The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search

เพลงกล่อมเด็กภาคอีสาน : จากสายเปลสู่สายใยความผูกพันและวิถีชีวิตในครอบครัว

๑เพลงกลอ่ มเด็กภาคอสี าน จากสายเปลสู่สายใยความผกู พันและวถิ ชี วี ติ ในครอบครัว

เพลงกลอ่ มเด็กภาคอสี าน
จากสายเปลสสู่ ายใยความผูกพันและวถิ ีชีวิตในครอบครัว

ธญั ธร เวทยว์ รี ะพงศ์ (๐๒๗)

สาขาวิชาภาษาไทย วิทยาลัยการฝึกหัดครู มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั พระนคร

บรรยากาศในสังคมไทย แต่ดั้งเดิมนนั้ อวลไปดว้ ย

ความรกั หว่ งใย ปรารถนาดจี ากญาติผู้ใหญ่ พอ่ แม่พ่ีน้อง

ซึ่งสิ่งนี้เป็น พื้นฐานของการหล่อหลอมชีวิตน้อยที่เป็น

สมาชิกใหม่ของครอบครัวให้เติบโตเป็นผู้ที่มีความสุขท้ัง

กายและใจ บ่อยครั้งที่หวนคิดกลับไปว่า ในวัยเด็กของ

เด็กสมัยก่อนนั้น ผ่านพบอะไรมาบ้าง นอกจากอ้อมแขน

ไอรักของแม่แล้ว ยังแว่วเสียงเพลงเห่กล่อมเป็นทำนอง

ช้า ๆ เบา ๆ จากเพลงกล่อมเด็กท่แี มร่ อ้ ง สลบั กบั การไกว

เปล จึงมีสำนวนว่า ไกวเปลเห่ช้า หรือไกวเปล เห่กล่อม

(สุมามาลย์ พงษไ์ พบูลย์. 2549 : 69)

เพลงกล่อมเด็ก เป็นเพลงพื้นบ้านประเภทหน่ึง

ภาพการกล่อมเดก็ ของผ้สู งู อายุชาวอสี าน ซึ่งมีอยู่ในทุกสังคม มีรายละเอียดที่แตกต่างกันออกไป
ตามวัฒนธรรมของสังคมนั้น ๆ และล้วนได้บันทึก

เรื่องราววถิ ชี ีวิตของสงั คมนัน้ ๆ ไวด้ ว้ ยกนั ท้งั สิ้น เดมิ เราเคยมคี วามคดิ เพยี งวา่ เพลงกลอ่ มเด็กมบี ทบาทในการ

กล่อมให้เด็กทารกนอนหลับในเวลาอันรวดเรว็ เท่านั้น แต่เมื่อได้ศึกษาเนื้อหา และท่วงทำนองเพลงตลอดจน

ความแวดล้อมของเพลงกล่อมเด็กแล้ว พบว่าเพลงกล่อมเด็กยังมีบทบาทและคุณค่าอีกมากมาย ในฐานะที่

เพลงกลอ่ มเด็กเป็นสว่ นหนึง่ ของวัฒนธรรม เน้อื หาจะบอกเรอ่ื งราวความเป็นไปของคนในสงั คม การแนะแนวท่ี

ปรากฏอยู่ในเพลงจะช่วยอบรมบ่มนิสัยให้เด็ก ๆ ได้โดยการซึมซับอย่างไม่รู้ตัว พัฒนาเป็นแนวทางในการ

ประพฤติปฏบิ ตั ติ นในสงั คมให้แก่เยาวชน ซ่ึงไม่ใชเ่ ฉพาะทารกท่ีกล่อมอยู่เท่านัน้ แต่รวมถงึ เด็กและเยาวชนที่

มกั จะเลน่ อย่รู อบ ๆ และได้ยินได้ฟงั เพลงกลอ่ มเด็กน้นั ด้วย

ท่วงทำนองที่เอือ้ นอ่อนเอาใจ และเนื้อหาที่เรียบง่ายของเร่ืองราวใกล้ ๆ ตัว จากความรู้สึกที่แท้จริง

ตามอารมณ์ของผู้ร้อง เป็นเสน่ห์ดึงดูดใจให้แก่ผู้ได้ยินไดฟ้ งั ดังนั้นนอกจากเพลงกล่อมเด็กจะมุ่งกล่อมให้เด็ก

ทารกนอนหลบั ดว้ ยความ อนุ่ ใจแล้ว ผู้ร้องเพลงกล่อม ยังได้รับความเพลิดเพลนิ จากเสียงรอ้ งและเรอ่ื งราวท่ีตน

ถ่ายทอดออกมา ซึ่งบางครั้งจะเป็นเรื่องราวของตนเอง ของเพื่อนบ้าน และเรื่องราวที่เล่าขานกันในสังคม

นั้นเอง บางครั้งเป็นความรำพึงรำพัน เป็นความชื่นชมยินดี เป็นคำติฉิน หรือเป็นเหตุการณ์ในการดำเนิน

ชีวิตประจำวัน เรื่องราวเหล่านี้จงึ เปน็ เร่ืองทีน่ ่าจะมีการเก็บรวบรวม และศึกษาวิเคราะห์ เพื่อบันทึกไว้ก่อนที่

ความเจริญของสังคม โดยเฉพาะความเจริญในด้านเทคโนโลยีการสื่อสาร จะกลืนการสืบทอดวัฒนธรรม

พ้นื บา้ นไปจนหมดสิ้น (สุนยี ์ เล่ยี วเพญ็ วงษ์. 2545 : 1)

๒เพลงกล่อมเด็กภาคอีสาน จากสายเปลสูส่ ายใยความผกู พันและวิถีชีวติ ในครอบครวั

สุกัญญา ภัทราชัย (2523 : 37) ได้กล่าวไว้ว่า เนื้อหาของเพลงกล่อมเด็กโดยทั่วไปจะมีความ
คล้ายคลงึ กัน คอื กล่าวถงึ ภาวะการนอนหลับ ซงึ่ บางบทอาจบ่งว่าเป็นบรรยากาศกลางคืนโดยเฉพาะ เช่น ดึก
ออนซอน หมู่เขานอนมิดหม่ี อาจมีการเปรียบเทียบกับสัตว์ที่คุ้นเคย เช่น นกเขา นกเอี้ยง นกขุนทอง หรือ

พาดพงิ ไปถึงสมาชิกในครอบครัวคนอนื่ ๆ โดยเฉพาะ “พ่อ” ที่มิไดอ้ ย่ใู นขณะน้ัน ดังความวา่
“....พอ่ เจา้ ไปอแู่ กว้ หลายปแี ล้วบ่มา แมก่ ะตง้ั ต่อท่า น้ำมันบ่ทาเพ่ินเตอ้ื งต่อ คอยพ่อเจ้าแลง

เชา้ กะบเ่ หน็ ....”
ถึงแมว้ า่ เพลงกล่อมเด็กภาคอสี านจะมีจดุ ประสงค์ทไี่ ม่แตกต่างจากภาคอ่ืน น่นั คือ “การใช้เปลโยงสาย

ใจโยงใจแม่ลูก” แต่ด้วยเนื้อหาซึง่ มีเอกลักษณ์และลกั ษณะเฉพาะตวั กลับทำให้เพลงกลอ่ มเด็กของชาวอสี าน

มคี วามโดดเด่นออกมาจนนา่ นำมาศกึ ษาให้แจม่ ชัดยิ่งขึ้นในปัจจุบัน ซ่ึงสอดคล้องกบั สายเปลสายใจโยงใยแม่ลูก
ของสืบพงศ์ ธรรมชาติ (2549 : 75). ที่วา่ “สายเปลสายใจโยงใยแมล่ ูก” เปน็ เรื่องทเ่ี กิดขนึ้ ในอดีตและคงสืบ

ทอดมาถงึ ปจั จุบนั บา้ ง ปัจจบุ นั “สายเปลสายใจโยงใยแม่ลกู ” เกดิ ข้ึนไดม้ ากน้อยเพยี งใดน้นั เป็นเรื่องท่ีต้องมา
ขบคดิ กนั วา่ จะทำอย่างไรใช้วิธีไหน ทั้งน้เี พระปัจจบุ นั ใช้เปลกันน้อยมาก ผ้เู ขยี นยงั เชอื่ วา่ ในความเป็นแม่ลูกกัน
นนั้ นา่ จะมีส่ิงอ่นื มาทำหน้าท่ีรับภาระแทนสายเปล เพอ่ื โยงใยสายใจแม่ไปสู่ลูกได้ตามสมควร การคิดในเรื่องนี้

ก็คงตอ้ งชว่ ยกันหลาย ๆ ฝา่ ย ทั้งน้เี พ่อื เปน็ การพัฒนาสังคมไทยให้ดีที่สุด
บทความนี้นำเสนอวิถีชีวิตที่ปรากฏในเพลงกล่อมเด็กภาคอีสาน โดยแบ่งออกเป็นส่ีส่วน ส่วนแรก

นำเสนอลักษณะของเพลงกล่อมเด็กภาคอีสานที่สามารถแบ่งออกเป็น 4 ลักษณะ ส่วนที่สอง นำเสนอวถิ ีชีวติ
และภาพสะท้อนที่ปรากฏในเพลงกล่อมเดก็ ภาคอีสาน ส่วนที่สาม นำเสนอบทบาทและคุณค่าของเพลงกล่อม
เด็กภาคอสี านท่มี ตี อ่ สงั คม และสว่ นท่สี ่ี นำเสนอความสรปุ ของการศกึ ษาเพลงกล่อมเด็กภาคอสี าน

ลกั ษณะของเพลงกลอ่ มเดก็ ภาคอสี าน

เพลงกล่อมเด็กภาคอีสาน มีลักษณะพิเศษ นั่นคือ ผู้ถ่ายทอดสามารถกำหนดความ สั้น ยาว ของเพลง

ตลอดจนการใช้ท่วงทำนองของเสียงร้องได้ตามสถานการณ์ในขณะร้อง เช่น หากเด็กอยู่ในวัยทารก ยอมนอน

หลับโดยดี ผู้ร้องก็อาจจะใช้น้ำเสียงร้องตามลีลาเพลงกล่อมเด็กปกติ อาจเป็นเพียงร้องออกเสียงเอื้อนในลำคอ

ให้สั้น-ยาว หนัก-เบา โดยไม่ต้องมีเนื้อร้องหรือร้องเพียงเพลงสั้น ๆ และไม่ต้องร้องหลายเพลงมากนัก อาจจะ

รอ้ งเพลงเดียวซ้ำ ๆ กนั กไ็ ด้ หรอื ใช้วิธีการลากเสียงเอื้อนยาว ๆ ไปจนกวา่ เด็กจะหลับจึงหยุดร้อง แต่ถ้าหากเด็ก

ไม่ยอมนอน อยากเล่น หรือรอ้ งไห้อยู่ ผ้รู อ้ งเพลงกลอ่ มจำเปน็ ต้องรอ้ งเพลงที่ค่อนข้างยาว และบางคร้ังอาจต้อง

เปลี่ยนเนื้อหาไปเป็น เพลงขู่ เพลงปลอบ ขอร้อง หรือติดสินบน เพื่อให้เด็กยอมนอนหลับโดยดี ขณะเดียวกัน

นำ้ เสียงท่ีร้องอาจจะต้องทำเสียงดงั ข่มเสยี งเด็ก หรือแสดงนำ้ เสียงข่มขู่ให้เด็กกลัว หรือปลอบประโลมตามลีลาที่

สอดคล้องกับเน้ือความของเพลงกล่อมด้วย เพือ่ ให้เดก็ หลบั โดยเรว็ นัน่ เอง (สกุ ญั ญา ภทั ราชยั . 2523 : 37)

การขู่ คือ การทีผ่ ู้รอ้ งนำสิ่งท่ีน่ากลัวสำหรับเดก็ มาขใู่ หเ้ ดก็ ทารกกลวั เพื่อจะได้รีบหลับตาโดยเร็ว เชน่

- เจ้าบน่ อนแมวโพงกัดแก้ม เจา้ บแ่ อ้มไกน่ ้อยตอดตา

- อย่าซะไหก่ ๋างค่ำยา่ นผีพาย อย่าซะไหย่ ามงายยา่ นผีเปา้

การปลอบ คือ การที่ผู้ร้องพยายามชักชวนโน้มน้าวให้เด็กทารกนอนหลับโดยเร็ว ด้วยถ้อยคำที่

ออ่ นหวาน นำ้ เสยี งทอ่ี ่อนโยน มกี ารกล่าวอ้างเหตุการณ์ เพอื่ การเอาใจให้รู้สกึ ปลอดภยั อบอุ่น อาจมีการสร้าง

ภาพพจนเ์ ปรยี บเทียบให้เห็นเป็นสง่ิ ท่สี วยงามเลิศเลอ เช่น

- นอนสาเด้อหลา่ หลบั ตาแม่สกิ ่อม นอนอแู่ กว้ นอนแลว้ แม่สิไกว

- นอนอู่ไม้อูร่ จนา เจ้าเกิดมามีชัยมีโชค

- นอนสาเด้อหล่าแมวมาแมส่ ิไล่ เป็ดไกฮ่ อ้ งไผสิป้อนเหยอ่ื มัน

๓เพลงกลอ่ มเดก็ ภาคอสี าน จากสายเปลสู่สายใยความผูกพนั และวิถีชีวติ ในครอบครัว

การขอ คือ การทผ่ี รู้ ้องกล่าวขอบางสิง่ บางอย่างท่มี ักไม่ใช่สิ่งจำเป็นสำหรับการดำรงชีวิตปกติ แต่เป็น

สิง่ ท่นี ่าจรรโลงใจให้แก่ชวี ติ หรือขอส่ิงศกั ดิ์สิทธม์ิ อี ำนาจบันดาลให้เดก็ มคี วามสขุ ความสบายในชวี ิต เช่น

- เทิงพระอินทรเ์ ทวดากะซูซอย ขอให้ลกู นอ้ ยนอนออู่ ยู่ซำบาย

- ยามเมื่อเชา้ ตาเวน็ เจ้างาม ขอแหวนวงงามใหห้ ลานข่อยแหน่

เอา้ หลานแบมือมาใหเ้ พ่ิน เพนิ่ สิใหแ้ สงเงนิ แสงทอง

ใหบ้ กั หำเจ้าใหญ่เจา้ สูง เป็นลงุ เปน็ ขนุ เป็นท้าว

การติดสินบน คือ การที่ผู้ร้องนำเอาสิ่งที่เดก็ สนใจ หรือสิ่งที่ผู้ใหญ่คิดว่าน่าสนใจ หรือบางครั้งอาจ

เปน็ สิง่ ท่ผี ู้ใหญ่ตอ้ งการ มาหลอกลอ่ นำมาเปน็ สิ่งแลกเปลีย่ นกับการนอนหลับของเดก็ เชน่

- นอนสาหล่าหลบั ตาเด้อสิอนุ่ แม่ไปบญุ สิเอาข้าวปนุ้ มาให้

เทียวทางไกลสิเอาคำมาฝาก กอ้ งแขนนากสคิ ลอ้ งแขนลูกน้อย

ลมวอยวอยหลบั ตาสาเดอ้ แม่ เอ.่ ..เอ.้ ..

นอกจาก 4 ลกั ษณะน้ีแล้ว เพลงกล่อมเด็กภาคอีสานได้แสดงภาพของสงั คมอีสาน พรรณนาเรื่องราว

ต่าง ๆ ทำให้เข้าใจสภาพวิถีชวี ิตของคนชนบทอีสานได้เป็นอย่างดี และยังมีเพลงกลอ่ มเด็กอีกประเภทหน่ึงซึ่ง

เป็นลักษณะเฉพาะของเพลงกล่อมเด็กภาคอีสาน ที่แสดงสถานภาพของผู้ร้องไว้อย่างชัดเจนมาก เรียกว่า

“เพลงแม่ฮ้างกลอ่ มลกู ”

วีถชี วี ติ และภาพสะทอ้ นสงั คมทป่ี รากฏในเพลงกลอ่ มเดก็ ภาคอสี าน

สนุ ีย์ เล่ียวเพญ็ วงษ์ และกุลธิดา ทว้ มสุข (2545 : 17) ได้เสนอไวว้ า่ เนื้อหาของเพลงกล่อมเด็กภาค
อีสานส่วนมาก จะสะท้อนให้เห็นถึงวิถีชีวิต วัฒนธรรม ความเป็นอยู่ได้อย่างชัดเจน เรื่องราวต่าง ๆ ซึ่งเป็น
ประสบการณ์ชีวิตทั้งของส่วนตนและของชุมชน โดยเฉพาะเพลงกล่อมเด็กที่เรียกกันว่า “เพลงแม่ฮ้างกล่อม
ลกู ” ซงึ่ นอกจากจะสะทอ้ นภาพวถิ ชี วี ิตประจำวันแล้ว ยงั สะท้อนอารมณ์ ความรสู้ ึก และสถานภาพของผทู้ ่ีเป็น
แมห่ ม้าย แม่ฮ้าง ไวอ้ ย่างน่าสนใจ

สนุ ยี ์ เลี่ยวเพญ็ วงษ์ และกลุ ธิดา ท้วมสุข ไดเ้ สนอวถี ีชีวิตและภาพสะท้อนสังคมทป่ี รากฏในเพลงกล่อม
เด็กภาคอสี านไว้ ดังนี้

1) ภาพสังคมเกษตรกรรม

สนุ ีย์ เล่ียวเพญ็ วงษ์ และกลุ ธดิ า ท้วมสขุ (2545 : 18-19) ได้เสนอไว้ว่า สงั คมอีสานเป็นสังคม
ที่ดำเนินชีวิตอย่างเรียบง่าย ผูกพันใกล้ชิดและพึ่งพิงอยู่กับธรรมชาติ ทั้งการหาอยู่หากิน เรื่องราวที่นำมาผกู
เปน็ เพลงกลอ่ ม จึงเปน็ ภาพการดำเนนิ ชีวิตประจำวันที่พอ่ แมต่ ้องออกไปทำงานนอกบา้ น ซึ่งกค็ อื ทนี่ า หรือป่า
รอบ ๆ หมู่บ้านที่ปัจจุบันเรียกว่า ป่าชุมชน และบางคนอาจจะมีสวน มีไร่ที่ต้องออกไปดูแล รดน้ำพรวนดนิ
และเก็บผลิตผลมาเป็นอาหารสำหรับครอบครัว การออกจากบ้านไปทำงานนัน้ ความจริงก็คือ การออกไปหา
อาหารนั่นเอง ชาวบ้านจะสามารถหาผัก หาปลา หานก หาหนู ตลอดจนเป็ด ไก่ ไข่ ก็หาได้จากพื้นที่ไร่นา
และปา่ ชมุ ชน ซ่ึงมักจะมอี ยูห่ า่ งไกลออกไปจากท่อี ยู่อาศยั ชาวบ้านจะปลูกผัก เลย้ี งไก่ (ดว้ ยการปล่อยให้หากิน
ตามธรรมชาติ) ไว้ใกล้ ๆ ทนี่ าของแต่ละคน ตอนเช้าก็จะจงู วัวจงู ควายท่ีเล้ยี งไว้ออกไปปล่อยให้หากินในพ้ืนที่
ป่านอกหมู่บ้านเมื่อทำงานในไร่นาจนเย็นแล้วก็จะเก็บผัก หาปลา (ในหนองน้ำที่ขุดไว้ในพื้นที่นา หรือตาม
แหล่งน้ำสาธารณะของชุมชน) ขุดหาแมลงกินได้ นก หนู และไข่ หรือไก่ สำหรับอาหารมื้อพเิ ศษแล้วจึงจูงวัว
ควายกลับบา้ น ซง่ึ ตามความเป็นจรงิ ฝงู ววั ควายเหลา่ นนั้ จะเดินกลับคอกหรือใต้ถนุ เรือนได้เองในยามเย็น ตาม
สัญชาตญาณความเคยชิน

