The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

วิชาการลงยาสี
หน่วยที่1ความเป็นมายาสีเย็นและยาสีร้อน

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by sriwipad, 2021-08-14 02:32:56

ความเป็นมายาสีเย็นและยาสีร้อน

วิชาการลงยาสี
หน่วยที่1ความเป็นมายาสีเย็นและยาสีร้อน

Keywords: enameling

ชอื่ โมดูล
ความเป็นมายาสเี ย็นและยาสรี อ้ น

ชือ่ วชิ าการลงยาสี

นางสาวศรีวภิ า ดษุ ดี
ตาแหนง่ พนกั งานราชการ

กาญจนาภิเษกวิทยาลยั ชา่ งทองหลวง
สานกั งานคณะกรรมการการอาชวี ศึกษา

คานา

บทเรียนโมดลู ชดุ ที่ เร่อื ง ความเป็นมายาสีเยน็ และยาสีร้อน ฉบบั นี้ ไดเ้ รียบเรยี งขนึ้ เพ่อื ใช้ประกอบการ
เรียนวชิ าลงยาสี รหัส 20315-2209 ชัน้ ปวช.3 โดยพยายามเรยี บเรยี งใหน้ กั เรยี นเขา้ ใจไดง้ ่ายข้นึ นกั เรียนสามารถ
ศึกษาได้ด้วยตนเอง ก่อนท่ีจะศึกษาเน้ือหาน้ันจริง ๆ นอกจากนี้ยังได้เพ่ิมใบกิจกรรมเสริมให้นักเรียนมี
ประสบการณ์กว้างขวางยิ่งขึ้น บทเรียนโมดูลชุดน้ีมีจุดประสงค์เพื่อให้นักเรียนได้ศึกษาเก่ียวกับความหมาย และ
เทคนิคของชิ้นงาน คุณสมบัติของยาสี ภายในบทเรียนโมดูลเล่มน้ีประกอบด้วย คาแนะนาการใช้บทเรียนโมดูล
จุดประสงค์การเรียนรู้ แบบทดสอบก่อนเรียน เนื้อหาใบกิจกรรม แบบทดสอบหลังเรียน รวมทั้งเฉลยใบกิจกรรม
และแบบทดสอบกอ่ นเรียนหลังเรยี นโมดลู นี้นักเรียนสามารถศึกษาค้นควา้ ดว้ ยตนเองและเรียมร้กู ันเป็นกลุม่ เลก็ ๆ

ผู้จัดทาหวังเป็นอย่างย่ิงว่าบทเรียนโมดูลชุดนี้จะช่วยให้นักเรียนได้รับความรู้ความเช้าใจเกี่ยวกับความ
เปน็ มาของยาสีเย็นและยาสีรอ้ น เทคนิค และคุณสมบัตขิ องยาสสี ง่ ผลให้ผลสมั ฤทธิท์ างการเรียนของนักเรียนสงู ขึ้น
อย่างไรก็ตามในบทเรียนโมดูลเล่มน้ีอาจมีบางจุดท่ีมีข้อบกพร่องผิดพลาด ขอให้ท่านผู้อ่านโปรดแจ้งให้ข้าพเจ้า
ทราบด้วยจะขอพระคุณเป็นอย่างยิ่ง ข้าพเจ้ายินดีรับฟังความคิดเห็นและ ข้อเสนอแนะจากท่าน และพร้อมท่ีจะ
นามาแกไ้ ซปรบั ปรุงบทเรียนโมดูลเมนใ้ี ห้มคี วามสมบรู ณแ์ ละถูกต้อง

นางสาวศรวี ิภา ดุษดี

สารบญั หนา้

คานา ข
สารบัญ 1
คาแนะนาการใชบ้ ทเรียนโมดูล 2
ขนั้ ตอนการใชบ้ ทเรยี นโมดูล 3
หลักการและเหตุผล 3
จุดประสงค์การเรยี นรู้ 3
การประเมินผลการเรยี น 4
สมรรถนะการเรียนรู้ 4
ขอบขา่ ยเนื้อหา 4
สาระสาคญั 5
แบบทดสอบกอ่ นเรียน 7
เฉลยแบบทดสอบกอ่ นเรยี น 9
ใบความรทู้ ี่ 1 ความเปน็ มาของยาสีเยน็ และยาสีร้อน 11
ใบกิจกรรมท่ี 1 เร่อื ง ความเปน็ มาของยาสเี ย็นและยาสรี ้อน 12
ใบความรู้ที่ 2 เรื่อง ความหมายของเทคนิคการลงยาสีและยาสที ี่ใช้บนช้ินงาน 15
ใบกจิ กรรมที่ 2 เรอ่ื ง ความหมายของเทคนคิ การลงยาสแี ละยาสที ี่ใช้บนชิน้ งาน 16
แบบทดสอบหลังเรียน 18
เฉลยแบบทดสอบหลังเรยี น 20

เฉลยแนวทางการตอบใบกจิ กรรม 20
21
ใบกจิ กรรมที่ 1 เรอื่ ง ความเป็นมาของยาสีเย็นและยาสรี ้อน
ใบกิจกรรมท่ี 2 เรื่อง ความหมายของเทคนคิ การลงยาสแี ละยาสีที่ใชบ้ นช้นิ งาน

คาแนะนา

สาหรับนักเรียน
การใชบ้ ทเรยี นโมดลู ให้เกิดประสทิ ธิภาพตอ่ การจัดกจิ กรรมการเรยี นการสอนได้
อยา่ งสงู สุด นักเรยี นควรปฏิบัติ ดงั น้ี
1. การเตรยี มตัวของนักเรยี น
1.1 ศึกษาบทเรยี นโมดูลลว่ งหนา้ กอ่ นท่ีจะเข้าเรยี นในรายวิชาการลงยาสี หรอื ปฏิบัตกิ จิ กรรมต่าง ๆ เพอ่ื ใหม้ ี
ความรู้ ความเข้าใจเกย่ี วกบั จดุ ประสงค์การเรยี นรู้ เรื่องความเปน็ มาของการลงยาสีเย็นและยาสรี อ้ น เทคนิคการทา
ชิน้ งานลงยาสี
1.2 วางแผน และจดั เตรยี มอปุ กรณ์ทใี่ ช้ประกอบการเรยี นรูข้ องตนเองหรอื ของกลุ่มใหพ้ ร้อมสาหรบั การ
ปฏิบัติกิจกรรมตามที่ได้รับมอบหมาย
2.2 ปฏิบตั ิกจิ กรรมต่าง ๆ ตามลาดับขัน้ ตอนที่กาหนด ดงั นี้

2.2.1 นักเรยี นทาแบบทดสอบกอ่ นเรียน
2.2.2 นกั เรยี นศกึ ษาและปฏิบัติกจิ กรรมต่าง ๆ ตามแนวทางการจดั กิจกรรม
การเรียนรู้ตามลาดบั ขนั้ ตอนที่กาหนด
2.2.3 นักเรยี นสง่ ผลงานหรอื ใบงานในการปฏิบัติกจิ กรรม มีส่วนรว่ มในการนาเสนอผลงานหรอื อภิปราย
ความรู้
2.2.4 นักเรียนทาแบบทดสอบหลังเรยี น

ข้นั ตอนในการใชบ้ ทเรยี นโมดลู

1. ครูแนะนานักเรียนเกย่ี วกับองค์ประกอบของบทเรียน ชุดท่ี 1 เรือ่ ง ความเป็นมาของยาสีเย็นและยาสีร้อน
2. นักเรยี นศกึ ษา และตรวจสอบองคป์ ระกอบของบทเรียนโมดลู ชุดท่ี 1 ครบถว้ นหรอื ไม่
3. นกั เรียนศกึ ษาและปฏบิ ตั กิ ิจกรรม ตามลาดบั ดงั น้ี

