกาส จังหวัดร้อยเอ็ด มีผู้ด้อยโอกาสทางสังคมซึ่งเป็นกลุ่มคนไร้ท่ีพ่ึง ท่ีอยู่
ในการคุ้มครองของศูนย์คุ้มครองคนไร้ท่ีพ่ึงจังหวัดร้อยเอ็ด จานวนท้ังส้ิน 340 ราย โดยพบว่า ผู้ด้อยโอกาส
ส่วนมากเป็นผู้สูงอายุท่ีอาศัยอยู่คนเดียว ดารงชีพโดยการขอทาน ทาให้ขาดโอกาสในการเข้าถึงสิทธิสวัสดิการ
ตา่ งๆ หรือเข้าถงึ ลา่ ช้า ซึ่งต้องมหี น่วยงานภาครัฐเปน็ ผดู้ าเนนิ การประสานความช่วยเหลือตา่ งๆ ให้กับคนกลุ่มน้ี
และในปัจจุบันพบว่า มีหลายหน่วยงานในจังหวัดร้อยเอ็ดที่ร่วมบูรณาการในการพัฒนาคุณภาพชีวิตของกลุ่ม
ผู้ด้อยโอกาส เช่น หน่วยงานสังกัดกระทรวง พม. เทศบาลเมืองร้อยเอ็ด องค์การบริหารส่วนจังหวัดร้อยเอ็ด
และมูลนธิ ิช่วยเหลอื คนยากไร้ในพ้นื ท่จี ังหวัดรอ้ ยเอด็ เป็นต้น

รายงานสถานการณท์ างสังคมจงั หวัดร้อยเอ็ด ประจาปี ๒๕๖๕

24

ส่วนที่ ๖

บทสรปุ และขอ้ เสนอแนะ

๖.๑ บทสรุป

สานักงานพัฒนาสังคมและความม่ันคงของมนุษย์จังหวัดร้อยเอ็ดในฐานะหน่วยงานด้านสังคม
ที่สาคัญในการขับเคลื่อนงานด้านสังคม พิทักษ์และคุ้มครองสิทธิแก่กลุ่มเป้าหมาย เช่น เด็ก เยาวชน สตรี
คนพิการ ผู้สูงอายุ และผู้ด้อยโอกาส เป็นต้น เพื่อให้ประชาชนได้รับบริการด้านสังคมจากหน่วยงานรัฐ
และภาคเอกชน และสามารถดารงชีวิตในสังคมได้อย่างมีศักดิศรี รวมท้ังผลักดันให้เกิดการป้องกันและแก้ไข
ปัญหาสังคมและพฒั นาคณุ ภาพชีวติ ของประชาชน

รายงานสถานการณ์ทางสังคมจังหวัดร้อยเอ็ด ประจาปี 256๕ จัดทาขึ้นเพ่ือรวบรวม วิเคราะห์
สังเคราะห์ข้อมูลด้านสังคมในจังหวัด ซึ่งประกอบด้วยสถิติการให้บริการท่ีเป็นปัจจุบัน ทันต่อสถานการณ์
ครอบคลุมท้ังข้อมูลเชิงกลุ่มเป้าหมาย ข้อมูลเชิงประเด็น โดยหน่วยงานที่เก่ียวข้องสามารถนาข้อมูลเพ่ือไปใช้
ประโยชน์ในการจดั ทานโยบาย แผนงาน โครงการ ระดบั พื้นท่ี โดยสรุปสาระสาคญั ดงั นี้

จังหวัดร้อยเอ็ด ต้ังอยู่บริเวณตอนกลางของภาคตะวันออกเฉียงเหนือของไทย ลักษณะภูมิประเทศ
โดยทั่วไปเป็นท่ีราบสูง มีภูเขาทางตอนเหนือ มีบริเวณที่ราบต่าอันกว้างขวาง เรียกว่า ทุ่งกุลาร้องไห้ มีพ้ืนท่ี
ประมาณ 80,000 ไร่ มลี กั ษณะเปน็ ท่ีราบแอ่งกระทะ สภาพภูมอิ ากาศอย่ใู นประเภทฝนเมอื งรอ้ น

การปกครองแบ่งออกเป็น 20 อาเภอ 193 ตาบล 2,446 หมู่บ้าน มีประชากรจานวน 1,296,013 คน
เป็นเพศชาย คิดเป็นร้อยละ 49.52 เพศหญิง คิดเป็นร้อยละ 50.54 ประชากรช่วงอายุ 60 ปีข้ึนไป คิดเป็น
ร้อยละ 18.66 เปน็ สงั คมผสู้ งู อายุ