๔เพลงกล่อมเด็กภาคอสี าน จากสายเปลสูส่ ายใยความผกู พนั และวถิ ชี ีวติ ในครอบครวั

ดังน้ัน ก่อนทจี่ ะออกไปทำงานในไรน่ า ลูกทย่ี งั เป็นเด็กออ่ นไม่ควรออกไปลำบากด้วย จงึ ต้องนอน

อย่ทู ีบ่ ้านดว้ ยการดแู ลของพี่ หรือ ปู่ ย่า ตา ยาย ทไี่ มต่ ้องออกไปใชแ้ รงงานในนา แตก่ อ่ นจะออกไป แมก่ ม็ กั จะ

ต้องเป็นผู้กล่อมให้ลูกนอนก่อนออกจากบ้าน ด้วยถ้อยคำปลอบประโลม และบอกความจำเป็นในการที่แม่

ต้องออกไปไกลลูก ถ้อยคำที่บอกเล่าเรื่องการทำงาน และการรอคอยอย่างมีความหวังของลูก ช่วยทำให้ลูก

สบายใจและไมง่ อแง พ่อแม่กจ็ ะทำงานไดโ้ ดยความสะดวกและสบายใจ ส่วนลูกก็จะไดร้ บั อาหารอรอ่ ย ๆ และ

โดยเฉพาะไดก้ นิ นมแมท่ ่ีอรอ่ ยดีมคี ณุ คา่ เมอื่ แม่กลบั มา เช่น

นอนสาหลา่ หลับตาแม่สกิ ล่อม นอนอู่แก้วนอนแล้วอย่าติง

แม่ไปไฮ่ได้ไขไ่ กม่ าหา แม่ไปนาได้ปลามาป้อน

แมไ่ ปเล้ยี งม่อนเกบ็ มอ่ นมาส่ง แมม่ าฮอดแลว้ จะตืน่ กนิ นม

นอนสาหล่าหลับตาแมส่ กิ ล่อม นอนอู่แลว้ จงั ตนื่ กินนม

กินนมไผกะบ่คอื นมแม่ แมไ่ ปไฮ่ปิง้ ไกม่ าหา

แมไ่ ปนาหมกปลามาป้อน แมเ่ ลย้ี งม่อนจะไดน้ ุ่งซิน่ หมี่

แตบ่ างครั้งหากที่ทำกินอยู่ไม่ไกลจากหมู่บา้ นมากนัก ชาวบ้านก็อาจจะกลับมากินข้าวกลางวันท่ี

บ้าน ซึ่งมักจะเป็นตอนเพล คือเวลาประมาณ 11.00 น. เวลานั้นลูกก็จะได้กินข้าวและกินนมแม่ด้วย ดัง

ตัวอย่างต่อไปนี้

เออ..นอนสาเด้อหำเอยนอนอู่ นอนอู่แก้วหลับแล้วแม่กล่อมไกว

สายพอเพลจ่ังลกุ มากินข้าว กินข้าวแล้วกะจั่งแอว่ กนิ นม

กนิ นมไผกะบ่คือนมแม่ นมเพ่ินสม้ นมแมเ่ จา้ จั่งหวาน

ไม่ว่าชาวบ้านอีสานจะรู้ซึ้งถึงคุณค่าทางโภชนาการของนมแม่ จากการประชาสัมพันธ์ของ

กระทรวงสาธารณสุขเช่นในปัจจุบันหรือไม่ก็ตาม แต่แม่ชาวอีสานได้บอกให้ลูกได้รับรู้ถึงคุณค่าของนมแม่ท่ี

หวานอรอ่ ยเพราะการกินนมแม่จะได้รับการถ่ายทอดความรัก ความอบอุ่นจากอกแม่ซ่ึงเป็นสายใยผูกพันท่ไี ม่

สามารถจะเอา นมเพน่ิ มาเปรียบเทยี บกันได้ นอกจาก นมเพนิ่ จะส้ม คอื เปรีย้ ว และไม่อร่อย ซ่ึงมีความหมาย

โดยนัยถึงความไมอ่ บอุ่น ไม่มคี วามผกู พนั เหมือนแม่ของตัวแลว้ ยังมกี ารย้ำอีกดว้ ยวา่

“กินนมไผกะบค่ ือนมแม่ กนิ นมแมท่ งั้ แซบทั้งหวาน”

2) บทบาทชายหญงิ ในสังคมอีสาน

สุนีย์ เลี่ยวเพ็ญวงษ์ และกุลธิดา ท้วมสุข (2545 : 19-20) ได้เสนอไว้ว่า จากเพลงกล่อมเด็ก

ภาคอีสาน ทำให้เห็นการแบ่งหน้าที่ชายหญิงในการทำงานบ้านได้ค่อนข้างชัดเจน และเป็นหน้าที่ยึดติดหาก

ฝา่ ยใดฝา่ ยหน่ึงไม่อยู่ ผ้รู บั ผดิ ชอบงาน หรอื ภาระน้ัน ๆ กจ็ ะขาดหายไป ไม่มใี ครทำหนา้ ที่แทนได้ ทำให้ต้องหา

คนอ่นื มาทำหน้าทนี่ ้นั ๆ เชน่ ในการเลยี้ ง ดูลกู ซึง่ ปกตทิ ง้ั ผทู้ เี่ ป็นพอ่ และแมต่ า่ งมหี น้าท่ที ตี่ อ้ งดูแลเอาใจใส่ลูก

รว่ มกัน ในการทำสง่ิ ของเครอื่ งใช้ หรือการหาอาหารการกนิ บางอย่าง พ่อและแม่จะแบ่งงานกันทำ ซง่ึ ในเพลง

กล่อมเด็กภาคอสี านปรากฏคำรอ้ งไว้ ดังนี้

- นอนสาเดอ้ หล่านอนสาแม่สิก่อม นอนอู่แก้วนอนแล้วแม่สิไกว

ให้เจ้านอนอผู่ ้าสองวาแมเ่ จ้าตำ ใหเ้ จา้ นอนอูไ่ ม้สามปลอ้ งพ่อเจา้ สาน

- แมอ่ ีสรอ้ ยตำหกู แปะแปะ แม่อีแลตำแพรใหล้ ูก

๕เพลงกล่อมเดก็ ภาคอสี าน จากสายเปลสสู่ ายใยความผกู พันและวถิ ชี ีวติ ในครอบครวั

จะเหน็ ไดว้ ่า งานทอผ้าเป็นงานของผหู้ ญงิ ซ่งึ ทำต้ังแต่ปลกู หม่อนเลยี้ งไหมที่ต้องไปเก็บใบหม่อน

มาเลี้ยงตัวไหมทุกวัน และนิยมท่ีจะทอผ้าไหม แต่ถ้าจะนอนเปลไม้กต็ ้องใหพ้ อ่ เปน็ คนสานให้ หากไม่มีพ่อก็จะ

ไม่มีเปลไม้ไว้ให้นอน โดยเฉพาะในสำนวน เพลงแม่หม้ายกลอ่ มลูก จะแสดงใหเ้ ห็นถึงความยากลำบากในการที่

ไม่มีผู้ชาย คือ พ่อของลูกอยู่ที่บ้าน แม่และลูกจะต้องได้รับความทุกข์ยากและลำบากมาก แม่จะต้องทำงาน

หลายอย่างที่ผู้หญิงไม่สามารถทำเองได้ ในกรณีแม่หม้ายน้ี ญาติพี่น้องก็จะไม่ค่อยให้ความช่วยเหลือ แม้แต่

อาหารการกนิ ก็ค่อนข้างฝดื เคอื ง เพราะผู้หญิงสามารถหาอาหารประเภทเนื้อสัตวไ์ ด้เฉพาะปลาตัวเล็ก ๆ การ

หาอาหารประเภทเน้อื สัตว์ ปกตจิ ะเป็นหน้าท่ีของผูช้ าย ยกเว้นเป็ด ไก่ ที่เลยี้ งไวเ้ อง ซึ่งผูห้ ญงิ กอ็ าจจะหามาให้

ได้ แต่สว่ นมากผ้หู ญงิ จะมหี น้าที่เกบ็ พืชผกั ผลไม้ หรือไข่ และสัตว์ หรอื แมลงตวั เล็ก ๆ มากกวา่ จะหาเนื้อ หา

ปลาตัวโต ๆ แล้วแม่จะเป็นคนประกอบอาหารให้ ดังปรากฏความทุกข์ยากและความลำบากของแมห่ ม้ายใน

การเลยี้ งดูลกู จากเพลงกล่อมเดก็ ภาคอสี าน ดงั นี้

นอนสาหล่าหลบั ตาแมส่ กิ ่อม นอนอแู่ ก้วนอนแลว้ แมส่ ิกวย

แม่ไปไหส่ เิ ก็บไขม่ าหา แม่ไปนาสิเกบ็ ปลามาต้อน

แม่เลี้ยงหมอ่ นอย่ใู นป่าสวนมอน สวยพอเพลจั่งตามมากนิ ขา้ ว

แมไ่ ปไฮ่กะจ่ีไขม่ าหา แมไ่ ปนากะจ่ีปลามาป้อน

นอนอู่ผา้ อแี ม่เฮาตำ นอนอูไ่ มอ้ พี ่อเฮาสาน
นอนหลบั แล้วให้หลบั ตาแล้ว นอนแล้วแม่สิกวย
ลกู ข่อยไห้อยากกินไขแ่ มงเง่า พ่อเฮาไปไฮ่ลาว (พอ่ ) สเิ อามาตอ้ น

นอนตื่นขึน้ แม่สหิ มกไว้ทา่ นอนสาเด้อ เดอ้ แก้ว ต่นื แลว้ จังคอ่ ยกนิ

ยากแท้หนอลูกสาวบ่มพี อ่ แม่นไผหนอสไิ ปเกย่ี วหญา้ มงุ คาให้เจ้าอยู่
เดือนหกมาฮอดแลว้ ฝนสิฮำอู่แก้วสิไปซ่นอยู่มอ่ งใดเ๋ ด้
พ่อเพ่ินนะไปคา้ ซ่ินก่ายงั ฮู้ต่าวคืนมา พ่อเพิน่ หนาไปค้าปากะยงั ฮู้ตา่ วบ้าน

เจา้ ไดเ้ ป็นกำพรา้ ทอ่ มต่อพ่อบ่มีลูกเอย เพ่ินอยากกนิ ซน่ิ กะบ่มีผูไ้ ปหา

เพ่นิ อยากกนิ ปลากะบ่มผี ไู้ ปซ้อน เฮาน้ีหนาแม่ไปหาไดแ้ ตป่ ลาขก้ี า้ ง

เป็นกรรมเจา้ อีหลลี กู เลย

3) อาหารการกินของคนอีสาน

สุนีย์ เลยี่ วเพญ็ วงษ์ และกลุ ธดิ า ท้วมสุข (2545 : 20-22) ไดเ้ สนอไว้ว่า ในเพลงกล่อมเด็กภาค

อีสานปรากฏชือ่ อาหารมากมายหลายชนดิ ทัง้ พืช ผัก ผลไม้ และสัตว์นานาชนิด แต่ทั้งหมดล้วนเป็นสิ่งท่ีมอี ยู่

ตามธรรมชาติในท้องถ่ิน ซงึ่ ชาวบ้านสามารถหาได้จากไร่นา และป่ารอบ ๆ บ้าน ในบางครง้ั อาจจะได้จากการ

ซอื้ ขายแลกเปล่ยี นอาหารประจำวัน ซงึ่ สง่ิ ทีพ่ บในเพลงกล่อมเด็กสำนวนต่าง ๆ มากทีส่ ุด คือ ไก่ ไข่ และปลา

ดังปรากฏในเพลงกลอ่ มเด็กภาคอสี าน ดงั นี้

- แมไ่ ปไฮ่สหิ มกไขม่ าหา แมไ่ ปนาสหิ มกปลามาต้อน

- แม่ไปไฮ่สิจ่ีไกม่ า หาแมไ่ ปนาสิจ่ีปลามาป้อน

- แม่ไปไฮ่กะหมกไขม่ าหา แม่ไปนากะปิ้งปลามาปอ้ น

- แม่ไปไฮไ่ ด้ไก่มาหา แม่ไปนาไดป้ ลามาปอ้ น

๖เพลงกลอ่ มเด็กภาคอีสาน จากสายเปลส่สู ายใยความผูกพันและวิถชี วี ติ ในครอบครัว

การประกอบอาหารนอกจากหมก จี่ (ย่าง) ปง้ิ ซึง่ ใช้ความร้อนทำให้สกุ ตามธรรมชาติ โดยไม่ต้อง
ใช้น้ำมัน หรือน้ำ และสามารถประกอบอาหารให้สุกได้ในพ้ืนที่ทำงานนอกบ้าน พร้อมรับประทานได้เมือ่ กลับ
มาถึงบ้าน แต่หากได้อาหารพิเศษ เช่น ปลาตัวใหญ่ ๆ ก็จะมีการปรุงแบบพิเศษ รสชาติอร่อยมากขึ้น ซึ่งใน

ความเปน็ จรงิ เป็นอาหารสำหรับผู้ใหญม่ ากกว่า เพราะอาหารท่ีมีการปรุงแบบพิเศษเหลา่ น้ีจะมีรสจัดไม่เหมาะ
สำหรับเด็กแต่เป็นอาหารมื้อพิเศษที่แม่ผู้ร้องกล่อมมักจะนำมาเล่าเป็นเพลงกล่อมให้ลูกฟัง ซึ่งคงจะเป็น

ความสขุ สว่ นหนึ่งของแม่ดว้ ย ดังปรากฏในเพลงกลอ่ มเดก็ ภาคอีสาน ดังน้ี
- แม่ไปยามเบ็ดปลาใหญต่ อด พอมาฮอดสไิ ด้กินออ่ มแกง

เพลงกลอ่ มเดก็ ภาคอสี านบางสำนวน แสดงการประกอบอาหารไวอ้ ย่างชัดเจน ดงั ปรากฏในเพลง

กลอ่ มเดก็ ภาคอีสาน ดังนี้
- อื่อ...อื้อ... มาเด้อหล่ามากนิ ต้มไก่ หวั สไิ ค้ (ตะไคร้) ใส่พ้อมปลาแดกใส่น้ำ

เป็นทน่ี า่ สังเกตว่า กล้วย ซึง่ เปน็ อาหารทีม่ ีคุณค่ามากสำหรับเด็ก และเปน็ อาหารพืน้ บ้านที่คนไทย

คุ้นเคยกัน ซึ่งเป็นทั้งอาหาร ผลไม้ และของว่าง เป็นอาหารสำหรับทุกคนในครอบครัว คนไทยทุกท้องถิ่นใช้

กล้วยบดละเอียด สำหรับเด็กเล้ียงทารกมาตั้งแต่โบราณจนปัจจุบัน แต่สำหรับ กลว้ ย ในสำนวนเพลงกล่อมเด็ก

ภาคอสี านมกั จะได้มาด้วยการ ซ้อื หรอื แลก มากกวา่ ท่จี ะบอกวา่ ไปเก็บกลว้ ย พบสำนวนทบ่ี อกว่า เก็บกล้วยมา

ฝาก เพียง 1-2 สำนวนเท่านั้น และเป็นลักษณะของกล้วยที่ขึ้นเองตามธรรมชาติไม่ใช่กล้วยที่ปลูกไว้ในไร่นา

ลักษณะเช่นนี้จะเป็นการยืนยันว่าพื้นแผ่นดินอีสานแห้งแล้ง หรือคนอีสานไม่นิยมปลูกกล้วยไว้กนิ เองท้ังท่ีเปน็

พชื ท่มี ปี ระโยชน์มากในชีวติ ประจำวัน จงึ เป็นเรื่องทนี่ า่ ศกึ ษาต่อไป ดงั ปรากฏในเพลงกล่อมเด็กภาคอีสาน ดังนี้

- ถึงยามคำ่ แม่สีหยำ่ ข้าวปอ้ นกบั กล้วยใหอ้ ิ่มหนำ

- หลับตาซ่วยซ่วยพองาย (สาย) ใหเ้ จ้าต่ืน นอนตนื่ แลว้ สิบ่ายกลว้ ยใส่มอื

- ถมิ่ ใส่หมอนใหเ้ จ้านอนอ้วยซว่ ย เพนิ่ มาขายกล้วยแมซ่ ื้อใหก้ นิ

- นอนสาหล่าหลบั ตาจว่ ยจว่ ย เขามาขายกล้วยแมส่ ซิ อื้ ให้กนิ

- ให้เจ้านอนอว้ ยซ่วย ค่ันเพิ่นมาขายกลว้ ยแม่สิแลกใหก้ นิ

อาหารในชีวติ ประจำวัน โดยท่ัวไปจะไม่พบรายละเอียดมากนัก อาจเพราะเปน็ เพลงท่ีร้องให้เด็ก

ฟัง ซึ่งอาหารสำหรับเด็กก็มักจะมีเฉพาะ ข้าว ไข่ ปลา กล้วย อย่างไรก็ตามยังพบชื่ออาหารอีกหลายชนิดใน

เพลงกล่อมเด็กภาคอีสานสำนวนตา่ ง ๆ เช่น ปู หอย กบ แมงดา แมงเงา นกเจ่า อึ่ง เขียด และปลา ซ่ึงมีปลา

หลายชนิดที่ระบชุ อ่ื ไว้นอกจาก ปลาค่อ (ปลาช่อน) ปลาขาว ซงึ่ เป็นปลาพน้ื บ้านทวั่ ไปและมชี อ่ื ปรากฏในเพลง

กล่อมเด็กมากที่สดุ แล้ว ยังมีปลาตา่ ง ๆ อีก เช่น ปลารากกล้วย ปลาสมอ ปลาหลด ปลาดุก ปลาซิว ปลาค้าว

และปลาสะหนาก ดงั ปรากฏในเพลงกล่อมเดก็ ภาคอีสาน ดงั นี้

- หาปลาซวิ ขี้ก้างเขยี ดจะนาน้อยมาปอ้ นบ่อนมือ

- ตาฮากกล้วยเปา่ ปีส่ ซี อ ปลาสมอเป่าแคนนำก้น

ปลาหลดหม่นขค่ี วายทำบอ่ ปลาค่อบอ่ นลอยนำ้ แกง่ หาง

- ขัวระนาสปิ ูปลามีมาก ปลาสะหนากปลาค้าวปลาดกุ

และหากได้ปลามาก ๆ กจ็ ะนำมาทำปลาแดก หรอื น้ำเคม็ (นำ้ ปลาร้า) ไวร้ ับประทานนาน ๆ สว่ น
ผลไม้ก็จะพบมะม่วงกะเสน ซึ่งมักจะอยู่ในสำนวนเพลงกล่อมที่มีเนื้อหาว่าเอามะม่วงกะเสนไปถวายเพล
มากกว่าที่จะบอกว่าเก็บเอาไว้กินเอง มีหมากส้มมอ (ลูกสมอ) หมากทัน (พุทรา) และมีส้มผกั เส้ียน (ผักเสี้ยน

