The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

แผนนิเทศการศึกษา ประจำปีงบประมาณ 2565

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by yuwatida maiganta, 2022-06-06 00:17:07

แผนนิเทศการศึกษา ประจำปีงบประมาณ 2565

แผนนิเทศการศึกษา ประจำปีงบประมาณ 2565

Keywords: แผนนิเทศ

แผนนเิ ทศกำรศึกษำ
ประจำปงี บประมำณ 2565

สำนักงำนเขตพ้ืนทกี่ ำรศึกษำประถมศกึ ษำลำปำง เขต 1
สำนักงำนคณะกรรมกำรกำรศกึ ษำข้นั พ้ืนฐำน
กระทรวงศึกษำธิกำร
เอกสำร ศน.สพป.ลำปำง เขต 1
ท่ี 34/2564



คำนำ

แผนการนิเทศการศึกษาของสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาลำปาง เขต 1
โดยใช้รูปแบบการนิเทศ เอ พี ไอ ซี อี (APICE Model) ประจำปีงบประมาณ 2565 จัดทำขึ้นให้สอดคล้อง
กับยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี (พ.ศ. 2561 - 2580) ของรัฐบาล แผนพัฒนาการศึกษาชาติ 20 ปี (พ.ศ.2561 -
2580) นโยบายและจุดเนน้ ของกระทรวงศึกษาธกิ าร แผนการพัฒนาการศกึ ษาของสำนักงานคณะกรรมการ
การศึกษาข้ันพ้นื ฐาน ซ่งึ ได้กำหนดวสิ ัยทัศน์ พันธกิจ เปา้ ประสงค์ กลยทุ ธ์การนิเทศ ขอบขา่ ยการนิเทศและ
การดำเนินการนิเทศการศึกษา เพื่อขับเคลื่อนการดำเนินงานของสถานศึกษาสู่เป้าหมาย ก่อให้เกิด
เป้าหมายผลผลิตและตัวชีว้ ัดตามแผนปฏิบัติราชการของสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาลำปาง
เขต 1 พร้อมทั้งกำหนดแนวทาง การนิเทศการศึกษา การประเมินผลและการรายงานผลการนิเทศ
การศึกษา เพื่อให้ผู้มีส่วนเกี่ยวข้องทั้งในระดับสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา ศึกษานิเทศก์และสถานศึกษา
ใชเ้ ปน็ เครือ่ งมอื ในการพัฒนาคุณภาพการศกึ ษาได้อย่างมีประสทิ ธิภาพ

แผนการนิเทศการศึกษา ฉบับน้ีประกอบดว้ ย 5 สว่ น คอื สว่ นท่ี 1 บทนำ ส่วนท่ี 2 ข้อมูล
พื้นฐาน ส่วนที่ 3 รูปแบบการนิเทศ เอ พี ไอ ซี อี (APICE Model) ส่วนที่ 4 แผนการนิเทศ กิจกรรมการ
นเิ ทศ และปฏทิ นิ การนิเทศ และสว่ นท่ี 5 เครือ่ งมือนิเทศ ตดิ ตามและประเมินผลการจัดการศกึ ษา

กลุ่มนิเทศ ติดตามและประเมินผลการจัดการศึกษา สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา
ประถมศึกษาลำปาง เขต 1 ขอขอบคุณคณะทำงานทุกท่าน ที่ร่วมกันจัดทำเอกสารฉบับนี้จนเสร็จสมบูรณ์
หวังเป็นอย่างยิ่งว่า เอกสารฉบับนี้จะเป็นประโยชน์ต่อการนิเทศของศึกษานิเทศก์ และผู้มีส่วนเก่ียวข้องใน
ระดับเขตพืน้ ทีก่ ารศกึ ษา ไดม้ ีประสทิ ธผิ ลมากย่ิงข้ึน

กลมุ่ นิเทศ ตดิ ตามและประเมินผลการจดั การศึกษา



สารบัญ

คำนำ บทนำ หนา้
สารบญั 1. ความเปน็ มาและความสำคัญ ก
สารบัญภาพ 2. วตั ถปุ ระสงค์ ข
ส่วนที่ 1 3. เปา้ หมาย จ
4. นิยามศพั ท์ 1
ส่วนที่ 2 1
ข้อมูลพื้นฐาน 3
ส่วนที่ 3 1. สถานทตี่ ั้ง 3
สว่ นที่ 4 2. พืน้ ทีร่ บั ผิดชอบ 3
3. จำนวนโรงเรียนในสงั กดั 6
4. ขอ้ มูลจำนวนนกั เรียนจำแนกระดับชั้นเรยี น 6
5. ข้อมลู ครแู ละโรงเรียน จำแนกตามอำเภอ 6
6. ข้อมลู ศึกษานิเทศก์ จำแนกตามภารกจิ ความรับผดิ ชอบ 7
7. แผนพัฒนาการศึกษาข้ันพื้นฐาน (พ.ศ. 2564 – 2565) สำนักงาน 7
คณะกรรมการการศึกษาขัน้ พ้นื ฐาน 8
8. นโยบายท่ีเกี่ยวข้อง 8

รปู แบบการนิเทศ เอ พี ไอ ซี อี (APICE Model) 13
แผนการนเิ ทศ กิจกรรมการนเิ ทศ และปฏิทนิ การนิเทศ 13
18
แผนนิเทศ ติดตาม การจัดการศกึ ษา ตามกลมุ่ งาน 22
- แผนการนเิ ทศ ตดิ ตามและประเมนิ ผลการพฒั นาหลักสูตรสถานศกึ ษาและ
22
การนำหลักสูตรสถานศกึ ษาไปใช้ในการพัฒนาคุณภาพผเู้ รียน
- แผนการนเิ ทศ ติดตามและประเมนิ ผลการจัดการศึกษาปฐมวยั 25
- แผนการนิเทศ ติดตามและประเมินผลการจดั การศึกษาพเิ ศษ 28
- แผนการนิเทศ ตดิ ตามและประเมนิ ผลการวัดและประเมินผลการเรยี นรู้
31
ของสถานศกึ ษา
- แผนการนเิ ทศ ตดิ ตามและประเมนิ ผลการดำเนนิ งานตามระบบประกันคุณภาพ 33

การศึกษาภายในสถานศึกษา 36
- แผนการนิเทศ ติดตามและประเมินผลการส่งเสริมและพัฒนาสอื่ นวัตกรรมและ 38

เทคโนโลยที างการศกึ ษา
- แผนการนิเทศ ตดิ ตามและประเมนิ ผลการนเิ ทศภายในของสถานศึกษา



สารบัญ (ต่อ) หนา้

แผนนิเทศ ติดตาม การจดั การศึกษา ตามนโยบายและจุดเนน้ 40
- แผนการนิเทศ ตดิ ตามและประเมนิ ผลการจดั การเรยี นรู้เชงิ รุก 43
46
(Active Learning) 49
- แผนการนิเทศ ติดตามและประเมนิ ผลการเสริมสร้างคณุ ธรรม จริยธรรมและ 52
55
ธรรมาภิบาลในสถานศึกษา(โครงการโรงเรยี นสุจริต) 58
- แผนการนเิ ทศ ติดตามและประเมนิ ผลการขับเคล่ือนหลกั ปรัชญาของเศรษฐกจิ 60
61
พอเพียงสู่สถานศึกษา
- แผนการนเิ ทศ ตดิ ตามและประเมินผลการจัดการเรียนรู้ตามแนวทาง PISA

ระดบั มธั ยมศกึ ษาตอนต้น
- แผนการนิเทศ ตดิ ตามและประเมินผลการพฒั นาการอ่าน และการเขียน

ภาษาไทย
- แผนการนเิ ทศ ตดิ ตามและประเมินผลการจดั การเรยี นรู้เพศวถิ ีศึกษาและ

ทกั ษะชีวติ
- แผนการนิเทศ ตดิ ตามและประเมินผลการจัดการศึกษาทางไกลผา่ นดาวเทียม

(DLTV)
เอกสารอ้างองิ
คณะผู้จดั ทำ

สารบญั ภาพ ง

แผนภาพท่ี 1 การนิเทศ เพ่อื ยกระดบั คุณภาพการศึกษาโดยใช้รูปแบบนเิ ทศ เอ พี ไอ ซี อี หน้า
(APICE Model) 18
19
แผนภาพท่ี 2 กรอบแนวคดิ การนเิ ทศเพือ่ ยกระดับคณุ ภาพการศึกษาโดยใช้รปู แบบนเิ ทศ
เอ พี ไอ ซี อี (APICE Model)

ส่วนที่ 1
บทนำ

1. ความเปน็ มาและความสำคัญ

กระทรวงศึกษาธิการมุ่งม่ันดำเนินการภารกิจหลักตามแผนแม่บทภายใต้ยุทธศาสตรช์ าติ 20 ปี
(พ.ศ. 2561- 2580) จะดำเนินการขับเคลื่อนทุกแผนย่อยในประเด็น 12 การพัฒนาการเรียนรู้ และแผน
ย่อยที่ 3 ในประเด็น 11 การพัฒนาศักยภาพคนตลอดช่วงชีวิต รวมทั้งแผนการปฏิรูปประเทศด้าน
การศึกษา(ฉบับปรุง) และนโยบายรฐั บาลท้ังในสว่ นนโยบายหลกั ดา้ นการปฏริ ปู กระบวนการเรียนรู้และการ
พัฒนาศักยภาพของคนไทยทุกช่วงวัย นโยบายเร่งด่วน เรื่องการเตรียมคนไทยสู่ศตวรรษที่ 21 นอกจากนี้
ยังสนับสนุนการขับเคล่ือนแผนแม่บทภายใต้ยุทธศาสตร์ชาติประเดน็ อ่นื ๆ แผนพฒั นาเศรษฐกิจและสังคม
แห่งชาติ ฉบับที่ 12 (พ.ศ. 2560 – 2564) แผนการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ.2560 - 2579 รวมทั้งนโยบายและ
แผนต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้อง โดยคาดหวังว่าผู้เรียนทุกช่วงวัยจะได้รับการพัฒนาในทุกมิติ เป็นคนดี คนเก่ง
มีคณุ ภาพ และมคี วามพร้อมร่วมขับเคล่อื นการพัฒนาประเทศสู่ความม่ันคง ม่ังคัง่ และยัง่ ยืน

อนึ่ง สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ได้กำหนดนโยบาย ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.
2565 โดยมุ่งมั่นการพัฒนาการศึกษาขั้นพื้นฐานภายใต้สถานการณ์โควิด – 19 ให้เป็น “การศึกษา
ข้ันพืน้ ฐานวิถีใหม่ วถิ คี ณุ ภาพ” ใน 4 ดา้ น ดังนี้ 1) ดา้ นความปลอดภยั 2) ดา้ นโอกาส 3) ดา้ นคณุ ภาพ และ
4) ด้านประสิทธิภาพ พร้อมกับกำหนดจุดเน้นที่สำคัญต่อการพัฒนาการศึกษาขั้นพื้นฐาน จำนวน 9 ข้อ
ดังนี้ 1) เร่งแก้ปัญหากลุ่มผู้เรียนที่ได้รับผลกระทบจากสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคโควิด - 19 โดย
เพิ่มโอกาสในการเข้าถึงการศึกษา ฟื้นฟูภาวะถดถอยทางการเรียนรู้ (Learning Loss Recovery) ให้กับ
ผู้เรียนทุกระดับรวมทั้งลดความเครียดและสุขภาพจิตของผู้เรียน 2) เสริมสร้างระบบและกลไกในการดแู ล
ความปลอดภัยนักเรียน ด้วยระบบมาตรฐานความปลอดภัย กระทรวงศึกษาธิการ
(MOE Safety Platform) 3) ส่งเสริมให้เด็กปฐมวัยที่มีอายุ 3 - 6 ปี และผู้เรียนระดับการศึกษา
ขั้นพื้นฐาน เข้าถึงโอกาสทางการศึกษาและป้องกันการหลุดออกจากระบบ รวมทั้งช่วยเหลือเด็กตกหล่น
เด็กออกกลางคัน และเด็กพิการที่ค้นพบจากการปักหมุดบ้านเด็กพิการให้กลับเข้าสู่ระบบการศึกษา
4) พัฒนาหลักสูตรสถานศึกษาทีเ่ น้นสมรรถนะและการจัดทำกรอบหลักสตู ร รวมทั้งจัดกระบวนการเรยี นรู้
ทางประวัติศาสตร์ หน้าที่พลเมืองและศีลธรรม ให้เหมาะสมตามวัยของผู้เรียน 5) จัดการอบรมครูโดยใช้
พื้นที่เป็นฐาน พร้อมกับการเสริมทักษะการสอนแบบออนไลน์อย่างมีประสิทธิภาพและการให้ความรู้ด้าน
การวางแผนและการสร้างวินัยด้านการเงินและการออมเพื่อแก้ไขปัญหาหนี้สินครู 6) ส่งเสริมการจัดการ
เรียนรู้ ผ่านกระบวนการเรยี นการสอนที่เน้นให้ผู้เรยี นมีส่วนรว่ มและมปี ฏสิ มั พนั ธ์กบั กิจกรรมการเรยี นรู้ผ่าน
การปฏิบัติที่หลากหลายรูปแบบ (Active Learning) มีการวัดและประเมินผลในชั้นเรียน เพื่อพัฒนาการ
เรยี นรูแ้ ละสมรรถนะของผู้เรยี น (Assessment for Learning) ทุกระดับ 7) ยกระดับคณุ ภาพของนักเรียน
ประจำพักนอน สำหรับโรงเรียนที่อยู่ในพื้นที่สูง ห่างไกล และถิ่นทุรกันดาร 8) มุ่งเน้นการใช้เทคโนโลยี
ดิจิทลั เพือ่ การเรียนรู้ทุกระดับ 9) เพม่ิ ประสิทธิภาพการบรหิ ารจัดการศึกษาโดยการกระจายอำนาจและใช้
พื้นที่เป็นฐานเพื่อสร้างความเข้มแข็งโดยการจัดสรรกรอบวงเงินงบประมาณ (Blog Grant) ตามหลัก
ธรรมาภบิ าล ให้กับสำนกั งานเขตพน้ื ทก่ี ารศึกษาและสถานศึกษา

ปัจจุบันเกิดการเปลี่ยนแปลงทางด้านสภาพสังคม และเศรษฐกิจอยู่ ตลอดเวลาจึงสงผลตอการ
เปล่ยี นแปลงทางด้านการจัดการศึกษา เม่ือมีการปรบั ปรุงเปล่ียนแปลงโครงสร้างการดําเนินงานหลักสูตร การจัด

2

กระบวนการเรยี นรูของครูกย็ อมปรับปรุงเปล่ียนแปลงไปดว้ ย จงึ จำเป็นจะตองมีการพัฒนาเพิ่มพูนใหครมู ีความรู
และทักษะต่าง ๆ ใหสามารถจัดกระบวนการเรียนรูพัฒนางานในองคกรใหสอดคลองกับสภาพแวดลอมใหม่ได้
ครูจงึ ตองได้รับการนิเทศและคำแนะนำ ชว่ ยเหลือ ดังนั้น ผทู้ ม่ี หี นาที่นิเทศจำเป็นตองดำเนินการช่วยเหลือผู้รับ
การนเิ ทศใหมีความสามารถในการปรบั ปรุงพัฒนางานที่สนับสนุนการสอน และการจัดการเรียนรูใหก้าวทนั โลกที่
กําลังเจริญก้าวหนาทางเทคโนโลยีและการเปลี่ยนแปลงตลอดเวลาเพื่อกอใหเกิดประโยชนแก่ผู้เรียนอย่างเต็มที่
และมีประสิทธภิ าพ