ประชาชนส่วนใหญ่ นับถือศาสนาพุทธ ร้อยละ 97.72 สัดส่วนแพทย์ 1 คน ต่อ ประชากร 1,424
คน สาเหตุการตายท่สี าคญั คอื มะเรง็ ทุกชนดิ ความดนั โลหิตสงู และหลอดเลือดในสมอง และโรคไต

ด้านแรงงาน ประชากรวัยแรงงาน หรือผู้มีงานทาในจังหวัดร้อยเอ็ด จานวน 553,930 คน คิดเป็น
รอ้ ยละ 94.63 ของผอู้ ยู่ในกาลังแรงงาน

ดา้ นท่อี ยูอ่ าศัย มีชุมชนผู้มีรายได้น้อย จานวน 3 ชุมชน ซึ่งเป็นชุมชนแออัดท้ังหมด โดยประกอบด้วย
80 ครวั เรอื น 68 บา้ น และมปี ระชากรจานวน จานวน 320 คน

ด้านเศรษฐกิจและรายได้ พบว่า การขยายตัวของผลิตภัณฑ์มวลรวมจังหวัดร้อยเอ็ด มีอัตราการ
ขยายตวั เพ่มิ ขน้ึ ในปี 2564 จากมาตรการกระตนุ้ เศรษฐกิจของภาครัฐ

ด้านภาคีเครือข่ายทางสังคมจังหวัดร้อยเอ็ด มีกลไกขับเคล่ือนงานในระดับพื้นท่ี ในการร่วมบูรณาการ
ขบั เคลอ่ื นภารกจิ ในการพัฒนาคุณภาพชวี ติ กลุ่มเป้าหมายให้พ่งึ พาตนเองได้อย่างเหมาะสมและย่งั ยนื

รายงานสถานการณท์ างสังคมจังหวดั ร้อยเอด็ ประจาปี ๒๕๖๕

25

๖.๒ ข้อเสนอแนะเชงิ นโยบาย

สานักงานพัฒนาสังคมและความม่ันคงของมนุษยจังหวัดร้อยเอ็ด มีข้อเสนอแนะเชิงนโยบายในการ
ดาเนินงานด้านการสง่ เสรมิ และพัฒนาศักยภาพของเด็กและเยาวชนซึ่งถือเป็นกาลังสาคัญของการพัฒนาสังคม
และประเทศชาติ ดงั นี้

1) ผลักดันเร่ืองการพัฒนาเด็กและเยาวชนตามช่วงวัยให้เป็นวาระแห่งชาติ เพื่อให้ทุกภาคส่วนเห็น
ความสาคญั ในการพฒั นาเดก็ และเยาวชนตามช่วงวัยในทุกมิติ อย่างต่อเนื่อง เนื่องจากโครงสร้างประชากรของ
เด็กและเยาวชนมีแนวโน้มลดลงอย่างต่อเนื่อง การลงทุนเพื่อการพัฒนาคุณภาพเด็กจึงเป็นส่ิงสาคัญ เป็นการ
สร้างทรพั ยากรมนุษยท์ ี่มีคณุ ค่าเป็นกาลงั สาคญั ในการพฒั นาประเทศ

2) ผลกั ดันมาตรการการพัฒนาเด็กและเยาวชนให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นนาไปปรับปรุงแผนการ
พัฒนาเด็กและเยาวชน โดยเน้นการพัฒนาเด็กและเยาวชนตามช่วงวัย เพื่อให้องค์กรปกครองส่วนท้องถ่ิน
สามารถจดั บรกิ ารและกจิ กรรมสง่ เสริมการพัฒนาเด็กและเยาวชนได้ อย่างเหมาะสมตามชว่ งวัย

3) การจดั ตงั้ งบประมาณรองรบั แผนการพัฒนาเด็กและเยาวชนตามช่วงวัย เพ่ือส่งเสริมและสนับสนุน
การขบั เคล่อื นงานพฒั นาเดก็ และเยาวชนตามช่วงวัยอย่าง เป็นรปู ธรรมและมปี ระสิทธิภาพ

4) ส่งเสริมให้ภาคธุรกิจเอกชน เข้ามามีบทบาทในการส่งเสริม สนับสนุนการพัฒนาเด็กและเยาวชน
ตามช่วงวัยอย่างตอ่ เน่ือง