ดอง) ไวท้ านกบั แจว่ เปน็ ตน้ นอกจากน้ยี งั พบวฒั นธรรมการกินหมากปรากฏอยู่ในเพลงกล่อมเด็กหลายสำนวน
ดังปรากฏ ดงั น้ี

๗เพลงกลอ่ มเดก็ ภาคอีสาน จากสายเปลสู่สายใยความผกู พันและวิถีชีวติ ในครอบครัว

- โอนสาตุ่มไทเมืองลมุ่ มาขอกินแตง ไทเมอื งแครงมาขอกินหมาก
- ไทเมืองแพงเขาได้เค้ียวหมาก เคีย้ วพลูแล้วหาวัวหาควาย
- เพน่ิ มาขายปูนแม่สิซื้อให้เค้ียว

4) การประกอบอาชพี

สุนีย์ เลี่ยวเพ็ญวงษ์ และกุลธิดา ท้วมสุข (2545 : 22-24) ได้เสนอไว้ว่า เนื้อเพลงที่แสดงให้

เห็นถึงการประกอบอาชพี ของคนในสงั คมอสี าน สว่ นใหญ่จะเปน็ การทำมาหากนิ ในชวี ิตประจำวัน และเปน็ การ

ดำเนินชีวิตแบบเศรษฐกิจพอเพียง คือ ทำไว้กินไว้ใช้ ที่เหลือจากความจำเป็นจึงจะนำไปขาย หรือใช้วิธีการ

แลกเปลี่ยนสนิ ค้าหรือของใช้ที่จำเป็น แต่ที่เป็นการค้าขายอยา่ งจริงจังก็มักจะเป็นการนำสินค้าจำนวนมาก ๆ

ได้แก่ วัว ควาย หรือผ้าไหม ไปขายไทย คือที่ภาคกลาง ซึ่งต้องไปกันทลี ะหลาย ๆ คนเป็นขบวนคาราวานไป

พร้อม ๆ กัน และไปครั้งละหลาย ๆ วัน อย่างไรก็ตามการซื้อหรือแลกเปลี่ยนสินค้าหรืออาหารการกิน

ประจำวันในท้องถิ่น ก็จะมีพ่อค้าต่างถิ่นมาขายกันอยู่เป็นประจำ คล้ายกับที่ยังคงปรากฏอยู่ในปัจจุบันเป็น

ลักษณะพอ่ ค้าเรข่ ายของเลก็ ๆ น้อย ๆ

ในชีวิตประจำวันที่ชาวบ้านส่วนใหญ่จะต้องออกไปทำนา ทำไร่ และหาอาหารกลับบ้านทุกวัน

แม้แต่ผู้เป็นแม่ที่มีลูกอ่อนจำเป็นต้องออกไปทำงานในไร่นาเช่นกัน เด็กทารกจะต้องนอนรอและอยู่ในความ

ดูแลของพีห่ รือญาติผู้ใหญ่ที่มลี ูกโตพอจะทำงานแทนได้ ผู้สูงอายุก็จะอยู่บ้านเลี้ยงหลานแทน เพลงกล่อมเด็ก

ส่วนมากจะแสดงชีวิตประจำวันเชน่ นี้ ดงั ปรากฏในเพลงกลอ่ มเด็กภาคอสี าน ดงั น้ี

- แมเ่ ฮาไปไฮไ่ ดไ้ ข่มาหา แมเ่ ฮาไปนาไดป้ ลามาตอ้ น

แมเ่ ลย้ี งมอนเก็บมอ่ นมาสง่ แม่เฮามาฮอดแล้วจงั ตนื่ กนิ นม

- แมเ่ ลย้ี งหมอ่ นจะไดน้ ุ่งซน่ิ หมี่

- ยามเลย้ี งหมอ่ นสิได้นุง่ ไหมงาม

- แม่ไปนาข่ีควายเขา้ ตู้ ขาหน่ึงตู้ขาหน่งึ เหยียดซอย

- อื่อ...อือ... ไขผักตู (ประตู) ให้อ้ายคำแปง อา้ ยคำแปงเลย้ี งววั เลย้ี งควาย

- ซน้ิ ตอ่ นนอ้ ยเฮด็ ฮ่งเฮ็ดเคม็ (เน้ือเคม็ ) เฮด็ นำ้ เคม็ (นำ้ ปลารา้ ) สองไหน้อยนอ้ ย

เอาไปตอ้ ยแลกครั่งแลกหมอน แลกขา้ วสารกระบอง (ขไ้ี ต้) บไ่ ด้

.................................................. .........................................................

ไทบ้านเปา้ ขอแม่กะบอง ไทเมืองนองขายส้มผักเส้ียน

- เพิ่นมาขายกลว้ ยแมส่ ิซอ้ื ให้กิน เพิน่ มาขายดนิ แม่สซิ ้ือใหอ้ ยู่

เพ่ินมาขายอู่แม่ซื้อให้นอน เพน่ิ มาขายหมอนแมซ่ ้อื ให้หนุน

- นอนสาหล่าหลับตาแมส่ ิก่อม อีพอ่ หมอ่ มเขาไปขายไหม

ลงไปไทยขายไหมขายหลอด ขายไปฮอดเมืองนอกคอกนา

กลบั คืนมาซ้อื หลามาต้อน แดดแซงซอ้ นลมพดั บแ่ ฮง

- นอนสาหลา่ หลบั ตาจ้วยจว้ ย เพนิ่ มาขายกล้วยแม่สิซอื้ ให้กนิ

คัน่ เพ่นิ มาขายดินแมจ่ ะซอ้ื ให้เจ้านง่ั ค่นั เพนิ่ มาขายตั่งแม่จะซ้ือใหเ้ จา้ งอย

คนั เพ่ินมาขายหอยแมซ่ อื้ ใหเ้ จา้ จิม้ อือ...อือ...อื้อ...

- แม่ไปซอ้ื กล้วยหวซี าวมาบ่ม แมห่ อ่ ขา้ วตม้ โคมนอ้ ยให้เจา้ กนิ

- นอนสาหล่าหลับตาแม่สิก่อม เพน่ิ มาขายอ่แู ม่สซิ ่อื ใหน้ อน

- พ่อเพ่ินไปท่าสินคา้ ยังอยูต่ ่าง พ่อเพิ่นไปค้าปลายังฮ้ตู า่ วบา้ น

๘เพลงกลอ่ มเดก็ ภาคอสี าน จากสายเปลสู่สายใยความผูกพนั และวถิ ีชวี ติ ในครอบครวั

เพลงกล่อมเดก็ บางสำนวนแสดงใหเ้ หน็ ถึงวิถีชีวติ ความเปน็ อยู่ มีการเลน่ หวย ทำให้เดก็ นกึ ไปถงึ ตำรวจ

เหน็ ทหารในขบวนแถวเกยี รติยศ กอ็ าจจะอยากเป็นตำรวจ ทหารบา้ ง ดังปรากฏในเพลงกล่อมเดก็ ภาคอีสาน ดงั น้ี

- เบงิ่ เขาหวยนบั หนงึ่ เป็นสอง หวายกระบองนบั สงู นับตำ่

- เขาประสงค์มกั เปน็ ตำรวจ เขาไปตรวจตะหรัดตดั รอน

- เชือกผกู กระบแ่ี ขวนเอว เกนิ แม่นแนวทหารรับเจา้

5) เครอ่ื งมอื เครอื่ งใชข้ องชาวบ้าน

สทุ ธกิ ร ตะวนั หะ และจนิ ตนา จิตสามารถ (2522 : 40) ไดเ้ สนอไว้วา่ เน้อื เพลงทแี่ สดงในเพลง

กลอ่ มเดก็ ภาคอีสาน สะทอ้ นให้เห็นถงึ เครือ่ งมอื เครอื่ งใชข้ องชาวบ้านว่า เครอื่ งมอื ทช่ี าวบา้ นใช้ในการประกอบ

อาชีพคือ แอก ไถ ซ่งึ ในการไถนา ทำนา ทำไร่ แสดงว่าชาวบ้านยงั ไม่มีเครื่องจักรใช้ในการทำนาเหมือนสมัยนี้

ส่วนเครือ่ งใชข้ องชาวบ้าน ได้แก่ อู่ หรือ เปล ใชส้ ำหรับใหล้ กู นอน ขวานใช้ตัดไม้ กระเชอ หมอ้ ซ่ึงในปัจจุบนั น้ี

บางบ้านก็ยังคงใช้อยู่ แต่อาจมีรูปร่างแตกต่างจากสมัยก่อนบ้างโดยเฉพาะเปล ดังปรากฏในเพลงกล่อมเด็ก

ภาคอีสาน ดังนี้

เออ...เฮอ้ ...เอ๋ย...

แม่ไปไฮใ่ ห้ไกเ่ ขย่ี หยา่ แมไ่ ปนาให้หมากินขา้ ว

หมากนิ ข้าวเปน็ เขาลองซอง เตน้ คว่ำฮอ้ งกะนอ้ งยานยาน

ฟานแลน่ เต้นเป็นหางงองอ บักสม้ มอแลนลงไปใต้

นำ้ ออกไมไ่ หลขน้ึ ไปเหนีย เก็บหมากเขียวใส่เซอค่อยแน้

เก็บหมากหว่าใส่เตยค่อยแน้ เตยเลยหยังเตยเลยขลี่ ่อ

นำ้ ออกบไ่ หลขึ้นโทมโทม ควยตกตมเพิน่ เอาไปล้าง

ควยตกสา่ งเพิ่นเอาไปแทง่ แทงตน้ คไู่ ปตตู่ น้ แต้

ต้ังซ่ีแทบ่ ่แมนควยโต ถามเขาโห่ควยงามหรอื บ่

ถามติดต่อเขางามปานใด มแี อกและไถมีควยจกั คู่

ควายหม่อมซู่มอี ยูจ่ ักโต

6) การละเล่นของชาวบา้ น

สทุ ธิกร ตะวันหะ และจินตนา จิตสามารถ (2522 : 41) ได้เสนอไวว้ ่า จากเน้ือเพลงกล่อมเด็ก

ภาคอีสานจะสะทอ้ นให้เห็นถึงการละเล่นของชาวบ้าน คือ การเล่นว่าว ซึ่งเป็นการเล่นของเดก็ และผู้ใหญ่อีก

ชนิดหนงึ่ การเลน่ ว่าวนยิ มเลน่ กันในฤดูหนาว และมีลมหนาวพัดมาแรง วา่ วจงึ จะลอยอยบู่ นท้องฟ้าได้ ว่าวตัว

ใหญ่จะขน้ึ ได้สูงกวา่ วา่ วตัวเลก็ เพราะมแี รงตา้ นลมไดด้ กี วา่ วา่ วจะมีสายผกู ไวเ้ พือ่ กนั ตก และมีใหว้ ่าวลอยไปท่ี

อื่นได้ จึงมีการนำสายท่ีโยงเปลมาเปรยี บเทยี บกับสายว่าวไว้ในบทเพลงกล่อมเด็กภาคอีสาน ดังนี้

เออ...เฮอ้ ...เอย๋ ...

นอนสาหล่าหลบั ตาแมส่ กิ ่อม ให้แม่หม่อมนอนอูส่ ายไหม

นอนหลับไปให้นอนอู่แกว้ นอนหลบั แลว้ แมส่ ิแก่งสายโยน

สายโยนโย่น โยนไปเสมอว่าว ใหน้ างนาถน้อยนอน เตินอยู่ถ้วนถว้ น

๙เพลงกล่อมเดก็ ภาคอีสาน จากสายเปลสูส่ ายใยความผกู พันและวถิ ีชวี ติ ในครอบครัว

7) ความผกู พนั ในครอบครวั

สุนีย์ เลี่ยวเพ็ญวงษ์ และกุลธิดา ท้วมสุข (2545 : 24-26) ได้เสนอไว้ว่า เพลงกล่อมเด็กภาค

อีสาน แสดงความรัก ความผูกพันของคนในครอบครัวเดียวกันที่มีเด็กเล็กเป็นศูนย์กลางความรัก เมื่อแม่มี
ภาระหน้าที่ที่ต้องห่างไกลเด็กเล็ก พี่ พ่อ และญาติผู้ใหญ่ต่างพร้อมที่จะดูแลเด็กทารกแทน ดังนั้นจึงมีเพลง
กล่อมเด็กสำนวนที่พอ่ พี่ (เอื้อย) เป็นผู้ร้องกล่อม แต่ก็จะมเี นื้อหาทำนองเดียวกัน คือ การรอคอยแม่กลับมา

จากไร่นาแล้วก็จะได้กินนม ดังนั้นจึงเป็นเพยี งการเปลี่ยนคำเรียกผู้ร้องเพลงเท่านั้น ตังปรากฏในเพลงกล่อม
เด็กภาคอีสาน ดังน้ี

- นอนสาหล่านอนสาพ่อสิก่อม
- นอนสาหลา่ หลับตาเอื้อยสิก่อม

และมีหลายสำนวนทีแ่ สดงความรักความห่วงใย เมื่อเห็นเด็กรอ้ งไห้ไม่ยอมนอนโดยง่าย ถึงกับมี
คำรอ้ งทำนองปลอบขวญั และเรียกขวัญให้มาอยู่กับตัว ในกรณนี ีแ้ ม่มกั จะถูกตำหนิหากพบว่า การร้องไห้ของ

เด็กเกิดขึ้นเพราะแม่พาเด็กเล็กออกไปในไร่นาด้วย เนื่องจากความเชื่อท่ีว่า ขวัญของเด็กจะหนีไปเที่ยวไม่
กลบั มาอยู่กบั ตวั ทำใหเ้ ด็กไมส่ บาย หรอื อาจจะเจ็บปว่ ยได้ ดงั นนั้ จึงตอ้ งเรียกขวัญให้กลบั มาอยกู่ ับตัวเองเสมอ
ดงั ปรากฏในเพลงกลอ่ มเด็กภาคอีสาน ดงั นี้

- คน่ั กลบั มาจากไฮ่แมก่ ะเอนิ้ ขวนมา คน่ั กลบั มาจากนาแม่กะเอิน้ ขวนเตา้
เอน้ิ เอาขวนอึดข้าวมาเฮ้ียนเฮยี งพงั เอน้ิ เอาขวนลกู เต้ามาเขา้ อย่คู ีง

เพลงกล่อมเดก็ บางเพลงเป็นคำเรยี กขวัญทใี่ ช้กล่าวในพิธสี ู่ขวญั แสดงถงึ ความศักด์สิ ิทธิ์จริงจังใน

ความพยายามท่ีจะเรยี กขวัญให้กลับมาสู่ตัวเดก็ ไม่ให้หนีไปไหน เพื่อให้เด็กอยูด่ มี คี วามสุข ดังปรากฏในเพลง

กลอ่ มเดก็ ภาคอีสาน ดังน้ี

อย่ามัวตามลิงตามคา่ ง ใหม้ าเสยี นอขวนอีนาง

อย่าใหเ้ สียทแี มใ่ นดอกเดอแมเ่ ข็น ให้มาวันน้เี ดอแมห่ นใู หม้ าอยู่กับซุมยา่

อย่าไปบุกดงพงปา่ ไมใ่ ชบ่ ่อนซุ่มบ่อนเยน็ ใหม้ าเข้าโครงแล้วอย่าถอย

มาหาพาขวนมาตาลอย มาอยกู่ บั ปู่ย่าท่าน

การดแู ลเด็กเล็กทำดว้ ยอาการทะนุถนอม ระมดั ระวงั ดว้ ยความเอาใจใส่ ไมว่ า่ จะเป็นการนอนใน

เปลที่พ่อกับแม่ช่วยกันหาให้ลูกนอน ในผ้าแพรที่อ่อนนุ่มที่แม่ทอไว้ให้ ถ้อยคำปลอบประโลมใจให้นอนหลับ
อยา่ งสบาย การท่ีลกู ได้เกิดมานบั เป็นสิง่ มคี า่ เปน็ บญุ ของพ่อแม่ ดังปรากฏในเพลงกลอ่ มเด็กภาคอีสาน ดงั น้ี

- ยกใสอ่ บู่ ญุ ชอู ย่างอน ยกใส่หมอนบญุ เถงิ อยา่ ไห้

นอนอูไ่ ม้อรู่ จนา เจา้ เกดิ มามีซบั มโี ซก

การเล้ยี งดูเด็กเลก็ จงึ ต้องกระทำอย่างดีดว้ ยความเอาใจใส่อยตู่ ลอดเวลา ดังปรากฏในเพลงกล่อม
เดก็ ภาคอสี าน ดังน้ี

- ถึงยามคำ่ แม่สิหยำ่ ข้าวปอ้ นกบั กล้วยใหอ้ ่ิมหนำ

แม้จะมีความยากลำบากในการเลี้ยงดูลูกเล็ก แต่ก็เป็นความพึงพอใจ เป็นความสุขของพ่อแม่
ดังปรากฏในเพลงกลอ่ มเด็กภาคอสี าน ดงั น้ี

- ดกึ ออนซอนหมั่นลุกหมนั่ ตื่น ลูกน้อยไหง้ มไดก้ ะบอง

๑๐เพลงกลอ่ มเด็กภาคอีสาน จากสายเปลสูส่ ายใยความผกู พนั และวถิ ีชวี ติ ในครอบครวั

แม้ในยามดึกดื่นก็ต้องคอยส่องไฟดูแลลูก เมื่อได้ยินเสียงลูกร้องไห้ ทั้งมีคำขอให้สิ่งศักดิ์สิทธิ์
ปกปอ้ งคุ้มครองให้ลกู มีความสขุ สบาย ดังปรากฏในเพลงกลอ่ มเด็กภาคอีสาน ดังนี้

- เชญิ พระอินทรเ์ ทวดากะซซู ่อย ขอใหล้ ูกน้อยนอนออู่ ยู่ซำบาย

หากจะมสี ่งิ ใดมาทำให้ลูกตกใจกลวั (บางครง้ั เปน็ การสรา้ งเรอื่ งจากผู้รอ้ งเพลงกล่อมนั่นเอง) แม่ก็

จะคอยขับไล่ป้องกนั ภัยให้ เพื่อให้ลูกนอนหลับอย่างมีความสุขกายสบายใจ ดังปรากฏในเพลงกล่อมเด็กภาค
อีสาน ดงั นี้

- นอนสาหล่าหลบั ตาสาหลา่ แมส่ ทิ า่ กวยเจ้ายามหลับ
เสียงกบั แก้มาแอ่วกินตบั แมส่ จิ บั มนั เองลกู หล่าอย่าได้ยา่ น

8) ความศรทั ธาในพระพุทธศาสนา

สุนีย์ เลี่ยวเพ็ญวงษ์ และกุลธิดา ท้วมสุข (2545 : 26-27) ได้เสนอไว้ว่า เพลงกล่อมเด็กภาค

อีสานแสดงให้เห็นถึงการอบรมเลี้ยงดูเยาวชนตามค่านิยมของคนในท้องถิ่น เนื้อหาในเพลงแสดงให้เห็นถึง

ความปรารถนาของพ่อแม่ที่จะได้เหน็ ลูกเติบโตมาเป็นทีพ่ ึง่ ทางใจมากกว่าที่จะหวงั การเลีย้ งดูจากลูก ดังนั้นจึง