3.1 นกั เรียนทาแบบทดสอบกอ่ นเรยี น
3.2 นกั เรยี นศึกษาและคน้ คว้าจากใบความรู้ ดงั นี้

ความเป็นมายาสีเย็นและยาสีรอ้ น

ความหมายของเทคนิคการลงยาสแี ละยาสีที่ใช้บนชนิ ้ งาน

3.3 นกั เรยี นปฏิบัติกจิ กรรมตามใบกจิ กรรม ดังนี้
- ใบกจิ กรรมท่ี 1
- ใบกิจกรรมท่ี 2
4. ในระหว่างการปฏบิ ัตกิ จิ กรรมในใบกจิ กรรมที่ 1 -2 ถ้าหากนกั เรียน มขี อ้ สงสัยสามารถซักถาม
เพอ่ื ให้สามารถปฏบิ ตั ไิ ดถ้ กู ตอ้ งได้
5. เมื่อปฏบิ ตั กิ ิจกรรมในแต่ละชวั่ โมง ครแู ละนกั เรยี นรว่ มกนั อภิปรายความรู้ และเฉลยคาตอบของ
การปฏิบัตกิ จิ กรรม
6. นักเรยี นร่วมกันชกั ถาม และอภิปรายความร้เู กีย่ วกบั ความเปน็ มายาสีเย็นและยาสรี อ้ น
7. นกั เรียนทาแบบทดสอบหลังเรียน

เครอ่ื งลงยาสขี องไทยน้ัน ถอื ไดว้ า่ เปน็ งานประณตี ศลิ ป์ขนั้ สงู ใชท้ ้งั ฝีมอื และความละเอยี ดประณตี ซงึ่
นับวนั งานช่างแขนงนเี้ หลือช่างฝมี ือดีน้อยลงไปทุกที สมควรอยา่ งยิ่งที่ต้องอนุรักษ์สง่ เสรมิ และฟน้ื ฟู เพอ่ื สบื สาน

งานชา่ งศิลปไ์ ทยสาขานี้ใหด้ ารงคงอยสู่ บื ไป

ดา้ นความรู้
1 อธบิ ายประวัตคิ วามเปน็ มายาสีเย็นและยาสีร้อน
2 บอกความหมายของเทคนคิ การลงยาสียาสเี ย็นและยาสีรอ้ น

ด้านทักษะ
1 สามารถอธิบายประวตั ิความเป็นมายาสเี ย็นและยาสีร้อน
2 สามารถบอกลกั ษณะของเทคนิคการลงยาสียาสีเยน็ และยาสีรอ้ น
3 สามารถเลอื กใช้ยาสีให้เหมาะสมกบั ช้ินงานได้

ด้านคุณลกั ษณะท่ีพงึ ประสงค์
1. แสดงพฤติกรรมที่ดี ไม่นา วสั ดุ อปุ กรณ์ ส่วนรว่ มไปใช้ส่วนตัว เข้าเรยี นตรงตามเวลา ชว่ ยเหลือ
มีนา้ ใจตอ่ เพือ่ นร่วมห้อง ตามขอ้ ตกลง

นักเรยี นผ่านเกณฑก์ ารประเมินผลผ่านเกณฑ์รอ้ ยละ 75 สามารถเรียนบทเรียนโมดูลต่อไปได้แต่ถา้ ไม่ผา่ น
เกณฑ์การประเมนิ ร้อยละ 75 นกั เรียนตอ้ งเรียนซอ่ ม

1. แสดงความรู้ เกยี่ วกับความเปน็ มายาสีเย็นและยาสรี อ้ น เทคนคิ ชน้ิ งาน ยาสีท่ีใช้
2. อธบิ ายความหมายของเทคนิคการลงยาสยี าสีเย็นและยาสีร้อน

ความเป็นมาของยาสี
เทคนิคขงิ ชน้ิ งานลงยาสี

ประวัติศาสตร์การลงยาสีท้ังต่างประเทศและในประเทศ การลงยาสีในภาชนะและของใช้ ผนังโบสถ์ ต่าง ๆ
ยังมีผลิตภัณฑ์โลหะเคลือบใชใ้ นหลายอตุ สาหกรรม เช่น อตุ สาหกรรมอาหาร ก่อสร้าง ยานยนต์ วิศวกรรม ทันตก
รรม คน้ พบวิธีการลงยาสีบนโลหะ ทองแดง บรอนซ์ สแตนเลส อลูมเิ นียม และโลหะผสมอืน่ ๆ รวมถึงการตกแต่ง
แกว้ ยาสีบนผิวแก้วด้วย ในไทยการทาเคร่อื งลงยาสีมหี ลายประเภท ภาชนะ ของใชต้ ่าง ๆ ที่เจ้านายและขุนนายต่าง
ใช้ เครื่องลงยาปรากฏอยู่ในสังคมไทยนับต้ังแต่สมัยกรุงศรีอยุธยา

แบบทดสอบกอ่ นเรียน

บทเรยี นโมดลู ชุดที่ 1 เรอื่ ง ความเป็นมายาสเี ย็นและยาสรี อ้ น

คาชี้แจง

ใหน้ กั เรยี นเลือกคาตอบที่ถกู ที่สดุ เพยี งคาตอบเดียวแล้วทาเครื่องหมาย x ลงในกระดาษคาตอบทถ่ี กู ต้อง

1. งานลงยาสโี ปร่งแสงไม่มโี ลหะรองรับยาสดี ้านหลังคน้ พบใน ศตวรรษท่เี ท่าไร

ก. ศตวรรษท่ี 14 ข. ศตวรรษท่ี 15

ค. ศตวรรษที่ 16 ง. ศตวรรษที่ 17

2. ชนชาติกรกี นาเคร่อื งยาสีเข้าสู่ยุโรปในศตวรรษท่ี 5 ได้รบั ความนิยมและมีการพัฒนาในยุคใด

ก. ยคุ จกั รพรรดิชิวไท่ ข. ยคุ ไมเซเนียน

ค. ยคุ โกธิค ง. ยุคไบเซนไทน์

3. ชาวฝร่งั เศสพฒั นาการใช้เทคนคิ การเขียนสบี นเน้ือวสั ดุอะไร

ก. แกว้ ข. โลหะ

ค. กระดาษ ง.พลาสตกิ

4. เครือ่ งลงยาสรี าชาวดีนิยมทาในสมยั รชั การทเี่ ท่าไร

ก. รชั กาลท่ี 1 ข. รัชกาลท่ี 2

ค. รัชกาลที่ 3 ง.รัชกาลที่ 4

5. เครื่องลงยาสปี รากฏอยู่ในสงั คมไทยนับตง้ั แต่สมยั ใด

ก. สมัยกรุงศรีอยธุ ยา

ข. สมัยรัตนโกสินทร์

ค. สมยั ศรีวิชัย

ง. สมยั อยุธยา

6. ใครเป็นผนู้ าเทคนิคคลอซอนเน่สฟี า้ น้เี ข้าสูย่ ุโรป

ก. ชาวญ่ีปุ่น ข. ชาวยโุ รป

ค. ชาวสวเี ดน ง. ชาวกรีท

7. ช้นิ งาน Plique-à-jour ลักษณะเด่นของชิน้ งานเป็นลักษณะแบบใด

ก. เหยยี บพืน้ ให้เปน็ ล่องลึก

ข. ก้ันขอบยาสีให้เปน็ ช่องบนผวิ หนา้ ชิ้นงาน

ค. ฉลลุ ายให้เปน็ ชอ่ งๆขนาดเลก็

ง. ถกู ทุกข้อ

8. การลงยาสีด้วยเทคนิคพกิ าจูPlique-à-jour ตอ้ งเปน็ ยาสชี นดิ ใด
ก. โปรงแสง
ข. โปรงใส
ค. ทึบแสง
ง. โปรงแสง/โปรงใส