จากการนิเทศ ติดตาม การจัดการศึกษาตามแผนนิเทศการศึกษา ประจำปีงบประมาณ 2564 โดยใช้
รูปแบบการนิเทศ เอ พี ไอ ซี อี (APICE Model) โดยคณะศึกษานิเทศก์ในแต่กลุ่มเครือข่าย ลงพื้นที่เก็บ
ข้อมลู ด้วยตนเอง และใชก้ ารนเิ ทศแบบออนไลนด์ ้วย Application Line และ Google Meet ผลการนเิ ทศ
พบวา่

1) การดำเนินงานตามระบบการประกันคุณภาพการศึกษาภายในสถานศึกษา ในภาพรวม
ผลการประเมนิ อยู่ในระดับยอดเยี่ยม จำนวน 36 แหง่ คดิ เป็นร้อยละ 42.86 ระดับดีเลศิ จำนวน 43 แห่ง
คิดเปน็ ร้อยละ 51.19 ระดบั ดี จำนวน 5 แห่ง คดิ เปน็ ร้อยละ 5.95

2) การส่งเสริมและพัฒนาสื่อนวัตกรรมและเทคโนโลยีทางการศึกษา ได้ดำเนินการนิเทศ
2 รายการ โดยในรายการที่ 1 การส่งเสริมและพัฒนาสื่อ ผลการประเมินอยู่ในระดับยอดเยี่ยม 29 แห่ง
คิดเป็นร้อยละ 33.33 ระดับดีเลิศ จำนวน 32 แห่ง คิดเป็นร้อยละ 36.67 ระดับดี จำนวน 22 แห่ง คิดเป็น
ร้อยละ 25.29 ระดับปานกลาง จำนวน 4 แห่ง คิดเป็นร้อยละ 4.61 และรายการที่ 2 การค้นคว้า วิเคราะห์
วิจัย การพัฒนาสื่อนวัตกรรม พบว่า มีผลการประเมินระดับยอดเยี่ยม จำนวน 10 แห่ง คิดเป็นร้อยละ
11.49 ระดับดีเลิศ จำนวน 26 แห่ง คิดเป็นร้อยละ 29.89 ระดับดี จำนวน 37 แห่ง คิดเป็นร้อยละ 42.53
ระดับปานกลาง จำนวน 13 แห่ง คิดเป็นร้อยละ 14.94 และระดับกำลังพัฒนา จำนวน 1 แห่ง คิดเป็น
รอ้ ยละ 1.15

3) การพฒั นาหลักสูตรสถานศึกษาและการนำหลักสูตรสถานศึกษาไปใช้ในการพัฒนาคุณภาพ
ผ้เู รยี น พบว่า โรงเรียนในสงั กัดจำนวน 84 แหง่ (รอ้ ยละ 100) มีผลการประเมินองคป์ ระกอบท่ี 2 โครงสรา้ ง
หลักสูตร องค์ประกอบที่ 3 คำอธิบายรายวิชา และองค์ประกอบที่ 4 กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน มีผลการ
ประเมนิ ในระดับดี ส่วนองคป์ ระกอบที่ 1 ความนำ โรงเรยี นทม่ี ีผลการประเมินในระดับดี จำนวน 81 แห่ง
(ร้อยละ 96.43) และระดับพอใช้ จำนวน 3 แห่ง (ร้อยละ 3.57) และองค์ประกอบที่ 5 เกณฑ์การจบ
การศกึ ษา โรงเรยี นทม่ี ีผลการประเมนิ ในระดับดี จำนวน 83 แห่ง (รอ้ ยละ 98.81) และระดบั พอใช้ จำนวน
1 แห่ง (ร้อยละ 1.19)

4) การพัฒนาและใช้แผนจัดการศึกษาเฉพาะบุคคลสำหรับเด็กที่มีความต้องการพิเศษ พบว่า
มีผลการประเมินทัง้ 3 รายการอยใู่ นระดบั ดมี าก จำนวน 79 แห่ง คิดเป็นรอ้ ยละ 100

5) การวัดและประเมินผลการศึกษาของสถานศึกษา ปีการศึกษา 2563 โรงเรียนดำเนินการ
จัดทำระเบียบว่าด้วยการวัดและประเมินผลการเรยี นตามหลักสูตรแกนกลางศึกษาขั้นพ้ืนฐาน พุทธศักราช
2551 พบว่า ระดับคุณภาพดีมาก จำนวน 83 แห่ง คิดเป็นร้อยละ 95.40 และระดับคุณภาพดี จำนวน 4
แห่ง คิดเป็นร้อยละ 4.60 ส่วนการนำระเบียบว่าด้วยการวัดและประเมินผลการเรียนตามหลักสูตรสู่การ
ปฏิบัติ พบว่า โรงเรียนดำเนินการอยู่ในระดับดีมาก จำนวน 29 แห่ง คิดเป็นร้อยละ 33.33 ระดับดี
จำนวน 49 แห่ง คดิ เป็นรอ้ ยละ 56.32 และระดบั พอใช้ จำนวน 9 แห่ง คิดเปน็ รอ้ ยละ 10.34

3

6) การจัดการศึกษาปฐมวัย ปีการศึกษา 2563 พบว่า ในภาพรวมโรงเรียนดำเนินการอยู่ใน
ระดับยอดเย่ียม จำนวน 58 แห่ง คดิ เป็นรอ้ ยละ 69.88 ระดบั ดีเลิศ จำนวน 22 แห่ง คิดเป็นร้อยละ 26.51
ระดับดี จำนวน 3 แห่ง คิดเป็นร้อยละ 2.61 เมื่อพิจารณารายด้าน ประกอบด้วย การตรวจสอบ องค์ประกอบ
ของหลักสูตรสถานศึกษาฯ การจัดการศึกษาและการจัดประสบการณ์ และการดำเนินงานโครงการ
บ้านนักวิทยาศาสตรน์ อ้ ย ประเทศไทย ผลการประเมนิ อยใู่ นระดบั ดีข้ึนไป คดิ เปน็ ร้อยละ 100

จากการนเิ ทศ ติดตาม การจดั การศึกษาตามแผนการนิเทศการศึกษา ปงี บประมาณ 2564 ที่ผา่ นมา
พบว่า การดำเนินงานทั้งในเรื่องของระบบการประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา การส่งเสริมและพัฒนา
ส่อื นวัตกรรมและเทคโนโลยที างการศึกษา การพฒั นาหลกั สูตรสถานศึกษาและการนำหลักสูตรสถานศึกษา
ไปใช้ในการพัฒนาคุณภาพผู้เรียน การพัฒนาและใช้แผนจัดการศึกษาเฉพาะบุคคลสำหรับเด็กที่มีความ
ต้องการพิเศษ การวัดและประเมินผลการศึกษาของสถานศึกษา การจัดการศึกษาปฐมวัย ตลอดจนการ
ดำเนินงานจุดเน้นตามนโยบายยังมีบางประเด็นที่ต้องมีการพัฒนาและส่งเสริม ให้มีผลการพัฒนาให้สูงขึ้น
ด้วยเหตนุ ี้ กลุ่มนิเทศ ติดตาม และประเมินผลการจัดการศึกษา สำนักงานเขตพืน้ ที่การศึกษาประถมศึกษา
ลำปาง เขต 1 จึงได้จัดทำแผนนิเทศการศึกษา ให้ครอบคลุมงานด้านวิชาการของโรงเรียนและจุดเน้นตาม
นโยบายของรฐั กระทรวงศึกษาธิการ และสำนกั งานคณะกรรมการการศึกษาขน้ั พนื้ ฐาน โดยใชร้ ูปแบบการ
นเิ ทศ เอ พี ไอ ซี อี (APICE Model)

2. วัตถปุ ระสงค์
1. เพื่อพัฒนา ส่งเสริม สนบั สนุน โรงเรียนให้สามารถจัดการศึกษาได้อยา่ งมีคุณภาพ
2. เพ่ือส่งเสริม สนับสนุน โรงเรียนให้สามารถขับเคล่ือนการดำเนินงานตามนโยบายและจุดเน้นของ

หน่วยงานต้นสังกดั ได้อย่างมีประสิทธภิ าพ

3. เป้าหมาย
เชงิ ปรมิ าณ
1. โรงเรียนในสังกัด ร้อยละ 100 ได้รับการพัฒนา ส่งเสริม สนับสนุน ให้สามารถจัดการศึกษาได้

อย่างมคี ณุ ภาพ
2. โรงเรียนในสังกัด รอ้ ยละ 70 มผี ลการประเมินคุณภาพการศึกษาในระดบั ดีขึน้ ไป
3. โรงเรยี นในสงั กดั รอ้ ยละ 100 สามารถขบั เคลื่อนนโยบายและจุดเน้นของหน่วยงานต้นสังกัด

สอดคล้องกับบริบทของโรงเรยี น
เชิงคุณภาพ
1. โรงเรียนในสังกดั จดั การศึกษาได้อย่างมีคุณภาพและมีประสิทธิผล
2. โรงเรียนในสังกัด ขับเคลื่อนนโยบายและจุดเน้นของหน่วยงานต้นสงั กัด ได้อย่างมีประสทิ ธิภาพ

4. นยิ ามศัพท์
การนิเทศการจัดการศกึ ษา หมายถึง การดำเนินการช่วยเหลือ แก้ปัญหาการจดั การเรียนรู้ เพื่อให้

มกี ารพัฒนาคุณภาพการศึกษาโดยใช้กระบวนการนิเทศการจัดการเรยี นรทู้ ีเ่ ปน็ ไปอย่างมปี ระสทิ ธิภาพ
โรงเรียน หมายถึง โรงเรียนในสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาลำปาง เขต 1 ที่เปิด

การเรยี นการสอนจรงิ ปีงบประมาณ 2565 จำนวน 87 โรงเรยี น

4

จุดเน้น หมายถึง จุดเน้นตามนโยบายของรัฐ กระทรวงศึกษาธิการ สำนักงานคณะกรรมการ
การศึกษาขั้นพื้นฐาน ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 โดยมุ่งมั่นการพัฒนาการศึกษาขั้นพื้นฐานภายใต้
สถานการณ์โควิด – 19 ให้เป็น “การศึกษาขั้นพื้นฐานวิถีใหม่ วิถีคุณภาพ” คือ 1) ด้านความปลอดภัย
2) ด้านโอกาส 3) ดา้ นคณุ ภาพ และ 4) ด้านประสิทธภิ าพ

การพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษา หมายถึง การจัดทำและพัฒนาหลักสูตรรายวิชาพื้นฐาน รายวิชา
เพิ่มเติม และ กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน ให้สอดคล้องกับหลักสูตรแกนกลาง บริบทของโรงเรียนท้องถิ่นและ
ตามนโยบายและจุดเน้นสำคัญเพื่อการพัฒนาคุณภาพการศึกษา มกี ารนำหลกั สูตรสู่ห้องเรียน การประเมิน
การใช้หลักสตู รและนำผลการประเมินไปใช้ในการปรบั ปรงุ และพฒั นาหลักสตู รอย่างเปน็ ระบบและต่อเน่ือง

การจัดการเรียนรู้เชิงรุก (Active Learning) หมายถึง การออกแบบการเรียนรู้และการจัดการ
เรียนรู้ที่เน้นให้ผู้เรียนปฏิบัติจริง สร้างองค์ความรู้ ผ่านการคิดขั้นสูง (Higher-Order Thinking) การได้
ปฏิบตั ิงาน สร้างสรรคง์ าน และนำเสนองานดว้ ยตัวเอง

การจัดการเรียนรู้โดยใช้สื่อเทคโนโลยีทางไกล (DLTV /DLIT) หมายถึง การออกแบบการเรียนรู้
และการจัดการเรียนรู้โดยใช้สื่อเทคโนโลยีการศึกษาทางไกลผ่านดาวเทียม (Distance Learning
Television : DLTV) ในโรงเรียนขนาดเล็ก และการออกแบบการเรียนรู้และการจัดการเรียนรู้ผ่าน
เทคโนโลยีสารสนเทศ DLIT (Distance Learning Information : DLIT) ในโรงเรียนขนาดกลางและ
โรงเรียนขนาดใหญ่

การอ่านออกเขียนได้ หมายถึง ความสามารถพื้นฐานของผู้เรียนในด้านภาษาที่มีสมรรถนะในด้าน
การอา่ น และการเขยี นไดต้ ามระดบั ช้นั

การยกระดับผลสมั ฤทธิ์ทางการเรยี นของผู้เรียน หมายถึง การทโ่ี รงเรียนและครผู ู้สอนมีการร่วมกัน
วเิ คราะห์ปญั หา สาเหตขุ องปัญหา และแนวทางการแก้ไขปัญหา และร่วมกันตัดสินใจเลือกวธิ ีการแก้ปัญหา
ในการพัฒนาผู้เรียน ให้มีความก้าวหน้าในการเรียนอย่างต่อเนื่อง โดยคำนึงความแตกต่างของผู้เรียนเป็น
รายบุคคล

การประกันคุณภาพการศึกษา หมายถึง การที่โรงเรียนมุ่งให้เกิดคุณภาพของโรงเรียนโดยมีการ
จัดทำมาตรฐานของสถานศึกษา จัดทำแผนพัฒนาคุณภาพการศึกษา พัฒนาโรงเรียนให้ได้ตามมาตรฐาน
การศึกษา มีการประเมินผลและการติดตาม ตรวจสอบคุณภาพตามมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา
โดยมีกลไก การควบคุม ตรวจสอบระบบการบริหารการศึกษาที่โรงเรียนจัดขึ้นเพื่อให้เกิดการพัฒนา และ
สร้างความเช่ือมั่นให้แก่ผู้มสี ่วน เก่ยี วขอ้ งและสาธารณชน

การนิเทศภายในของโรงเรียน หมายถึง การส่งเสริม สนับสนุน หรือให้ความช่วยเหลือครูใน
โรงเรียนให้ประสบความสำเร็จในการปฏิบัติงานตามภารกิจหลัก ได้แก่ การจัดกิจกรรมการเรียนการสอน
หรือการสร้างเสริมพัฒนาการของนักเรยี นทกุ ด้าน ท้งั ทางด้านร่างกาย สงั คม อารมณ์ จติ ใจ และสติปัญญา
ใหเ้ ตม็ ตามวยั และศกั ยภาพ

การจดั การศึกษาปฐมวยั เปน็ การจัดการศึกษาให้เด็กก่อนวัยทต่ี ้องศึกษาการศึกษาขั้นพน้ื ฐาน โดย
เปน็ การวางรากฐานชวี ิตเพื่อปูพื้นฐานทด่ี ีก่อนการเรยี นในระดับต่อไป โดยท่ัวไปแลว้ ผ้ทู ี่เข้าศึกษาในระดับน้ี
มักมีอายุตั้งแต่ 4 - 8 ปี การเรียนการสอนในระดับนี้จะเน้นการสอนที่เก่ียวข้องกับจิตวิทยาพัฒนาการของ
เด็ก ซึ่งเน้นในด้านการพัฒนารา่ งกาย จิตใจ สังคม สติปัญญาและอารมณ์ของเด็ก นอกจากนี้ยังเน้นให้เด็ก
เรียนรู้ทักษะต่างๆ ผ่านกิจกรรมการเล่นและกิจกรรมเกมส์ เพื่อเสริมสร้างความสัมพันธ์ทางสังคม และเกิด