บอกความปรารถนาท่ีจะได้เห็นลูกเป็นคนดี รู้จักบทบาทหน้าที่ของตน คือ ผู้ชายก็จะขอให้ได้บวชใน

พระพุทธศาสนา เพื่อแม่จะได้เกาะชายผ้าเหลืองขึน้ สวรรค์และขอให้ลูกเป็นผู้ที่อยู่ในศีลธรรม รู้ผิดชอบชั่วดี

ส่วนลูกสาวก็ขอให้ได้แต่งงานถูกต้องตามขนบธรรมเนียมประเพณี รู้จักตอบแทนบุญคุณพอ่ แม่ คือ เป็นคนมี

ความกตัญญู เพราะพ่อแม่เลยี้ งดูลูกมาดว้ ยความยากลำบาก อดหลับอดนอนทงั้ คนื เพอื่ คอยเฝา้ ดูแลลูกจนกว่า

จะโต ดงั ปรากฏในเพลงกลอ่ มเด็กภาคอีสาน ดงั น้ี

ออื ออื นอนสาหลา่ หลับตาแมส่ กิ ่อม เจา้ บ่นอนแมวโพงกัดแก้ม

เจ้าบ่แอ้มไก่นอ้ ยตอดตา แม่ไปไฮ่หมกไขม่ าหา

แม่ไปนาหมกปลามาต้อน แม่เล้ียงม่อนเข้าปา่ สวนมอน

เดกิ้ ออนซอนหมนั่ ลุกหมั่นต่นื ลกู ฮอ้ งไหง้ มได้กะบอง

มอื แมโ่ จมเอาลูกใส่อู่ อมุ้ ลูกนอ้ ยมาใหก้ ินนม

เสยี งทมทมขเ่ี หย่ยี วใสแ่ ม่ เลงี้ ลกู น้อยมนั ยากมันซา

พออยากลาลกู ผวั ไปบวช สร้างผนวชในศาสนา

เจ้าใหญม่ าอยา่ ลืมคณุ แม่ แมน่ แมห่ ญงิ ใหเ้ จา้ ไปไหว้

แม่นผชู้ ายให้เจ้าไปบวช ใหย้ ิ่งยวดในศีลในธรรม

ใหจ้ ำนำคุณพ่อคุณแม่ พอไดแ้ ก่ดงึ ขน้ึ สวรรค์

เนื้อเพลงแสดงความยากลำบากในการเลี้ยงลูก ซึ่งในตอนกลางวันก็ตอ้ งพยายามหลอกล่อปลอบขู่
ให้ลกู หลับโดยเร็ว เพ่ือที่แมจ่ ะไดไ้ ปทำงานในไร่ ดแู ลสวนหม่อนเลย้ี งไหม สว่ นตอนกลางคนื กน็ อนไม่ได้เต็มตื่น

ต้องคอยลกุ ข้ึนมาส่องไฟดูลกู เวลาลูกรอ้ งกต็ ้องอมุ้ ใสเ่ ปลนอนและอุม้ ใหก้ นิ นม บางครั้งลกู ปสั สาวะ อจุ จาระใส่
แม่ทำให้เลอะเทอะ แม่ก็ไม่ได้รังเกยี จ แต่บางครั้งก็รู้สึกเหนื่อยออ่ นจนอยากหนไี ปบวช (บางสำนวนระบไุ ว้ว่า
จะไปบวชชี) แล้วใช้โอกาสนี้ในการอบรมสั่งสอนลูกให้นึกถึงความยากลำบากของแม่ในการเลี้ยงลูกแต่ละคน

ซึ่งบางคร้งั พ่อก็ไมไ่ ดช้ ว่ ยเล้ยี ง ดังน้นั ลูกจึงตอ้ งประพฤติตนเปน็ คนดี ระลกึ ในบุญคุณของพอ่ แม่ ดำเนินชีวิตให้
ถูกตอ้ งตามทำนองคลองธรรมของท้องถิ่น

๑๑เพลงกลอ่ มเด็กภาคอสี าน จากสายเปลสู่สายใยความผูกพนั และวถิ ชี วี ติ ในครอบครัว

การแสดงออกถึงความศรทั ธาในพระพุทธศาสนามีอยู่ในเพลงกล่อมเด็กหลายสำนวนเช่นกัน แม้

ในชวี ติ ประจำวนั กแ็ สดงให้เห็นว่า ชาวชนบทอสี านจะมกี ารนำอาหารไปถวายเพลกนั เปน็ ประจำ ไม่จำเป็นต้อง

เป็นการทำบุญตามเทศกาลอย่างคนในสังคมเมือง และการแสดงความคิดเห็นตอ่ พระ เณร ก็เป็นความใกล้ชิด

จนสามารถวิจารณ์พฤติกรรมของสมณเพศได้เช่นเดียวกับคนธรรมดาทั่วไป ดังปรากฏในเพลงกล่อมเด็กภาค

อสี าน ดังน้ี

โตน้ ติเต้นบักม่วงกะเสน เอาไปเพลเจ้าหัวบอ่ ยาก

เอาไปฝากเณรนอ้ ยลกั กนิ กินมำ ๆ กะบค่ ำเบง่ิ ท้อง

ไผไปตอ้ งข้เี ฮียววือ ๆ ออื ฮึ อือ ฮึ ออื ...

ความเชื่อความศรัทธาในพุทธศาสนา นอกจากการทำบุญเลี้ยงพระ และมีความปรารถนาจะได้

บวชลูกชาย เพ่ือจะได้เกาะชายผ้าเหลืองข้ึนสวรรคแ์ ลว้ ยงั ได้เหน็ ความเช่ือในเรื่องกรรม และการเปน็ เสมือนคำ
ปลอบใจเมื่อประสบกับความทกุ ขย์ ากในชีวติ ดังปรากฏในเพลงกล่อมเดก็ ภาคอสี าน ดงั น้ี

- เป็นกรรมเจ้าอีหยงั ลกู เอย เฮามีเซื้อกำพรา้ ไผเห็นหนา้ บง้ึ ใส่

นอกจากนีย้ ังมีเน้ือหาที่เป็นการสอนแนวปฏบิ ัติตอ่ พระสงฆใ์ นพระพุทธศาสนา เป็นมารยาททาง

วัฒนธรรม และแสดงความเคารพนับถือยกย่องว่าพระสงฆ์อยู่ในสถานภาพท่ีสูงกว่าคนทั่วไป ต้องคอยอำนวย

ความสะดวกให้อยา่ งดีท่ีสุด ดังปรากฏในเพลงกล่อมเดก็ ภาคอีสาน ดงั น้ี

เจ้าหัวมาแลว้ เอาสาดมาปู เอาคันญูกับโถนมาตง้ั

น้ำเต้าตง้ั ขนั หมากมาเฮยี ง เพ่ินสเี ทียนอาชญาองค์หล่น

เจา้ หัวมาแลว้ เอาสาดมาปู เอาขนั พูขันโถนมาตั้ง
น้ำเต้าต้ังกะขันหมากมาเฮียง คอ่ ยนงั่ เฮียงคอยพดั วีให้
ให้หัวเจ้านอนพิงซำบาย

9) ประเพณี

มารศรี เคนวิเศษ และบหุ ลัน ช่วยบดุ ดา (2522 : 46-47) ไดเ้ สนอไว้วา่ จากเนื้อเพลงกล่อมเด็ก

ภาคอีสานสะท้อนให้เห็นถึงประเพณีของชาวชนบท ซึ่งมีความผูกพันอยู่กับวัด มีการทำบุญตักบาตรอยู่

สมำ่ เสมอ ดงั ปรากฏในเพลงกลอ่ มเด็กภาคอีสานทว่ี ่า

เจ้าฉุยฉายเอย นงุ่ ผา้ ลายไปลอยชายเข้าวัด

หนุ่มนอ้ ยกค็ อยสะกัด ท้ังกอดท้ังรัดสะนัดใจเอย

ทง้ั กอดทัง้ รดั สะนัดใจเอย

แมวขาวเอยหางยาวมาโย่นเย่น หงุ ขา้ วยังไมท่ นั เพล

ไอพ้ ่อเน้ือเย็นของแมจ่ ะนอน เอ.่ ..เอ้...

นกเอ้ียงเอยนกเอย้ี งตีนปกุ๊ หุงขา้ วไมส่ ุกจะไปจังหนั
นกแตดแตห้ ามผไี ปฝงั
ยายศรจี ันสวดมนตอ์ ้อแอ้
นกขะยางฮอ้ งไฮ่โก้กโก้ก

๑๒เพลงกล่อมเด็กภาคอีสาน จากสายเปลสูส่ ายใยความผกู พันและวิถีชวี ติ ในครอบครัว

นอกจากนย้ี ังสะทอ้ นให้เหน็ ถงึ ประเพณที ี่เก่ียวข้องกับการละเลน่ ของชาวชนบท เชน่ การเล่นนาง

ไซ นางกะโหลก ลิงลม ดังปรากฏในเพลงกล่อมเดก็ ภาคอีสานทว่ี ่า

ลงิ ลมเอยมาอมขา้ วพอง เด็กน้อยต้ังท่องนาทดั อกตีบ

พระยาหลงพรกิ พระยาหลงไซ เชญิ พระเจา้ มาเขา้ ลงิ ลม เอ...เอ...

นางไซเอยน้ำไหลรี่รี่ ปลากระด่ีว่งิ เข้าไซ
ปลากั้งมาน่ังร้องไห้
ปลาหมอมาขออาศยั
ปลาหลงไซกระดิ๊ดกระดเ่ี อย

นางกะโหลกเอย ขึ้นโคกไปเก็บเหด็ เผาะ
ช้างมันไล่หนามไผม่ นั เกาะ เห็ดซะเหด็ ชายเสียดายเห็ดเอย

10) ความเช่อื

สุทธิกร ตะวันหะ และจินตนา จิตสามารถ (2522 : 50) ได้กล่าวไว้ว่า จากบทเพลงกล่อมเด็ก

จะสะท้อนให้เห็นว่า ชาวบ้านมีความเชื่อในสิ่งที่มองไม่เห็นตัว เช่น เทวดาต่าง ๆ ทั้งยังมีความเคารพนับถือส่ิง

ต่าง ๆ เหล่านี้ด้วย เพราะเชื่อว่าสามารถใช้ฤทธิ์อำนาจดลบันดาลให้มนุษย์เป็นอย่างไรก็ได้ ผู้ใดที่เคารพนับถือ

เทวดาก็จะได้รับความสุข ส่วนผู้ที่ไม่เคารพนับถือก็อาจจะทำให้เทวดาโกรธ และทำให้เกิดความเจ็บไข้ได้ป่วย

ขึ้นมาก็ได้ ดังนั้นการนับถือเทวดาจึงมีอยู่ในชาวบ้านทุกคน เมื่อมีเรื่องอะไรเดือดร้อน ก็ขอให้เทวดาช่วยเหลือ

เทวดาท่ชี าวบ้านรู้จักดี ชือ่ อนิ ทรา หรือ พระอนิ ทร์ ดงั ปรากฏในเพลงกล่อมเด็กภาคอีสานท่ีว่า

นอนซะหลา่ หลบั ตาแมส่ ิก่อม นอนอู่ไหมบ่มไี ผฆ่า

นอนอู่ผ้าบม่ ีไผตี ถมิ่ ใส่อู่ใหเ้ จ้าอยูน่ อน

ถม่ิ ใส่หมอนใหเ้ จา้ นอนอ้วยซ้วย เพิน่ มาขายก้วยแมซ่ ือ้ ให้กนิ

ขอใหอ้ ินทราเจ้าเทวดาซซู ้อย ขอให้ลกู ออ่ นน้อยของขา้ อยูส่ บาย

นอกจากน้ี มารศรี เคนวิเศษ และบหุ ลนั ช่วยบดุ ดา (2522 : 47-48) ได้เสนอไวว้ า่ จากเน้ือ

เพลงกล่อมเด็กภาคอีสานสะท้อนให้เห็นถึงความเชื่อของชาวชนบท เช่น ความเชื่อในเรื่องผี ซึ่งจะนำมาร้อง

เพอื่ ขใู่ หเ้ ดก็ เกดิ ความกลัว ดังปรากฏในเพลงกล่อมเดก็ ทีว่ ่า

นกเขาขนั คู จบั อย่ทู ี่ตน้ มะกอก

ให้รีบลงมาเดี๋ยวผีจะหลอก พเี่ องสงสารซมซานจงั่ ไดม้ าบอก

เจ้าชอ่ มะกอกเอย

นกเอี้ยงเอยนกเอี้ยงตนี ป๊กุ หุงข้าวไมส่ ุกจะไปจังหัน
นกแตดแตห้ ามผีไปฝัง
ยายศรีจันสวดมนต์อ้อแอ้
นกขะยางฮอ้ งไฮ่โก้กโก้ก

สะท้อนความเช่ือในเรือ่ งบาปบุญ ชาวบา้ นท่เี ช่ือว่าการทำความดีจะได้รับผลตอบแทน จงึ คิดว่า

จะทำความดีอยา่ งไร จงึ จะไดผ้ ลดังทห่ี วังเอาไว้ ดงั ปรากฏในเพลงกลอ่ มเด็กท่ีวา่

ชา้ ช้า เจ้าพระยาหงสเ์ อย แขนออ่ นรอ่ นลงเข้าในดงลำไย

ทำบญุ อย่างไรหนอ จะได้รว่ มหอกับพอ่ สุดใจ

ตอ้ ยตะลง่ิ ติงขา้ เจา้ พระยาหงสเ์ อย

๑๓เพลงกลอ่ มเดก็ ภาคอีสาน จากสายเปลสู่สายใยความผกู พันและวิถีชีวติ ในครอบครวั

11) ค่านยิ ม

มารศรี เคนวิเศษ และบหุ ลัน ช่วยบดุ ดา (2522 : 48) ได้เสนอไวว้ ่า จากเพลงกล่อมเด็กภาค

อีสานสะท้อนใหเ้ หน็ ถึงค่านยิ มของสังคมคนชนบท ซ่งึ ใหค้ วามเคารพนับถอื ต่อพระภิกษุ สามเณร หากทำส่ิงใด

ที่ไมถ่ ูกไมค่ วรแล้วก็จะละอายตอ่ ส่ิงท่ตี นกระทำ ดังปรากฏในเพลงกลอ่ มเดก็ ทว่ี ่า

อย่าเขยี่ วหลายเลยไอ้นาย ตอ้ งเข้าอู่รอ้ งอึงร้องอื้อ

แมต่ อ้ งนกึ อายหนา ต้องอายพระอายเณร

อย่ารอ้ งเขี่ยวรอ้ งเข็นไปเลยไอ้นาย

และสะทอ้ นให้เห็นค่านิยมของการมีคู่ครองวา่ หญงิ สาวควรจะมีคเู่ สยี ตงั้ แต่ร่นุ สาว เพราะถ้าแก่

ตวั ไปแลว้ จะหาคยู่ าก และควรสร้างฐานะให้มน่ั คงเสยี กอ่ น ดังปรากฏในเพลงกล่อมเด็กภาคอีสานท่ีว่า

โอ้ระเนระนาดเอย เอาผา้ ไปพาดทีก่ กมะนาว

หาผวั เสยี ทนั เปน็ สาว เลยี้ งเนอื้ เล้ียงตัวสทิ นั หนุ่มเอย

สะท้อนให้เห็นถึงค่านิยมทางการแต่งกายของชาวชนบทเวลาไปวัด จะมีการแต่งตัวท่ีสวย ๆ

งาม ๆ และนิยมใช้ผ้ายอ้ มสี ดงั ปรากฏในเพลงกลอ่ มเด็กภาคอสี านทว่ี า่

เจา้ ฉยุ ฉายเอย นุง่ ผ้าลายไปลอยชายเขา้ วดั

หนุ่มนอ้ ยก็คอยสะกัด ทงั้ กอดทัง้ รดั สะนัดใจเอย

ทงั้ กอดทั้งรัดสะนดั ใจเอย

มาซะมางามมา มาซะมางามมุม
มม่ ปลายตนี หมอไม่ มม่ ลกู ชายหมอเหมง็
เชญิ ประทบั หน้าไม่ ฉนั จะบ่ายหน้าหนี
ห่มผ้าสหี มอไม่ ห่มลูกชายหมอเหมง็
ห่มผา้ สนี ้ำยอ้ ม อยู่หลงั ม่ากห็ อ้ ยพรวน

นอกจากนี้ สุทธิกร ตะวันหะ และจนิ ตนา จติ สามารถ (2522 : 46) ไดก้ ลา่ วไวว้ ่า หญิงหม้ายมี
ความหวังในการหาสามีใหม่ท่ีประเพณกี ารลงขว่ งเข็นฝ้าย เพราะหญิงหม้ายทุกคนรวมทั้งผู้ที่ยงั เป็นสาว จะนิยม
หาสามีใหม่หรือคู่ครองเม่ือถึงประเพณีน้ี โดยเฉพาะหญิงหม้ายนั้นจะถูกพ่อแม่ พ่ีนอ้ ง และชาวบ้านรังเกียจเป็น

อย่างมากที่ไม่มีสามีอยู่ด้วย ดังนั้นจึงมีสำนวนเพลงกล่อมเดก็ ภาคอีสานท่ีแสดงให้เห็นถงึ คา่ นิยมของชาวบ้านท่ี
จะยอมรบั หญิงทม่ี สี ามีอยดู่ ้วย และจะไม่ยอมรบั หญิงหม้าย ดังปรากฏในสำนวนเพลงกล่อมเด็กภาคอีสานท่วี า่

นอนซะเด้อหลา่ หลับตาแมส่ กิ ่อม
แมส่ ไิ ปเข็นฝ้ายเดียนหงายเว้าผู้บ่าว
แมส่ ิหาพอ่ น่ามาเลี้ยงลูกใหใ้ หญส่ งู

หมู่เพน่ิ ไดก้ นิ ปลาค้อโตเทา่ แขน
หมเู่ พ่ินไดก้ ินแลนโตเทา่ ชา้ ง

เฮาได้กินตัง้ แตป่ ลาขีก้ า้ งเพิ่นใหล้ กู กิน
นอนซะเดอ้ หลา่ หลบั ตาแมส่ ิกอ่ ม

แม่สิไปเข็นฝ้ายเดียนหงายเว้าผู้บา่ ว

แมส่ หิ าพอ่ นา่ มาเล้ียงลูกใหใ้ หญ่สงู
ลงุ และป้าเฮาอาเพน่ิ บเ่ บ่ิง

เพิ่นกะซงั น้ำหน้านางน้อยพ่อบม่ ี

๑๔เพลงกลอ่ มเดก็ ภาคอีสาน จากสายเปลสู่สายใยความผกู พนั และวถิ ชี วี ติ ในครอบครัว

12) ปญั หาสงั คม

สุนีย์ เลี่ยวเพ็ญวงษ์ และกุลธิดา ท้วมสุข (2545 : 28-30) ได้เสนอไว้ว่า ปัญหาใน

ชีวิตประจำวันที่มีการนำเสนอไว้ในเพลงกล่อมเด็กภาคอีสานส่วนมาก คือ ปัญหาของสังคมเกษตรกรรม ซ่ึง

เกดิ ขนึ้ จากลักษณะการดำเนนิ ชีวิตตามปกติของชมุ ชน คือ ปัญหาวัวหาย ควายหาย เนื่องจากการปล่อยเลี้ยง