9. เทคนิค คลอซอนเน,่ ( Cloisonné ) มลี กั ษณะผวิ กีแ่ บบ
ก. ลกั ษณะผิว 2 แบบ
ข. ลกั ษณะผวิ 3 แบบ
ค. ลักษณะผิว 4 แบบ
ง. ลกั ษณะผวิ 5 แบบ

10.เทคนคิ การลงยาสีแบบ บาสเส-ไทลล,์ ( Basse-taille )มีลกั ษณะคล้ายการทาพ้นื ผิวโลหะคล้ายเทคนิคใด
ก. งานเขียนสี ( Painted enamel )
ข. ชอมเพลเว,่ ( Champlevé)
ค. สกราฟติ โต, ( Sgrafitto )
ง. รอง-โบสส,์ ( Ronde bosse

เฉลยแบบทดสอบกอ่ นเรยี น

บทเรยี นโมดูลชุดที่ 1 เร่อื ง ความเป็นมายาสีเย็นและยาสีรอ้ น

คาชแ้ี จง

ใหน้ ักเรยี นเลือกคาตอบทถี่ ูกท่ีสดุ เพยี งคาตอบเดียวแลว้ ทาเครอื่ งหมาย x ลงในกระดาษคาตอบท่ีถกู ต้อง

1. งานลงยาสโี ปรง่ แสงไมม่ ีโลหะรองรบั ยาสดี า้ นหลังค้นพบใน ศตวรรษที่เท่าไร

ก. ศตวรรษท่ี 14 ข. ศตวรรษที่ 15

ค. ศตวรรษท่ี 16 ง. ศตวรรษที่ 17

2. ชนชาตกิ รกี นาเครือ่ งยาสเี ข้าสยู่ โุ รปในศตวรรษที่ 5 ไดร้ ับความนยิ มและมีการพัฒนาในยคุ ใด

ก. ยคุ จักรพรรดชิ วิ ไท่ ข. ยุคไมเซเนยี น

ค. ยคุ โกธิค ง. ยคุ ไบเซนไทน์

3. ชาวฝรั่งเศสพฒั นาการใช้เทคนคิ การเขียนสีบนเนื้อวสั ดุอะไร

ก. แก้ว ข. โลหะ

ค. กระดาษ ง.พลาสตกิ

4. เครือ่ งลงยาสีราชาวดนี ิยมทาในสมยั รัชการทีเ่ ท่าไร

ก. รัชกาลที่ 1 ข. รัชกาลท่ี 2

ค. รัชกาลที่ 3 ง.รชั กาลท่ี 4

5. เคร่ืองลงยาสปี รากฏอยใู่ นสงั คมไทยนับต้งั แต่สมยั ใด

ก. สมัยกรงุ ศรีอยธุ ยา

ข. สมยั รตั นโกสนิ ทร์

ค. สมยั ศรวี ชิ ยั

ง. สมยั อยุธยา

6. ใครเป็นผนู้ าเทคนิคคลอซอนเน่สฟี ้านี้เข้าสยู่ โุ รป

ก. ชาวญ่ปี ุ่น ข. ชาวยุโรป

ค. ชาวสวเี ดน ง. ชาวกรีท

7. ชน้ิ งาน Plique-à-jour ลกั ษณะเดน่ ของช้นิ งานเปน็ ลกั ษณะแบบใด

ก. เหยียบพืน้ ใหเ้ ปน็ ล่องลกึ

ข. ก้ันขอบยาสีให้เป็นช่องบนผิวหน้าช้นิ งาน

ค. ฉลลุ ายใหเ้ ปน็ ช่องๆขนาดเลก็

ง. ถูกทุกขอ้

8. การลงยาสดี ้วยเทคนคิ พกิ าจูPlique-à-jour ต้องเป็นยาสชี นิดใด
ก. โปรงแสง
ข. โปรงใส
ค. ทึบแสง
ง. โปรงแสง/โปรงใส

9. เทคนิค คลอซอนเน่, ( Cloisonné ) มลี ักษณะผวิ กแี่ บบ
ก. ลกั ษณะผวิ 2 แบบ
ข. ลักษณะผิว 3 แบบ
ค. ลกั ษณะผวิ 4 แบบ
ง. ลักษณะผิว 5 แบบ

10.เทคนิคการลงยาสีแบบ บาสเส-ไทลล์, ( Basse-taille )มีลักษณะคลา้ ยการทาพ้นื ผวิ โลหะคลา้ ยเทคนคิ ใด
ก. งานเขยี นสี ( Painted enamel )
ข. ชอมเพลเว่, ( Champlevé)
ค. สกราฟิตโต, ( Sgrafitto )
ง. รอง-โบสส,์ ( Ronde bosse