5

การเรียนรู้ผ่านกิจกรรมเหล่านี้อีกด้วย ซึ่งการใช้เกมส์และการเล่นถือได้ว่าเป็นวิธีการหลักสำหรับสอนเด็ก
ในระดบั ปฐมวัย

การจัดการศึกษาพิเศษ หมายถึง การจัดการศึกษาสำหรับบุคคลที่มีความบกพร่องทางร่างกาย
จิตใจ สติปัญญา อารมณ์ สังคม การสื่อสาร และการเรียนรู้ หรือมีร่างกายพิการ หรือทุพพลภาพ หรือ
บุคคลซึ่งไม่สามารถพึ่งตนเองได้ หรือไม่มีผู้ดูแล หรือผู้ด้อยโอกาส ซึ่งเด็กกลุ่มนี้มักไม่ได้รับประโยชน์เต็มที่
จากการศกึ ษาทีจ่ ดั ใหต้ ามระบบปกติ

การเสริมสร้างคุณธรรม จริยธรรมและธรรมาภิบาลในโรงเรียน(โครงการโรงเรียนสุจริต) เป็น
โครงการท่มี ีการจัดการเรียนการสอน ท่ีเน้นถงึ ความสำคญั ของการคิดอย่างมีเหตุผล คณุ คา่ ความดี การรู้ผิด
ชอบชั่วดี การภูมิใจในการทำความดีและรงั เกยี จการโกง รวมถงึ การเติบโตไปเปน็ คนเกง่ ท่ีไมโ่ กงโดยการเน้น
ทกั ษะ 5 ด้าน พฒั นาโรงเรยี นสูส่ ากล มีความโปรง่ ใส เป็นธรรม ตรวจสอบไดไ้ ม่คอรร์ ัปชัน

การขับเคลื่อนหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงด้านการศึกษา หมายถึง การดำเนินการส่งเสริม
และสนับสนุนให้บุคลากรในภาคการศึกษาทุกระดับ น้อมนำหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงมาใช้ใน
ชีวิตประจำวันและการปฏิบัติภารกิจ เช่น การบริหารการศึกษา การบริหารจัดการงบประมาณการศึกษา
การจัดสถานศึกษา การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ การจัดกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน การจัดกิจกรรมนักเรียน เป็น
ต้น เพื่อที่ท้ายที่สุดแล้วเกิดกระบวนการปรับเปลี่ยนวิธีคิดและวิถีปฏิบัติ จนเป็นวิถีชีวิต เพื่อผลให้เกิดการ
ปลูกฝังและบ่มเพาะผู้เรียน เด็ก และเยาวชน ให้มจี ิตสำนึกและอุปนิสัย “พอเพียง” (Sufficiency Mindset
and Behavior) เพื่อจะได้สามารถดำรงตน และดำเนินชีวิตให้เจริญก้าวหน้าไปได้อย่างสมดลุ และพร้อมรับ
ต่อการเปลี่ยนแปลงตา่ งๆ

การจัดการเรียนรู้ตามแนวทาง PISA คือ การสร้างความเข้าใจและตระหนักถึงความสำคัญของ
โปรแกรมการประเมินสมรรถนะนักเรียนมาตรฐานสากล 2022 หรือ PISA 2022 และแนวทางการเตรียม
ความพร้อมรับการประเมิน PISA 2022 เพื่อส่งเสริมให้ครูผู้สอนจัดกิจกรรมการเรียนรู้โดยการใช้แบบฝึก
พัฒนาทักษะการแก้ปัญหาตามแนวทางการประเมิน PISA และการใช้ข้อสอบออนไลน์ PISA Style แก่
นกั เรียนอย่างต่อเนอ่ื งตลอดปีการศึกษา

การจัดการเรียนรู้เพศวิถีศึกษาและทักษะชีวิต คือ กระบวนการเรียนรู้ในเรื่องเพศที่ครอบคลุม
ถึงพัฒนาการในแต่ละช่วงวัย การมีสัมพันธภาพกับผู้อื่น การพัฒนาทักษะส่วนบุคคล พฤติกรรมทางเพศ
สุขภาวะทางเพศและมิติทางสังคมและวัฒนธรรมที่ส่งผลกระทบต่อเรื่องเพศ รวมทั้งสิทธิการรับรู้ข้อมูล
ข่าวสารและความรู้เกย่ี วกับอนามัยการเจริญพนั ธ์ุที่ให้ความสำคัญกับความหลากหลายและความเสมอภาค
ทางเพศ

สว่ นที่ 2
ข้อมลู พืน้ ฐานและทิศทางพฒั นาการศกึ ษาขน้ั พ้นื ฐาน

1. สถานทต่ี ั้ง
สำนกั งานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาลำปาง เขต 1 ตั้งอยู่ หม่ทู ่ี 12 ถนนลำปาง - งาว

ตำบลพชิ ยั อำเภอเมืองลำปาง จังหวัดลำปาง 52000 เว็บไซต์สำนกั งานเขตพน้ื ท่ีการศึกษาประถมศึกษา
ลำปาง เขต 1 www.lpg1.go.th โทรศัพท์ 054-335068-9 โทรสาร 054-335065

2. พนื้ ที่รับผดิ ชอบ
สำนักงานเขตพ้นื ที่การศึกษาประถมศกึ ษาลำปาง เขต 1 มีหน้าทีส่ ง่ เสรมิ สนบั สนนุ การจดั การ

ศึกษาขั้นพน้ื ฐานจังหวดั ลำปาง ในเขตพน้ื ท่ีรบั ผิดชอบ จำนวน 4 อำเภอ ได้แก่ อำเภอเมืองลำปาง อำเภอ
หา้ งฉตั ร อำเภองาว และอำเภอแมเ่ มาะ มีตำบลรวม 41 ตำบล จำนวนโรงเรยี นในสังกดั 113 โรงเรียน
จัดการเรยี นการสอน 87 โรงเรยี น

7

3. จำนวนโรงเรียนในสังกัด

โรงเรยี นในสังกัดสำนกั งานเขตพื้นท่ีการศึกษาประถมศกึ ษาลำปาง เขต 1 มจี ำนวน 113 โรงเรียน
จดั การเรยี นการสอนจริง 84 โรงเรยี น 3 สาขา จำแนกตามลักษณะของสถานศกึ ษา และจดุ เน้นตาม
นโยบายของหนว่ ยงานตน้ สังกัด ดงั นี้ (ข้อมูล ณ วนั ท่ี 10 เดือน พฤศจิกายน พ.ศ. 2564 จาก ระบบจดั เกบ็
ข้อมูลนักเรยี นรายบุคคล DMC : สพป.ลำปาง เขต 1)

3.1 จำนวนโรงเรียนในสงั กดั

จำนวน จดั การเรยี น เรยี นรวมทุกช้นั เรียน โรงเรยี นใน
โรงเรยี น การสอน
ที่ อำเภอ ทกุ ช้ันเรียน บางช้นั เรยี น ระบบDMC
34 ไมม่ ีนักเรยี น
18
1 เมือง 47 21 13 - 11
2 แม่เมาะ 19 14
3 งาว 27 87 1-1
4 ห้างฉตั ร 20
113 6-5
รวม
615

26 1 22

3.2 ขนาดของโรงเรียน จำนวน 85 โรงเรียน
1) โรงเรียนขนาดเลก็ จำนวน 23 โรงเรียน
2) โรงเรยี นขนาดกลาง จำนวน 3 โรงเรยี น
3) โรงเรยี นขนาดใหญ่ จำนวน 2 โรงเรยี น
4) โรงเรียนขนาดใหญ่พิเศษ

3.3 การจดั การศึกษาตามนโยบายของรฐั บาล จำนวน 24 โรงเรยี น
1) โรงเรยี นในโครงการคอนเนก็ ซ์อีดี จำนวน 38 โรงเรยี น
2) โรงเรียนในโครงการโรงเรยี นคณุ ภาพประจำตำบล จำนวน 87 โรงเรยี น
3) โรงเรยี นในโครงการโรงเรียนคุณธรรม สพฐ. จำนวน 87 โรงเรยี น
4) โรงเรียนในโครงการโรงเรียนสุจรติ จำนวน 2 โรงเรียน
5) โรงเรียนคณุ ภาพของชุมชน

4. ข้อมลู จำนวนนักเรยี นจำแนกระดบั ช้นั เรียน

ชัน้ เรียน จำนวนนกั เรียน รวม จำนวนหอ้ งเรยี น
ชาย หญิง
อนบุ าล 1
อนุบาล 2 324 290 614 29
อนบุ าล 3
รวมระดับกอ่ นประถมศกึ ษา 690 676 1,366 99
ประถมศึกษาปที ี่ 1
725 677 1,402 100

1,739 1,643 3,382 228

933 955 1,928 113

8

ชนั้ เรยี น จำนวนนกั เรยี น รวม จำนวนหอ้ งเรยี น
ชาย หญิง
ประถมศกึ ษาปที ่ี 2
ประถมศกึ ษาปที ่ี 3 976 945 1,921 117
ประถมศึกษาปีท่ี 4
ประถมศึกษาปีที่ 5 1,011 1,037 2,048 114
ประถมศกึ ษาปที ี่ 6
รวมระดับประถมศึกษา 1,040 978 2,018 111
มธั ยมศกึ ษาปที ี่ 1
มธั ยมศกึ ษาปีที่ 2 1035 948 1,983 114
มธั ยมศกึ ษาปที ่ี 3
รวมมธั ยมศกึ ษา 961 964 1,925 114

รวมท้ังส้นิ 5,956 5,867 11,823 683

190 163 353 23

197 170 367 24

195 139 334 24

582 472 1,054 71

8,277 7,982 16,259 982

5. ขอ้ มูลครูและโรงเรียน จำแนกตามอำเภอ

ที่ จำแนกตามอำเภอ จำนวน ครูในสงั กัด (คน)
โรงเรยี นในสงั กัด (โรงเรยี น) 751
256
1 อำเภอเมือง 47 181
265
2 อำเภอแม่เมาะ 19 1,453

3 อำเภอหา้ งฉัตร 20

4 อำเภองาว 27

รวม 113

6. ข้อมลู ศึกษานิเทศก์ จำแนกตามภารกจิ ความรบั ผดิ ชอบ ดังน้ี

ท่ี ช่ือ-สกุล กลมุ่ งาน กลุ่มสาระการเรยี นรู้ กลุ่มเครอื ข่าย
- สถานศึกษา
ตำแหนง่ /วิทยฐานะ
-
1 นายเอกฐสทิ ธิ์ กอบกำ ผ้อู ำนวยการกลมุ่ นเิ ทศ

ศกึ ษานิเทศก์ชำนาญพิเศษ ติดตามและประเมินผล

การจัดการศกึ ษา

2 นางสาววัชรี เหล่มตระกูล หัวหน้ากลุม่ งานพัฒนา ภาษาต่างประเทศ จามเทวี

ศกึ ษานเิ ทศกช์ ำนาญการ หลักสตู รการศกึ ษา 1. โรงเรียนอนบุ าลลำปาง
(เขลางค์รตั นอ์ นสุ รณ์)
ขั้นพ้ืนฐานและกระบวน 2. โรงเรียนบา้ นปงสนุก
3. โรงเรยี นอนุบาลเมือง
การเรยี นรู้ ลำปาง (ธงชัยศึกษา)
4. โรงเรยี นธงชยั วิทยา

9

ท่ี ชอ่ื -สกุล กล่มุ งาน กลุ่มสาระการเรยี นรู้ กลมุ่ เครือข่าย
ตำแหนง่ /วทิ ยฐานะ
สถานศึกษา

5. โรงเรียนนคิ มสรา้ งตนเอง

กว่ิ ลม 1

6. โรงเรียนนิคมสร้างตนเอง

กวิ่ ลม 3

7. โรงเรยี นบ้านทุ่งฝาย :

โรงเรยี นบา้ นทา่ โทก

มาเรยี นรวม

3 นางสาวอญั ชลี โทกลุ กลุ่มงานพัฒนาหลกั สูตร สังคมศึกษา ศาสนา ขนุ งาว
ศึกษานเิ ทศก์ชำนาญการ การศึกษาขั้นพน้ื ฐาน
และกระบวนการเรียนรู้ และวัฒนธรรม 1. โรงเรยี นผาแดงวทิ ยา

2. โรงเรยี นบ้านแม่งาวใต้

3. โรงเรียนบา้ นแม่งาวใต้

สาขาบา้ นแม่คำหล้า

4. โรงเรียนบ้านหว้ ยอูน :

โรงเรียนบา้ นขนุ แหง

มาเรยี นรวม

5. โรงเรียนบ้านขอ่ ย

มติ รภาพท่ี 110 : โรงเรยี น

ชุมชนบ้านร้อง มาเรยี นรวม

6. โรงเรยี นบา้ นข่อย

มิตรภาพท่ี 110 สาขาบ้าน

แม่งาว

7. โรงเรยี นบอ่ สเ่ี หลยี่ ม

วทิ ยา

8. โรงเรยี นแมฮ่ า่ งวิทยา

4 นางเขมจิรา เศวตรัตนเสถยี ร หวั หนา้ กลมุ่ งานวดั และ ปฐมวยั แม่ตยุ๋
ศกึ ษานเิ ทศกช์ ำนาญพิเศษ ประเมินผล 1. โรงเรยี นทุง่ ฝางวิทยา :
การจดั การศึกษา โรงเรียนบ้านหว้ ยเปง้ มา
- งานพฒั นาหลกั สูตร เรยี นรวม
การศกึ ษาปฐมวยั 2. โรงเรยี นบา้ นสบค่อม
และการจัดประสบการณ์ 3. โรงเรยี นวดั นำ้ โท้ง
เรยี นรู้ 4. โรงเรียนวัดค่ากลาง
5. โรงเรียนวดั ทุ่งโจ้
6. โรงเรียนแม่ก๋งวิทยา :
โรงเรยี นบา้ นบ่อหิน/
โรงเรียนวัดบา้ นเปา้ /
โรงเรียนบ้านเอื้อม
มาเรียนรวม
7. โรงเรียนวดั บา้ นสัก
8. โรงเรียนบา้ นแม่เฟือง
9. โรงเรียนบา้ นท่งุ กลว้ ย
10. โรงเรียนวัดบา้ นฮอ่ ง

10

ที่ ชอื่ -สกุล กลมุ่ งาน กลุ่มสาระการเรียนรู้ กลุ่มเครอื ขา่ ย
ตำแหน่ง/วิทยฐานะ กล่มุ งานวัดและประเมินผล
การจดั การศึกษา สถานศกึ ษา
5 นางอมั รินทร์ บญุ อเนก
ศึกษานเิ ทศก์ชำนาญการ กลุ่มงานวัดและประเมนิ ผล ปฐมวยั เมอื งยาว-แม่สนั
การจัดการศึกษา
6 นางสาววมิ ล ปวนปันวงค์ 1. โรงเรยี นบ้านเหลา่
ศกึ ษานเิ ทศกช์ ำนาญการ หัวหน้ากล่มุ งานสง่ เสรมิ
พัฒนาระบบ 2. โรงเรียนเมืองยาววทิ ยา
7 นายนพดล ถาวร การประกันคณุ ภาพ
ศึกษานิเทศกช์ ำนาญการ การศกึ ษา 3. โรงเรียนชุมชนบา้ นสนั