ตามธรรมชาติ การเลยี้ งววั ควายดว้ ยการต้อนววั ควายออกจากคอกใต้ถนุ บ้าน ในหมบู่ ้าน หรอื บางคนอาจจะทำ

คอกวัวควายไว้ที่นาซ่ึงต้องออกไปปล่อยให้วัวควายออกไปหากินหญา้ กินน้ำในทุ่ง หรือป่าชุมชนของหมูบ่ ้าน

คนเลี้ยงก็มักจะนอนรอ หรือทำงานอย่างอื่นไปด้วย เช่น ทำเครื่องจักสาน ทำไร่ ทำนา เก็บผัก เก็บใบหม่อน

หรือ หาปู ปลา หอย กบ แมลงเล็ก ๆ สำหรับเป็นอาหารในตอนเย็น จึงทำให้ละเลยในการดูแลวัวควาย ซึ่ง

ปล่อยให้เดินหากินออกไปไกลจนหลงฝูงกลับเข้าคอกไม่ถูก เพราะหากพระอาทิตย์ตกดินแล้วสัตว์เหล่านี้จะ

หยดุ อยู่เฉย ๆ ไม่เดนิ ไปไหนเพราะจำทางไม่ได้ เจ้าของจึงต้องออกตดิ ตามหา และมกั จะต้องเดนิ ถามไปเรื่อย ๆ

ทั้งคนและสัตว์ (ส่วนมากเป็นนก จึงเป็นสัญลักษณ์บุคคลวัต) เห็นว่าควายที่หายไปทางไหน ในการติดตามนี้

และแสดงภมู ิปัญญาในการตดิ ตามสัตวท์ ห่ี ายไปด้วย ดงั ปรากฏในเพลงกลอ่ มเด็กภาคอสี านทวี่ ่า

ควายเขาเสยี อยูบ่ ้านดงเกา่ หาแตเ่ ซา้ เท่าคำ่ บ่เหน็

ฮอดกางเว็นจงั เหน็ ฮอยเงยี่ ว ยามมอ้ื เซ้าจังเห็นฮอยนอน

นอนตะแคงอยกู่ กไม้เน้ิง ฟังเสยี งเอ้ินนา้ บา่ วสีลา

สาวสดี าออกมาเอิน้ พอ่ เอ้ินจอ้ ยจอ้ ยเสียงน้อยบไ่ ดย้ นิ

นกอินทินมาจับโคนแต้ ตงั้ ทแ่ี ท้บ่แมน่ ควายโต

งัวข้อยเสยี อีแมข่ อ่ ยดา่ เตน้ เขา้ ป่าเห็นนกแจนแวน
แจนแวนเอยเห็นงวั กูบ่ เห็นแลว้ แหม อตี ไู้ ปกอ่ น อีต่อนนำหลัง

ไอ้คำแหง้ ขี่ม้าไล่งัว ไล่บ่ได้นำหมู่นกเขยี น
น้ำไหลเวยี นฮอยควายขนุ่ ๆ ขี่ควายอุ่นว่าไดส้ ิทัน
ฮอดอมุ่ ทัน (ต้นพุทรา) วา่ โตเซาเงี่ยว ฮอดอมุ่ เสยี วเขาเซามีแฮง

เพลงกลอ่ มเด็กภาคอสี านหลายสำนวนแสดงไวช้ ดั เจนวา่ เด็กเลย้ี งควายที่ปล่อยให้สตั ว์เล้ียงหาย
ต้องพยายามติดตามหาวัวควายให้พบ ถ้าไมพ่ บก็จะไมก่ ลา้ กลับบ้าน บอ่ ยคร้งั ตอ้ งนอนรอตามหาจนรุ่งเช้า ดัง
ปรากฏในเพลงกล่อมเดก็ ภาคอสี านทว่ี า่

- เฮด็ ควายเสยี กลับเมียแมด่ า่
- งัวกูเสียอแี ม่กูดา่
- ควายเขาเสียพ่อแมเ่ ขาดา่ หาแตเ่ ซา้ เท่าคำ่ บ่เห็น

ฮอดกางเวน็ จงั เหน็ ฮอยเง่ียว ยามม้ือเซ้าจงั เหน็ ฮอยนอน

แต่ในบางครัง้ ก็จะมีการขโมยววั ควายเกดิ ขึ้นดว้ ยเหมือนกัน ทั้งที่ขโมยแล้วฆา่ ไปขายเลย หรือ

เอาไปเลีย้ งไวเ้ พอื่ ขายต่อไป ดงั ปรากฏในเพลงกล่อมเดก็ ภาคอสี านทีว่ า่

เขาบอง (สับ) เอาเนอ้ื เขาเซ่ือเขาขาย เขาบายปลาแดกเขาแบกขน้ึ เกวยี น

เขาเหลยี วเหน็ หวั เขาว่างัวชน เขาคุมไปเลี้ยงใหญ่แลว้ เขาใสป่ างลาง

๑๕เพลงกลอ่ มเด็กภาคอสี าน จากสายเปลสู่สายใยความผกู พนั และวิถีชวี ติ ในครอบครวั

การที่มีชีวิตประจำวันส่วนใหญ่อยู่นอกบ้านเช่นน้ี เปิดโอกาสให้เกิดปัญหาพฤติกรรมการล่วง

ละเมิดทางเพศเกิดขนึ้ ได้โดยงา่ ย เพราะในไร่นาทไี่ มค่ อ่ ยมีผ้คู นผ่านไปมาบ่อยนัก มักเปน็ โอกาสให้หนุ่มสาวได้

พบปะใกล้ชดิ กัน แตโ่ ดยท่ัวไปพฤติกรรมลว่ งละเมดิ เชน่ นี้ ถือเป็นปัญหาทค่ี ู่กรณีจะตกลงกนั เอง สังคมรอบข้าง

ไม่ค่อยเดือดร้อนด้วยนัก แต่บางครั้งผู้หญิงอาจแสดงพฤติกรรมที่ไม่เหมาะสมซึ่งเป็นการเปิดโอกาสให้ผู้ชาย

พฤตกิ รรมเชน่ น้เี ปน็ เพยี งข้อสงสัยของสังคม และเป็นพฤตกิ รรมทไี่ ม่พึงประสงค์ และไม่ควรเอาเป็นแบบอย่าง

แต่ก็ไมไ่ ดน้ บั วา่ เปน็ ความผิดทีร่ ้ายแรงมากนัก ดังปรากฏในเพลงกลอ่ มเดก็ ภาคอีสานทว่ี ่า

- อีหเี คียวมาหยงั ก่อหน้ี เขาไลส่ ี (การร่วมเพศ) แลนเขา้ ป่าแก

- เข้าป่าหาฟืนแม่ฮ้างก่อมผวั สาวบวั ก่อมลูกเฮ็ดมู่ยู่

- ยา (ใบยา) แม่แก่ยงั บท่ ันได้ซอย หหี มอยยามลอบ

สาวคอบซู้เฮ็ดกน้ แงน ๆ ได้ยนิ เสียงแคนแล่นหาขันหมาก

ในกรณีเช่นน้ี หญิงที่เป็นแม่หม้าย แม่ฮ้าง มักมีพฤติกรรมในการ ให้ท่าผู้ชาย ซึ่งพบได้ในเพลง
กล่อมประเภท “เพลงแม่ฮ้างกล่อมลูก” เกือบทุกเพลง เนื่องจากความจำเป็นที่ต้องหาพ่อน้า หรือพ่อเลี้ยง มา

เล้ยี งดลู ูกและแม่ให้อยู่ได้อย่างดีต่อไป ดังนั้นจึงพบสำนวนเพลงที่แสดงพฤติกรรมของหญงิ หม้ายในการเชิญชวน
ชายให้มาหาตนอยู่เสมอ อาจนับเป็นวัฒนธรรมได้ส่วนหนึ่งเช่นกัน แต่กับหญิงสาวทั่วไปที่ยังไม่มีคู่ก็จะได้รับ

โอกาสในการเข็นฝ้าย เพื่อให้หนุม่ ๆ มาพดู คยุ ด้วย แต่หญิงสาวเหล่านัน้ จะต้องน่ังเข็นฝ้ายคุยกับหนุ่มโดยอยู่ใน
สายตาของพ่อแม่ และมีเวลาที่จำกัด ซึ่งต่างกับหญิงหม้ายที่มีอิสระในการแสดงพฤติกรรมต่าง ๆ ได้มากกว่า
และไมถ่ ือวา่ เป็นปญั หาแต่อย่างใด ดังปรากฏในเพลงกล่อมเดก็ ภาคอีสาน สำนวนเพลงแมฮ่ ้างกล่อมลูกท่วี ่า

- แม่สิไปเข็นฝ้ายเดือนหงายเอาพ่อ แมส่ ิเอาพอ่ น้ามาเลี้ยงลกู ใหใ้ หญส่ งู

ในเรื่องความขาดแคลนของชาวอีสาน เป็นเรื่องที่เกิดข้ึนมานานมากแล้ว ดังจะสังเกตได้ว่า
นอกจากขา้ วในนา ปู ปลา กบ เขยี ด ไข่ ไก่ ทีห่ าได้จากไร่นาแล้ว อาหารนอกน้ันจะได้รบั จากการซ้ือหรือแลก
เอามาจากพ่อคา้ ต่างถนิ่ ซึ่งจะมพี วกเกลอื หมาก พลู ผลไมต้ ่าง ๆ และแม้แต่กลว้ ย ซง่ึ หากในชุมชนสามารถมี

ผลผลิตจำนวนมากก็ต้องเดินทางไปขายไกล ๆ ในภาคกลาง ทง้ั วัว ควาย และไหม ซง่ึ ต้องใช้เวลาเดินทางหลาย
วนั ครอบครวั ทางบา้ นจึงไม่มโี อกาสได้รับข่าวสารเลย ทำให้ชวี ิตขาดความอบอุ่น มั่นคง นอกจากน้ีปัญหาหน่ึง

ซึง่ พบในหลายสำนวน คือ การซือ้ ทด่ี ิน อาจเปน็ ไปได้ว่าชาวบ้านอีสานมีปญั หาเรือ่ งที่ดินทำมาหากินมาช้านาน
ซึ่งอาจเกดิ ขึ้นจากการทีค่ นอีสานส่วนหนึง่ เป็นผู้อพยพเข้ามาอยู่ในท้องถิ่นอีสาน ไม่ได้มสี ิทธิ์ในทีด่ ินทำกนิ ซงึ่
เจ้าของท่ีเดมิ ทำกินอยู่ก่อนแลว้ จงึ มีสำนวนเพลงกล่อมเด็กภาคอสี านที่ปรากฏการซื้อท่ดี ินทวี่ า่

- เพน่ิ มาขายดินแม่สิซอ้ื ใหอ้ ยู่
- เพ่นิ มาขายดินแมส่ ิซอื้ ให้เลน่

ดังนั้น การมีสิทธิ์ในที่ดนิ จงึ น่าจะเป็นเรื่องที่ทำให้เกิดความรูส้ ึกมั่นคงในการดำรงชีวิตของคน
อสี านได้เป็นอย่างดี แมก้ ระทั่งในปัจจุบันปญั หาทดี่ ินทำกนิ กย็ งั คงเป็นปญั หาที่สำคัญในสังคมอีสาน ซึ่งรัฐต้อง

หาทางแกไ้ ขกนั อยู่เสมอ โดยเฉพาะปัญหาการบุกรุกป่า เพื่อบกุ เบกิ เปน็ ทที่ ำกิน ปัญหาที่ดิน ส.ป.ก. ซ่ึงโยงใย
ไปถงึ ปญั หาการพัฒนาทด่ี นิ ในหลาย ๆ รปู แบบ

๑๖เพลงกล่อมเดก็ ภาคอสี าน จากสายเปลส่สู ายใยความผูกพนั และวถิ ีชวี ติ ในครอบครวั

13) เพลงแมฮ่ า้ งกล่อมลกู

สุนยี ์ เล่ยี วเพ็ญวงษ์ และกลุ ธดิ า ทว้ มสขุ (2545 : 30-34) ได้เสนอไวว้ า่ เพลงแม่ฮ้างกล่อมลูก

เป็นสำนวนเพลงกล่อมเด็กภาคอีสานที่น่าสนใจ และมีลักษณะเด่นแตกต่างไปจากเพลงกล่อมเด็กสำนวนอื่น ๆ

มากที่สุด แสดงใหเ้ หน็ ถงึ วถิ ีชีวิตของคนอีสานท่ีพอ่ ซ่งึ เป็นผูน้ ำครอบครัวจะตอ้ งจากบ้านเดินทางไปท่ี ไกล ๆ เพ่ือ

หารายได้ จากการค้าขายวัว ควาย และผ้าไหม รับจ้าง หรืออื่น ๆ ซึ่งส่วนมากแล้วผู้ชายจะเป็นฝ่ายเดินทางไป

มกั จะไปพร้อม ๆ กันหลายคนเป็นกองคาราวาน ผ่านป่าดงพงไพรและบ้านเมืองต่าง ๆ บางครงั้ ก็พบกับอันตราย

จากสตั ว์ป่า โรคภัยไข้เจ็บ และโจรผูร้ ้าย ซง่ึ เปน็ เหตใุ ห้ตายได้เสมอ การเดินทางเป็นเวลานานโดยไม่มีการส่งข่าว

ทำให้ภรรยาที่อยู่ทางบ้านอยู่ในสภาพเป็น แม่หม้ายแม่ฮ้าง ซึ่งเป็นสภาพที่ยากลำบาก สถานภาพทางสังคม

ค่อนขา้ งต่ำ และมักไม่ได้รับการดูแลเอาใจใส่จากญาติพี่น้อง ญาตฝิ า่ ยตัวเองก็เห็นว่าแยกครอบครัวออกไปแล้ว

ฝา่ ยสามกี ็ถือว่าไม่มีสามีอยู่ จงึ ไมใ่ ห้ความสนใจ ไมต่ ้องการนับญาติพ่นี อ้ ง แม้จะออกไปรับจ้างใช้แรงงานเพื่อหา

รายได้กย็ ังทำได้ยาก ไมค่ ่อยมคี นจ้าง “นางไปรบั จ้าง เทิงซำ้ วา่ บ่มี” สถานภาพของผทู้ ่ีอยู่ในสภาพเป็นแม่หม้าย

แมฮ่ ้างจงึ มกั เป็นทรี่ งั เกียจของสังคม เพราะเห็นว่ายากลำบาก หากคบหาด้วยก็อาจจะขอของกินของใช้ และมัก

มองว่าเมื่อสามีไม่อยู่ไม่นานนางก็คงหาสามีใหม่ ซึ่งเป็นพฤติกรรมที่ไม่เหมาะสม ด้วยสถานภาพเช่นน้ี จึงเป็น

แรงผลกั ดนั ให้หญิงแม่หม้ายเหล่านต้ี ้องหาทางออกให้ตัวเองในท่ีสุด โดยการพยายามหาสามีใหม่มาช่วยงานทาง

บ้านซงึ่ เป็นหนา้ ทีข่ องผู้ชาย เชน่ มงุ หลงั คา และมาชว่ ยเลี้ยงลูกให้เตบิ โต ดงั น้ันการท่หี ญิงหมา้ ยจะมีพฤติกรรมท่ี

เปน็ การ ใหท้ ่า ผูช้ ายกเ็ ปน็ พฤติกรรมที่ทำเพ่อื ความอยู่รอดของครอบครัว และผู้เป็นแม่กบ็ อกเล่าเรือ่ งราวเหล่าน้ี

แก่ลูกโดยไม่มกี ารปิดบัง แต่ในความเป็นจริงแลว้ อาจเปน็ การระบายความเกบ็ กดภายในใจของตนเองกไ็ ด้ เพราะ

ถึงจะบอกเล่าเรื่องราวอย่างไร ลูกน้อยก็คงไม่เข้าใจสภาพความยากลำบากของแม่เพราะลูกยังเป็นเพียงเด็ก

ทารกเทา่ นั้น ดังปรากฏในเพลงกล่อมเด็กภาคอีสาน สำนวนเพลงแม่ฮ้างกลอ่ มลูก ดังน้ี

เออ...เหอ..เออ่ ... นอนสาหล่าหลบั ตาเวา้ ง่าย

แมส่ ไิ ปเขน็ ฝ้ายเดือนหงายเว้าผบู้ า่ ว ลางเท่ือไดพ้ ่อน้ามาเลยี้ งใหใ้ หญส่ งู

หมูเ่ พ่ินไดก้ นิ ปลาคา้ วโตทอ่ หวั เรอื ได้กินปลาเสือโตทอ่ หัวชา้ ง

โตได้กินปลาขาวขก้ี า้ งเท่ิงซ้ำเพื่อนสทิ าน นอนสาเดอหลับนอนแมเ่ ดอ อือ...อือ...