ประวตั ิศาสตร์งานลงยาสี

งานลงยาสี ถือกาเนิดมานาน สันนิษฐานว่ามีมาแต่หลายพันปีก่อนประวัติศาสตร์ เร่ิมมีหลักฐานการลงยา
แบบใช้ความรอ้ นหลอมแก้วชน้ิ แรกปรากฏจากยุคไมเซเนียน แถบไซปรัสปัจจุบัน แม้บางคนแย้งว่า งานลงยาสีใน
อียิปต์เป็นการใช้กาวซิเมนต์ การลงยาร้อน ชนชาติกรีกนาเข้าสู่ยุโรปในศตวรรษ.ที่ 5 ได้รับความนิยมและมีการ
พัฒนามากศตวรรษ.ท่ี 12-13 แถบ Rhineland ในเยอรมัน อิตาลีงานลงยาของยุโรป ใช้ในงานของสงฆ์ หรือ
เครื่องใช้ในการประกอบพิธีกรรมทางศาสนาของสงฆ์มักสัมพันธ์กับเครื่องตกแต่งโบสถ์ และงานกระจกสี เสตน
กลาส งานของฆราวาส คนท่วั ไปเริม่ มีขึน้ ใน ศตวรรษ. ท่ี 15 ทีช่ า่ งฝีมือพัฒนางานได้ละเอียดอ่อนข้ึน พบงานลง
ยาสโี ปรง่ แสงไม่มีโลหะรองรับด้านหลงั ยาสี ทที่ าไดย้ ากมาก เร่ิมใช้ยาสีโปร่งแสง และโปร่งใส ฝรั่งเศสพัฒนาการ
ใชเ้ ทคนคิ การเขียนสีบนเนื้อแกว้ ของช่างฝีมือชาวเวนสิ มาเขยี นสีลงบนโลหะ ศตวรรษ.ที่ 17 อังกฤษใช้ งานลงยาสี
ในงานภาพจาลองขนาดเล็ก กล่องโตะ๊ เคร่ืองแปง้ และกลอ่ งยานตั ถ์จากศตวรรษที่ 18 เป็นต้นมา ประเทศสวีเดน
ออสเตรยี และเยอรมนั เรม่ิ การลงยาสีบนโลหะอ่ืนเช่นเหล็ก ทาเป็นภาชนะหุงต้มในครัว การปฏิวัติอุตสาหกรรม
ทาให้งานลงยาเคลือบผิวเหล็กมีคุณภาพดีขึ้น ไม่เพียงเปลี่ยนจากการใช้งานเพื่อความสวยงามของเครื่องประดับ
หรือของใช้เล็กๆ เท่านั้น ยังมีผลิตภัณฑ์โลหะเคลือบใช้ในหลายอุตสาหกรรม เช่น อุตสาหกรรมอาหาร ก่อสร้าง
ยานยนต์ วิศวกรรม ทันตกรรม ฯลฯ เป็นต้น นอกจากน้ันยังค้นพบวิธีการลงยาสีบนโลหะ ทองแดง บรอนซ์
สแตนเลส อลูมิเนียม และโลหะผสมอนื่ ๆ รวมถึงการตกแตง่ แก้วยาสบี นผิวแก้วด้วย แม้ในต้นศตวรรษ.ท่ี 19
งานฝมี ือเครอื่ งประดับลงยาสีร้อน เสื่อมความนิยมลงจากข้ันตอนท่ีซับซ้อน ในปี ค.ศ. 1960 เทคนิคน้ีถูกรื้อฟ้ืน
ขึน้ มามีชีวิตอีกคร้งั หนึง่ บนงานเครือ่ งประดับและเคร่ืองตกแตง่ ในบา้ น สาหรับทางเอเชยี เอกสารบางแห่งกล่าวว่า
งานลงยาสีของจนี มมี าตงั้ แต่ ศตวรรษ ที่ 7 พัฒนาอย่างมากใน ศตวรรษ ที่ 14-17 หลกั ฐานงานลงยาสีลวดลายจีน
ทส่ี มบรู ณช์ ิน้ แรกพบในช่วง ศตวรรษ ท่ี 13-14 ช่วงสมัยซวนเต๋อ ใช้เทคนิคคลอซอนเน่ เป็นงานเครื่องลงยาสีฟ้า
เรียกว่า ฟ้าแห่งชิงไท่ เป็นสีฟ้าท่ีนิยมใช้ในยุคจักรพรรดิชิงใท่ และสันนิษฐานว่าชาวญี่ปุ่นเป็นผู้นาเทคนิคคลอ
ซอนเนส่ ีฟ้านี้เขา้ สู่ยุโรป ผา่ นทางเส้นทางสายไหมในราว ศตวรรษ.ที่ 13-14ไมว่ ่าประวตั ศิ าสตร์จะเล่าเรื่องเก่ียวกับ
ต้นกาเนิดอย่างไร เราไม่อาจปฏิเสธได้ว่าจากอดีตท่ีผ่านมางานลงยาสีเป็นงานของช่างช้ันครู เคร่ืองใช้และ
เครื่องประดับตกแต่งทาขึ้นเฉพาะ ต้องอาศัยความปราณีต บรรจง และฝีมือช่างที่มีความความเชี่ยวชาญ
พากเพยี รบรรจงออกแบบและสร้างงานทม่ี ีลวดลายสีสันบรรเจิด กล่าวได้ว่าเป็นเทคนิคการทางานตกแต่งผิวหน้า
โลหะ แทนการใช้หนิ สแี ละพลอยสี ท่ีนอกจากจะเพิ่มความมีคุณค่าสวยงามคงทนให้ชิ้นงานโลหะแล้ว ยังเป็นนับ
ผลงานศิลปะช้ินเอกท่ีงดงามหาสิง่ ทดั เทียมได้ยาก ตกทอดมาจนปัจจุบัน

ประวตั งิ านลงยาสีของไทย

ประวัตคิ วามเป็นมาของเคร่ืองลงยาสีนั้นการทาเครือ่ งลงยาสีมาแต่คร้ังใดไม่มีหลักฐานแน่ชัด มีผู้สันนิษฐาน
ว่า มีแหล่งกาเนิดในตะวันออกกลางและคนไทยคงได้รับอิทธิพลงานช่างน้ีมาจากชาวอาหรับและชาวเปอร์เซีย ท่ี

เดินทางเขา้ มาตดิ ต่อค้าขาย เครือ่ งลงยาปรากฏอยู่ในสังคมไทยนบั ตั้งแต่สมัยกรุงศรีอยุธยา โดยเป็นส่วนหนึ่งของเครื่องราช
บรรณาการท่ีสมเด็จพระนารายณ์มหาราชพระราชทานใหแ้ ก่พระเจ้าหลยุ สท์ ่ี ๑๔ แห่งฝรงั่ เศส

การทาเครื่องลงยาสีได้รับความนิยมมากในสมัยรัตนโกสินทร์ เห็นได้จากเคร่ืองราชูปโภคและ
ราโชปโภคท่สี รา้ งขน้ึ ในสมัยพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจฬุ าโลก รัชกาลท่ี ๑

นิยมทาด้วยเครื่องลงยาราชาวดี เช่น พระมหาพิชัยมงกุฎ ทองคาลงยาประดับเพชร พานพระขันหมาก
ใหญ่ และพระโกฏอิ ัฐิสมเด็จพระปฐมบรมชนก สมยั พระบาทสมเดจ็ พระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลท่ี ๔ พระ
เจ้าบรมวงศ์เธอกรมขุนวรจักรธรานุภาพ ทรงเป็นผู้กากับการช่างแขนงน้ี เคร่ืองราชูปโภคและราโชปโภคเครื่อง
ประกอบยศของเจ้านายและขุนนางต่างๆ ตลอดจนเครื่องประกอบสมศักดิ์ของพระภิกษุสงฆ์ เป็นเคร่ืองลงยา
ราชาวดเี สยี เปน็ สว่ นใหญ่

เครื่องลงยาสขี องไทยนัน้ ถือได้วา่ เป็นงานประณตี ศลิ ปข์ ัน้ สูง ใช้ทงั้ ฝีมือและความละเอียดประณีต ซึ่งนับวัน
งานช่างแขนงนี้เหลือช่างฝีมือดีน้อยลงไปทุกที สมควรอย่างยิ่งท่ีต้องอนุรักษ์ส่งเสริมและฟ้ืนฟู เพ่ือสืบสานงาน
ช่างศิลป์ไทยสาขานี้ใหด้ ารงคงอยูส่ ืบไป

สาระความรู้เร่อื งการลงยาสี
สาระความร้จู ากการค้นควา้ ทางเอกสาร จาก อินเตอร์เน็ต และจากการฝึกอบรม พบว่า เทคนิคการลงยาสี
เปน็ การตกแต่งผวิ ช้นิ งาน เครือ่ งประดับ ของใชท้ ที่ าด้วยโลหะ ทองคา เงิน ทองแดง ท่ีเก่าแก่ที่สุด มีท้ังลักษณะ
ลงยาเย็น ( ไม่ใช้ไฟ ) หรือลงยาร้อน ใช้ไฟให้ความร้อนสูงเผายาสี ยาสีท่ีใช้ในปัจจุบันมี 2 แบบได้แก่ ยาสีร้อน
(Vitrous Enamel ) และ ยาสีเย็น ( Cold enamel )ลงยาสี มาจากภาษาเยอรมันชั้นสูงว่า “smelzan” ภาษา
ฝรั่งเศสโบราณ ใช้ว่า “esmail”ในภาษาอิตาเลียน “smalto” ปัจจุบันภาษาฝรั่งเศสใช้ว่า“email”และ
ภาษาองั กฤษใชว้ ่า“enamel”

