The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

รายงานประจำปี 2566 สำนักงานสหกรณ์จังหวัดลพบุรี

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search

รายงานประจำปี 2566 สำนักงานสหกรณ์จังหวัดลพบุรี

รายงานประจำปี 2566 สำนักงานสหกรณ์จังหวัดลพบุรี

สำนักงานสหกรณ์จังหวัดลพบุรี http://web.cpd.go.th/lopburi ๓๓ WE ARE HOPE เรา คือ ความหวังของเกษตรกร ภาพประกอบ การตรวจการสหกรณ์ โดยทีมตรวจการสหกรณ์ เมื ่อวันที ่ 1 พฤศจิกายน 2565 นางสาวพิมพ์ปวีณ์ วงษ์น้อย ผู้อำนวยการ กลุ่มส่งเสริมสหกรณ์ 1 และทีมตรวจการสหกรณ์ แนะนำส่งเสริมและตรวจการสหกรณ์ ณ สหกรณ์ ออมทรัพย์หน่วยบัญชาการสงครามพิเศษ จำกัด ภาพประกอบ การตรวจการสหกรณ์ โดยทีมตรวจการสหกรณ์ เมื ่อวันที่ 17 มกราคม 2566 นางสาวพิมพ์ปวีณ์วงษ์น้อย ผู้อำนวยการ กลุ่มส่งเสริมสหกรณ์ 1 และทีมตรวจการสหกรณ์แนะนำส่งเสริมและตรวจการสหกรณ์ณ สหกรณ์ ออมทรัพย์กองพลทหารปืนใหญ่ จำกัด


๓๔ รายงานผลการดำเนินการประจำปี ๒๕๖๖ WE ARE HOPE เรา คือ ความหวังของเกษตรกร ภาพประกอบ การตรวจการสหกรณ์ โดยทีมตรวจการสหกรณ์ เมื ่อวันที ่ 30 สิงหาคม 2566 นางจารุวรรรณ พุ ่มพฤกษ์ผู้อำนวยการ กลุ ่มส ่งเสริมสหกรณ์ 3 และทีมตรวจการสหกรณ์แนะนำส ่งเสริมและตรวจการสหกรณ์ ณ สหกรณ์ ออมทรัพย์กองพลทหารปืนใหญ่ จำกัด 2.2) การติดตามประเมินผลความก้าวหน้าการแก้ไขข้อบกพร่องของสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร 1. วัตถุประสงค์ของงาน/โครงการ เพื ่อติดตามการดำเนินการแก้ไขข้อบกพร ่องของสหกรณ์และกล ุ ่มเกษตรกร ตามคำสั่งนายทะเบียนสหกรณ์อย่างถูกต้อง 2. กลุ่มเป้าหมาย/พื้นที่เป้าหมายดำเนินการ สหกรณ์/กลุ ่มเกษตรกร ที ่มีข้อบกพร ่อง ในความรับผิดชอบของสำนักงานสหกรณ์ จังหวัดลพบุรีสหกรณ์9 แห่ง และกลุ่มเกษตรกร 1 แห่ง 3. งบประมาณที่ได้รับในปีงบประมาณ พ.ศ.2566 - ไม่มี – 4. ผลการดำเนินงาน สำนักงานสหกรณ์จังหวัดลพบุรีได้ดำเนินกิจกรรม/งานที ่ดำเนินการตามติดตาม ประเมินผลความก้าวหน้าการแก้ไขข้อบกพร่องของสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร ดังนี้ 1. จัดทำแผนปฏิบัติงานการติดตามการแก้ไขข้อบกพร่อง ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2566 2. การติดตามการแก้ไขข้อบกพร ่องของสหกรณ์และรายงานผลในระบบตรวจการสหกรณ์ ต่อนายทะเบียนสหกรณ์จำนวน 9 แห่ง ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่วันที่ 1 ตุลาคม 2565 ถึงวันที่ 30 กันยายน 2566