นอนสาหลา่ นอนปา่ นสายปอ นอนกระทอฮา้ ง (เกา่ ) สีอนี างบม่ พี อ่

นอนสาหล่าหลับตาเจา้ อยา่ เอิน้ หาพ่อ พอ่ แจ่มเจา้ อย่าเอิ้นหาไผ
นอนสาหลา่ นอนอูส่ ายไหม เจา้ อย่าไฮ่เฮอื นไกลเพิน่ สิด่า
เจ้าอยา่ ไฮ่เฮอื นใกล้เพน่ิ สซิ ัง นอนสาหล่าเผอเรอแมส่ กิ ล่อม

อือ..อือ...อือ...
ยากแทน้ อลกู สาวบม่ พี อ่

แมน่ ไผหนอสไิ ปเก่ียวหญ้ามงุ หลงั คาให้เจา้ อยู่
เดอื นหกมาฮอดแลว้ ฝนสใิ สอ่ แู่ ก้วสไิ ปซ้นอยหู่ มอ่ งใด๋เดอ

พอ่ เพิน่ ไปค้าซิน้ กวา่ ยงั ฮตู่ า่ วคืนมา
พ่อเพิ่นหนาไปคา้ ปลากะยังฮตู่ า่ วบา้ น
บาดพ่ออนี างน่ีนา เจา้ ไปเที่ยวบา้ นไดเ๋ ด้จงั สติ ่าว

สิป๋าใหแ้ ม่เปน็ ผสู้ าวส่ำน้อยสินอนอยู่แล้วอยู่เปล่าดายหนอ

๑๗เพลงกล่อมเด็กภาคอีสาน จากสายเปลสสู่ ายใยความผกู พนั และวิถีชีวติ ในครอบครวั

จะเหน็ ไดว้ า่ สถานภาพของหญงิ หมา้ ยเหล่านี้ เกอื บจะเรียกไดว้ า่ เป็นคนนอกในสงั คม ถูกจัดอยู่
อยา่ งโดดเดยี่ วจากสงั คม ไม่ไดร้ บั การตอ้ นรบั และเหลียวแล แม้จะเอ่ยปากขอกย็ งั ถกู รงั เกยี จ และหากจะมีการ
ให้ก็จะเป็นการใหส้ ิ่งทีเ่ หลือไม่เป็นสิ่งที่ต้องการแล้ว หรือสิ่งที่ไม่ดนี ักในลักษณะของการให้ทาน เพื่อเป็นการ
ทำบุญมากกว่าที่จะให้ด้วยความเกื้อหนุน หรือแสดงความเมตตาว่าเป็นเครือญาติ หญิงหม้ายจึงจำเป็นต้อง
พยายามหาสามีใหมใ่ หไ้ ดโ้ ดยเร็ว เพอื่ อนาคตของลูกและความมน่ั คงในชวี ติ ของครอบครวั

สาเหตขุ องการท่ีผู้หญิงมีสภาพเปน็ แม่หมา้ ยแม่ฮ้าง ไมม่ ีสามีอยูด่ ้วยจะเน่ืองจากสามีตายจาก
ไปด้วยเหตุปกติ หรือเพราะตอ้ งเดนิ ทางจากไปไกลเพื่อหารายได้ด้วยการขายวัว ควาย ปลา ผ้าไหม ทำให้ต้อง
หา่ งกันไกลและไม่ได้มกี ารสง่ ข่าว ภรรยาทด่ี มี ีหนา้ ท่ที ่ีจะตอ้ งรอคอยการกลับมาของสามี โดยจะต้องรบั ผิดชอบ
ครอบครัวทกุ อย่าง ไม่สมควรออกไปเทยี่ วเตรเ่ ช่นหญงิ สาวอน่ื ๆ ในสภาวะเชน่ นี้ ญาตพิ น่ี อ้ งบา้ นใกลเ้ รือนเคียง
กม็ ักไมค่ ่อยให้ความสนใจดแู ลนัก ทำให้เกดิ ความรู้สกึ ว้าเหว่เดียวดาย ถงึ ต้องรำพึงรำพันถงึ ความรู้สึกในใจนั้น
ออกมา และสว่ นมากหญงิ หมา้ ยเหล่าน้มี กั จะเป็นหญงิ สาวอายุยงั น้อย (สงั คมชนบทอสี านมกั แตง่ งานออกเรือน
ตั้งแต่อายุยงั ไมม่ ากนกั ) อารมณ์เปล่าเปลีย่ วจงึ เกิดข้ึนง่าย เพราะประสบการณ์ชีวิตยงั ไมม่ ากพอที่จะรู้จักการ
ควบคุมอารมณ์ ความรู้สึก และความเข้มแข็งในการต่อสู้กับปัญหาชีวิตที่ต้องดิ้นรน และความรู้สึกท่ีขาดคน
ดูแลเอาใจใส่ทั้งจากสามีและญาติพี่น้อง การแก้ปัญหาชีวิตจึงมีวิธีเดียวคือพยายามหาสามีใหม่มาช่วยดูแล
ครอบครัวต่อไป ดงั ปรากฏในเพลงกล่อมเดก็ ภาคอีสาน สำนวนเพลงแม่ฮา้ งกล่อมลูก ท่ีวา่

ยากแท้นอลกู สาวบม่ ีพอ่
แม่นไผหนอสไิ ปเกยี่ วหญา้ มุงหลงั คาให้เจา้ อยู่
เดือนหกมาฮอดแล้ว
ฝนสใิ ส่อแู่ ก้วสไิ ปซ้นอยู่หมอ่ งใดเ๋ ด้
พอ่ เพิ่นนะไปคา้ ซิ่นก็ยังฮู่ตา่ วคืนมา
พ่อเพน่ิ หนาไปคา้ ปากะยังฮตู่ า่ วบ้าน
บาดพ่ออีนางนี่หนาเจา้ ไปเทย่ี วบ้านได๋เดจ้ งั สติ ่าว
สิป๋าให้แมเ่ ปน็ ผู้สาวส่ำน้อย
สินอนอยู่แลว้ อยเู่ ปลา่ ดายเดห้ นอ
แม่บ่เหน็ ไผแลว้ คนงามสิแหว่
สมิ าตมุ้ ลกู นอ้ ยตะลอมเล้ยี งให้ใหญส่ งู
เหน็ แต่ลุงพราหมณเ์ ฒ่าคนเดยี วขันเปน็ คู่
แม่นี่เห็นสิอยบู่ ไ่ ด้สิวางใหแ้ ก่ยอดชายแท้แล้ว
ว่าอยากพาลูกแก้วไปกบั สรา้ งทางหนองคาย
ดำบ่อนดินดาํ น้ำซ่มุ ปากมุ่ บอ้ นคอื แข่แกง่ หาง
บ่อนปานางบอ้ นพอปานขางฟา้ ลน่ั
บ่อนจักจ่ันฮอ้ งคอื ฆ้องพ่อยอดเฮาน่ันแลว้

คำรำพันในเพลงแม่ฮ้างกล่อมลูกข้างต้นน้ี ให้ภาพความลำบากยากแค้นของแม่ลูกได้อย่าง
ชัดเจน ความเหงา ความว้าเหว่ ที่ไม่ได้รับข่าวคราวจากพอ่ ทำให้เกิดความไม่มั่นใจในชีวิต ความเป็นสาวส่ำ
น้อย คอื สาวแรกรุ่นของผเู้ ป็นแม่ ยง่ิ ทำใหร้ สู้ ึกเปล่าเปลยี่ วใจ สงสัย และกงั วลตา่ ง ๆ นานา หรือสามีจะไปหา
สาวที่บ้านอนื่ แลว้ ท้ิงใหน้ างนอนรออยเู่ พยี งเดียวดาย ความเป็นหญิงหม้ายก็มักจะไม่มี คนงาม คอื คนดี คนไม่
มคี ู่ มาสนใจเก้ียวพาราสีเหมอื นหญงิ สาวทว่ั ไป ไม่สนใจจะมาเป็นพอ่ เลี้ยงให้ลูก แตน่ างกม็ ผี ู้เฒา่ คนหนึ่งท่ีมาให้
ความสนใจ ซ่ึงนางก็คงจะต้องเลือกอยู่กับผู้เฒ่าคนนี้ แล้วพากันไปอยู่เมืองอื่นที่อุดมสมบูรณ์กว่าท่ีน่ี บางที่
อาจจะเป็นการหลบล้หี นจี ากสังคมเดมิ เพื่อเริ่มต้นชีวติ ใหม่ สถานภาพใหม่ พ้นจากคำติฉินนนิ ทา

๑๘เพลงกล่อมเด็กภาคอสี าน จากสายเปลสู่สายใยความผูกพนั และวิถีชีวติ ในครอบครัว

เนื้อหาในเพลงแม่ ฮ้างกล่อมลูกน้ี สะท้อนอารมณ์ความรู้สึก และสถานภาพทางสังคมในการ

เลอื กคใู่ หม่แบบไมม่ ีทางเลือกได้อยา่ งชัดเจน สาเหตทุ ่ตี ้องเลอื กเชน่ นี้เนอ่ื งจากความกดดนั ทางสังคมที่ไม่มีใคร

สนใจใยดี ไม่มีแม้แต่ญาติพี่น้อง ลุงและป้าอาวอาเพิ่นบ่เบิ่ง และก็ไม่คิดจะหยิบยื่นความช่วยเหลือให้นั่นเอง

ดังปรากฏในเพลงกล่อมเด็กภาคอีสาน สำนวนเพลงแมฮ่ ้างกล่อมลกู ทว่ี ่า

เป็นกรรมเจา้ อิหยงั ลูกเอย เฮานี่เซ่ือกำพร้าไผเห็นหนา้ บ้งึ ใส่

ลางคนนนั้ ยังฝาสับบักกอก ลางคนน้นั เห็นหนา้ บ่อยากถาม

เฮาบ่คือเขาแหลว่ แนวเฮากำพรา้ พ่อ ขอเพนิ่ บใ่ หว้ ันน้ันกแ็ มน่ หวิ

ทุกข์กะทกุ ขย์ ากกะยากกะดดั กะดอก บ่เคยพอ้ กะซา่ งเห็นเสือ้ ผา้ ขาดล้อม
ฮอ้ ยยมุ้ แตป่ อ่ งเข็มลูกเอย เฮาน่ีทุกขย์ ิง่ ลำแสนซว่ั ถึงหนัด

นอนสาหล่าหลบั ตาอย่าได้แอว่ แนวโตมนั ท่ังแนวโตเป็นกำพร้าลุงปา้ กะบม่ ี
แม่สลิ งเข็นฝา้ ยเดือนหงายท่าเว้าบ่าว แมส่ หิ าพ่อน้ามาเล้ียงให้ใหญ่สงู
ลุงและปา้ อาวอาเพ่ินบเ่ บง่ิ เพ่ินตึกแหได้ปลาโจกโตท่อหวั เรือ

ตกึ แหไดป้ ลาเสอื โตท่อหวั ซ้างหัวม้า โตน่ีกนิ ปลาขาวขก้ี ้างซ้ำเพ่นิ ใหท้ าน
นอนสาหล่าหลับตาสาแม่เยอ...

ตวั อยา่ งเพลงแม่ฮ้างกลอ่ มลกู น้ี จะเห็นความรำพนั ความทุกข์ยากของแม่หม้ายซ่งึ อยู่ในสภาพที่

นา่ เหน็ ใจ ไมม่ ีใครเปน็ คู่คิด จงึ ต้องบอกเล่าความรู้สกึ ถึงความทกุ ข์ยากนัน้ ให้ลูกฟงั เรมิ่ จากเห็นว่าเป็นกรรมท่ี

ต้องอยู่ในสภาพเช่นน้ี การที่ต้องอยูใ่ นสภาพของกำพรา้ คือขาดสามี ขาดพ่อ จึงเป็นคนท่ีสังคมไม่ตอ้ งการคบ

หาดว้ ย ใครเห็นก็บงึ้ หนา้ ใส่ พบแต่ความรงั เกียจการดูหมิ่นจากสงั คม ใครเหน็ หน้าก็บ่อยากถาม ไม่มีใครอยาก

พูดคุยด้วย ความทุกข์ยากทำใหต้ ้องบากหน้าไปขออาหารจากคนอืน่ ๆ วันไหนขอไม่ไดก้ ็ต้องทนหิว ขอเพิ่นบ่

ใหว้ นั น้ันก็แมน่ หวิ เสอื้ ผา้ เครอ่ื งนงุ่ ห่มกข็ าดแคลนใส่แต่ของเก่าของขาดปะชุนจนมีแตร่ อยเข็ม เส้ือผ้าขาดล้อม

ฮอยยุ้มแต่ป่องเข็ม ไม่มีใครนับญาติด้วยไม่มีใครแบ่งปันอาหารดี ๆ ให้ แม้จะมีมากพอก็มักจะใหแ้ ต่สิ่งที่ไมด่ ี

เพียงเลก็ ๆ น้อย ๆ ซึ่งไมเ่ ปน็ สง่ิ ที่ต้องการแล้ว เพ่ินตึกแหไดป้ ลาเสือโตทอ่ หวั ซ้างหัวม้า โตน่ีกินปลาขาวขี้ก้าง

ซ้ำเพ่ินใหท้ าน สถานการณ์เชน่ น้ีทำให้แมห่ ม้ายจำเป็นต้องหาทางช่วยเหลือตนเองและลูก โดยการพยายามหา

สามีใหม่มาเป็นผู้นำครอบครัว แม่สิลงเข็นฝ้ายเดือนหงายท่าเว้าบ่าว แม่สิหาพ่อน้ามาเลี้ยงให้ใหญ่สูง ด้วย

วิธีการเลอื กค่คู รองเช่นเดยี วกนั กบั หญงิ สาวชาวอีสานในอดตี ท่ีพอ่ แม่มักเปดิ โอกาสใหล้ ูกสาวเขน็ ฝ้าย หรอื การ

น่ังปัน่ ฝ้ายที่ลานนอกบา้ นในเวลากลางคืน หนมุ่ ๆ ก็จะพากนั เดินไปเที่ยวพดู คุย (เว้าสาว) ตามบา้ นต่าง ๆ ใคร

ถูกใจใครก็นั่งคุยด้วยนาน ๆ เพื่อจะได้รู้จักคุ้นเคยกันยิ่งขึ้น และตกลงกันเป็นคู่ครองกันตามประเพณีต่อไป

ดังนั้นเมื่อหญิงหม้ายต้องการหาคูค่ รองใหม่ถึงเลอื กใช้วิธีการแบบเดมิ ท่ีเคยใช้มาเมือ่ สมัยท่ีเป็นหญงิ สาว และ

น่าจะเป็นวิธีทย่ี งั ใชไ้ ด้ดีเชน่ เดิม

มสี ำนวนเพลงแมฮ่ ้างกลอ่ มลกู อยอู่ ย่างน้อย 1 สำนวน ซึง่ แม่หม้ายเปดิ โอกาสให้ลูกสาวซึ่งเป็น

พ่ีคนโต ออกไปหาเขน็ ฝา้ ยเพ่อื หาพเี่ ขยมาช่วยเล้ียงนอ้ ง ในกรณนี ้แี ม่หม้ายคงมอี ายมุ ากพอสมควรแล้ว และลูก

สาวคงโตพอที่จะออกเรอื นได้ จึงเปน็ การยนื ยนั ไดว้ า่ หนมุ่ สาวอสี านมีโอกาสในการเลือกคู่ครองด้วยตวั เองอย่าง

ถกู ตอ้ งตามประเพณที ้องถ่นิ ดังปรากฏในเพลงกล่อมลกู ภาคอสี าน สำนวนเพลงแมฮ่ า้ งกลอ่ มลกู ที่วา่

นอนสาหลา่ หลับตาแมส่ ิกล่อม นอนแล้วแม่สิกวย

ให้พ่ีโตไปเขน็ ฝา้ ยเดือนหงายเวา้ ผบู้ า่ ว เอาพ่ีอา้ ยมาเล้ียงใหใ้ หญส่ ูง

ลงุ แม่ปา้ เพน่ิ บ่มาเกยี่ วหญา้ มงุ เฮอื นใหเ้ จ้าอยู่ ฝนตกฮำจักไปซ่นเพิ่นผูไ้ ด๋

๑๙เพลงกลอ่ มเด็กภาคอีสาน จากสายเปลส่สู ายใยความผกู พนั และวิถีชีวติ ในครอบครัว

บทบาทและคณุ คา่ ของเพลงกลอ่ มเดก็ ภาคอสี านทม่ี ตี อ่ สงั คม

จตุพร ศิริสัมพันธ์ (2557 : 72-76) ได้กล่าวถึงเพลงกล่อมเด็กกบั สังคมไทยไว้ว่า เพลงกล่อมเด็กเปน็
สมบัติทางวัฒนธรรมที่เกิดขึ้นในสังคมไทยมายาวนาน เริ่มต้นอย่างเป็นธรรมชาติในวิถีชีวิตของชาวบ้าน ทุก
ครัวเรือน บนพื้นฐานความรักและสายใยความผูกพันของสมาชิกในครอบครัวที่มีต่อเด็ก ไม่ว่าจะเป็น
ความสัมพันธ์ระหว่าง พ่อแม่กับลูก ปู่ย่า ตายาย ลุงป้า น้าอากับหลาน หรือพี่กับน้อง เมื่อมีเด็กเกิดใหม่ในบ้าน
ทกุ คนกจ็ ะช่วยกนั เล้ียงดูอุม้ ชู คอยเล่นด้วย ปอ้ นข้าวป้อนนมให้กนิ อ่ิม และเห่กล่อมให้นอน ด้วยบทเพลงท่ีใช้คำ
ง่ายๆ แสดงความรักความออ่ นโยน พรอ้ มเสียงเออ้ื นยาว ที่เปลง่ ออกมาอยา่ งนุ่มนวลสมำ่ เสมอจนเด็กหลบั สนิทไป

ในอดีต สังคมไทยเปน็ สงั คมเกษตรกรรม ชาวไทยทำไร่ ทำสวน ปลกู พืชผักชนดิ ตา่ ง ๆ ทำนาปลูกข้าว
หาอาหารจากธรรมชาติ เช่น จับปลา จับกบ ยิงนก ขุดหน่อไม้ เก็บเห็ด ตามวิถีชีวิตประจำวันของชาวบ้าน
ทั่วไป เมื่อพ่อไปทำไร่ทำนา แม่อยู่บ้านทำงานบ้าน หรืองานอื่น ๆ เช่น ปั่นฝ้าย สาวไหม ทอผ้า สานกระดง้
กระบุง ตะกร้า ถักแห และจะเลี้ยงลูกไปด้วย โดยมักไกวเปลให้ลูกนอนและรอ้ งเพลงกล่อมให้หลับ บางบ้าน
พ่อแม่เป็นคนหนุ่มสาวก็ออกไปทำไร่ทำนาด้วยกันทั้งคู่ ก็จะมีญาติผู้ใหญ่อย่างปู่ย่า ตายาย ลุงป้า น้าอา หรือ
อาจเป็นพขี่ องเดก็ ช่วยเลีย้ งลกู แทน เพลงกล่อมเดก็ หลายบทแต่งขึน้ ด้วยอปุ นสิ ยั เจ้าบทเจ้ากลอนของคนไทย
จึงมีคำคลอ้ งจอง ทำให้รอ้ งง่าย ฟงั แล้วเพลิดเพลนิ ทั้งยงั สรา้ งความบนั เทงิ ใจใหผ้ ูร้ ้องเองดว้ ย ผู้ที่ได้ยินได้ฟังก็
จดจำ และนำไปร้องปากต่อปาก บางเพลงก็แตง่ เตมิ หรือตดั ใหส้ นั้ ลง แล้วแตค่ วามพอใจ และความนิยมของผู้
นำไปร้อง ไม่ว่าเป็นเพลงบทใด สั้นยาวเพียงใด ผู้ร้องต่างหวังให้เด็กหลับได้รวดเร็ว และหลับสนิทนาน ๆ
เพื่อท่ีจะได้มีเวลาทำงานอื่น ๆ ได้สะดวก หรือจะได้พักผ่อนบ้าง ดังนั้น เพลงกล่อมเด็กจึงถือว่า เป็นเพลง
พนื้ บา้ น ของไทย ทีม่ ีผู้ร้องไดม้ ากทส่ี ดุ เพราะไมจ่ ำเป็นตอ้ งฝึกหัดรอ้ ง เพื่อเป็น “พ่อเพลงแม่เพลง” เหมือนการ
รอ้ งเพลงพ้ืนบา้ นประเภทอ่ืน ๆ

หากยอ้ นเวลากลับไป ในยคุ ทสี่ ังคมไทยยงั ไมม่ ีเครอ่ื งรับวิทยแุ ละโทรทศั น์เพอื่ ความบนั เทงิ เพลงกล่อม
เด็กน่าจะเป็นสงิ่ บันเทิง ทีใ่ กล้ตวั และอยใู่ นวิถีชวี ติ ของทกุ ครวั เรือน และในขณะเดียวกนั ยงั เปน็ เครอ่ื งมือทีม่ ที ง้ั
ประโยชน์และมีคุณคา่ ทางจติ ใจหลายประการ ดังน้ี

๑. กลอ่ มให้เด็กหลับ เม่อื เด็กได้นอนหลับพกั ผ่อนอย่างดีก็ชว่ ยให้สุขภาพรา่ งกายแขง็ แรง ไม่เจ็บป่วย
เจริญเติบโตพัฒนาขึน้ ตามวัย โดยเฉพาะพัฒนาการทางอารมณ์

๒. เมื่อเด็กได้ยินเสยี งเพลงกล่อมจากผู้ใหญ่ท่ีเลี้ยง ก็รับรูว้ า่ มีคนอยู่ด้วยตลอดเวลา ทำให้รู้สึกอบอุ่นใจ
และปลอดภยั หากง่วงนอน กห็ ลบั ไดส้ นิท ไม่ผวา หรือรอ้ งไห้โยเย เมอื่ ต่นื นอนขึน้ มากจ็ ะมอี ารมณแ์ จม่ ใสไมง่ อแง