ยาสีผงละเอยี ดทนี่ ิยมใช้ วัดขนาดผงยาสดี ้วยการร่อนผ่านตะแกรงร่อนมาตรฐานสหรฐั อเมรกิ า มี
หนว่ ยความละเอยี ดเท่ากับ 80 เมช ( 0.0070 น้ิวหรือ 177 ไมครอน )ผงยาสีปรกตมิ ี 3 ขนาด ได้แก่ 80 เมช , 150
เมช และ 325 เมช ซ่งึ เปน็ ขนาดสาหรับงานจติ รกรรม เขยี นสี

การลงยาสรี อ้ น Vitreous Enamel
ปรกติอยู่ระหว่าง 750-850 องศา c หรือ1,382 and 1,562 °F ผงแก้วถูกหลอม ท่ีอุณหภูมิสูงกว่าจุด
หลอมเหลวของยาสี ต่ากว่าจุดหลอมเหลวของโลหะ แก้วไหลเคลือบบนผิวโลหะ จนเต็มช้ินงาน เมื่อแข็งตัวมีผิว
เรยี บเนียนเปน็ เนอื้ แก้ว หลอมชัน้ เดียวหรอื หลายช้ันได้
ปัจจุบันยาสีเคลือบมีการควบคุมความหนากับการขยายตัวให้เข้ากันได้ดี กับโลหะความคงทนถาวรทาให้
เหมาะกับการใช้งานหลายรูปแบบ ยาสีร้อนมีคุณสมบัติท่ีน่าสนใจคือ มีผิวสวยงามเรียบเนียน สีไม่ซีดด้วยรังสียูวี
ชว่ ยปอ้ งกนั ผวิ โลหะจากการกรอ่ น มีความแข็ง คงทน ตอ่ การขีดขว่ นได้ถึงระดับ 5-6โมห์สเกล ทนสารเคมี ทาความ
สะอาดงา่ ย ไม่ไหมไ้ ฟ ข้อดอ้ ยของยาสีคอื แตกง่ายกะเทาะงา่ ยเม่ือถกู กระแทก บิดหรืองอ

ใบกิจกรรมท่ี1

เรื่อง ประวัตคิ วามเป็นมาของยาสีเย็นและยาสีร้อน ช้ัน ปวช.3

วิชา การลงยาสี รหัสวชิ า 20315-2209 เวลา 2.30 ช่วั โมง

ชอื่ ......................................................สกลุ ..........................................เลขที่.......................คะแนนที่ได้........10.........

คาชีแ้ จง ใหน้ กั เรียนตอบคาถามตอ่ ไปน้ี

1.ชนชาติกรีกนาเคร่ืองยาสีเข้าสู่ยโุ รปในศตวรรษที่ 5 ไดร้ ับความนิยมและมีการพฒั นาในยุคใด
……………………………………………………………………………………………………………………..……………………………………
…………………………………………………..………………………………………………………………………………………………………

2. ชาวสวเี ดน ออสเตรีย และเยอรมัน เริ่มการลงยาสีบนโลหะอะไร
………………………………………………………………………….…………………………………………..……………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………….…………..………………

3. มคี นสันนิฐานแหลง่ กาเนิดของเคร่อื งลงยาสนี ัน้ มาจากที่ใด
………………………………………………………………………………………………….………………..………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………..……………..……….…………

4. คนไทยคงไดร้ บั อิทธพิ ลงานช่างลงยาสนี ้มี าจากอะไร
……………………………………………………………………………………………………………..……………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………...…………………………

5. ใครเปน็ ผู้นาเทคนิคคลอซอนเน่สฟี ้าน้ีเขา้ สยู่ โุ รป

…………………………………………………………………………………………………………………..……………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

ชนิดของยาสีร้อน ยาสีมีทั้งแบบมีสี ไม่มีสี โปรงใส( Transparents ) ยาสีมีความใสมากจนเห็นพ้ืนหลังของ
โลหะที่รองรับอยูช่ นิดโปรงแสง( Translucides ) ยาสมี ีความใส แสงสอ่ งผา่ นแต่ไมส่ ามารถมองทะลุถึงผิวท่ีรองรับ
ด้านหลัง ชนิด ทึบแสง ( Opaques ) ยาสีมีความมันวาวเฉพาะผิวหน้าและไม่สามารถมองทะลุเน้ือยาสีได้เลย
หรือเหลอื บสรี ุง้ ยาสมี ีอุณหภูมหิ ลอมเหลวต่างกนั เรานิยมแบง่ ออกเป็นกล่มุ ดังน้ี

ยาสีเผาไฟสูง (Hard-fusing enamels) ส่วนใหญ่เป็น แก้วใสไม่มีสี เผาท่ีอุณหภูมิ 1,500°F – 1,550°F
(816°C – 843°C)

ยาสีเผาไฟกลาง (Medium-fusing enamels) ยาสีเผาไฟกลาง สุกท่ีอุณหภูมิ 1,450°F – 1,500°F (788°C
– 816°C) กลุ่มน้ีมยี าสีใหเ้ ลอื กใช้มากทีส่ ุด ในตลาดยาสี

ยาสเี ผาไฟอ่อน (Soft-fusing enamels) สกุ ท่อี ุณหภูมิ 1,400°F – 1,450°F (760°C – 788°C)
ยาสีเผาไฟต่า (Low-fire enamels) สกุ ทอ่ี ณุ หภูมิ 950°F – 1,050°F (510°C – 566°C)
ยาสีชนิดน้ีผลติ เพื่อใชก้ ับอลมู เิ นียม เงินสเตอร์ลิง เหลก็ กลา้ ไร้สนิมหรอื เหลก็ สเตนเลสและทองเหลืองได้

ปรกตแิ ล้ว ยาสีแบง่ การใชง้ านเปน็ สองลกั ษณะ คอื ยาสีสาหรบั การลงยารองพื้นหลัง มีกาวผสมอยเู่ พอ่ื ให้
ยึดติดกบั ผวิ โลหะ เปน็ ตวั กลางระหวา่ งเนอื้ ยาเคลือบผิวหน้ากับเน้ือโลหะ ยาสีสาหรบั เคลอื บผิวหนา้ ตดิ ผิวโลหะ
โดยไมต่ ้องใชย้ าสีรองพืน้

การลงยาสีรอ้ น (Vitrous Enamel )
การลงยาสี เกดิ ขนึ้ มากอ่ น 3000 BC- 600 AD และเมื่อศตวรรษท่ี 10 ไดม้ ีการนาเทคนคิ การลงยาสีร้อนมา
ใชจ้ นถึงปจั จุบัน ยาสี เป็นแกว้ ท่หี ลอมได้ สามารถยึดตดิ กบั โลหะหลายชนดิ ไดด้ ี เชน่ ทอง เงิน บรอนซ์ และ
ทองแดง โดยหลอมละลายดว้ ยความร้อน ซึง่ จุดหลอมละลายประมาณ 700°C - 900°C องศาเซลเซยี ส
ยาสที ุกลักษณะมคี วามหลากหลาย แบ่งออกเปน็