8 นายชยั วฒุ ิ นามะกุณา กลุ่มงานส่งเสรมิ พฒั นา กำแพง
ศึกษานิเทศก์ชำนาญการ ระบบ
การประกันคุณภาพ 4. โรงเรยี นบ้านโปง่ ขวาก :
การศึกษา
โรงเรียนบา้ นป่าเหยี ง

บ้านปันเต้า มาเรยี นรวม

5. โรงเรียนบ้านหัวทุ่ง

ภาษาต่างประเทศ/ ชาวเขอ่ื น

กจิ กรรมพัฒนา 1. โรงเรียนชมุ ชนบ้านทราย

ผู้เรียน 2. โรงเรยี นบ้านทรายมลู

3. โรงเรียนบา้ นจำคา่

4. โรงเรียนบา้ นแมอ่ าง :

โรงเรียนวดั ศรปี รดี า

นุเคราะห์ มาเรยี นรวม

5. โรงเรียนวดั เสดจ็

6. โรงเรียนบ้านบญุ นาค

7. โรงเรยี นบา้ นหมากหวั วงั

: โรงเรียนวดั บา้ นแลง

มาเรียนรวม

8. โรงเรียนสบมายสามคั คี

วิทยา

9. โรงเรียนบ้านหวั ทงุ่

วิทยาศาสตรแ์ ละ อนันตยศ

เทคโนโลยี 1. โรงเรียนอนุบาลหา้ งฉัตร :

โรงเรยี นบ้านดอนหวั วัง

โรงเรียนทุง่ หนองขามวิทยา

มาเรียนรวม

2. โรงเรยี นชุมชนบ้านแมฮ่ าว

3. โรงเรยี นบ้านปันงา้ ว

4. โรงเรยี นบา้ นท่งุ หก :

โรงเรยี นบ้านท่งุ ผา

มาเรยี นรวม

สังคมศึกษา ศาสนา ขนุ งาว

และวัฒนธรรม 1. โรงเรียนบา้ นออ้ น :

โรงเรียนบา้ นหว้ ยหก

โรงเรียนบา้ นแม่กวกั

มาเรยี นรวม

2. โรงเรยี นแมแ่ ป้นวทิ ยา

11

ท่ี ชือ่ -สกุล กลมุ่ งาน กลมุ่ สาระการเรียนรู้ กลุม่ เครอื ข่าย

ตำแหนง่ /วิทยฐานะ สถานศึกษา

ผาไท

1. โรงเรียนบ้านหลวงใต้

2. โรงเรียนบ้านหลวงเหนือ

(วิทิตตานุกูล)

3. โรงเรียนอนุบาลงาว

(ภาณุนิยม)

4. โรงเรียนบา้ นบอ่ ห้อ

5. โรงเรียนชมุ ชนบา้ นแหง

9 นางทานตะวนั มะโนพงศพ์ ันธ์ หวั หน้ากลมุ่ งานส่งเสริมและ วิทยาศาสตรแ์ ละ ลิกไนต์ 1
ศกึ ษานิเทศกช์ ำนาญพิเศษ พฒั นา สอื่ นวตั กรรมและ เทคโนโลยี
1. โรงเรียนอนบุ าลแมเ่ มาะ

เทคโนโลยที างการศึกษา (เทคโนโลย)ี (ชุมชน 1)
2. โรงเรยี นสบเมาะวิทยา

3. โรงเรียนวดั บา้ นแขม :

โรงเรยี นเวยี งหงสล์ ้านนา

มาเรยี นรวม

4. โรงเรียนสบปา้ ดวทิ ยา

5. โรงเรยี นบา้ นสบเตน๋ิ

ลกิ ไนต์ 2

1. โรงเรยี นบ้านแม่จาง

10 นายสวัสด์ิ ละคำปา กลุ่มงานส่งเสรมิ และพฒั นา การงานอาชีพ ลกิ ไนต์ 1

ศึกษานเิ ทศกช์ ำนาญพิเศษ สอื่ นวตั กรรมและเทคโนโลยี 1. โรงเรยี นวัดทา่ สี

ทางการศึกษา 2. โรงเรียนบ้านจำปุย
3. โรงเรียนวัดหวั ฝาย

4. โรงเรียนบ้านแม่สา้ น

5. โรงเรยี นบ้านแมส่ ้าน

สาขาบ้านกลาง

ลิกไนต์ 2

1. โรงเรียนวัดสบจาง

11 นางพรนภิ า ยศบุญเรือง หัวหนา้ กลุ่มงานนิเทศ คณิตศาสตร์ เมืองเขลางค์

ศกึ ษานเิ ทศก์ชำนาญพิเศษ ติดตามและประเมินผล 1. โรงเรยี นพิชัยวิทยา (บ้าน

ระบบบรหิ ารและการจัด ตน้ ยาง มติ รภาพ 14) :
การศกึ ษา โรงเรียนบ้านไร่ประชา
สามคั ค/ี

โรงเรยี นวดั ต้นต้อง โรงเรียน

บา้ นปงวัง มาเรยี นรวม

2. โรงเรยี นวดั หลวงวทิ ยา

3. โรงเรียนวัดพระเจา้ นั่ง

แท่น

4. โรงเรียนบ้านโทกหัวช้าง

12

ท่ี ช่อื -สกุล กลุ่มงาน กลุ่มสาระการเรยี นรู้ กลมุ่ เครอื ขา่ ย
ตำแหนง่ /วิทยฐานะ สถานศกึ ษา
สขุ ศกึ ษาและพล
12 นางสาวยวุ ธิดา ใหม่กันทะ กลมุ่ งานนเิ ทศ ติดตามและ ศกึ ษา ชมพูทอง
ศกึ ษานเิ ทศกช์ ำนาญการ ประเมนิ ผลระบบบรหิ าร ภาษาไทย
และการจัดการศึกษา 1. โรงเรียนบ้านปา่ ตนั กมุ เมอื ง
ศิลปะ/กิจกรรมพฒั นา : โรงเรยี นวัดนานอ้ ย/โรงเรียน
13 นางกนษิ ฐา สวยสด หวั หนา้ กล่มุ งานเลขานุการ บ้านทุ่งกูด่ ้าย/โรงเรยี นบา้ น
ศึกษานเิ ทศก์ชำนาญพิเศษ คณะกรรมการตดิ ตาม ผเู้ รยี น (แนะแนว) กาด มาเรียนรวม
ตรวจสอบ ประเมนิ ผลและ 2. โรงเรยี นชุมชนบา้ นฟอ่ น
นิเทศการศึกษา วิทยา : โรงเรียนบา้ นสำเภา
- งานพฒั นาหลกั สตู ร มาเรยี นรวม
การศกึ ษาพเิ ศษ
และกระบวนการเรยี นรู้ 3. โรงเรียนบ้านศรหี มวดเกล้า

14 นางศรจี ันทร์ ทรายใจ กลมุ่ งานเลขานุการ 4. โรงเรียนบา้ นกาศเมฆ
ศึกษานิเทศก์ชำนาญพิเศษ คณะกรรมการติดตาม
ตรวจสอบ ประเมนิ ผลและ ลกิ ไนต์ 2
นิเทศการศกึ ษา
1. โรงเรยี นบ้านใหม่
รตั นโกสนิ ทร์
2. โรงเรียนบา้ นนาสกั

3. โรงเรยี นกอรวกพทิ ยาสรรค์

4. โรงเรียนบ้านทาน
5. โรงเรียนบ้านวังตม
6. โรงเรยี นบ้านนาแช่

ผาไท

1. โรงเรยี นบา้ นแมต่ บี :
โรงเรยี นบ้านง้วิ งาม มาเรยี น
รวม
2. โรงเรยี นบ้านทงุ่
3. โรงเรียนไทยรัฐวทิ ยา 85
(บ้านหว้ ยทาก)
4. โรงเรยี นบ้านหวด
5. โรงเรยี นบา้ นใหม่
6. โรงเรยี นบ้านสบพลึง :
โรงเรียนบา้ นโป่ง
มาเรียนรวม

ขนุ ตาน

1. โรงเรยี นบา้ นสนั ทราย :
โรงเรยี นบ้านทงุ่ เกวยี น
มาเรยี นรวม
2. โรงเรยี นบ้านยางออ้ ย
3. โรงเรยี นบา้ นแม่ตาล
นอ้ ย–ปางปง ปางทราย
4. โรงเรยี นปงยางคก
(ทิพย์ชา้ งอนสุ รณ์)
5. โรงเรยี นบ้านสนั

13

เนอ่ื งด้วยในปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 มกี ารปรบั เปล่ียนนโยบายกระทรวงศึกษาธิการและนโยบาย
สำนกั งานคณะกรรมการการศึกษาข้นั พน้ื ฐาน ซงึ่ เดมิ ในแผนปฏิบตั ริ าชการระยะ 3 ปี (พ.ศ. 2563 – 2565)
ของสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขนั้ พน้ื ฐานได้กำหนดสาระสำคัญไว้ 6 เรื่อง แต่เน่อื งด้วยสถานการณ์
ที่เปลี่ยนแปลงไป กระทรวงศึกษาธิการมีประกาศนโยบายการจัดการศึกษาของกระทรวงศึกษาธิการ
ประจำปี 2564 – 2565 และนโยบายของสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพืน้ ฐาน มกี ารปรับเปลี่ยน
จึงมกี ารปรับแผนปฏิบตั ริ าชการระยะ 3 ปี (พ.ศ. 2563 – 2565) มาสแู่ ผนพัฒนาการศกึ ษาขน้ั พื้นฐาน พ.ศ.
2564 – 2565 ซึ่งกำหนดสาระสำคัญไว้ 4 เรื่อง ที่สอดคล้องกับนโยบายของสำนักงานคณะกรรมการ
การศึกษาขั้นพื้นฐาน โดยมีการบูรณาการเป้าหมาย ตัวชี้วัด แนวทางการพัฒนา และแผนงาน/โครงการ
สำคญั เพ่ือใช้ในการขับเคลือ่ นการพัฒนาคุณภาพทางการศึกษาข้นั พ้นื ฐานของประเทศต่อไป

7. แผนพัฒนาการศกึ ษาขั้นพ้ืนฐาน (พ.ศ. 2564 – 2565) สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพนื้ ฐาน
สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานได้จัดทำแผนพัฒนาการศึกษาขั้นพื้นฐาน (พ.ศ.

2564 – 2565) เพื่อใช้เป็นกรอบทิศทางในการดำเนินงานของหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง เพื่อให้บรรลุเป้าหมาย
ที่กำหนดไว้อย่างมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล เชื่อมโยงสอดคล้องกับยุทธศาสตร์ชาติ พ.ศ. 2561 – 2580
แผนแม่บทภายใต้ยุทธศาสตร์ชาติ แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 12 (พ.ศ. 2560 -2564)
แผนการปฏิรูปประเทศด้านการศึกษา (ฉบับปรับปรุง) แผนการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2560 -2579 และอื่น ๆ
ที่เกี่ยวข้อง รวมทั้งใช้เป็นแนวทางในการกำกับ ติดตาม ประเมินผลการดำเนินงาน ซึ่งมีสาระสำคัญ 4 เรื่อง
ได้แก่ 1) ส่งเสริมการจัดการศึกษามีความปลอดภัยจากภัยคุกคามทุกรูปแบบ 2) สร้างโอกาสและความเสมอ
ภาคทางการศึกษาให้กับประชาการวัยเรียนทุกคน 3) ยกระดับคุณภาพการศึกษาให้สอดคล้องกับการ
แลกเปลย่ี นในศตวรรษท่ี 21 4) เพมิ่ ประสิทธิภาพการบรหิ ารจดั การศกึ ษาโดยมีเป้าหมาย จำนวน 14 เปา้ หมาย
18 ตัวชี้วัด และแนวทางการพัฒนา จำนวน 49 แนวทาง เพื่อใช้ในการขับเคลื่อนการพัฒนาคุณภาพทาง
การศกึ ษาขน้ั พื้นฐานของประเทศตอ่ ไป

8. นโยบายทเ่ี กี่ยวขอ้ ง
8.1 นโยบายและจุดเน้นกระทรวงศึกษาธกิ าร ปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 - 2565
กระทรวงศึกษาธิการ ตระหนักถึงความสำคัญของยุทธศาสตร์ชาติด้านการพัฒนาและ

เสริมสร้างศักยภาพทรัพยากรมนุษย์ โดยเฉพาะแผนแม่บทภายใต้ยุทธศาสตร์ชาติ ประเด็นการพัฒนา
ศกั ยภาพคนตลอดช่วงชีวิต การสร้างสภาพแวดล้อมที่เอ้ือต่อการพฒั นาและเสริมสร้างศักยภาพมนุษย์ การ
พัฒนาเด็กตั้งแต่ช่วงการตั้งครรภ์จนถึงปฐมวัย การพัฒนาช่วงวัยรุ่น/วัยรุ่น การพัฒนาและยกระดับพัฒนา
ศักยภาพวัยแรงงาน รวมถึงการส่งเสริมศักยภาพวยั ผู้สูงอายุ ประเด็นการพัฒนาการเรียนรู้ที่ตอบสนองต่อ
การเปลี่ยนแปลงในศตวรรษที่ 21 และพหุปัญญาของมนุษย์ที่หลากหลาย และประเด็นอื่นที่เกี่ยวข้อง
จงึ กำหนดนโยบายการจดั การศึกษาของกระทรวงศึกษาธกิ าร ปงี บประมาณ พ.ศ. 2564 – 2565 ดังนี้

นโยบายการจดั การศกึ ษาของกระทรวงศึกษาธิการ ปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 - 2565
1. การปรับปรุงหลกั สูตรและกระบวนการเรยี นรู้ให้ทันสมัย และทันการเปลยี่ นแปลงของ
โลกในศตวรรษที่ 21 โดยมุง่ พัฒนาผเู้ รยี นทุกระดบั การศึกษาให้มคี วามรู้ ทักษะและคณุ ลกั ษณะทเี่ หมาะสม
กบั บรบิ ทสังคมไทย
2. การพัฒนาและประสิทธิภาพครูและอาจารย์ในระดับการศึกษาขั้นพื้นฐานและ
อาชีวศึกษาให้มีสมรรถนะทางภาษาและดิจิทัล เพื่อให้ครูและอาจารย์ได้รับการพัฒนาให้มีสมรรถนะท้ัง

14

ด้านการจัดการเรียนรู้ด้วยภาษาและดิจิทัล สามารถปรับวิธีการเรียนการสอนและการใช้ส่ือทันสมัย และมี
ความรบั ผิดชอบต่อผลลพั ธ์ทางการศึกษาที่เกดิ กับผู้เรียน

3. การปฏิรูปการเรียนรู้ด้วยดิจิทัลผ่านแพลตฟอร์มการเรียนรู้ด้วยดิจิทัลแห่งชาติ (NDLP)
และการส่งเสริมการฝึกทักษะดิจิทัลในชีวิตประจำวัน เพื่อให้มีหน่วยงานรับผิดชอบพัฒนาแพลตฟอร์มการ
เรียนรู้ด้วยดิจิทัลแห่งชาติ ที่สามารถนำไปใช้ในกระบวนการจัดการเรียนรู้ที่ทันสมัยและเข้าถึงแหล่งเรียนรู้ได้
อย่างกว้างขวาง ผ่านระบบออนไลน์ และการนำฐานข้อมูลกลางทางการศึกษามาใช้ประโยชน์ในการพัฒนา
ประสทิ ธภิ าพการบริหารและการจดั การศึกษา