สำนักงานสหกรณ์จังหวัดลพบุรี http://web.cpd.go.th/lopburi ๓๕ WE ARE HOPE เรา คือ ความหวังของเกษตรกร 5. ผลลัพธ์ รายงานผลในระบบตรวจการสหกรณ์ต่อนายทะเบียนสหกรณ์จำนวน 9 แห่ง 6. ปัญหา/อุปสรรคในการดำเนินงานโครงการ ข้อบกพร่อง หรือความผิดปกติของการดำเนินงานมีความซับซ้อน การติดตามประเมินผล ก า รแก้ไขข้อบกพ ร ่องของสหก รณ ์บ างแห ่งไม ่มีคว ามเคลื ่อนไหว เนื ่องจ ากสห ก รณ์ ยังไม่สามารถแก้ไขข้อบกพร่องได้ตามที่นายทะเบียนสหกรณ์มีคำสั่งให้ปฏิบัติตาม ภาพประกอบ การติดตามประเมินผลความก้าวหน้า การแก้ไขข้อบกพร่องของสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร นางรำไพ โพธิดอกไม้ ผู้อำนวยการกลุ ่มจัดตั้งและส ่งเสริมสหกรณ์ และ นางจารุวรรรณ พุ่มพฤกษ์ผู้อำนวยการกลุ่มส่งเสริมสหกรณ์ 3 และทีมตรวจการสหกรณ์ เข้าติดตาม ประเมินผลความก้าวหน้าการแก้ไขข้อบกพร่องของสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร 2.3) การจัดประชุมคณะทำงานระดับจังหวัดแก้ไขปัญหาการดำเนินงานของสหกรณ์ และกลุ่มเกษตรกรที่มีข้อบกพร่อง 1. วัตถุประสงค์ของงาน/โครงการ 1. เพื ่อประมวลข้อบกพร ่องและข้อร้องเรียนต ่าง ๆ ของสหกรณ์และกลุ ่มเกษตรกร ที่อยู่ในความรับผิดชอบของจังหวัด 2. เพื่อกำหนดแผนงานและแนวทางในการดำเนินการแก้ไขข้อบกพร่อง 3. เพื่อตรวจสอบ ดูแล และติดตามให้เจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบดำเนินงานตามแผนงาน และแนวทางภายในระยะเวลาที่กำหนด 2. กลุ่มเป้าหมาย/พื้นที่เป้าหมายดำเนินการ 1. คณะทำงานระดับจังหวัดแก้ไขปัญหาในการดำเนินงานของสหกรณ์และ กลุ่มเกษตรกร มีข้อบกพร่อง จำนวน 15 คน 2. ผู้ที่เกี่ยวข้อง จำนวน 3 คน