๓. เม่ือเดก็ หลับสนทิ เป็นเวลานาน ผใู้ หญท่ เี่ ลยี้ งกจ็ ะสามารถทำงานอืน่ ๆ ไดโ้ ดยสะดวก
๔. ในขณะร้องเพลงกล่อมเด็ก ผู้ใหญ่ก็ได้ผ่อนคลายจากเสียงเพลงที่ร้องกล่อมเด็กไปด้วย บทเพลง
กลอ่ มเดก็ บางเพลงแต่งข้ึน จากเรอื่ งราวในนิทาน ตำนาน หรอื เร่ืองจริงท่เี กิดขึ้นในสังคม เม่ือนำมาร้องกล่อม
เด็กก็ยงั เป็นการสร้างความเพลดิ เพลินใจ ให้แก่สมาชกิ ในบ้าน หรือเพื่อนบา้ นท่ีไดฟ้ ังดว้ ย
๕. เพลงกล่อมเด็กส่วนใหญ่มีถ้อยคำเรียกขาน และบอกกล่าว ถึงความรัก ความห่วงใย ความเอ็นดู
และความปรารถนาดีตอ่ เด็ก ทำนองทรี่ อ้ งกลอ่ มก็มีน้ำเสยี งออ่ นโยนปลอบประโลม ทำให้เดก็ ได้รับรู้ ถึงความ
รักของผู้ใหญ่ ปลูกฝังสายสัมพนั ธใ์ นหมูเ่ ครอื ญาติ สร้างความผูกพนั ใกลช้ ิดกบั ญาติผู้ใหญ่
๖. เพลงกล่อมเดก็ เพลงปลอบเดก็ และเพลงร้องเล่นเดก็ แตง่ ขึน้ โดยใชค้ ำสัน้ ๆ งา่ ยๆ เป็นคำพ้ืนฐาน
เกีย่ วกบั รา่ งกาย และธรรมชาตริ อบตัว คำร้องเหลา่ นี้เมอ่ื เด็กได้ฟังบ่อย ๆ จะช่วยส่งเสริมพฒั นาการทางภาษา
ด้านการฟัง การพูดออกเสียง และเรียนรู้คำเรียกสิ่งต่าง ๆ ที่อยู่ในชีวิตประจำวัน นอกจากนี้ยังได้ซึมทราบ
ความเป็น “คนเจา้ บทเจ้ากลอน” ท่ีเป็นเอกลักษณ์ ของคนไทยจากคำสัมผสั คล้องจองท่มี ใี นเนอ้ื เพลงดว้ ย

๒๐เพลงกลอ่ มเด็กภาคอสี าน จากสายเปลสสู่ ายใยความผูกพนั และวิถชี วี ติ ในครอบครัว

๗. เนื้อหาของเพลงกล่อมเด็กหลายบท มักสอดแทรกคติเตือนใจ คำสั่งสอนต่าง ๆ เช่น การรักนวล
สงวนตัวของผ้หู ญงิ การรักษาความสะอาด การใช้ชีวติ ครอบครวั ความขยนั ขนั แข็ง บอกเล่าตัวอย่างพฤติกรรม
ทไ่ี มเ่ หมาะสม ผลของการทำกรรมชว่ั ทำให้ผ้ทู ไี่ ด้ฟังซงึ่ อาจเป็นเด็กโต หนุม่ สาวหรอื ชาวบา้ นในชุมชนได้ข้อคิด
และตระหนักถงึ การประพฤติปฏิบตั ติ นใหเ้ หมาะสม และพยายามเปน็ คนดีของสงั คม

ตอ่ มาสังคมไทยเปล่ยี นจากสังคมเกษตรกรรมเปน็ สงั คมอุตสาหกรรม ชวี ติ แบบสงั คมชนบทก็ค่อยๆ ลดลง
กลายเป็นสงั คมเมืองขยายตัวเพิ่มขึน้ มาแทนที่ เพลงกล่อมเด็กท่ีเคยแพร่หลายในวถิ ีชีวิตของคนไทยกล็ ดบทบาท
ลงเช่นกนั ด้วยเหตุปัจจัยหลายประการ นบั ตง้ั แตค่ รอบครัวที่มสี มาชิก ๓ ร่นุ (ป่ยู ่า/ตายาย พ่อแม่ ลูก/หลาน) อยู่
ร่วมกัน เปลี่ยนแปลงเป็นครอบครวั ขนาดเล็กท่ีมีเพียง ๒-๓ คน พ่อแมล่ ูก คนหนุ่มสาวเลิกประกอบอาชีพทางด้าน
เกษตรกรรม ย้ายถิ่นฐานเข้าสู่เมืองหลวงหรือเมืองใหญ่ ครอบครัวของคนรุ่นใหม่นี้ พ่อแม่ต้องทำงานนอกบ้าน
เชน่ งานในโรงงาน บริษทั ห้างสรรพสินค้า ร้านอาหาร หรอื การรับจ้างอื่น ๆ เม่อื มีลกู กไ็ ม่มีเวลาพอท่ีจะเลี้ยงเอง
ได้ ต้องสง่ ไปทสี่ ถานรับเลยี้ งเด็กเลก็ หรอื จา้ งพเี่ ลย้ี งมาดแู ล ผูท้ ่มี ีหนา้ ทีเ่ ลี้ยงเด็กก็มกั เปิดเครอ่ื งรับวิทยุ โทรทัศน์
หรือเคร่อื งเล่นแถบเสียง เพ่อื ฟังเพลงจากนักร้องรว่ มสมยั ท่ีตนช่ืนชอบ และรอ้ งกลอ่ มเดก็ ไปด้วย

เมื่อสังคมไทยเจริญก้าวหน้ามากขึ้น และเปลี่ยนแปลงอย่างไม่หยุดย้ัง โดยเฉพาะอย่างยิ่งด้าน
เทคโนโลยสี ารสนเทศ ทำให้การติดต่อส่ือสาร รบั รแู้ ละแลกเปลย่ี นขอ้ มูลข่าวสาร ตลอดจนความบนั เทงิ ต่าง ๆ
ไม่ว่าจะเป็นการฟังเพลง ดูภาพยนตร์ หรอื ละคร กท็ ำได้สะดวกรวดเร็วดว้ ยเคร่ืองมอื อุปกรณ์ในยุคดิจิทัลผ่าน
ช่องทางของโลกออนไลน์ ในการเลี้ยงเด็กนั้น พ่อแม่ หรือผู้ที่มีหน้าทีเ่ ลี้ยงเด็กนิยมเปิดเพลงบรรเลงแทนการ
ร้องเพลงกล่อมเดก็ บางคนกห็ าแผ่นซดี รี อมเพลงเด็ก นิทานสำหรบั เดก็ มาเปิดใหเ้ ด็กฟงั ตามที่ผูจ้ ำหน่ายมกี าร
โฆษณาชวนเช่อื ว่าจะชว่ ยสง่ เสริมพฒั นาการให้แก่เดก็ ได้ ดงั นนั้ เพลงกล่อมเด็กของไทย จงึ เลอื นหายไปจากวิถี
ชีวิตของครอบครัวไทยในเมืองใหญ่ และได้เปลี่ยนบทบาทมาเป็นทีร่ ูจ้ ักในฐานะ “องค์ความรู้” หรือ “มรดก
วฒั นธรรมของชาติ” ที่มีคณุ ค่าและควรอนุรกั ษ์ไว้

ปัจจุบัน เราเพียงพิมพ์คำสืบค้นว่า “เพลงกล่อมเด็ก” ในระบบอินเทอร์เน็ต หรือฐานข้อมูลของ
ห้องสมุดและแหลง่ เรียนรู้ต่าง ๆ ก็จะไดข้ ้อมูลความรู้เกีย่ วกับเพลงกล่อมเด็ก และสามารถจะรู้รายชื่อหนังสอื
งานวิจัย วทิ ยานิพนธ์ทเี่ กีย่ วขอ้ งได้ หากต้องการฟังเพลงกล่อมเด็ก กม็ ไี ฟลเ์ พลงให้บรรจลุ ง (ดาวนโ์ หลด) หรือ
อาจใช้บริการฟังจากโสตทัศนวัสดุ ในแหล่งเรียนรู้หลายแห่ง เช่น ห้องสมุดดนตรีทูลกระหม่อมสิรินธร ที่
หอสมุดแห่งชาติ ห้องสมุดของศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร (องค์การมหาชน) นอกจากนี้ สถาบันวิจัยภาษาและ
วัฒนธรรมเอเชีย มหาวิทยาลัยมหิดล ศาลายา จังหวัดนครปฐม จะจัดประกวดเพลงกล่อมลูก ๔ ภาค เป็น
ประจำทกุ ปตี อ่ เนอ่ื งกนั มากวา่ ๒๐ ปแี ลว้ โดยสว่ นใหญ่เป็นเพลงทีบ่ นั ทกึ ขน้ึ ใหม่ จากความทรงจำของผู้สูงอายุ
ท่ีเคยร้อง หรือเป็นผู้ร้องที่ฝึกหัดมาจากผู้สูงอายุ นอกจากบางบทเพลงที่นักวิจัยได้ไปเก็บข้อมูล และ
บนั ทกึ เสยี งผ้สู งู อายุในหมู่บา้ นตามชนบททีย่ ังใชร้ ้องกล่อมหลานในวิถีชีวติ จริง ดังนน้ั มีบางคนโชคดีทไี่ ด้รบั การ
เล้ียงดู และเติบโตในตา่ งจังหวัด ซึ่งเป็นสังคมชนบททีม่ คี วามใกล้ชิดกับญาติผู้ใหญ่และเมื่อเปน็ ผู้ใหญ่ ก็ยังไม่
ลืมเนื้อร้อง ของเพลงกล่อมเด็ก อย่างไรก็ดี เมื่อวันเวลาผ่านไป ผู้ใหญ่เหล่านั้นก็ย่อมแก่เฒ่าและตายจากไป
เพลงกล่อมเด็ก ก็จะมผี ้รู อ้ งไดน้ ้อยลงเรอ่ื ย ๆ จนในที่สดุ เพลงกลอ่ มเดก็ ก็จะเปน็ เพยี งตำนานใหก้ ลา่ วขวัญถึงว่า
เปน็ เพลงพ้นื บ้าน ทใ่ี ช้ในการเลยี้ งดเู ด็กเท่านัน้

อนนั ตศกั ด์ิ พลแกว้ เกษ และภาวณิ ี ห้องแซง (2560 : 33) ได้อภิปรายผลบทบาทของเพลงกล่อมเด็ก
แบง่ ออกเป็น 9 ลักษณะ ดังน้ี

1. บทบาทช่วยกลอ่ มใหเ้ ด็กนอนหลับไดเ้ ร็วขนึ้ หลับสนทิ ไม่รบกวนผู้เล้ียงดู การใช้เพลงกล่อมเด็กทำ
ให้เด็กเกดิ ความเพลิดเพลิน นอนหลบั ง่าย ช่วยผอ่ นคลายความเหนื่อยล้าของผู้เล้ียงดู เนื่องจากผู้มีหน้าที่ดูแล
เด็กมีภารกิจอื่น ๆ ต้องทำ เช่น ทำงานบ้าน ทำอาหาร ดูแลครัวเรอื น ดังนั้น เพลงกล่อมเด็กจึงถกู นำมาใช้ใน
การเห่กล่อมให้เด็กนอนหลับได้ง่ายขึ้น เพื่อให้ผู้ดูแลเด็กได้มีเวลาในการทำงานอย่างอ่ืนไปด้วย เนื่องจาก

๒๑เพลงกล่อมเดก็ ภาคอสี าน จากสายเปลสู่สายใยความผกู พันและวถิ ีชีวติ ในครอบครัว

ทว่ งทำนองเนิบนาบชา้ ๆ เอื้อนเสียงยาว ทำให้เด็กรสู้ ึกเคลิบเคลิ้มและเพลดิ เพลนิ ไปกับทว่ งทำนองจนกระทั่ง
หลบั ในทส่ี ุด

2. บทบาทในการเป็นเครื่องมอื ในการอบรมเลีย้ งดูและขัดเกลาจิตใจ เนื้อหาของเพลงกล่อมเด็กบาง

เพลงมีประโยชน์ทั้งทางตรงและทางอ้อม เพราะในเนือ้ รอ้ งมีการสอดแทรกคติสอนใจทั้งคติทางธรรมและคติ
ทางโลกรวมอยู่ด้วย เช่น สอนให้เชื่อฟังผู้ใหญ่ อีกทั้งในเรื่องคติทางธรรมได้สอนเรื่องความกตัญญู สอนเรื่อง

ความรกั สอนใหร้ จู้ ักบาปบญุ คณุ โทษ
3. บทบาทการสรา้ งความเพลิดเพลินทั้งต่อผู้ร้องและผู้ฟัง การร้องเพลงกล่อมเด็กเป็นการผ่อนคลาย

อารมณ์เครียดจากการงาน หรอื การเลีย้ งดเู ดก็ เพราะไมเ่ พียงแตไ่ กวเปลเท่านน้ั แต่ยังมีการรอ้ งเพลงขับกล่อม

ใหเ้ กิดความเพลิดเพลิน โดยความบนั เทิงนน้ั เกิดได้จากทว่ งทำนอง จงั หวะ ลลี า น้ำเสยี ง และอารมณ์ของผู้ขับ
รอ้ ง รวมถึงเนอ้ื หาท่มี คี วามหลากหลาย เชน่ การแสดงความรกั การขูใ่ หก้ ลัว การปลอบ เปน็ ต้น

4. บทบาทในการเป็นเครื่องบ่งบอกถึงความเจริญทางวัฒนธรรมของชุมชน ทำให้เห็นถึงวัฒนธรรม
การเลยี้ งลูกของคนไทย ตลอดจนผลผลิตทางวัฒนธรรมท่ีมีการพฒั นามาเปน็ ลำดบั มกี ารจดจำ ถ่ายทอด และ
ส่งผ่านจากรนุ่ ส่รู ่นุ อย่างตอ่ เน่อื ง

5. บทบาทในการสะท้อนสภาพวิถีชีวิต ความคดิ ความเชื่อ และค่านิยมของคนในสงั คมเพลงกล่อมเด็กมี
เน้อื หาทส่ี ะทอ้ นใหเ้ หน็ สภาพชวี ติ ในเร่อื งของการทำมาหาเลย้ี งชีพเกษตรกรรม เช่น ทำนา ทำไร่ ทำสวน เลีย้ งสัตว์

6. บทบาทในการเป็นเครื่องแสดงให้เห็นถึงลักษณะร่วมของกลุ่มคนที่มีวัฒนธรรมร่วมกัน เพลงกล่อม
เด็กที่อยู่ในชุมชน หรือภูมิภาคเดียวกันจะมีรูปแบบเนื้อหา และภาษาใกล้เคียงกัน ซึ่งสะท้อนให้เห็นถึงความ
คล้ายคลึงทางวัฒนธรรม เช่น เรอื่ งภาษา การแตง่ กาย วถิ ชี ีวิต สภาพสงั คม ตลอดจนความคิด ความเชอ่ื เป็นต้น

7. บทบาทในการสะท้อนให้เห็นถึงความรกั ความผูกพันระหวา่ งเด็กกับผู้เล้ียง จากตัวบทเพลงกล่อม
เด็กซึ่งโดยมาก คือ พ่อแม่ สังเกตจากวิธีที่เรียกเด็กในคำกล่อมมักเรียกด้วยถ้อยคำที่แสดงถึงความรักทะนุ

ถนอม เช่น คำแพง คำหลา่ คำหล๋อย เปน็ ต้น
8. บทบาทในการให้ความรเู้ ร่ืองคำศัพท์และภาษา การใชโ้ วหารง่าย การเปรยี บเทียบ เพลงกลอ่ มเด็ก

จะประกอบด้วยคำศพั ท์ตา่ ง ๆ เชน่ การกลา่ วถงึ สตั วป์ ระเภทต่าง ๆ อาทิ นก วัว ควาย ฯลฯ

9. บทบาทในการเป็นการปูพ้ืนฐานการศึกษาของเด็ก การขับกล่อมด้วยถอ้ ยคำง่าย ๆ มีสัมผัสคล้อง
จองกัน ชว่ ยใหเ้ ดก็ สามารถจดจำได้ดีขน้ึ

ฟ้าสวย ตรีโอษฐ์ (2556 : 48-55) ได้กล่าวถึงคุณคาของเพลงกล่อมเด็กอีสานต่อการอบรมเล้ียงดู

เด็กปฐมวัยไว้วา่ เพลงกลอมเด็กอีสานมีคุณค่าตอเด็กโดยตรงและถายทอดความรกั ความผูกพันระหว่างแมกับ

ลกู เอาไวอยางชัดเจน ดงั น้ันเพลงกลอมอสี านจะมีเน้ือหาที่อธบิ ายถึงวิธกี ารอบรมเล้ียงดเู ด็กปฐมวยั ทั้งในดาน

การปฏิบตั ขิ องแมทีม่ ีต่อลูกดานการส่ังสอนอบรม และดา้ นการใหความรักความเอน็ ดูเออื้ อาทร แตละเพลงจะ

แสดงใหเหน็ คณุ คาการอบรมเลยี้ งดเู ด็กปฐมวัยเอาไว้แตล่ ะด้าน ดังนี้

1. คณุ คาทางดานร่างกาย

เพลงกล่อมเด็กพ้ืนบ้านอสี าน นี้แสดงให้เห็นถงึ คุณค่าการเลี้ยงดูเด็กปฐมวัยทางด้านร่างกายและ

จิตใจ เพราะเปน็ การถ่ายทอดสภาพชวี ิตของแม่ท่ีตอ้ งรีบออกไปทำไร่ทำนา จึงรอ้ งกล่อมถูกใหน้ อนหลับเร็วขึ้น

และลูกร้สู กึ สบายใจ ดงั ปรากฏในเพลงกล่อมเดก็ พื้นบา้ นอีสาน ทวี่ ่า

อื่อ...อื้อ...ออื้ ...

นอนสาเด้อหล่าหลบั ตาแม่สิกล่อม นอนตื่นแล้วเจา้ จ่ังแอว่ กินนม

แมไ่ ปไฮห่ มกไข่มาหา แมไ่ ปนาจี่ปลามาปอ้ น

แมเ่ ลย้ี งม่อนอยู่ในป่าสวนมอน นอนตะแคงกะอยกู่ กไมเ้ นงิ่

ฟังเสยี งเอิ้นกะอา้ ยบา่ วสลิ า เพิน่ ไปนาจับอึ่งมาแล้ว

จับองึ่ แลว้ เล้ยี งววั เลย้ี งควาย ควายกูเสียอแี ม่กดู่ ่า

๒๒เพลงกล่อมเดก็ ภาคอีสาน จากสายเปลส่สู ายใยความผูกพันและวถิ ชี ีวติ ในครอบครวั

เต้นเข้าป่าเหน็ นกแจ้นแวน้ แจน้ แวน้ เอ้ยเห็นควายก่บู ่อ
เหน็ บ่อแท้จกั วา่ โต๋ได๋ อือ...อื้อ...อื้อ..