4. การพัฒนาประสิทธิภาพการบริหารและการจัดการศึกษา โดยการส่งเสริมสนับสนุน
สถานศึกษาให้มีความเป็นอิสระและความคล่องตัว การกระจายอำนาจการบริหารและการจัดการศึกษาโดยใช้
จังหวัดเป็นฐาน โดยอาศัยอำนาจตามกฎหมายการศึกษาแห่งชาติที่ได้รับการปรับปรุงเพื่อกำหนดให้ระบบ
บริหารและการจัดการ รวมถึงการจัดโครงสร้างหน่วยงานให้เอื้อต่อการจัดการเรียนการสอนให้มีคุณภาพ
สถานศึกษาให้มีความเป็นอิสระและคล่องตัว การบริหารและการจัดการศึกษาโดยใช้จังหวัดเป็นฐาน มีระบบ
การบริหารงานบุคคลโดยยดึ หลักธรรมาภิบาล

5. การปรับระบบการประเมินผลการศึกษาและการประกันคุณภาพ พร้อมจัดทดสอบวัด
ความรู้และทักษะที่จำเป็นในการศึกษาต่อระดับอุดมศึกษาทั้งสายวิชาการและสายวิชาชีพ เพื่อให้ระบบการ
ประเมินผลการศึกษาทุกระดับและระบบการประกันคุณภาพการศึกษา ได้รับการปรับปรุงให้ทันสมัย
ตอบสนองผลลพั ธ์ทางการศึกษาได้อยา่ งเหมาะสม

6. การจัดสรรและการกระจายทรัพยากรให้ทั่วถึงทุกกลุ่มเป้าหมาย รวมถึงการระดม
ทรัพยากรทางการศึกษาจากความร่วมมือทุกภาคส่วน เพื่อให้การจัดสรรทรัพยากรทางการศึกษามีความ
เป็นธรรม และสร้างโอกาสให้กลุ่มเป้าหมายให้เข้าถึงการศึกษาที่มีคุณภาพทัดเทียมกลุ่มอื่น ๆ กระจาย
ทรพั ยากรทง้ั บุคลกรทางการศกึ ษา งบประมาณและสื่อเทคโนโลยีไดอ้ ย่างทว่ั ถึง

7. การนำกรอบคุณวฒุ ิแห่งชาติ (NQF) และกรอบคุณวุฒิอ้างอิงอาเซียน (AQRF) สู่การ
ปฏิบัติ เป็นการผลิตและการพัฒนากำลังคนเพือ่ การพัฒนาประเทศ โดยใช้กรอบคุณวฒุ ิแห่งชาติ เชื่อมโยง
ระบบการศึกษาและการอาชีพ โดยใชก้ ลไกการเทียบโอนประสบการณ์ด้วยธนาคารหน่วยกิตและการจัดทำ
มาตรฐานอาชีพในสามารถอ้างองิ อาเซยี นได้

8. การพัฒนาเด็กปฐมวัยให้ได้รับการดูแลและพัฒนาก่อนเข้ารับการศึกษาเพื่อพัฒนา
ร่างกาย จิตใจ วินัย อารมณ์ สังคม และสติปัญญาให้สมกับวัย เพื่อเป็นการขับเคลื่อนแผนบูรณาการ
การพัฒนาเด็กปฐมตามพระราชบัญญัติการพัฒนาเด็กปฐมวัย พ.ศ. 2562 สู่การปฏิบัติเป็นรูปธรรมโดย
หน่วยงานที่เกี่ยวข้องนำไปเป็นกรอบในการจัดทำแผนปฏิบัติการเพื่อพัฒนาเด็กปฐมวัย และมีการติดตาม
ความก้าวหน้าเป็นระยะ

9. การศึกษาเพ่ืออาชีพและสร้างขีดความสามารถในการแข่งขนั ของประเทศ เพื่อให้ผู้จบ
การศึกษาระดับปรญิ ญาและอาชีวศึกษามอี าชีพและรายไดท้ ีเ่ หมาะสมกบั การดำรงชพี และคุณภาพชีวติ ที่ดี
มสี ่วนช่วยเพมิ่ ขีดความสามารถในการแขง่ ขันในเวทโี ลกได้

10. การพลิกโฉมระบบการศึกษาไทยดว้ ยการนำนวัตกรรมและเทคโนโลยที ่ีทนั สมัยมาใช้
ในการจัดการศึกษาทุกระดับการศึกษา เพื่อให้สถาบันการศึกษาทุกแห่งนำนวัตกรรมและเทคโนโลยีที่
ทนั สมัยมาใชใ้ นการจัดการศกึ ษาผ่านระบบดจิ ทิ ลั

15

11. การเพิ่มโอกาสและการเข้าถึงการศึกษาที่มีคุณภาพของกลุ่มผู้ด้อยโอกาสทาง
การศึกษาและผู้เรียนที่มีความต้องการจำเป็นพิเศษ เพื่อเป็นการเพิ่มโอกาสและการเข้าถึงการศึกษาที่มี
คณุ ภาพของกลมุ่ ผดู้ อ้ ยโอกาสทางการศกึ ษา และผเู้ รียนมีความตอ้ งการจำเป็นพเิ ศษ

12. การจัดการศึกษาในระบบ นอกระบบ และตามอธั ยาศยั โดยยดึ หลกั การเรียนรู้ตลอด
ชีวิตและการมีส่วนร่วมของผู้มีส่วนเกี่ยวข้อง เพื่อเพิ่มโอกาสและการเข้าถึงการศึกษาที่มีคุณภาพของกลุ่ม
ผูด้ ้อยโอกาสทางการศึกษาและผูเ้ รียนท่ีมีความต้องการจำเปน็ พิเศษ

8.2 นโยบายเรง่ ด่วน (Quick Win)
1. ความปลอดภัยของผู้เรียน โดยจัดให้มีรูปแบบ วิธีการ หรือกระบวนการในการดูแล

ช่วยเหลือนักเรียนเพื่อให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้อย่างมีคุณภาพ มีความสุข และได้รับการปกป้องคุ้มครอง
ความปลอดภัยทั้งดา้ นร่างกาย และจิตใจรวมถึงการสร้างทักษะให้ผู้เรียนมีความสามารถในการดูแลตนเอง
จากภัยอันตรายตา่ ง ๆ ท่ามกลางสภาพแวดล้อมทางสังคม

2. หลักสูตรฐานสมรรถนะ มุ่งเน้นการจัดการเรียนรู้ที่หลากหลายโดยยึดความสามารถ
ของผเู้ รยี นเป็นหลกั และพฒั นาผ้เู รียนให้เกดิ สมรรถนะที่ตอ้ งการ

3. ฐานขอ้ มูล Big Data มงุ่ พัฒนาการจดั เกบ็ ขอ้ มูลอยา่ งเป็นระบบและไม่ซ้ำซ้อน เพ่อื ให้
ได้ข้อมูลภาพรวมการศึกษาของประเทศที่มีความครบถ้วน สมบูรณ์ ถูกต้องเป็นปัจจุบัน และสามารถ
นำมาใชป้ ระโยชน์ได้อย่างแทจ้ ริง

4. ขบั เคล่อื นศูนยค์ วามเป็นเลิศทางการอาชวี ศึกษา (Excellent Center) สนบั สนนุ
การดำเนินงานของศูนย์ความเป็นเลิศทางการอาชีวศึกษา (Excellent Center) ตามความเลิศของแต่ละ
สถานศึกษาและตามบริบทของพื้นที่ สอดคล้องกับความต้องการของประเทศทั้งในปัจจุบันและอนาคต
ตลอดจนมีการจัดเรียนการสอนดว้ ยเครื่องมือท่ีทันสมยั สอดคล้องกบั เทคโนโลยปี จั จุบัน

5. พัฒนาทกั ษะทางอาชพี สง่ เสรมิ การจดั การศึกษาที่เน้นพัฒนาทักษะอาชีพของผู้เรียน
เพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิต สร้างอาชีพและรายได้ที่เหมาะสม และเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขัน
ระดับประเทศ

6. การศึกษาตลอดชีวิต การจัดการเรียนรู้ตลอดชีวิตสำรับประชาชนทุกช่วงวัยให้มี
คุณภาพและมาตรฐานประชาชนในแต่ละช่วงวัยได้รับการศึกษาตามความต้องการอย่างมีมาตรฐาน
เหมาะสมและเต็มศักยภาพต้ังแต่วัยเด็กจนถึงวัยชรา และพัฒนาหลักสตู รที่เหมาะสมเพื่อเตรยี มความพร้อม
ในการเขา้ สู่สังคมผสู้ ูงวยั

7. การจัดการศกึ ษาสำหรับผูท้ ี่มีความต้องการจำเปน็ พเิ ศษ ส่งเสริมการจัดการศึกษา
ให้ผู้ที่มีความต้องการดำเป็นพิเศษได้รับการพัฒนาอย่างเต็มศักยภาพสามารถดำรงชีวิตในสังคมอย่างมี
เกียรติ ศกั ดิศ์ รเี ทา่ เทยี มกับผู้อ่ืนในสงั คม สามารถชว่ ยเหลอื ตนเองและมีสว่ นร่วมในการพัฒนาประเทศ
(จดุ เน้นประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2564 เพ่มิ เติม)

- พัฒนาครูทุกระดับให้มีทักษะ ความรู้ท่จี ำเป็นเพื่อทำหน้าท่ีวิทยากรมืออาชีพ (Train The
Trainer) และขยายผลการพัฒนาผ่านศูนย์พัฒนาศักยภาพบุคคลเพื่อความเป็นเลิศ (Human Capital
Excellence Center : HCEC)

- จัดการเรียนรู้ตลอดชีวิตผ่านเว็บไซต์ www.deep.go.th โดยปลดล็อกและเปิดกว้างให้
ภาคเอกชนสามารถเข้ามาพัฒนาเนื้อหา เพื่อให้ผู้เรียน ครู และผู้บริหารการศึกษามีทางเลือกในการเรียนรู้

16

ที่หลากหลาย และตลอดเวลาผ่านแพลตฟอร์มด้านการศึกษาเพื่อความเป็นเลิศ (Digital Education
Excellence Platform : DEEP)

- ให้ผ้เู รียน ครู ผบู้ รหิ ารทางการศึกษามแี ผนพฒั นารายบุคคลผ่านแผนพัฒนารายบุคคลสู่
ความเป็นเลิศ (Excellence Individual Development Plan : EIDP)

- จัดทำ “คมู่ ือมาตรฐานโรงเรียน” เพื่อกำหนดใหท้ ุกโรงเรยี นตอ้ งมีพ้นื ฐานทจี่ ำเป็น

8.3 นโยบายสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน ปงี บประมาณ พ.ศ. 2564 - 2565
สำนกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาขัน้ พ้นื ฐาน ไดก้ ำหนดนโยบายสำนักงานคณะกรรมการ

การศึกษาขั้นพื้นฐาน ปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 – 2565 โดยสอดคล้องกับรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักร
ไทยพุทธศักราช 2560 แผนแม่บทภายใต้ยุทธศาสตร์ชาติ (พ.ศ. 2561 – 2580) แผนปฏิรูปประเทศด้าน
การศึกษา โดยเฉพาะกิจกรรมปฏิรูปประเทศที่จะส่งผลให้เกิดการเปลี่ยนแปลงต่อประชาชนอย่างมี
นัยสำคัญ (Big Rock) ที่มีความเรง่ ดว่ น โดยได้จัดทำประกาศสำนักงานคณะกรรมการการศกึ ษาข้นั พื้นฐาน
เรื่อง นโยบายสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 – 2565 โดย
สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานมุ่งมันในการพัฒนาการศึกษาขั้นพื้นฐานให้เป็น “การศึกษา
ขั้นพื้นฐานวิถีใหม่ วิถีคุณภาพ” มุ่งเน้นความปลอดภัยในถานศึกษา ส่งเสริมโอกาสทางการศึกษาที่มี
คุณภาพอย่างเท่าเทียม และบริหารจัดการศึกษาอย่างมีประสิทธิภาพ จึงกำหนดนโยบายสำนักงาน
คณะกรรมการการศึกษาขึน้ พนื้ ฐาน ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 – 2565 ดังน้ี

1. ด้านความปลอดภัย
พัฒนาระบบและกลไกในการดูแลความปลอดภัยให้กับผู้เรียน ครู และบคุ ลากรทางการ

ศกึ ษา และสถานศกึ ษา จากภยั พบิ ตั แิ ละภยั คุกคามจากทุกรูปแบบ รวมถึงการจดั สภาพแวดล้อมทีเ่ อ้ือต่อการมี
สขุ ภาวะทด่ี ีสามารถปรับตัวต่อโรคอุบตั ิใหม่และโรคอบุ ัติซ้ำ

2. ดา้ นโอกาส
2.1 สนับสนนุ ให้เดก็ ปฐมวัยใหเ้ ข้าเรียนทกุ คน มีพัฒนาการที่ดี ทั้งทางร่างกาย จิตใจ

วนิ ยั อารมณ์ สงั คม และสตปิ ญั ญาให้สมกับวัย
2.2 ดำเนนิ การให้เด็กและเยาวชนได้รับการศึกษาจนจบการศึกษาขั้นพ้ืนฐานอย่างมี

คุณภาพตามมาตรฐาน วางรากฐานการศึกษาเพื่ออาชีพ สามารถวิเคราะห์ตนเองเพื่อการศึกษาต่อ และ
ประกอบอาชีพตรงตามศักยภาพและความถนัดของตนเอง รวมทั้งสิ่งเสริมและพัฒนาผู้เรียนที่มี
ความสามารถพิเศษสูค่ วามเป็นเลิศ เพอื่ เพิม่ ขีดความสามารถในการแขง่ ขันของประเทศ

2.3 พัฒนาระบบดูแลช่วยเหลือเด็กและเยาวชนที่อยู่ในการศึกษาขั้นพื้นฐานเพ่ือ
ป้องกนั ไม่ให้ออกจากระบบการศึกษา รวมทั้งชว่ ยเหลือเด็กตกหล่นและเด็กออกกลางคันให้ได้รับการศึกษา
ข้ันพ้นื ฐานอย่างเทา่ เทียมกัน

2.4 ส่งเสริมให้เด็กพิการและผู้ด้อยโอกาสให้ได้รับโอกาสทางการศึกษาที่มีคุณภาพ
มีทักษะในการดำเนินชีวิต มีพื้นฐานในการประกอบอาชีพ พึ่งตนเองได้อย่างมีศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์ตาม
หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง

3. ด้านคณุ ภาพ
3.1 ส่งเสริมการจัดการศึกษาให้ผู้เรียนมีความรู้ มีทักษะการเรียนรู้และทักษะที่

จำเป็นของโลกในศตวรรษที่ 21 อย่างครบถ้วน เป็นคนดี มีวินัย มีความรักในสถาบันหลักของชาติ ยึดม่ัน
การปกครองในระบอบประชาธปิ ไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข มีทัศนคตทิ ถ่ี กู ตอ้ งตอ่ บา้ นเมือง