๓๖ รายงานผลการดำเนินการประจำปี ๒๕๖๖ WE ARE HOPE เรา คือ ความหวังของเกษตรกร 3. งบประมาณที่ได้รับในปีงบประมาณ พ.ศ.2566 หน่วย : บาท ประเภทรายจ่าย งบประมาณที่ได้รับ ผลเบิกจ่าย ร้อยละ งบดำเนินงาน 11,400 11,400 100 4. ผลการดำเนินงาน ดำเนินการจัดประชุมคณะทำงานระดับจังหวัดแก้ไขปัญหาในการดำเนินงาน ของสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรที่มีข้อบกพร่อง (จกบ.) จำนวน 4 ครั้ง ดังนี้ ครั้งที่ 1 เมื่อวันที่ 17 พฤศจิกายน 2565 ณ ห้องประชุมสำนักงานสหกรณ์จังหวัดลพบุรี ครั้งที่ 2 เมื่อวันที่ 9 กุมภาพันธ์ 2566 ณ ห้องประชุมสำนักงานสหกรณ์จังหวัดลพบุรี ครั้งที่ 3 เมื่อวันที่ 23 พฤษภาคม 2566 ณ ห้องประชุมสำนักงานสหกรณ์จังหวัดลพบุรี ครั้งที่ 4 เมื่อวันที่ 10 สิงหาคม 2566 ณ ห้องประชุมสำนักงานสหกรณ์จังหวัดลพบุรี กำหนดแผนงานการแก้ไขข้อบกพร ่อง ดำเนินการตามแผนงานและวิธีการที่กำหนด ติดตามประเมินผลความก้าวหน้าการแก้ไขข้อบกพร่องและรายงานผลผ่านระบบรายงานทาง Web site ของกรมส่งเสริมสหกรณ์ ภายในวันที่ 5 ของทุกเดือน 5. ผลลัพธ์ ผลลัพธ์เชิงปริมาณ ข้อบกพร่องสหกรณ์ ณ วันที่ 1 ตุลาคม 2565 มีจำนวน 9 แห่ง จำนวนเงินข้อบกพร่อง 4,737,007.11 บาท ในระหว่างปีมีสหกรณ์แก้ไขข้อบกพร่องเสร็จสิ้น จำนวน 3 แห่ง คือ สหกรณ์ การเกษตรโคกสำโรง จำกัด, สหกรณ์ร้านค้าบี.ฟู้ดส์ ลพบุรี จำกัด และสหกรณ์ออมทรัพย์สาธารณสุขลพบุรี จำกัด, และสหกรณ์ที่มีข้อบกพร่องเคลื่อนไหวลดลง จำนวน 2 แห่ง คือ สหกรณ์เครดิตยูเนี่ยนบ้านพรหมมาสตร์ จำกัด และสหกรณ์การเกษตรเพื ่อการตลาดลูกค้า ธ.ก.ส.ลพบุรี จำกัด จำนวนเงินข้อบกพร ่องลดลงทั้งสิ้น 1,738,335.97 บาท รายละเอียดตามตารางเปรียบเทียบข้อบกพร่อง ณ วันที่ 1 ตุลาคม 2565 และ ข้อบกพร่อง ณ วันที่ 30 กันยายน 2566 ดังนี้ ที่ ชื่อสหกรณ์ ข้อบกพร่อง ณ 1 ต.ค.65 (บาท) ข้อบกพร่อง ณ 30 ก.ย.66 (บาท) ข้อบกพร่อง ลดลง (บาท) 1 สหกรณ์การเกษตรโคกสำโรง จำกัด 55,152.00 - 55,152.00 2 สหกรณ์การเกษตรหนองม่วง จำกัด 773,548.31 773,548.31 - 4 สหกรณ์การเกษตรเพื่อการตลาดลูกค้า ธ.ก.ส. ลพบุรี จำกัด 231,000.00 206,445.00 24,555.00 6 สหกรณ์เครดิตยูเนี่ยนบ้านพรหมมาสตร์ จำกัด 120,991.79 114,991.79 6,000.00 7 สหกรณ์เคหสถานบ้านมั่นคงเมืองสระโบสถ์ จำกัด 126,999.65 119,365.65 7,634.00 8 สหกรณ์ร้านค้า บี.ฟู้ดส์ ลพบุรี จำกัด 19,712.34 - 19,712.34 9 สหกรณ์การเกษตรลำสนธิ จำกัด 294,862.00 294,862.00 - 10 สหกรณ์การเกษตรบ้านหมี่ จำกัด 1,489,458.3 9 1,489,458.3 9 - 12 สหกรณ์ออมทรัพย์สาธารณสุขลพบุรี จำกัด 1,625,282.6 3 - 1,625,282.6 3 รวม 4,737,007.1 1 2,998,671.1 4 1,738,335.9 7


สำนักงานสหกรณ์จังหวัดลพบุรี http://web.cpd.go.th/lopburi ๓๗ WE ARE HOPE เรา คือ ความหวังของเกษตรกร ข้อบกพร ่องกลุ ่มเกษตรกร ณ วันที่ 1 ตุลาคม 2565 มีจำนวน 2 แห ่ง มีข้อบกพร ่อง จำนวนเงิน 70,598.70 บาท ในระหว่างปีมีกลุ่มเกษตรกรแก้ไขข้อบกพร่องเสร็จสิ้น จำนวน 1 แห่ง คือ กลุ่มเกษตรกรทำไร่ลำนารายณ์จำนวนเงินข้อบกพร่องลดลง 12,010.07 บาท รายละเอียดตามตาราง เปรียบเทียบข้อบกพร่อง ณ วันที่ 1 ตุลาคม 2565 และข้อบกพร่อง ณ วันที่ 30 กันยายน 2566 ดังนี้ ที่ ชื่อสหกรณ์ ข้อบกพร่อง ณ 1 ตุลาคม 2565 (บาท) ข้อบกพร่อง ณ 30 กันยายน 2566 (บาท) ข้อบกพร่อง ลดลง (บาท) 1 กลุ่มเกษตรกรทำนาท้ายตลาด 65,593.63 58,588.63 7,005.00 2 กลุ่มเกษตรกรทำไร่ลำนารายณ์ 5,005.07 - 5,005.07 รวม 70,598.70 58,588.63 12,010.07 ผลลัพธ์เชิงคุณภาพ สหกรณ์ที่มีข้อบกพร่องอยู่เดิม สามารถจัดทำแผนการติดตามผลแก้ไขข้อบกพร่อง และ ดำเนินการแก้ไขข้อบกพร่องอย่างต่อเนื่อง ทำให้ข้อบกพร่องลดลง บุคลากรและผู้ที่เกี่ยวข้องสามารถ ติดตาม ตรวจสอบ ผลการแก้ไขข้อบกพร ่อง และนำข้อมูลมาใช้ในการกำหนดแนวทางป้องกัน เฝ้าระวังการเกิดข้อบกพร่อง ของสหกรณ์ที่อาจเกิดขึ้น 6. ปัญหา/อุปสรรคในการดำเนินงานโครงการ สหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรที่มีข้อบกพร่องบางแห่ง ไม่ให้ความสำคัญในการติดตามผู้กระทำ ความผิด เพื่อให้ความเสียหายได้รับการชดใช้หรือแก้ไขปัญหาข้อบกพร่องให้เสร็จสิ้น หากสหกรณ์/ กล ุ ่มเกษตรกร ให้ความสำคัญในการติดตามทรัพย์สินของผู้กระทำความผิดอย ่างต ่อเนื ่อง จะเป็นการเพิ่มโอกาสให้ผู้กระทำความผิดนำเงินมาชดใช้ข้อบกพร่องได้เพิ่มขึ้น 7. ข้อเสนอแนะ/แนวทางแก้ไขปัญหา แนะนำให้สหกรณ์/กลุ ่มเกษตรกร กำหนดวาระติดตามในที ่ประชุมคณะกรรมการ ดำเนินการสหกรณ์