จากเพลงกลอ่ มเดก็ พ้นื บ้านอีสานข้างตน้ สามารถถอดความได้ว่า นอนหลบั ตาเถิดลูกน้อย แม่น้ัน

จะออกไปทำนา แมไ่ ม่ได้ไปนานหรอก แล้วกลับมาแมจ่ ะเอาหมกไขม่ าใหก้ ิน เอาปลาทีป่ ้ิงแล้วมาให้ลกู แมไ่ ม่ได้

ห่างไปไหนลี้ยงหม่อนอยู่ข้าง ๆ และผู้บ่าวของแม่ก็จับอึ่งมาให้ลูกด้วย จับอึ่งก็เลี้ยงทัง้ วัวและควาย ถ้าควาย

หายเมจ่ ะดา่ กระโดดเข้าปา่ เหน็ นกรอ้ ง เลยถามนกว่าเหน็ ควายไหม นกตอบวา่ ไม่รู้ตวั ไหน

2. คุณคาทางดานจิตใจ

เพลงกล่อมเด็กพื้นบ้านอีสาน แสดงให้คุณค่าด้านจิตใจสำหรับเด็กปฐมวัย คือ การกล่อมลูกให้

นอนหลับ แล้วบอกลูกให้นอน ตื่นขึ้นมาแม่จะเอาน้ำนมให้ลูกกนิ ซึ่งน้ำนมของแมม่ ันหวานเหมือนกล้วย แม่

บอกว่าไม่มีน้ำนมของใครที่อร่อยได้เท่ากับนำ้ นมของแม่อีกแล้ว ซึ่งสอดคล้องกับทฤษฎีของอีริคสัน กล่าวว่า

การให้นมทารกนั้นควรจะใช้ท่าอุม้ มากกว่าให้ทารกนอนดูดนมอยู่บนท่ีนอน ในการให้นมลูกนี้ จะเป็นเวลาท่ี

แมจ่ ะมโี อกาสในการแสดงความรักตอ่ ทารกอย่างเต็มที่ เดก็ จะรูส้ ึกปลอดภยั อบอุ่น และมอี ารมณ์ความรู้สึกว่า

โลกใบนีน้ ่าอยู่ และเกิดความไว้วางใจต่อสง่ิ ต่าง ๆ ในโลก ดงั ปรากฏในเพลงกลอ่ มเดก็ พน้ื บา้ นอีสาน ทวี่ า่

นอนสาหล่าหลบั ตาแม่กล่อม นอนตืน่ แลว้ จั่งหลกุ กินนม

กินนมไผ๋บ่ปานนมแม่ กนิ นมแมม่ ันแซบมนั หวาน

มนั หวานลงหวานลงคอื กล้วยหวานจว้ ย ๆ ใสป่ ากคำแพง

แม่ไปไฮ่เอาไขม่ าหา แมไ่ ปนาเอาปลามาปอ้ น

แมเ่ ลย้ี งมอ้ นอยใู่ นสวนมอน

นอนสาหลา่ หลับตาแม่ซิกล่อม ขดออ้ มป้อมนอนแล้วอย่าตงี

มิดอิง้ ตงิ้ อยา่ กวนอย่าแอ่ว นอนตื่นแลว้ จงั ลุกกินนม

นอกจากน้ี ฟ้าสวย ตรีโอษฐ์ (2556 : 61-62) ไดก้ ล่าวถงึ คณุ คาต่อการอบรมเลี้ยงไว้วา่ เพลงกล่อม
เดก็ ยงั แสดงออกในเร่ืองความผูกพันของคนในครอบครวั อีสานไวอ้ ย่างชัดเจนในการช่วยดูแลเด็กเล็ก ซ่งึ ทุกคน

ในครอบครัวมีส่วนช่วยในการลีย้ งดู ซึ่งสอดคล้องกับข้อมูลของผู้วิจยั บางครั้งแม่ต้องออกไปทำงานนอกบ้าน
ไมม่ ีเวลาในการเลี้ยงดู จงึ ฝากให้คนอื่นในครอบครัวเลีย้ งดูแทน เช่น ย่า ยาย ปู่ ตา เปน็ น บุคคลหล่านี้จะเข้มา

ชว่ ยเลี้ยงดบู ุตรหลาน ซงึ่ สอคคล้องกับหลกั การอบรมเลี้ยงดูเด็กตามวิถไี ทย ทิศนา แขมมณี (2533) กล่าวว่า
การทีม่ ผี ูด้ ูแลเด็กหลายคน เนือ่ งจากครอบครัวไทยในชนบท ยงั มลี ักษณะเป็นครอบครัวขยาย นอกจากพ่อแม่
แล้วยังมีญาติพี่น้องที่อาศัยอยู่ด้วย มีส่วนในการอบรมเลี้ยงดซู ึ่งผู้ปกครองเด็กได้ให้ข้อมูลที่ตรงกันว่า การที่ผู้

เฒ่าผู้แก่ในบ้านช่วยเลี้ยงดูลูกให้ เกิดความสบายใจมากกว่าจะเอาไปฝากให้บุคคลอื่นที่ไม่ใช่คนในครอบครัว
เลี้ยง เพราะคนในครอบครัวย่อมจะใส่ใจความรู้สึกของลูก และรักลูกเหมือนกับเป็นลูกหลานคนหน่ึง ผู้เฒ่า

ผู้แก่ ญาติพี่น้องยังให้คำแนะนำในการเลี้ยงดูลูก วัฒนธรรมประเพณีที่ดีงาม เอามาถ่ายทอดทางความคิด
ยงั เปน็ แนวทางในการเอามาปรับใช้ในการล้ียงดูลกู ของตวั เองอกี ดว้ ย

เพลงกล่อมเด็กยงั มีผลต่อพัฒนาการทางอารมณ์ และจติ ใจท้ังทางบวกและทางลบ ทางบวกทำให้เด็ก

มีความสบายใจ เพลิดเพลิน รู้สึกถึงความรักที่แม่มีต่อลูก ความห่วงอาทร สิ่งเหล่านี้เป็นสิ่งที่ทำให้เด็กเกิด
ความรู้สึกทางบวก ส่วนทางลบบางบทเพลงจะมีการขูใ่ ห้เด็กกลัว นอกจากจะเป็นการนำเอาสัตว์ เช่น ตุ๊กแก

แมวโพง นกฮูก มาข่เู ชน่ เดียวกับในเพลงกล่อมเด็กท่ัวไปแลว้ ยังมกี ารกลา่ วเอาตำรวจ นายอำเภอ มาขู่ให้เด็ก
กลัวอกี ดว้ ย เช่น “นายอำเภอตีเบอร์หัวล้าน เจา้ บ่ย่านสิมาตอนบ”ี การกลวั เปน็ ส่ิงทเ่ี ด็กเกิดขึ้นจากการเรียนรู้
และผู้ทใี่ หก้ ารเรียนรกู้ ็คือผู้ใหญ่นัน่ เอง ผ้ใู หญ่เป็นผู้ท่ปี ลุกฝังความกลัวใหแ้ ก่เด็ก สง่ิ เหล่านีม้ ผี ลตอ่ จิตใจทางลบ

โดยการวางเง่ือนไขกับสิง่ หน่ึงส่งิ ใด (จนั ทมาศ ช่ืนบญุ , 2515) เช่นในบทรอ้ งกล่อมทีว่ า่

๒๓เพลงกลอ่ มเดก็ ภาคอีสาน จากสายเปลสสู่ ายใยความผกู พันและวถิ ีชวี ติ ในครอบครัว

- นอนเสียเถดิ ลกู นกฮกู จะกนิ ตับ
- เจ้าบน่ อนตุ๊กแกจะกนิ ตบั
- เจา้ บ่นอนแมวโพงสขิ บแกม้
- เจา้ บน่ อนแมวนอ้ ยจะกนิ ตา

จากการสัมภาษณ์พบว่า การขู่ให้เด็กกลัวสัตว์หรือสิ่งรอบ ๆ ตัวจึงเป็นการวางแบบแผนพฤดกิ รรมที่
ต้องการโดยไมค่ ำนึงถงึ เหตุผลตามหลักความเป็นจรงิ ซึ่งจะมีผลต่อบุคลิกภาพของเด็กตอ่ ไปในอนาคต ทำให้
เป็นคนขาดความมนั่ ใจ ไม่กลา้ รับผิดชอบ ไม่กล้าตัดสินใจและขาดความคิดรเิ ริม่ แตจ่ ะเปน็ ผู้ที่ปฏิบัติตนอยู่ใน
กฎระเบียบที่กำนดให้ ซึ่งสอดดล้องกับ กรมวิชาการ กระทรวงศึกษาธิการ (2531) กล่าวว่า สภาพแวดล้อม
ของเด็กที่ขาดการอบรมเลี้ยงดูที่เหมาะสม ย่อมมีผลต่อความมั่นใจ ขาดความเชื่อมั่นในตนอง และมีผลต่อ
กระบวนการคิดแกป้ ญั หาของเด็กในอนาคต นอกจากน้ัน ไวรชั เจยี มบรรจง (2522) กลา่ วถงึ ความสำคัญของ
การเลีย้ งดูว่าพอ่ แมเ่ ปน็ ผู้ที่ต้องคอยอบรมสัง่ สอนเดก็ ในระยะเร่มิ แรก มีอทิ ธิพลตอ่ การสง่ เสรมิ พฤติกรรมตามท่ี
คาดหวงั และทำลายพฤตกิ รรมของบตุ รอย่างท่ไี ม่คาดคิดมากอ่ น

เพลงกล่อมเด็กอสี านนัน้ มคี ุณค่าตอ่ การอบรมเลี้ยงดเู ดก็ ท้ังในเรือ่ งการพัฒนาการจิตใจของเด็กใหเ้ ป็น
คนที่มีจติ ใจอ่อนโยน ไม่ก้าวร้าว และยังสอดเทรกเร่ืองคุณธรรม จริยธรรม ให้รู้จักการเป็นคนดี เชื่อฟังพ่อแม่
บทเพลงนั้นจะช่วยขบั กล่อมเกลาจิตใจของเด็กไดอ้ ีกทางหนึง่ ด้วย

ความสรปุ

เพลงกลอ่ มเด็กภาคอีสาน จากสายเปลสสู่ ายใยความผูกพันและวถิ ีชีวติ ในครอบครวั จากการศึกษาได้
พบลักษณะเพลงกล่อมทำนองเดียวกันกับการกล่อมเด็กในภาคอื่น ๆ ทแ่ี สดงความรัก ความผูกพันต่อเด็กเล็ก
ด้วยการใชส้ รรพนามในการเรยี กอย่างอ่อนโยน ใหค้ วามอบอนุ่ แสดงออกถึงความเอาใจใส่อย่างชัดเจนเพื่อให้
เด็กเกิดความม่ันใจและนอนหลบั อยา่ งเปน็ สุข ซึ่งผู้กล่องจะมที ้ังผ้ทู ี่เป็นแมแ่ ละพ่อ พ่ี หรือญาติผู้ใหญ่ที่ใกล้ชิด
ในขณะที่แม่ต้องออกไปไร่ไปนาเพื่อหาอาหาร ซึ่งในเนื้อเพลงจะแสดงให้เห็นถึงวฒั นธรรม และวิถีชีวิตความ
เป็นอยู่ในประจำวันที่เรียบง่ายตามธรรมชาติของท้องถิ่นแบบสังคมเกษตรกรรม สะท้อนความคิด ความเช่ือ
และความศรัทธาในพระพุทธศาสนาอย่างชดั เจน ทง้ั ได้เหน็ ความคาดหวังของคนอีสานในการอบรมเลี้ยงดูเด็ก
ทต่ี อ้ งการใหด้ ำเนนิ ชีวิตตามประเพณี เช่น ผู้ชายกต็ อ้ งบวชเรียน เปน็ ตน้

ส่วนเพลงแมฮ่ า้ งกล่อมลูก ซึ่งเปน็ เพลงกล่อมทพ่ี บมากในทุกทอ้ งถิน่ ของอีสาน จะแยกให้เหน็ ชดั เจนถึง
สถานภาพที่ต่ำต้อยของหญิงหมา้ ย ซ่ึงต้องพยายามดำรงฐานะของครอบครัวให้อยู่ได้อย่างดีในสังคมโดยการ
“หาพอ่ น้ามาเลี้ยงลกู ให้ใหญส่ งู ” คอื การหาสามใี หม่ ซง่ึ เป็นพฤตกิ รรมธรรมดาในสงั คมอสี านเพอื่ ความอยู่รอด
ในอนาคตของลูก ซึ่งน่าจะไดม้ ีการศึกษาอย่างลกึ ต่อไป

ประเด็นที่พบและน่าสนใจจากเพลงกล่อมเด็กภาคอีสานอีกประการหนึ่ง คือ การขู่ ซึ่งผู้ใหญ่นำมาใช้
เพื่อให้เด็กกลัวจะได้รบี นอนหลับเร็ว ๆ ในเวลาผู้ใหญ่ไปทำงานการต่าง ๆ ในไร่นา ได้โดยสะดวก การนำสิ่งหรอื
สัตว์รอบ ๆ ตัวมาขู่ มีผลต่อบุคลิกภาพของเด็กในอนาคตให้เป็นผู้ที่อยู่ในกฎระเบียบ แต่ขาดความมั่นใจในการ
แสดงความคิดรเิ ริ่ม จากเพลงกลอ่ มเดก็ ภาคอสี านทศ่ี ึกษานอ้ี าจเป็นส่วนหนง่ึ ทส่ี ง่ ผลถึงบคุ ลิกภาพของคนอีสาน ให้
เป็นคนออ่ นนอ้ มถ่อมตน และพอใจในความเปน็ อย่ทู ี่เรยี บง่ายใกลช้ ดิ ผกู พนั กับธรรมชาตดิ งั ทีเ่ ป็นอยเู่ ช่นทกุ วันนี้

การศึกษาเพลงกล่อมเด็กภาคอีสาน หากได้มกี ารศึกษาวิเคราะห์ให้ลกึ ลงไปในแต่ละประเด็น อาจทำ
ให้เราเห็นภาพสังคมอีสานในอดีต และอาจได้เข้าใจถึงจิตวิญญาณของชาวอีสานได้อย่างชัดเจน และเข้าใจ
วิวัฒนาการภูมิปัญญาและวิธีคิดของคนอีสานได้อย่างถ่องแท้ อันเป็นความเข้าใจที่จะสร้างสายสัมพันธ์ของ
วฒั นธรรมทีม่ ีความเปน็ มาอย่างใกล้ชิดผกู พนั กันมายาวนานในแผน่ ดนิ ไทย เพอ่ื จะได้รว่ มกันรักและภาคภูมิใจ
ในมรดกวฒั นธรรมของชาติให้มีความมนั่ คงยงั่ ยนื สบื ต่อไป

๒๔เพลงกล่อมเด็กภาคอสี าน จากสายเปลสู่สายใยความผกู พันและวถิ ีชวี ติ ในครอบครวั

บรรณานกุ รม

กรมวิชาการ กระทรวงศึกษาธิการ. (2531). รายงานการสัมมนาระดับชาติ เรื่อง หลักสูตรประถมศึกษา.
กรุงเทพฯ : การศาสนา.

จตุพร ศิริสัมพันธ์. (2557). เพลงกล่อมเด็ก. ใน สารานุกรมไทยสำหรับเยาวชน โดยพระราชประสงค์ใน
พระบาทสมเด็จพระเจา้ อยู่หัว. เล่ม 39. หนา้ 72-76. กรุงเทพฯ : โครงการสารานกุ รมไทยสำหรับ
เยาวชน.

จนั ทมาศ ช่ืนบุญ และคณะ. (2515). จิตวทิ ยาเด็ก. กรงุ เทพฯ : มหาวทิ ยาลัยรามคําแหง.
ทิศนา แขมมณี และคณะ. (2536). หลกั การและรปู แบบการพัฒนาเด็กปฐมวัยตามวิถีชีวิตไทย. กรงุ เทพฯ :

สำนกั พมิ พจฬุ าลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
ฟ้าสวย ตรีโอษฐ์. (2556). เพลงกลอมเด็กพ้ืนบ้านอีสาน: คุณคาต่อการอบรมเลี้ยงดูเด็กปฐมวัย.

วิทยานพิ นธ์ศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต (ปฐมวัยศกึ ษา) บัณฑติ วทิ ยาลยั มหาวิทยาลยั เกษตรศาสตร์.
มารศรี เคนวิเศษ และบุหลัน ช่วยบดุ ดา. (2522). เพลงกลอ่ มเดก็ จากตำบลบ้านชวน อำเภอบำเหนจ็ ณรงค์

จังหวัดชัยภมู ิ. วทิ ยานิพนธ์ครศุ าสตรบณั ฑติ วชิ าเอกภาษาไทย วทิ ยาลัยครนู ครราชสีมา.
ไวรัช เจียมบรรจง. (2523). จิตวิทยาสังคม. กรุงเทพฯ : ภาคจิตวิทยาและการแนะแนว คณะวิชาครุศาสตร

วิทยาลยั ครพู ระนคร.
สืบพงศ์ ธรรมชาติ. (2549). สายเปลสายใจโยงใย แม่...ลกู . ภมู ิปญั ญาพ้นื บ้าน สบื สานพฒั นาไทย : ท่ีระลึก

งานส่งเสรมิ ศลิ ปวฒั นธรรมทบวงมหาวทิ ยาลยั ครั้งท่ี 5 (71-75). นครศรธี รรมราช : มหาวิทยาลยั วลัย
ลักษณ์.
สุกัญญา ภัทราชัย. (2523). แบบโครงสร้างเพลงกล่อมเด็กอีสาน. วารสารมนุษยศาสตร์สังคมศาสตร์
มหาวทิ ยาลัยขอนแก่น. ปีท่ี 1 ฉบบั ท่ี 3 (กันยายน- ธันวาคม 2523) : 35-45.
สุทธิกร ตะวันหะ และจินตนา จิตสามารถ. (2522). เพลงกล่อมเด็กจากบ้านมะเกลือเก่า อำเภอสูงเนิน
จงั หวัดนครราชสีมา. วทิ ยานพิ นธ์ครุศาสตรบณั ฑติ วชิ าเอกภาษาไทย วิทยาลัยครนู ครราชสมี า.
สุนีย์ เลี่ยวเพ็ญวงษ์ และกุลธิดา ท้วมสุข. (2545). รายงานการวิจัยเรื่องเพลงกล่อมเดก็ อีสาน. ขอนแก่น :
คณะมนษุ ยศาสตรแ์ ละสงั คมศาสตร์ : มหาวิทยาลยั ขอนแกน่ .
. (2545). ภาพสะท้อนจากเพลงกลอมเดก็ อสี าน. วารสารวจิ ยั มข. ปที ่ี 7 ฉบบั ที่ 1 : 78-85
สุมามาลย์ พงษ์ไพบูลย์. (2549). ภมู ิปญั ญาไทยในเพลงกล่อมเด็ก. มหาวิทยาลัยวลัยลกั ษณ์; 69-70.
อนันตศกั ดิ์ พลแกว้ เกษ และภาวิณี ห้องแซง. (2560). วิเคราะห์วรรณศิลป์ในบทเพลงกลอ่ มเด็กของคนภูไท
ตำบลห้องแซง อำเภอเลงิ นกทา จงั หวัดยโสธร. วารสารมหาวิทยาลยั ราชภัฏรอ้ ยเอ็ด. ปที ี่ 11 ฉบับ
ที่ 2 (กรกฎาคม-ธนั วาคม 2560) : 25-33.


Click to View FlipBook Version