17

3.2 พัฒนาผู้เรียนให้มีสมรรถนะและทักษะด้านการอ่าน คณิตศาสตร์ การคิดขั้นสูง
นวตั กรรมวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยดี จิ ิทัล และภาษาตา่ งประเทศ เพอื่ เพ่ิมขีดความสามารถในการแข่งขัน
และการเลือกศึกษาต่อเพ่ือการมีงานทำ

3.3 ปรับหลักสูตรเป็นหลักสูตรฐานสมรรถนะ ที่เน้นการพัฒนาสมรรถนะหลักท่ี
จำเป็นในแต่ละระดับ จัดกระบวนการเรียนรู้แบบลงมือปฏิบตั ิจริง รวมทั้งส่งเสริมการจัดการเรียนรู้ที่สร้าง
สมดุลทุกดา้ น สง่ เสริมการจดั การศึกษาเพือ่ พัฒนาพหปุ ัญญา พัฒนาระบบการวัดและประเมนิ ผลผู้เรยี นทุก
ระดับ

3.4 พัฒนาครูและบุคลากรทางการศึกษา ให้เปน็ ครูยคุ ใหม่ มีศักยภาพในการจัดการ
เรียนการสอนตามหลักสูตรฐานสมรรถนะ มีทักษะในการปฏิบัติหน้าที่ไดด้ ี มีความรูค้ วามสามารถในการใช้
เทคโนโลยีดจิ ิทัลมกี ารพฒั นาตนเองทางวิชาชพี อยา่ งต่อเนอ่ื ง รวมท้งั มจี ิตวญิ ญาณความเปน็ ครู

4. ด้านประสิทธภิ าพ
4.1 พัฒนาระบบบริหารจัดการโดยใช้พื้นที่เป็นฐาน มีนวัตกรรมเป็นกลไกหลักใน

การขบั เคลื่อนบนฐานขอ้ มูลสารสนเทศทถี่ กู ต้อง ทันสมัย และการมสี ่วนรว่ มของทกุ ภาคส่วน
4.2 พฒั นาโรงเรียนมัธยมดีส่ีมุมเมอื ง โรงเรียนคุณภาพของชมุ ชน โรงเรยี นขนาดเล็ก

และโรงเรียนที่สามารถดำรงอยู่ได้อย่างมีคุณภาพ (Stand Alone) ให้มีคุณภาพอย่างยั่งยืน สอดคล้องกับ
บริบทของพน้ื ที่

4.3 บริหารจัดการโรงเรียนขยายโอกาสทางการศึกษา ที่มี่จำนวนนักเรียนช้ัน
มัธยมศึกษาปีที่ 1 – 3 น้อยกว่า 20 คน ให้ได้รับการศึกษาอย่างมีคุณภาพ สอดคล้องกับนโยบายโรงเรียน
คุณภาพของชุมชน

4.4 ส่งเสริมการจัดการศึกษาท่มี ีคุณภาพในสถานศึกษาท่ีมีวัตถุประสงค์เฉพาะ และ
สถานศกึ ษาท่ตี ง้ั ในพ้นื ทล่ี กั ษณะพิเศษ

4.5 สนับสนุนพื้นที่นวัตกรรมการศึกษาให้เป็นต้นแบบการศึกษาให้เป็นต้นแบบการ
พฒั นานวัตกรรมการศกึ ษาและการเพ่ิมความคล่องตัวในการบรหิ ารและการจดั การศึกษาข้นั พ้นื ฐาน

4.6 เพมิ่ ประสิทธภิ าพการนเิ ทศ ตดิ ตามและประเมินผลการจดั การศึกษาข้ันพ้นื ฐาน

ส่วนท่ี 3
รูปแบบการนเิ ทศ เอ พี ไอ ซี อี (APICE Model)

การนิเทศการศึกษามีความสำคัญต่อการพัฒนา ปรับปรุง และเพิ่มประสิทธิภาพในการจัด
การศกึ ษาของสถานศึกษา เพื่อใหผ้ ู้บริหารสถานศึกษา ครูผสู้ อน และบุคลากรทางการศกึ ษามีความรู้ ความ
เขา้ ใจใน การพฒั นาหลกั สูตรการศกึ ษาข้ันพืน้ ฐานและกระบวนการเรียนรู้ การวดั และประเมินผลการจัด
การศึกษา การส่งเสริมพัฒนาระบบการประกันคุณภาพการศึกษา การส่งเสริมและพัฒนาสื่อนวัตกรรม
และเทคโนโลยที างการศึกษา และการนิเทศภายในสถานศึกษา

กลุ่มนิเทศ ติดตามและประเมินผลการจัดการศึกษา สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา
ลำปาง เขต 1 ไดด้ ำเนินการนิเทศ ติดตาม โดยใช้รูปแบบการนิเทศ เอ พี ไอ ซี อี (APICE Model) ดังแผนภาพ
ท่ี 1 และแผนภาพท่ี 2 ดงั นี้

แผนภาพที่ 1 การนเิ ทศ เพื่อยกระดับคุณภาพการศึกษา โดยใชร้ ูปแบบการนเิ ทศ เอ พี ไอ ซี อี (APICE Model)
(ทม่ี า : เอกฐสทิ ธิ์ กอบกำ, 2560, หนา้ 78, 104)
ศกึ ษาสภาพ และความต้องการ
(Assessing Needs : A)

การวางแผนการนเิ ทศ
(Planning : P)

การใหค้ วามรู้กอ่ นการนเิ ทศ
(Informing : I)

การนิเทศแบบโคช้
(Coaching : C)

การประเมนิ ผลการนิเทศ
(Evaluating : E)

19

แผนภาพที่ 2 กรอบแนวคดิ การนเิ ทศ เพอ่ื ยกระดบั คุณภาพการศึกษา โดยใช้รปู แบบการนิเทศเอ พี ไอ ซี อี
(APICE Model) (ทีม่ า : เอกฐสทิ ธ์ิ กอบกำ, 2560, หนา้ 78, 104)

กรอบแนวคดิ การนเิ ทศ เพ่ือยกระดับคณุ ภาพการศึกษา โดยใช้รูแบบการนิเทศ เอ พี ไอ ซี อี (APICE Model)

ศกึ ษาสภาพ และความตอ้ งการ ศกึ ษาสภาพปัจจุบนั /ปญั หา และความตอ้ งการ
(Assessing Needs : A)

การวางแผนการนเิ ทศ 1. กำหนดตวั ชวี้ ดั ความสำเร็จ (KPI)
(Planning : P) 2. สร้างส่อื /นวัตกรรม คมู่ ือการนิเทศ แผนการนเิ ทศ และ เคร่อื งมอื การนเิ ทศ
3. กำหนดกจิ กรรมและปฏทิ นิ การนิเทศ

การให้ความรกู้ อ่ นการนิเทศ การพฒั นาหลกั สูตรการศกึ ษาข้นั พนื้ ฐานและกระบวนการเรยี นรู้ การวดั และประเมินผล
(Informing : I) การจัดการศึกษา การส่งเสริมพฒั นาระบบการประกันคุณภาพการศกึ ษา การส่งเสรมิ
และพฒั นาส่ือนวตั กรรมและเทคโนโลยที างการศกึ ษา และการนเิ ทศภายในสถานศกึ ษา
การนิเทศแบบโค้ช
(Coaching : C) ปฏิบัติการนิเทศ Coaching เพื่อกระตุ้นให้ผู้บริหารสถานศึกษา ครูผู้สอน และบุคลากร
ทางการศึกษาที่เกี่ยวข้อง วิเคราะห์ปัญหา/เลือกแนว/ กำหนดแนวทางการแก้ปัญหา/
วางแผน/ ดำเนินการแก้ปัญหา/ วิเคราะห์ และสรุปผล/ แลกเปลี่ยนเรียนรู้ /ชื่นชม
ความสำเร็จ

รวบรวม วิเคราะห์ และสังเคราะห์ผลการนิเทศ

การประเมินผลการนเิ ทศ ตรวจสอบ และประเมินผล ไม่มคี ณุ ภาพ ปรบั ปรงุ /
(Evaluating : E) การนิเทศ พฒั นา

มีคณุ ภาพ
สรุปและจัดทำรายงานผลการนิเทศ

นำเสนอและเผยแพร่ผลการนิเทศ (จดั นทิ รรศการ
แลกเปลยี่ นเรยี นรู้/ยกย่องเชิดชเู กียรต/ิ Website ฯลฯ)

20

ขัน้ ตอนที่ 1 ศึกษาสภาพ และความต้องการ (Assessing Needs : A)
ทีมบริหาร ศึกษานิเทศก์ ร่วมกันศึกษาสภาพปัจจุบัน/ปัญหา การพัฒนาหลักสูตรการศึกษา

ข้ันพืน้ ฐานและกระบวนการเรยี นรู้ การวัดและประเมนิ ผลการจัดการศกึ ษา การสง่ เสริมพฒั นาระบบการ
ประกนั คุณภาพการศึกษา การสง่ เสรมิ และพัฒนาส่ือนวัตกรรมและเทคโนโลยที างการศกึ ษา และการนเิ ทศ
ภายในสถานศึกษา และสอบถามความต้องการของผ้บู รหิ ารสถานศึกษา และครผู สู้ อน

ข้ันตอนท่ี 2 การวางแผนการนิเทศ (Planning : P)
ทีมบริหาร ศึกษานิเทศก์ ผู้บริหารสถานศึกษา และครูผู้สอน นำข้อมูลที่ได้จากการศึกษา

สภาพและความต้องการ มาวางแผนการทำงานให้สอดคล้องกับยุทธศาสตร์ จุดเน้นตามนโยบายสำคัญแห่ง
รัฐ กระทรวงศึกษาธิการ สำนกั งานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพืน้ ฐาน และมาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐาน
โดยคำนึงถึงความเหมาะสมกับบริบทของสถานศึกษา ดำเนนิ การ ดังน้ี

2.1 กำหนดตวั ชวี้ ดั ความสำเร็จ
2.2 จัดทำเครือ่ งมือการนิเทศ แผนการนิเทศ และสอ่ื การนิเทศ
2.3 กำหนดกิจกรรมและปฏิทนิ การนิเทศ

ข้นั ตอนท่ี 3 การใหค้ วามรกู้ ่อนการนิเทศ (Informing : I)
ทีมบริหาร ศึกษานิเทศก์ ประชุมเชิงปฏิบัติการใหค้ วามรู้เกี่ยวกับการพัฒนาหลักสูตรการศึกษา

ข้ันพนื้ ฐานและกระบวนการเรยี นรู้ การวดั และประเมนิ ผลการจัดการศึกษา การสง่ เสรมิ พัฒนาระบบการ
ประกันคณุ ภาพการศกึ ษา การสง่ เสริมและพัฒนาสอ่ื นวตั กรรมและเทคโนโลยที างการศึกษา และการนิเทศ
ภายในสถานศกึ ษา แก่ผู้บรหิ ารสถานศึกษา และครูผู้สอนในสังกัด

ขัน้ ตอนท่ี 4 การนเิ ทศแบบโคช้ (Coaching : C)
ทีมบริหาร ศึกษานิเทศก์ ดำเนินการนิเทศการพัฒนาหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐานและ

กระบวนการเรียนรู้ การวดั และประเมนิ ผลการจัดการศกึ ษา การสง่ เสริมพฒั นาระบบการประกันคณุ ภาพ
การศึกษา การส่งเสริมและพัฒนาสื่อนวัตกรรมและเทคโนโลยีทางการศึกษา และการนิเทศภายใน
สถานศึกษา แบบโค้ช เพอ่ื กระตุ้นผ้บู ริหารสถานศกึ ษา และครูผสู้ อน ดำเนนิ การดงั นี้

4.1 วิเคราะหป์ ัญหา
4.2 เลอื กแนวทางในการแก้ปญั หา
4.3 กำหนดเป้าหมายความสำเร็จ
4.4 วางแผนการแก้ปัญหา
4.5 ดำเนินการแก้ปัญหาตามแผนท่วี างไว้ ในแตล่ ะกจิ กรรมท่ไี ด้กำหนดไว้
4.6 วิเคราะห์ และสรปุ ผลการดำเนินงาน
4.7 แลกเปลยี่ นเรียนรู้ ช่นื ชมความสำเร็จ และขอ้ เสนอแนะในการดำเนินงาน

ขั้นตอนท่ี 5 การประเมนิ ผลการนเิ ทศ (Evaluating : E)
ทีมบริหาร ศึกษานิเทศก์ ผู้บริหารสถานศึกษา และครูผู้สอน ดำเนินการรวบรวม วิเคราะห์

ตรวจสอบ สรุปผลและประเมินผลการนิเทศ ดงั นี้
5.1 รวบรวม วิเคราะห์ สังเคราะห์ผลการนิเทศ
5.2 ตรวจสอบ และประเมนิ ผลการนเิ ทศ

21

5.3 สรปุ และจดั ทำรายงานผลการนเิ ทศ
5.4 จัดกจิ กรรมแลกเปลีย่ นรู้ และชน่ื ชมความสำเรจ็
5.5 ยกยอ่ งเชดิ ชูเกยี รติแกส่ ถานศกึ ษา ผ้บู ริหารสถานศึกษา และครผู ู้สอนทม่ี ีการปฏิบัตงิ าน
ทด่ี ี
5.6 เผยแพร่ผลงานการปฏิบัติงานที่ดีสู่สาธารณชนผ่าน Website ระบบ ICT และ
สารสนเทศของสำนักงานเขตพื้นทกี่ ารศึกษาประถมศึกษาลำปาง เขต 1

ส่วนท
แผนการนเิ ทศ กจิ กรรมการน

แผนนเิ ทศ ติดตาม การจดั การศกึ ษา ตามกลุ่มงาน

1. กลุม่ งานพัฒนาหลักสูตรการศกึ ษาขนั้ พื้นฐานและกระบวนการเรยี นรู้
แผนการนิเทศ ตดิ ตาม และประเมนิ ผลการพัฒนาหลักสูตรสถานศกึ ษา
สงั กัดสำนกั งานเขตพน้ื ทกี่ ารศึกษ

ขอบขา่ ยการนเิ ทศ
1. การพัฒนาหลกั สตู รสถานศึกษาตามหลักสูตรแกนกลางการศกึ ษาขนั้ พื้นฐ
สาระการเรยี นรูค้ ณิตศาสตร์ และสาระภูมิศาสตร์ (ฉบบั ปรับปรงุ พ.ศ.25
2. การพฒั นาหลกั สูตรสถานศึกษาใหเ้ อ้ือต่อการพัฒนาสมรรถนะผเู้ รยี นเปน็
3. การนำหลกั สูตรสถานศึกษาไปใชใ้ นการจดั การเรียนรู้ โดยการจดั ทำโครง
เรยี นรไู้ ด้อย่างมปี ระสิทธิภาพ

กจิ กรรมการนิเทศ กลุ่มเป้าหม

A1 : ศึกษา วเิ คราะห์ นโยบายและจุดเนน้ ของ ศกึ ษานเิ ทศกท์
กระทรวงศึกษาธกิ าร
ศกึ ษานเิ ทศก
และ สพฐ.ด้านหลกั สตู รและการจดั การเรียนร้ทู เ่ี กย่ี วข้อง งานพฒั นาหล
A2: วิเคราะห์ผลการนิเทศ ติดตาม และประเมนิ หลักสูตร