5) สร้างระบบติดตามและประเมินผลการพัฒนาเด็กและเยาวชนตามช่วงวัย โดยมีหน่วยงานกลาง
สามารถเช่ือมโยงข้อมลู การติดตามในระดบั พน้ื ที่ และนาเสนอในภาพรวม

6) ควรจัดทาระบบฐานข้อมูลกลางด้านเด็กและเยาวชน โดยมีหน่วยงานหลักที่รับผิดชอบฐานข้อมูล
เพื่อให้เกดิ ประสทิ ธภิ าพในการพฒั นาเด็กและเยาวชน

7) ควรพัฒนาองค์ความรู้เพ่ือจัดทาเอกสารเผยแพร่ เป็นคู่มือการดูแลเด็กแต่ละช่วงวัย สาหรับพ่อแม่
ผู้ปกครอง ผดู้ ูแลเดก็ ตามชว่ งวยั

๖.๓ ขอ้ เสนอแนะเชิงปฏิบตั ริ ะดบั จงั หวัด

จาการวิเคราะห์ข้อมูลสถานการณ์ทางสังคมของกลุ่มเป้าหมายในพ้ืนที่ พบว่า จังหวัดร้อยเอ็ดเข้าสู่
สังคมผู้สูงวัย ร้อยละ 18.66 เป็นสังคมผู้สูงอายุ ของประชากรทั้งจังหวัด (สังคมสูงวัยตามนิยามของ
สหประชาชาติ) จากสถานการณ์ที่ประชากรผู้สูงอายุมีจานวนเพ่ิมข้ึนในทุกๆ ปี เพ่ือเป็นการรองรับการเข้าสู่
สังคมผู้สูงอายุท่ีกาลังจะเกิดขึ้นในปัจจุบัน จึงควรมีการส่งเสริมให้ประชาชนในพื้นที่จังหวัดร้อยเอ็ด มีการ
เตรียมความพร้อมก่อนการเข้าสู่วัยผู้สูงอายุ และมีการสร้างระบบการดูแลและคุ้มครองทางสังคมของผู้สูงอายุ
ในระดับพื้นที่ครอบคลุมท้ัง ๕ มิติ เพ่ือให้เกิดกลไกการส่งเสริม ป้องกัน เฝ้าระวัง และช่วยเหลือผู้สูงอายุ ได้
อยา่ งเปน็ รูปธรรม ดังนี้

1) มิติด้านเศรษฐกิจ ส่งเสริมการออมท่ีเหมาะสมกับช่วงวัยต่างๆ เพื่อเป็นการสร้างหลักประกันทาง
รายได้ที่มั่นคงเม่ือยามสูงวัย รวมถึงส่งเสริมการสร้างหลักประกันทางรายได้ที่มิใช่เงินออม เช่น การส่งเสริม
อาชพี เพื่อรองรบั ยามเกษยี ณ เป็นต้น

2) มิติด้านสังคม ส่งเสริมการเรียนรู้ของผู้สูงอายุ และประชาชนทุกช่วงวัยให้มีความรู้ในการเตรียม
ความพร้อมเพ่ือเป็นผู้สูงอายุท่ีมีคุณภาพในอนาคต และมีทัศนคติที่เหมาะสมต่อผู้สูงอายุที่ยังคงเป็นพลังและ
ของสังคม เช่น การจัดกิจกรรมในโรงเรียนผู้สูงอายุ และศูนย์พัฒนาคุณภาพชีวิตและส่งเสริมอาชีพผู้สูงอายุ
(ศพอส.)