๓๘ รายงานผลการดำเนินการประจำปี ๒๕๖๖ WE ARE HOPE เรา คือ ความหวังของเกษตรกร ภาพประกอบ การประชุมคณะทำงานระดับจังหวัดแก้ไขปัญหา ในการดำเนินงานของสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรที่มีข้อบกพร่อง ครั้งที่ 1 เมื่อวันศุกร์ที่ 17 พฤศจิกายน 2566 นางพรสวรรค์ เริงมิตร สหกรณ์จังหวัดลพบุรี เป็นประธานในการประชุมคณะทำงานระดับจังหวัดแก้ไขปัญหาในการดำเนินงานของสหกรณ์และ กลุ่มเกษตรกรที่มีข้อบกพร่อง ครั้งที่ 1 ณ ห้องประชุมสำนักงานสหกรณ์จังหวัดลพบุรี ภาพประกอบ การประชุมคณะทำงานระดับจังหวัด แก้ไขปัญหาในการดำเนินงานของสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรที่มีข้อบกพร่อง ครั้งที่ 2 เมื่อวันพฤหัสบดีที่ 9 กุมภาพันธ์2566 นางพรสวรรค์เริงมิตร สหกรณ์จังหวัดลพบุรี เป็นประธานในการประชุมคณะทำงานระดับจังหวัดแก้ไขปัญหาในการดำเนินงานของสหกรณ์และกลุ่ม เกษตรกรที่มีข้อบกพร่อง ครั้งที่ 2 ณ ห้องประชุมสำนักงานสหกรณ์จังหวัดลพบุรี


สำนักงานสหกรณ์จังหวัดลพบุรี http://web.cpd.go.th/lopburi ๓๙ WE ARE HOPE เรา คือ ความหวังของเกษตรกร ภาพประกอบ การประชุมคณะทำงานระดับจังหวัด แก้ไขปัญหาในการดำเนินงานของสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรที่มีข้อบกพร่อง ครั้งที่ 3 เมื ่อวันอังคารที่ 23 พฤษภาคม 2566 นางอภันตรีเดชศิริ รักษาการสหกรณ์ จังหวัดลพบุรีเป็นประธานในการประชุมคณะทำงานระดับจังหวัดแก้ไขปัญหาในการดำเนินงานของ สหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรที่มีข้อบกพร่อง ครั้งที่ 3 ณ ห้องประชุมสำนักงานสหกรณ์จังหวัดลพบุรี


๔๐ รายงานผลการดำเนินการประจำปี ๒๕๖๖ WE ARE HOPE เรา คือ ความหวังของเกษตรกร ภาพประกอบ การประชุมคณะทำงานระดับจังหวัด แก้ไขปัญหาในการดำเนินงานของสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรที่มีข้อบกพร่อง ครั้งที่ 4 เมื่อวันพฤหัสบดีที่ 10 สิงหาคม 2566 นางพรสวรรค์เริงมิตร สหกรณ์จังหวัดลพบุรี เป็นประธานในการประชุมคณะทำงานระดับจังหวัดแก้ไขปัญหาในการดำเนินงานของสหกรณ์และ กลุ่มเกษตรกรที่มีข้อบกพร่อง ครั้งที่ 4 ณ ห้องประชุมสำนักงานสหกรณ์จังหวัดลพบุรี