สถานศึกษาของปีการศึกษา 2561-2564

P : กำหนดตัวชี้วัดความสำเรจ็ กำหนดปฏทิ ินการนิเทศ และ
สรา้ งเครื่องมอื นิเทศหลักสูตรสถานศึกษาและการนำหลักสตู ร

ไป
ใช้ในการจัดการเรยี นรู้

ที่ 4
นิเทศ และปฏิทนิ การนเิ ทศ

าและการนำหลกั สูตรสถานศึกษาไปใชใ้ นการพฒั นาคุณภาพผูเ้ รยี น
ษาประถมศึกษาลำปาง เขต 1

ฐาน พทุ ธศักราช 2551 กลุ่มสาระการเรยี นรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี กลุ่ม
560)
นรายบุคคล มีทักษะทจี่ ำเป็นในศตวรรษที่ 21
งสร้างรายวชิ า หน่วยการเรียนรู้ แผนจัดการเรียนรู้ และนำไปใชใ้ นการจดั การ

มาย สือ่ /เคร่อื งมือที่ใช้ ระยะเวลา ผรู้ บั ผดิ ชอบ
ดำเนินการ

ทกุ คน -เอกสารนโยบายและจุดเน้น ต.ค.-ธ.ค.64 น.ส.วชั รี เหลม่ ตระกลู

ของ ศธ. และ สพญ. น.ส.อัญชลี โทกลุ

-ผลการนิเทศ ตติ ดาม และ และศึกษานเิ ทศก์

ประเมินหลักสตู รสถานศึกษา ประจำกลมุ่ เครือขา่ ย

ฯ ปี 61 สถานศึกษาทุกคน

กก์ ลมุ่ -แผนการนเิ ทศ กจิ กรรมการ ม.ค.-ก.พ. น.ส.วชั รี เหล่มตระกลู

ลักสูตร นิเทศ เคร่ืองมือนเิ ทศฯ และ 65 น.ส.อัญชลี โทกลุ

ปฏทิ ินการนิเทศ

กิจกรรมการนิเทศ กลุม่ เปา้ หม

I1 : ทบทวนการพฒั นาหลกั สูตรสถานศึกษาตามนโยบายด้าน ผู้บรหิ ารสถาน
หลักสูตรและการจัดการเรียนรู้ ของ ศธ. และ สพฐ. สกู่ าร และครูวิชาก

พฒั นา ผบู้ รหิ ารสถาน
หลกั สตู รสถานศึกษาและการจัดการเรยี นรู้ และครูวชิ าก

I2 : ใหข้ ้อมูลความก้าวหน้าในการจดั ทำ (รา่ ง)หลกั สตู รการศกึ ษา ผ้บู ริหารสถาน
ขัน้ พ้นื ฐาน พุทธศกั ราช ...... (หลกั สตู รฐานสมรรถนะ) และครูวิชาก

C1 : นิเทศ ตดิ ตาม และให้ข้อเสนอแนะในการพฒั นาหลักสูตร
สถานศกึ ษา

C2: นิเทศ ติดตาม และให้ข้อเสนอแนะในการนำหลกั สตู รไปใช้ใน
การจดั การเรียนรูเ้ พอื่ พฒั นาคุณภาพผูเ้ รยี นให้มีสมรรถนะ

ตาม
หลักสตู รและทกั ษะจำเป็นในศตวรรษท่ี 21

E1 : ประเมนิ ผลการพัฒนาหลกั สูตรสถานศกึ ษาและการนำ
หลกั สตู รไปใชใ้ นการจัดการเรยี นรู้

E2 : สรุปรายงานผลการนิเทศ

ผลที่คาดว่าจะไดร้ บั
ดา้ นสถานศึกษา
- โรงเรียนมีหลักสตู รสถานศกึ ษาทีม่ ีคุณภาพและสามารถนำหลักสูตรไปใชใ้ นก
21

23

มาย สื่อ/เครอื่ งมือทใ่ี ช้ ระยะเวลา ผูร้ ับผดิ ชอบ
ดำเนินการ น.ส.วชั รี เหลม่ ตระกลู
นศึกษา -เอกสารนโยบายดา้ น ม.ี ค.-เม.ย.
การ หลักสตู รของ ศธ. สูก่ าร น.ส.อญั ชลี โทกลุ
65
พัฒนาหลักสูตร ศกึ ษานิเทศก์ประจำ
สถานศึกษาและการจัดการ พ.ค.-ส.ค. กลุ่มเครือขา่ ย
เรยี นรู้ 65 สถานศกึ ษา
-Website : CBE Thailand
นศกึ ษา -แบบนิเทศการพัฒนา
การ หลกั สูตรสถานศึกษาและ
การนำหลักสตู รไปใช้

นศกึ ษา -แบบประเมนิ หลกั สตู ร ก.ย.65 น.ส.วชั รี เหลม่ ตระกลู

การ สถานศกึ ษาและการนำ น.ส.อัญชลี โทกลุ

หลกั สตู รไปใช้ ปกี ารศึกษา

2564

-รายงานสรปุ ผลการนเิ ทศฯ

การพฒั นาคุณภาพผ้เู รยี นใหม้ สี มรรถนะตามหลกั สูตรและทักษะจำเป็นในศตวรรษท่ี

23

ดา้ นผบู้ ริหาร ครู และบุคลากร
- ผบู้ ริหารโรงเรียน ครู และบคุ ลากรทางการศึกษาท่เี ก่ยี วข้อง มีความรู้ ความ
ตอ้ งการของผเู้ รยี น และบรบิ ทของโรงเรยี น
- ครูนำหลกั สูตรสถานศกึ ษาไปใช้ในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้เพอื่ พัฒนาผเู้ รยี
ดา้ นผู้เรยี น
- ผ้เู รียนมีความรู้ สมรรถนะสำคญั และคณุ ลักษณะอนั พงึ ประสงค์ตามเปา้ หม

24

มเขา้ ใจ และสามารถปรับปรงุ หลักสตู รสถานศกึ ษาใหส้ อดคล้องกับนโยบาย ความ
ยนได้อยา่ งมีประสทิ ธภิ าพ
มายของหลักสูตรสถานศกึ ษา และมีความพรอ้ มในการศึกษาในระดับท่ีสงู ขึ้น

24

แผนการนเิ ทศ ติดตาม และประเมินผลการจดั การศกึ ษาปฐมว

สังกัดสำนกั งานเขตพ้ืนทีก่ ารศึกษ

ขอบข่ายการนเิ ทศ

1. การดำเนนิ งานโครงการบา้ นนกั วิทยาศาสตรน์ ้อย ประเทศไทย

2. การจัดการศึกษาและการจดั ประสบการณ์การศกึ ษาปฐมวยั

กจิ กรรมการนิเทศตามกระบวนการนิเทศ APICE กลมุ่ เป้าห
ของ สพป.ลำปาง เขต 1

A : ศกึ ษาสภาพปัจจบุ ัน/ปญั หา และความต้องการของผู้บริหาร ศกึ ษานเิ ทศก

สถานศกึ ษา ครูผู้สอน และบุคลากรทเ่ี กี่ยวข้องกบั การส่งเสริม ผู้รับผดิ ชอบก

สนบั สนนุ การดำเนนิ งานโครงการบา้ นนกั วทิ ยาศาสตร์นอ้ ย การศึกษาปฐ

ประเทศไทย และการจัดการศึกษาและการจัดประสบการณ์

การศึกษาปฐมวัย

P: ดำเนินการวางแผนการนิเทศ ติดตามร่วมกันระหว่าง ศกึ ษานิเทศก

ศึกษานิเทศก์ ผู้บริหารสถานศึกษา ครูผู้สอน และบุคลากรที่ ผู้รับผิดชอบก

เกย่ี วข้อง ดังนี้ การศึกษาปฐ

1. กำหนดตวั ช้วี ดั (KPI)

2. จัดทำสือ่ และเครื่องมือการนิเทศ

3. จดั ทำปฏิทินการนเิ ทศ

I : ประชมุ เชิงใหค้ วามรู้เกีย่ วกับการจัดกจิ กรรมโครงการบา้ น ศึกษานิเทศก

นักวทิ ยาศาสตรน์ ้อย ประเทศไทย และการจดั การศึกษาและการจดั

ประสบการณ์การศึกษาปฐมวยั ในประเด็นตา่ งๆ ดงั น้ี

1. การจัดทำแผนการจดั ประสบการณ์เดก็ ปฐมวยั

2. การนำแผนการจัดประสบการณเ์ ด็กปฐมวยั ไปใช้กบั ผู้เรียน

25

วัยโดยใชร้ ปู แบบการนเิ ทศ เอ พี ไอ ซี อี (APICE Model)
ษาประถมศึกษาลำปาง เขต 1

หมาย สอื่ /เครื่องมือทใี่ ช้ ระยะเวลา ผูร้ บั ผดิ ชอบ
ดำเนนิ การ

ก์ -เอกสารแนวทางการจัด ตลุ าคม ถึง นางเขมจิรา เศวตรัตนเสถยี ร

การจดั กจิ กรรมการทดลองและการ ธันวาคม นางอัมรนิ ทร์ บุญเอนก

ฐมวยั จัดกิจกรรมโครงงาน 2564

วิทยาศาสตรต์ ามแนวทาง

โครงการบา้ นนักวทิ ยาศาสตร์

นอ้ ย ประเทศไทย

ก์ -แผนการนิเทศการจัด มกราคม ถงึ นางเขมจิรา เศวตรัตนเสถียร

การจดั การศกึ ษาปฐมวัย มนี าคม นางอมั รนิ ทร์ บญุ เอนก

ฐมวัย -ปฏิทินการนิเทศ 2565

ก์ทุกคน -แผนการนเิ ทศการจดั เมษายน ถงึ นางเขมจิรา เศวตรัตนเสถียร
การศึกษาปฐมวัย พฤษภาคม นางอัมรินทร์ บญุ เอนก
-เอกสารแนวทางการจดั
กิจกรรมการทดลองและการ 2565
จัดกิจกรรมโครงงาน

25

กจิ กรรมการนิเทศตามกระบวนการนเิ ทศ APICE กลุม่ เป้าห
ของ สพป.ลำปาง เขต 1

3. การวดั และประเมินผลเด็กปฐมวยั
4. การประเมินหลักสูตรสถานศึกษา ระดับการศึกษาปฐมวัย
พทุ ธศักราช 2560
5. การจัดกิจกรรมการทดลองโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย
ประเทศไทย
6. การจดั ทำโครงงานวิทยาศาสตรต์ ามรูปแบบวฏั จกั ร
การสืบเสาะ
7. การจัดประสบการณ์การเรียนรวู้ ทิ ยาการคำนวณ
7. การจัดสภาพแวดล้อมท้ังภายในและภายนอกห้องเรียน

C : ดำเนินการนเิ ทศ ตดิ ตาม และใหข้ ้อเสนอแนะ ผ้บู รหิ ารสถา

และครูผสู้ อน

ทุกคน

E : การประเมินผลการนิเทศ ดำเนินการ ดงั น้ี ศกึ ษานิเทศก

1. รวบรวม วเิ คราะห์ สังเคราะหผ์ ลการนิเทศการดำเนินงาน ผบู้ ริหารสถา

การจดั กิจกรรมโครงการบา้ นนักวทิ ยาศาสตร์นอ้ ย ประเทศไทย และครผู ้สู อน

2. ตรวจสอบ และประเมินผลการนิเทศ

3. สรปุ และจดั ทำรายงานผลการนเิ ทศ

4. จดั กจิ กรรมแลกเปล่ียนรู้ และชน่ื ชมความสำเร็จ ดังน้ี

4.1 การดำเนินงานโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย

ประเทศไทย

4.2 รูปแบบการจดั ประสบการณ์การศึกษาปฐมวยั

หมาย สอื่ /เครอ่ื งมือท่ใี ช้ ระยะเวลา 26
ดำเนนิ การ
ผรู้ ับผดิ ชอบ

วิทยาศาสตร์ตามแนวทาง

โครงการบา้ นนกั วทิ ยาศาสตร์

น้อย ประเทศไทย

านศึกษา แบบนิเทศตดิ ตามการจดั พฤษภาคม ศึกษานเิ ทศก์ทุกคน
นปฐมวยั การศกึ ษาปฐมวัย ถงึ สิงหาคม

กท์ กุ คน แบบประเมินผลการจัด 2565
านศกึ ษา การศึกษาปฐมวัย
นปฐมวยั กันยายน นางเขมจริ า เศวตรตั นเสถยี ร
2565 นางอมั รินทร์ บญุ เอนก

26

กจิ กรรมการนเิ ทศตามกระบวนการนเิ ทศ APICE กลมุ่ เปา้ ห
ของ สพป.ลำปาง เขต 1

5. ยกย่องเชดิ ชูเกียรติแก่สถานศึกษาทีม่ ีการดำเนนิ งานโครงการ
บ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ประเทศไทย ที่เป็นแบบอย่างที่ดี และ
รปู แบบการจดั ประสบการณ์การศึกษาปฐมวยั

6. เผยแพร่ผลงานการปฏิบตั ิงานการดำเนนิ งานโครงการบา้ น
นกั วิทยาศาสตรน์ ้อย ประเทศไทย และรปู แบบการจดั ประสบการณ์
การศึกษาปฐมวัย ท่ีเป็นแบบอย่างทดี่ สี ู่สาธารณชนผา่ น Website
Facebook ระบบ ICT และสารสนเทศของสำนักงานเขตพ้ืนท่ี
การศกึ ษาประถมศึกษาลำปาง เขต 1

ผลท่ีคาดวา่ จะได้รับ
1. สถานศึกษาทุกแหง่ ดำเนินงานโครงการบ้านนักวทิ ยาศาสตรน์ อ้ ย ประเทศไทย อ
2. สถานศกึ ษาทกุ แหง่ มกี ารจัดประสบการณเ์ รียนรู้สำหรับเด็กปฐมวยั ทีห่ ลาก
3. เดก็ ปฐมวยั มีพฒั นาการท้ัง 4 ดา้ นสมดุลตามวัย

27

หมาย สื่อ/เครื่องมือที่ใช้ ระยะเวลา ผรู้ บั ผดิ ชอบ
ดำเนินการ

อย่างตอ่ เน่ืองสม่ำเสมอ
กหลาย

27

แผนการนเิ ทศ ติดตาม และประเ
สงั กัดสำนักงานเขตพนื้ ทก่ี ารศึกษ
ขอบขา่ ยการนิเทศ
1. การบรหิ ารจดั การศึกษาพิเศษ ประกอบด้วย การคดั กรองและวนิ จิ
2. การพัฒนากระบวนการเรียนรู้ ประกอบดว้ ย การพัฒนาแผนการจ
การใช้แผนการจดั การศึกษาเฉพาะบคุ คล

กิจกรรมการนเิ ทศ กล่มุ เปา้ หมาย

A1 : รวบรวม ศกึ ษา วิเคราะห์ และสังเคราะหข์ ้อมูลจาก ศึกษานิเทศก์
เอกสารและแหล่งข้อมูลต่าง ๆ อาทิ แผนพัฒนาการศกึ ษาข้ัน ผ้รู ับผดิ ชอบ
พ้นื ฐานและการศึกษาปฐมวัย นโยบายและแผนจดั การศึกษา
ทีเ่ กีย่ วข้องกบั การศึกษาพิเศษ
A2 : ศกึ ษาผลการนเิ ทศ ติดตามและประเมินผลการจดั
การศึกษา งานพัฒนาหลักสตู รการศึกษาพิเศษและ
กระบวนการเรียนรู้ในปีการศึกษาท่ีผา่ นมา