- สขี ั้นท่ีหนึ่ง คือ สีเหลอื ง สีแดง สีนา้ เงิน
- สขี ้นั ที่สอง คอื สีผสม
- สีขนั้ สดุ ท้าย คือ สที ่ีเป็นแฟนซีหลากหลายแตแ่ ตกต่างกนั เราสามารถใช้น้าผสมเนือ้ ยาสีในกลมุ่ เดยี วกัน
เข้าด้วยกันแต่ขึ้นอยกู่ บั การทาปฏกิ ริ ยิ าทางเคมี เม่อื เราใช้ความรอ้ นหลอมละลายในเตาอบoนัน้ คอื เหตผุ ลว่าทาไม
ตอ้ งระวงั สีทผี่ สมกนั ใหม้ ีคณุ สมบัตใิ กลเ้ คียงกัน
ยาสรี อ้ น เนอ้ื ยาสมี ีลักษณะคลา้ ยแก้ว มีองคป์ ระกอบคือ ทรายซิลิก้า บอแร็กซ์ และมิเนียม สีต่างๆเกิดจาก
การผสมของออกไซดข์ องโลหะ เชน่ โคบอลท์ โครเม่ียม แมงกานสี และอนื่ ๆ เปน็ ยาสีทตี่ อ้ งใชค้ วามร้อนสูงในการ
ละลายอณุ หภูมิอยู่ระหวา่ ง 600°C -1000°C องศาเซลเซียส ท้ังน้ีการหลอมละลายทส่ี มบูรณข์ องเนื้อยาสีแต่ละสีมี
ความแตกต่างกันและสีท่ไี ดแ้ ต่ละครั้งมีโอกาสแตกต่างกนั ข้นึ อยู่กับคณุ สมบัติทางกายภาพ เพราะสารท่ีผสมอยู่ใน

เน้ือยาสีบางตัวเกิดในธรรมชาติจึงไม่สามารถควบคุมให้คงท่ีได้ แต่เทคนิคการลงยาสีร้อนเป็นที่นิยมกันอย่าง
แพรห่ ลายมีความลกั ษณะพเิ ศษคอื มสี ีสันสวยงาม มีความคงทนถาวรเทคนิคการลงยาสีร้อน

การลงยาสเี ทคนิคต่างๆ
มชี ื่อเรียกตา่ งกนั มากกวา่ 25 เทคนคิ ช่างท่ีเชี่ยวชาญผ่านประสบการณ์ทดลองหาอณุ หภมู ทิ ีถ่ ูกตอ้ งใน
การหลอมละลายยาสอี ยา่ งสมบรู ณ์ เทคนคิ การลงยาสีร้อนทน่ี ยิ มใช้ในปจั จุบัน มหี ลกั การตกแต่งชิ้นงานโลหะที่
แตกตา่ งไป เทคนคิ ท่ี ท่นี ิยมกันมดี งั น้ี

 คลอซอนเน่, ( Cloisonné ) มาจากภาษาฝร่งั เศส หมายถึง ช่องหรือคอก นาเส้นลวดโลหะกนั้
ขอบชอ่ งสีเชอ่ื มเปน็ ลวดลายบนผิวหน้าชิ้นงาน ท่ีจะลงสี และริมรอบขอบชิ้นงาน งานลงยาสีคลอซอนเน่ มีลกั ษณะ
ผวิ 3 แบบ ได้แก่ ผิวเว้า ผิวนนู และผวิ เรยี บ ตา่ งกนั เพยี งเทคนคิ การเก็บงานขนั้ สดุ ทา้ ยเปน็ เทคนิคท่เี ก่าแก่ที่สุด
ใชเ้ สน้ ลวดทองแดงชนิดกลม หรอื แบนกไ็ ด้ มคี วามสงู ไม่เกิน 1 มลิ ลิเมตร และความหนาไมเ่ กิน 1 มลิ ลเิ มตร ดัด
เป็นลวดลายตามท่อี อกแบบไว้ ตดิ ลงบนชิ้นงานโลหะทีล่ งยาสีแลว้ ด้วยกาวชนิดเข้มขน้ นาไปอบให้ความรอ้ น

คลอซอนเนผ่ ิวเวา้ : ยาสีในแต่ละชอ่ งมีผิวตรงกลางต่ากว่าลวดกน้ั ลาย

คลอซอนเนผ่ วิ นูน: ยาสีในแตล่ ะช่องนูนสงู กวา่ ขอบลวดก้นั ชอ่ ง ทาให้รู้สึกคลา้ ยงานปัน้ งานของ
ไทยและจีน ใชม้ าก

คลอซอนเน่ผิวเรียบ: เทคนิคผิวเรียบเป็นที่นิยมที่สุด เป็นเทคนิคที่นิยมใช้มากในยุโรป ตะวันออก
กลาง และเอเชียตะวันออก หลังเผายาสีใช้หินขัดให้ผิวยาสีมีระนาบเดียวกับลวดก้ันช่องลาย มีกรรมวิธีข้ัน
สุดท้าย 3 วิธีได้แก่ ผิวด้าน ขัดด้วยกระดาษทรายน้าให้พ้ืนผิวเนียนแบบซาติน เคลือบด้วยขี้ผึ้ง พบในงานยาสี
เยอรมันผิวกึ่งเงาขัดหินแล้วเจียระไนและขัดเงาด้วยผงขัดละเอียดกรรมวิธีเดียวกับการเจียระไนพลอยหลังเบ้ีย
และ ผิวมนั เงาจากการเผาชวั่ แวบ” (Flash firing) หลังขดั หินนาช้นิ งานมาเผาใหข้ นึ้ เงาอกี คร้ังอย่างเร็ว

 งานเขียนสี ( Painted enamel ) หรือ การลงยาสีแบบลีมอร์จ, ( Limoges enamel ) ช่ือลี
มอร์จเป็น ช่ือเมืองศูนยก์ ลางงานยาสีแกว้ ของยโุ รป อยุใ่ นฝรั่งเศส เช่ียวชาญงานลงยาแบบเขียนสีลงบนผิวโลหะที่
เรียบเนียน เผาเคลือบโลหะทั้งแผน่ เป็นพื้นด้วยยาสี จากนั้นใช้ยาสีละเอียดสูงขนาด 325 เมช ข้ึนไป ผสมน้ามัน
กฤษณาแล้ว เขียนบนชิ้นงานท่ลี งพน้ื ไว้แล้ว แล้วนาไปเผา คลา้ ยการวาดบนแก้วหรือดินเผา เหมือนการระบายสี
ภาพดว้ ยสนี า้ ทง้ั นต้ี ้องเผากอ่ นลงยาสชี ัน้ ใหมเ่ พิม่ ทีละชนั้ จึงนาเข้าเตาอบ อกี ครั้งหน่งึ

 กรเิ ซลล์, ( Grisaille ) ภาษาฝรั่งเศสหมายความว่าเป็นสีเทา เผาลงยาสพี ื้นหลังด้วยสีดาหรอื สนี ้า
เงิน ใชส้ ีสีขาวโปรง่ แสงความละเอยี ดสงู ขนาด 325 – 400 เมช ผสมเขา้ กับนา้ มันบางชนิด ( นา้ มนั กฤษณา )
จากนั้นใช้พ่กู ันขนละเอียดอยา่ งดีระบายยาสีเป็นชั้นบางๆ วาดลวดลายโทนสีเดยี วมติ ิของแสงเงาเกิดจากความ
หนาบางของเนื้อสี เน้อื สหี นาข้นึ แสดงถงึ แสงสวา่ งขึ้น กริเซลล์ และลีมอร์จ เปน็ ศัพท์เฉพาะของการเขียนสีบน
โลหะ

 พลคิ กาจู, ( Plique-à-jour ) ภาษาฝรั่งเศสหมายถึง เปิดสู่แสงตะวัน หรือแสงแห่งวนั เปน็ การ
ลงยาสีโปร่งใสหรือโปรง่ แสง ในชอ่ งแบบเดียวกับทท่ี าคลอซอนเน่ แตไ่ มม่ พี ้ืนรองรับดา้ นหลังของบรเิ วณทลี่ งยาสี