รายงานสถานการณ์ทางสงั คมจังหวดั รอ้ ยเอ็ด ประจาปี ๒๕๖๕

26
3) มิตดิ ้านสขุ ภาพ ส่งเสริมการสร้างเสริมสุขภาพและสุขภาวะทด่ี สี าหรบั ผู้สูงอายุ โดยเร่ิมต้ังแต่ช่วงวัย
เด็ก เยาวชน และวัยทางาน และผลักดันให้การมีเจ้าหน้าท่ีในพ้ืนที่เพื่อดูแลผู้สูงอายุ ให้มีความแข็งแรงท้ังด้าน
ร่างกายและจติ ใจ
4) มิติดา้ นสภาพแวดล้อม การจดั สภาพแวดลอ้ มให้เอ้ือตอ่ การใช้ชีวิตประจาวันของผู้สูงอายุ ตลอดจน
การปรับปรุงและซ่อมแซมสภาพท่ีอยู่อาศัยของผู้อายุ เพ่ือลดอัตราการเกิดอุบัติเหตุท่ีไม่พึงประสงค์ เช่น
การปรบั สภาพแวดลอ้ มและทีอ่ ย่อู าศยั ของผูส้ งู อายุใหเ้ หมาะและปลอดภยั
5) มิติด้านเทคโนโลยีและนวัตกรรม ส่งเสริมสนับสนุนการพัฒนาศักยภาพบุคลากรทุกภาคส่วน
และนวตั กรรมเพ่ือรองรบั การดาเนินชีวิตของผสู้ ูงอายุ และสามารถเขา้ ถึงไดอ้ ย่างเหมาะสมโดยใช้ระบบสังคมออนไลน์

รายงานสถานการณท์ างสังคมจังหวัดรอ้ ยเอ็ด ประจาปี ๒๕๖๕

27

อา้ งองิ

1. ระบบสถติ ิทางทะเบยี น กรมการปกครอง กระทรวงมหาดไทย
2. ระบบฐานข้อมลู สารสนเทศ กระทรวงสาธารณสขุ
3. ศนู ยเ์ ทคโนโลยสี ารสนเทศและการส่ือสาร กระทรวงศกึ ษาธิการ
4. สถาบันทดสอบทางการศึกษาแห่งชาติ (องค์การมหาชน)
5. กรมสุขภาพจติ กระทรวงสาธารณสขุ
6. สานกั งานสถติ ิแห่งชาติ
7. กองยทุ ธศาสตรแ์ ละสารสนเทศที่อย่อู าศัย ฝ่ายวิชาการพฒั นาท่ีอยูอ่ าศัย การเคหะแหง่ ชาติ
8. สานักงานคณะกรรมการพัฒนาเศรษฐกิจและสงั คมแห่งชาติ
9. ระบบThai People Map and Analytics Platform (ระบบบรหิ ารจัดการขอ้ มลู การพัฒนาคนแบบช้ีเป้า)
10. สานกั งานศึกษาธิการจังหวดั รอ้ ยเอด็
11. สานกั งานสถิติจงั หวดั ร้อยเอด็
12. สถานพนิ จิ คมุ้ ครองเด็กและเยาวชนจังหวัดร้อยเอด็
13. สานกั งานประกนั สงั คมจังหวัดร้อยเอด็
14. บา้ นพกั เด็กและครอบครัวจงั หวัดรอ้ ยเอ็ด
15. ศูนย์คุ้มครองคนไร้ที่พงึ่ จังหวัดร้อยเอด็
16. ศูนย์บริการคนพิการจงั หวดั รอ้ ยเอ็ด

รายงานสถานการณ์ทางสงั คมจงั หวดั ร้อยเอ็ด ประจาปี ๒๕๖๕

28

คณะผู้จดั ทา

 ท่ปี รึกษา พฒั นาสงั คมและความมน่ั คงของมนุษยจ์ งั หวดั ร้อยเอด็
1. นางปราณี ประทมุ มา หัวหนา้ กลุ่มนโยบายและวชิ าการ
2. นางรัมภา เวยี งวเิ ศษ

 คณะผู้จัดทา นักพฒั นาสงั คมปฏิบตั กิ าร
1. นางสาววาสนิ ี ศริ สิ อน นกั พัฒนาสังคม
2. นางสาวขนิษฐา พัฒนจักร นักพัฒนาสงั คม
3. นายสรุ ชัย อาทิตย์ตงั้ เจ้าหน้าท่ี ศปคม.จว.รอ.
4. นางสาวศรญั ญา คณาศรี เจ้าหน้าทีร่ ะบบงานคอมพิวเตอร์
5. นายสนธเิ ดช ทานะปตั

พร้อมคณะขา้ ราชการและเจ้าหน้าท่สี านักงานพฒั นาสังคมและความม่นั คงของมนษุ ยจ์ งั หวดั ร้อยเอ็ด

รายงานสถานการณท์ างสังคมจงั หวัดร้อยเอด็ ประจาปี ๒๕๖๕

29

รายงานสถานการณท์ างสงั คมจงั หวดั รอ้ ยเอ็ด ประจาปี ๒๕๖๕


Click to View FlipBook Version