P : กำหนดตัวชวี้ ดั ความสำเร็จ กำหนดปฏิทินการนเิ ทศ และ ศึกษานิเทศก์
สรา้ งเครือ่ งมอื นิเทศการพัฒนาและใชแ้ ผนจัดการศกึ ษา ผู้รับผิดชอบ
เฉพาะบุคคลสำหรับเดก็ ที่มคี วามต้องการพเิ ศษ
ศึกษานิเทศก์
I1 : ส่งเสริม สนบั สนุนและพฒั นาผูบ้ รหิ ารโรงเรียน ครู ผรู้ บั ผิดชอบ
และบคุ ลากรทางการศึกษา ให้มคี วามรู้ ความเขา้ ใจในการจดั
การศึกษาพิเศษ ให้สามารถบรหิ ารจดั การและวางแผนจดั

28

เมนิ ผลการจัดการศึกษาพิเศษ
ษาประถมศกึ ษาลำปาง เขต 1

จฉยั ผู้เรยี น การจัดตารางเรยี นและการจดั ครูเข้าสอน
จัดการศึกษาเฉพาะบุคคล (Individualized Education Program : IEP) และ

สอื่ /เครื่องมือที่ใช้ ระยะเวลา ผูร้ ับผดิ ชอบ
ดำเนินการ

- แผนพฒั นาการศึกษาขัน้ พื้นฐานและ พฤศจิกายน นางกนษิ ฐา สวยสด

การศึกษาปฐมวัย 2564

- นโยบายและแผนจัดการศึกษาที่

เกย่ี วข้องกบั การศึกษาพิเศษ

- รายงานผลการนิเทศ ติดตามและ

ประเมนิ ผลการจัดการศึกษา งานพฒั นา

หลกั สูตรการศกึ ษาพเิ ศษและกระบวนการ

เรียนรู้ เร่อื ง การพัฒนาและใช้แผนจัด

การศกึ ษาเฉพาะบุคคลสำหรับเดก็ ท่มี ี

ความตอ้ งการพิเศษ ปีงบประมาณ 2564

- แผนการนิเทศ กิจกรรมการนิเทศ ธนั วาคม2564 นางกนษิ ฐา สวยสด

เครอ่ื งมือนิเทศฯ และปฏทิ ินการนเิ ทศ

- คมู่ ือ/แนวทางการจดั การศึกษาพิเศษ ธันวาคม2564 นางกนษิ ฐา สวยสด
-กันยายน และศึกษานิเทศก์
2565 ทกุ คน

28

กิจกรรมการนิเทศ กลุ่มเป้าหมาย

การศึกษาสำหรบั ผู้เรียนตามประเภทเด็กทีม่ คี วามตอ้ งการ

พิเศษ

I2 : สง่ เสริมและประสานความร่วมมือระหวา่ งสำนกั งานเขต

พ้ืนทีก่ ารศึกษา สถานศึกษา และชุมชนอย่างสม่ำเสมอ เพ่ือ

ร่วมมือชว่ ยเหลอื กันในการดำเนนิ การจัดการศกึ ษาสำหรบั

ผูเ้ รียนท่ีมีความต้องการพเิ ศษ

I3 : ประสานความรว่ มมอื และสนบั สนนุ การปฏบิ ตั งิ านของ

หนว่ ยงานอืน่ ที่เก่ยี วขอ้ งกับการศกึ ษาพเิ ศษ เชน่ สำนกั บริหาร

การศึกษาพเิ ศษ ศนู ย์การศึกษาพิเศษ โรงพยาบาล องค์กร

ปกครองส่วนท้องถิน่

C : นเิ ทศ กำกบั ติดตาม แนะนำใหค้ วามช่วยเหลอื โรงเรยี น ศกึ ษานเิ ทศก์

ผ้บู ริหารโรงเรียน และครผู สู้ อนให้มีความพร้อมในการจดั ผู้บรหิ าร

การศกึ ษาสำหรบั ผเู้ รยี นท่มี ีความต้องการพิเศษในรปู แบบที่ สถานศึกษา

เหมาะสม เพ่ือให้เกิดการปรบั ปรุง/พัฒนากระบวนการเรียนรู้ และคณะครู ที่

เพอื่ พฒั นาผู้เรยี นได้เตม็ ศักยภาพตามตามประเภทเด็กท่มี ี เกยี่ วข้อง

ความต้องการพิเศษให้มีคุณภาพ

E1 : ประเมินผลการจดั การศึกษาพเิ ศษ ศกึ ษานเิ ทศก์

E2 : สรปุ ผลการนิเทศ ผรู้ บั ผิดชอบ

29

สือ่ /เคร่ืองมือที่ใช้ ระยะเวลา ผ้รู ับผิดชอบ
ดำเนินการ

- แบบนิเทศการจดั การศึกษาพิเศษ ธนั วาคม2564 นางกนิษฐา สวยสด
-กนั ยายน และศึกษานิเทศก์
2565 ทุกคน

- แบบประเมนิ ผลการจดั การศกึ ษาพเิ ศษ สงิ หาคม - นางกนษิ ฐา สวยสด

-รายงานสรปุ ผลการนเิ ทศฯ กนั ยายน2565

29

ผลทีค่ าดวา่ จะได้รบั
1. โรงเรียนสามารถบริหารจดั การและวางแผนจัดการศึกษาสำหรับผู้เรียนต

โรงเรียน
2. ผู้บรหิ ารโรงเรยี นและครผู ู้สอนสามารถปรบั ปรุง/พัฒนากระบวนการเรียน

คณุ ภาพไดอ้ ย่างมีคุณภาพ

30

ตามประเภทเด็กทม่ี ีความต้องการพเิ ศษในรปู แบบท่ีเหมาะสมตามบริบทของ
นรู้เพื่อพฒั นาผูเ้ รียนได้เต็มศักยภาพตามประเภทเดก็ ที่มีความตอ้ งการพเิ ศษใหม้ ี

30

2. กลุม่ งานวดั และประเมินผลการจดั การศึกษา

แผนการนเิ ทศ ตดิ ตาม และประเมนิ ผลการวดั และประเมนิ ผลการเรยี นรู้ขอ

สังกดั สำนกั งานเขตพน้ื ท่ีการศึกษ

ขอบขา่ ยการนเิ ทศ

1. การวดั และประเมนิ ผลของสถานศึกษา

2. เอกสารหลักฐานทางการศึกษา

3. การพัฒนาคุณลักษณะอันพึงประสงค์ และ การอ่าน คิดวเิ คราะห์ และเขีย

กิจกรรมการนิเทศตามกระบวนการนิเทศ APICE กล่มุ เป้าห
ของ สพป.ลำปาง เขต 1

A : ศึกษานิเทศก

1. ศึกษาสภาพปัจจบุ ัน/ปัญหา และความต้องการของผ้บู ริหาร ผู้รับผิดชอบง

สถานศึกษา ครูผู้สอน และบุคลากรท่เี กย่ี วขอ้ งกบั การวัดและ และประเมนิ

ประเมินการเรียนรู้ จดั การศึกษา

2. ศกึ ษา วเิ คราะห์ ผลการนเิ ทศ ติดตามการดำเนินงานตาม

ระบบการประกันคุณภาพการศกึ ษาภายในสถานศึกษาของ

สถานศกึ ษาในสงั กัด

P: ดำเนินการวางแผนการนิเทศ ติดตามร่วมกันระหว่าง ศึกษานเิ ทศก

ศึกษานิเทศก์ ผู้บริหารสถานศึกษา ครูผู้สอน และบุคลากรที่ ผ้รู บั ผิดชอบง

เก่ยี วข้อง ดังนี้ และประเมิน

1. กำหนดตัวช้ีวัด (KPI) จัดการศึกษา

2. จัดทำเครือ่ งมือการนิเทศ ตดิ ตาม

3. จดั ทำปฏิทนิ การนิเทศ ติดตาม

31

องสถานศกึ ษาโดยใชร้ ูปแบบการนเิ ทศ เอ พี ไอ ซี อี (APICE Model)
ษาประถมศกึ ษาลำปาง เขต 1

ยน ส่ือ/เครอื่ งมือทใี่ ช้ ระยะเวลา ผรู้ บั ผิดชอบ
ดำเนนิ การ
หมาย -เอกสารระเบียบว่าด้วยการ
วดั และประเมนิ ผลการเรียนรู้ ตลุ าคม ถงึ นางเขมจิรา เศวตรตั นเสถยี ร
ก์ ของสถานศึกษาฯ
งานวัด - คมู่ อื การวดั และประเมินผล ธันวาคม นางอัมรนิ ทร์ บุญเอนก
นผลการ
า 2564 นางสาววมิ ล ปวนปนั วงศ์

ก์ -แผนการนิเทศการวดั และ มกราคม นางเขมจริ า เศวตรตั นเสถยี ร
งานวดั ประเมินผลฯ 2565 นางอมั รินทร์ บญุ เอนก
นผลการ -ปฏทิ ินการนเิ ทศ
า -เครื่องมือการนเิ ทศ นางสาววมิ ล ปวนปนั วงศ์

31

กจิ กรรมการนิเทศตามกระบวนการนเิ ทศ APICE กล่มุ เปา้ ห
ของ สพป.ลำปาง เขต 1

I : ประชมุ ใหค้ วามรเู้ ก่ยี วกับการสง่ เสริม พฒั นาการวดั และประเมนิ ศึกษานเิ ทศก

การเรยี นรู้ ดงั นี้ ผู้บริหารสถา

1. การวดั และประเมินผลในชัน้ เรียน และครูวิชาก

2. เอกสารหลักฐานทางการศกึ ษา

3. คุณลักษณะอันพึงประสงค์ และ การอ่าน คิดวิเคราะห์ และ

เขยี น

C : ดำเนินการนิเทศการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ใน สถานศกึ ษาใ

สถานศึกษา แบบโค้ช

E : การประเมนิ ผลการนเิ ทศ ดำเนินการ ดังน้ี ศกึ ษานิเทศก
1. รวบรวม วเิ คราะห์ สงั เคราะหผ์ ลการนเิ ทศ ผู้รบั ผิดชอบง
2. ตรวจสอบ และประเมินผลการนเิ ทศ และประเมนิ
3. สรปุ และจดั ทำรายงานผลการนิเทศ จัดการศกึ ษา

ผลทคี่ าดว่าจะไดร้ บั
1. สถานศึกษาทกุ แหง่ มกี ารวดั และประเมินผลท่ถี ูกตอ้ งและมีประสทิ ธภิ าพ
2. ครผู สู้ อนมคี วามรู้ ความเข้าใจเร่ืองการวัดและประเมนิ ผลที่ถกู ต้อง

32

หมาย สอื่ /เครอื่ งมือทใี่ ช้ ระยะเวลา ผ้รู ับผดิ ชอบ
ดำเนินการ
กท์ ุกคน -แผนการนิเทศการวดั และ
านศกึ ษา ประเมินผลฯ พฤษภาคม นางเขมจริ า เศวตรตั นเสถยี ร
การ -ปฏทิ นิ การนิเทศ
ถึง นางอัมรนิ ทร์ บญุ เอนก
-เครือ่ งมือการนิเทศ
-เอกสารการวดั และ มถิ นุ ายน นางสาววิมล ปวนปนั วงศ์
ประเมินผลในชน้ั เรยี น
ในสังกัด แบบนิเทศ ตดิ ตามการ 2565
ดำเนินงานการวดั และ
ประเมนิ ผลการเรียนรู้ สงิ หาคม ถงึ ศกึ ษานิเทศกท์ ุกคน
ก์ แบบประเมนิ การดำเนนิ งาน กันยายน
งานวัด การวดั และประเมนิ ผลของ 2565
นผลการ สถานศกึ ษา
า กนั ยายน นางเขมจริ า เศวตรตั นเสถยี ร
2565 นางอัมรนิ ทร์ บญุ เอนก

นางสาววิมล ปวนปนั วงศ์

32

3. กลมุ่ งานสง่ เสรมิ พฒั นาระบบประกันคณุ ภาพการศึกษา

แผนการนิเทศ ตดิ ตาม และประเมนิ ผลระบบการ

สังกดั สำนักงานเขตพื้นท่กี ารศกึ ษ

ขอบขา่ ยการนิเทศ

1. พัฒนาส่งเสริมการดำเนนิ งานตามระบบการประกันคุณภาพการศึกษาภาย

2. ติดตาม ตรวจสอบคุณภาพการศกึ ษาตามระบบการประกนั คณุ ภาพการศึก

กจิ กรรมการนเิ ทศตามกระบวนการนิเทศ APICE กลมุ่ เปา้ หม
ของ สพป.ลำปาง เขต 1

ขนั้ ตอนที่ 1 ศึกษาสภาพและความต้องการ (A)

1.1 ศกึ ษา วิเคราะห์ สภาพปัญหาการดำเนนิ งานระบบการ ศึกษานิเทศ

ประกันคุณภาพการศึกษาภายในสถานศึกษาของสถานศึกษาใน ผูร้ ับผิดชอบง

สังกดั ประกันคุณภ

1.2 ศกึ ษา วิเคราะห์ ผลการนเิ ทศ ติดตามการดำเนินงานตาม การศึกษา

ระบบการประกนั คุณภาพการศึกษาภายในสถานศึกษาของ

สถานศึกษาในสังกดั

ขั้นตอนที่ 2 การวางแผนการนิเทศ (P)

ดำเนินการวางแผนการนิเทศ ติดตาม การส่งเสริมและพัฒนา ศึกษานเิ ทศ

ระบบการประกันคณุ ภาพการศึกษาภายในสถานศึกษา ดังน้ี ผูร้ ับผดิ ชอบง

2.1 กำหนดตัวช้ีวดั ความสำเร็จ ประกันคุณภ

2.2 สรา้ งเครื่องมือการนเิ ทศ ติดตาม การศึกษา

2.3 กำหนดปฏิทนิ การนิเทศ ติดตาม

ขัน้ ตอนที่ 3 การให้ความรูก้ ่อนการนเิ ทศ (I)

3.1 ผบู้ ริหาร และครู ศกึ ษาระบบการประกนั คณุ ภาพการศกึ ษา

ผ่านชอ่ งทางการนเิ ทศออนไลน์ https://bit.ly/3KQFzRG

33

รประกนั คณุ ภาพการศกึ ษาภายในสถานศกึ ษา
ษาประถมศึกษาลำปาง เขต 1

ยในสถานศึกษา ระยะเวลา ผู้รับผิดชอบ
กษาภายในสถานศึกษา ดำเนนิ การ

มาย สื่อ/เคร่ืองมือทีใ่ ช้

ศก์ - รายงานผลการนเิ ทศ ตดิ ตาม พ.ย. 64 นายนพดล ถาวร
งาน ระบบการประกันคณุ ภาพ นายชยั วฒุ ิ นามะ
ภาพ การศกึ ษาภายในสถานศกึ ษา
า - รายงานการสงั เคราะห์ กณุ า

การประเมินตนเองของ
สถานศกึ ษา

ศก์ - แผนการนิเทศ ธ.ค. 64 นายนพดล ถาวร
งาน - เครอ่ื งมือการนเิ ทศ นายชัยวุฒิ นามะ
ภาพ
า กุณา

ม.ค. 65 นายนพดล ถาวร

33


Click to View FlipBook Version