ทาใหแ้ สงส่องผา่ นได้ เหมอื นกับงานกระจกสี สเตนกลาส ยาสีทใี่ ชต้ อ้ งเป็นชนดิ โปร่งแสง หรือโปร่งใสเท่านน้ั เปน็
การลงยาสีบนลวดลายท่ีเกิดจากการฉลุเจาะ นาไปอบใหค้ วามร้อน ในญี่ปุ่นใช้แผ่นทองแดงรองด้านหลังแล้วใช้กรด
กดั ทองแดงออก ให้ดา้ นหลังโปรง่

 เทคนิค Flinque ( Guilloche: (gee-yoh-shay) เทคนิคขูดขีดลวดลายสม่าเสมอเป็นรูปแบบ
ซ้าๆ เช่นลายเรขาคณิต ลายน้า ลายคลื่น และอื่นๆ บนช้ินงานโลหะ ด้วยมือ หรือเคร่ืองจักร ก่อนนาไปเคลือบ
ด้วยยาสชี นดิ โปร่งแสงหรือโปรง่ ใส

 งานสเตนซิล, ( Stenciling ) เจาะช่องตามลายบนแบบกระดาษ วางแบบบนโลหะ โรยผงยาสี
ผ่านตะแกรงให้ทั่วผิวด้านหน้า ยกกระดาษลายข้ึน ยาสีติดบนผิวช้ินงาน กาจัดยาสีส่วนเกินออกก่อนนาไปเผา
หลังการเผาเน้ือยาสีมีความนูนข้นึ จากพ้ืนหลงั เล็กนอ้ ย

 รอง-โบสส์, ( Ronde bosse ) ภาษาฝรั่งเศส แปลว่าห่อหุ้มโดยรอบ เป็นการลงยาลักษณะสาม
มติ ิ บนชิ้นงานท้งั ชน้ิ หรอื บางส่วน

 สาหรบั Counter enameling, ไม่นับว่าเปน็ เทคนิคการลงยาสี แต่เป็นข้ันตอนสาคัญสาหรับงาน
ลงยาสีหลายเทคนิค เป็นการลงยาสีรองพื้นด้านหลังโลหะ ให้แผ่นโลหะอยู่ระหว่างกลางยาสี เพื่อช่วยลดการ
ขยายตัวของโลหะเม่ือโดนความร้อนและทาให้ยาสีไม่แตกร่อน หรือหากไม่ต้องการลงยาสีด้านหลัง ให้เพ่ิมความ
หนาของโลหะขนึ้ หากบริเวณที่จะลงยาสีด้วยเทคนิคแบบ Chapleve’ มีความลึก0.3 mm แผ่นเงินก็ควรมีความ
หนา 1.3 mm

ยาสีเยน็
ยาสเี ยน็ อตั ราสว่ นผสมสี 1 : 1 คอื สีผสมเรซนิ 1 ส่วน ตัวทาแขง็ 1ส่วน
มขี อ้ ดี ไมแ่ ตก สสี ดใส มีสมี าก ราคาไม่แพง ใช้ง่าย แกไ้ ข
ข้อเสยี สีเปล่ียนงา่ ย ไม่คงทน สีอ่อนแก่ไม่เทา่ กนั เปน็ รอยงา่ ย โดนความรอ้ นไมไ่ ด้
การเกบ็ รักษายาสีปิดฝาให้สนทิ ใช้ที่ผสมแล้วให้หมด เกบ็ สนี านสีหมดสภาพ

การเตรียมชิ้นงานกอ่ นลงยาสี ทาความสะอาด ลา้ งขัดชุบ ฝงั กอ่ นลงยา
ปัญหาเร่ืองฟองอากาศ แก้ปัญหาโดย ผสมให้เขา้ กันดีคนยาสี ห้ามยกไม้สงู ทาให้เกิดฟองอากาศ
มาก ใช้ไฟออ่ นไล่ฟองอากาศ
ยาสีไม่แขง็ ตัว สาเหตเุ พราะ ส่วนผสมผิด

ใบกจิ กรรมท่ี 2

เรื่อง ความหมายของเทคนคิ การลงยาสแี ละยาสีท่ีใช้บนชนิ ้ งาน ชั้น ปวช.3

วิชา การลงยาสี รหสั วิชา 20315-2209 เวลา 2.30 ชว่ั โมง

ชื่อ......................................................สกลุ ..........................................เลขที่.......................คะแนนที่ได้........10.........

คาช้แี จง ใหน้ กั เรียนใสช่ ื่อของเทคนิคชนิ้ งานตามรูปภาพตอ่ ไปนี้ใหถ้ ูกตอ้ ง

Cloisonné Chapleve’ Plique-à-jour Painted enamel

Grisaille Flinque Stenciling Ronde bosse ยาสเี ยน็

รปู ภาพ ชอื่ เทคนิค

…………………………………………………………………….

…………………………………………………………………….

…………………………………………………………………….

…………………………………………………………………….
…………………………………………………………………….
…………………………………………………………………….

แบบทดสอบหลงั เรียน

บทเรียนโมดลู ชุดที่ 1 เร่ือง ความเป็นมายาสีเย็นและยาสรี อ้ น

คาช้ีแจง

ให้นกั เรยี นเลือกคาตอบทถ่ี ูกท่ีสุดเพียงคาตอบเดยี วแลว้ ทาเครือ่ งหมาย x ลงในกระดาษคาตอบทถ่ี กู ต้อง

1. งานลงยาสโี ปร่งแสงไม่มโี ลหะรองรบั ยาสีด้านหลังคน้ พบใน ศตวรรษที่เท่าไร

ก. ศตวรรษท่ี 14 ข. ศตวรรษที่ 15

ค. ศตวรรษที่ 16 ง. ศตวรรษท่ี 17

2. ชนชาตกิ รกี นาเครอื่ งยาสเี ขา้ ส่ยู ุโรปในศตวรรษที่ 5 ไดร้ ับความนิยมและมกี ารพัฒนาในยคุ ใด

ก. ยุคจักรพรรดชิ วิ ไท่ ข. ยคุ ไมเซเนยี น

ค. ยุคโกธคิ ง. ยคุ ไบเซนไทน์

3. ชาวฝร่งั เศสพัฒนาการใช้เทคนิคการเขยี นสีบนเนื้อวัสดุอะไร

ก. แกว้ ข. โลหะ

ค. กระดาษ ง.พลาสตกิ

4. เคร่ืองลงยาสรี าชาวดีนิยมทาในสมัยรชั การท่ีเท่าไร

ก. รชั กกาลที่ 1 ข. รชั กาลท่ี 2

ค. รัชกาลที่ 3 ง.รัชกาลท่ี 4

5. เคร่ืองลงยาสปี รากฏอยู่ในสงั คมไทยนบั ตั้งแต่สมัยใด

ก. สมยั กรุงศรีอยุธยา

ข. สมัยรัตนโกสินทร์

ค. สมยั ศรวี ิชัย

ง. สมัยอยธุ ยา

6. ใครเปน็ ผ้นู าเทคนคิ คลอซอนเน่สฟี ้านเ้ี ขา้ สู่ยุโรป

ก. ชาวญ่ีปุน่ ข. ชาวยุโรป

ค. ชาวสวเี ดน ง. ชาวกรีท

7. ชิ้นงาน Plique-à-jour ลักษณะเด่นของชิ้นงานเปน็ ลกั ษณะแบบใด

ก. เหยียบพนื้ ใหเ้ ป็นลอ่ งลึก

ข. กั้นขอบยาสีใหเ้ ปน็ ช่องบนผวิ หนา้ ช้ินงาน

ค. ฉลุลายใหเ้ ป็นชอ่ งๆขนาดเลก็

ง. ถูกทกุ ข้อ
8. การลงยาสีดว้ ยเทคนิคพกิ าจูPlique-à-jour ต้องเป็นยาสีชนดิ ใด

ก. โปรงแสง ข. โปรงใส
ค. ทึบแสง ง. โปรงแสง/โปรงใส
9. เทคนิค คลอซอนเน่, ( Cloisonné ) มีลกั ษณะผวิ กีแ่ บบ
ก. ลักษณะผวิ 2 แบบ
ข. ลักษณะผิว 3 แบบ
ค. ลักษณะผวิ 4 แบบ
ง. ลกั ษณะผวิ 5 แบบ
10.เทคนิคการลงยาสแี บบ บาสเส-ไทลล์, ( Basse-taille )มีลกั ษณะคล้ายการทาพื้นผวิ โลหะคลา้ ยเทคนคิ ใด

ก. งานเขียนสี ( Painted enamel )
ข. ชอมเพลเว,่ ( Champlevé)
ค. สกราฟติ โต, ( Sgrafitto )
ง. รอง-โบสส์, ( Ronde bosse

เฉลยแบบทดสอบหลงั เรียน

บทเรียนโมดลู ชุดท่ี 1 เร่อื ง ความเปน็ มายาสเี ยน็ และยาสีร้อน

คาชีแ้ จง

ให้นกั เรยี นเลือกคาตอบท่ีถูกที่สุดเพียงคาตอบเดยี วแลว้ ทาเครือ่ งหมาย x ลงในกระดาษคาตอบที่ถกู ต้อง

1. งานลงยาสโี ปรง่ แสงไมม่ โี ลหะรองรับยาสดี า้ นหลงั ค้นพบใน ศตวรรษทเี่ ท่าไร

ก. ศตวรรษท่ี 14 ข. ศตวรรษท่ี 15

ค. ศตวรรษที่ 16 ง. ศตวรรษท่ี 17

2. ชนชาติกรีกนาเครอ่ื งยาสีเข้าสยู่ โุ รปในศตวรรษท่ี 5 ไดร้ บั ความนิยมและมกี ารพฒั นาในยุคใด

ก. ยคุ จกั รพรรดิชิวไท่ ข. ยคุ ไมเซเนยี น

ค. ยคุ โกธคิ ง. ยุคไบเซนไทน์

3. ชาวฝร่ังเศสพัฒนาการใช้เทคนิคการเขียนสีบนเน้ือวสั ดุอะไร

ก. แก้ว ข. โลหะ

ค. กระดาษ ง.พลาสติก

4. เครือ่ งลงยาสรี าชาวดีนยิ มทาในสมยั รชั การท่เี ท่าไร

ก. รัชกกาลท่ี 1 ข. รชั กาลที่ 2

ค. รัชกาลที่ 3 ง.รัชกาลที่ 4

5. เคร่ืองลงยาสปี รากฏอยู่ในสงั คมไทยนับต้งั แต่สมัยใด

ก. สมยั กรุงศรีอยธุ ยา

ก. สมยั รัตนโกสนิ ทร์

ข. สมยั ศรวี ิชัย

ค. สมยั อยธุ ยา

6. ใครเป็นผู้นาเทคนิคคลอซอนเน่สีฟ้านีเ้ ขา้ สู่ยุโรป

ก. ชาวญ่ปี ุน่ ข. ชาวยุโรป

ค. ชาวสวีเดน ง. ชาวกรีท

7. ชิ้นงาน Plique-à-jour ลักษณะเด่นของช้ินงานเปน็ ลกั ษณะแบบใด

ก. เหยียบพ้ืนให้เป็นล่องลกึ

ข. กน้ั ขอบยาสใี หเ้ ป็นชอ่ งบนผวิ หนา้ ช้ินงาน

ค. ฉลุลายใหเ้ ปน็ ช่องๆขนาดเล็ก

ง. ถูกทกุ ข้อ

8. การลงยาสีด้วยเทคนิคพกิ าจูPlique-à-jour ต้องเป็นยาสีชนิดใด
ก. โปรงแสง
ข. โปรงใส
ค. ทึบแสง
ง. โปรงแสง/โปรงใส

9. เทคนคิ คลอซอนเน่, ( Cloisonné ) มลี ักษณะผวิ กี่แบบ
ก. ลักษณะผวิ 2 แบบ
ข. ลักษณะผวิ 3 แบบ
ค. ลักษณะผวิ 4 แบบ
ง. ลักษณะผิว 5 แบบ

10.เทคนิคการลงยาสีแบบ บาสเส-ไทลล์, ( Basse-taille )มีลักษณะคลา้ ยการทาพ้นื ผิวโลหะคลา้ ยเทคนิคใด
ก. งานเขียนสี ( Painted enamel )
ข. ชอมเพลเว่, ( Champlevé)
ค. สกราฟิตโต, ( Sgrafitto )
ง. รอง-โบสส์, ( Ronde bosse

เฉลยแนวทางการตอบใบกิจกรรมท่ี1

เร่อื ง ประวตั คิ วามเปน็ มาของยาสีเยน็ และยาสรี ้อน ชัน้ ปวช.3

วิชา การลงยาสี รหัสวชิ า 20315-2209 เวลา 2.30 ชว่ั โมง

ชอื่ ......................................................สกลุ ..........................................เลขท่.ี ......................คะแนนที่ได้........10.........

คาชแ้ี จง ใหน้ ักเรียนตอบคาถามต่อไปนี้

1.ชนชาติกรีกนาเครอื่ งยาสเี ข้าสยู่ โุ รปในศตวรรษท่ี 5 ได้รบั ความนิยมและมกี ารพัฒนาในยคุ ใด
…………………ยคุ ไบเซนไทน์………….………………………………………………………………………………………………………

2. ชาวสวเี ดน ออสเตรีย และเยอรมัน เริม่ การลงยาสบี นโลหะอะไร
……………………เหลก็ ………………………………………………………………………………………………….…………..………………

3. มคี นสันนฐิ านแหล่งกาเนดิ ของเครือ่ งลงยาสีน้ันมาจากท่ีใด
………………………ทศิ ตะวนั ออกกลาง……………………………………………………………………..……………..……….…………

4. คนไทยคงได้รับอทิ ธิพลงานช่างลงยาสนี มี้ าจากอะไร

……………ชาวอาหรับและชาวเปอร์เซยี …………………………………………………………………………...…………………………

5. ใครเปน็ ผู้นาเทคนคิ คลอซอนเน่สฟี ้านเ้ี ข้าส่ยู โุ รป

……………ชาวญีป่ ุน่ ……………………….……………………………………………………………………………………………………

เฉลยแนวทางการตอบใบกจิ กรรมท่ี 2

เร่ือง ความหมายของเทคนคิ การลงยาสีและยาสีที่ใช้บนชนิ ้ งาน ช้นั ปวช.3

วชิ า การลงยาสี รหัสวิชา 20315-2209 เวลา 2.30 ชวั่ โมง

ชอื่ ......................................................สกลุ ..........................................เลขท่.ี ......................คะแนนทไี่ ด.้ .......10.........

คาชีแ้ จง ให้นักเรยี นใส่ชอื่ ของเทคนคิ ชิ้นงานตามรูปภาพตอ่ ไปนใี้ ห้ถูกต้อง

Cloisonné Chapleve’ Plique-à-jour Painted enamel Basse-taille

Grisaille Flinque Stenciling Ronde bosse ยาสเี ยน็

รูปภาพ ช่ือเทคนคิ

Cloisonné

Basse-taille

Plique-à-jour

Chapleve’
ยาสีเยน็
Painted enamel


Click to View FlipBook Version