สำนักงานสหกรณ์จังหวัดลพบุรี http://web.cpd.go.th/lopburi ๔๑ WE ARE HOPE เรา คือ ความหวังของเกษตรกร 2.4) การชำระบัญชีสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร 1. วัตถุประสงค์ของงาน/โครงการ เพื ่อสะสางกิจการงานทุกเรื ่องของสหกรณ์ที ่เลิกให้สำเร็จเรียบร้อยและก ่อให้ เกิดความเที่ยงธรรมแก่บุคคลทุกฝ่ายที่เกี่ยวข้องกับสหกรณ์ที่เลิกกิจการ 2. กลุ่มเป้าหมาย/พื้นที่เป้าหมายดำเนินการ สหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรที่อยู่ระหว่างการชำระบัญชี(ไม่นับรวมสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร ที่อยู่ระหว่างการดำเนินคดี) จำนวน ๑๑ แห่ง ดังนี้ ที่ สหกรณ์ ที่ กลุ่มเกษตรกร ๑ ร้านสหกรณ์ศูนย์สงครามพิเศษ จำกัด ๑ กลุ่มเกษตรกรทำนาโก่งธนู ๒ ร้านสหกรณ์วิทยาลัยเทคนิคลพบุรี จำกัด ๒ กลุ่มเกษตรกรทำนานิยมชัย ๓ สหกรณ์บริการเมืองละโว้ จำกัด ๓ กลุ่มเกษตรกรทำนาบางขันหมาก ๔ ชุมนุมสหกรณ์แปรรูปนมโคไทย จำกัด ๔ กลุ่มเกษตรกรทำไร่ดงดินแดง ๕ สหกรณ์การเกษตรปฏิรูปที่ดินพัฒนานิคมสี่ จำกัด ๖ สหกรณ์โคนมชัยบาดาล จำกัด 3. งบประมาณที่ได้รับในปีงบประมาณ พ.ศ.2566 หน่วย : บาท ประเภทรายจ่าย งบประมาณที่ได้รับ ผลเบิกจ่าย ร้อยละ งบดำเนินงาน 8,000 8,000 100 4. ผลการดำเนินงาน สหกรณ์/กล ุ ่มเกษตรกรที ่สามารถถอนชื ่อได้ในปีงบประมาณ พ.ศ.๒๕๖๖ สำนักงานสหกรณ์จังหวัดลพบุรีสามารถดำเนินการถอนชื่อสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรในปีงบประมาณ พ.ศ.256๖ จำนวน ๔ แห่ง ดังนี้ 1. สหกรณ์บริการเมืองละโว้จำกัด วันที่ถอนชื่อ 1๗ กุมภาพันธ์256๖ 2. กลุ่มเกษตรกรทำนาทุ่งท่าช้าง จำกัด วันที่ถอนชื่อ ๒๓ มีนาคม 256๖ ๓. กลุ่มเกษตรกรทำนาหนองเต่า จำกัด วันที่ถอนชื่อ ๒๕ กรกฎาคม ๒๕๖๖ ๔. กลุ่มเกษตรกรทำนาบางขันหมาก จำกัด วันที่ถอนชื่อ ๒๘ สิงหาคม ๒๕๖๖ รายงานความเคลื่อนไหวผลการชำระบัญชีทุก ๖ เดือน ผู้ชำระบัญชีจัดทำ แบบรายงานตามแบบที ่นายทะเบียนกำหนด โดยให้ผู้ชำระบัญชีเสนอรายงานต ่อนายทะเบียน ทุก ๖ เดือน 5. ผลลัพธ์ สหกรณ์/กล ุ ่มเกษตรกรที ่สามารถถอนชื ่อได้ในปีงบประมาณ พ.ศ.๒๕๖6 สำนักงานสหกรณ์จังหวัดลพบุรีสามารถดำเนินการถอนชื่อสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรในปีงบประมาณ พ.ศ.256๖ จำนวน ๔ แห่ง


๔๒ รายงานผลการดำเนินการประจำปี ๒๕๖๖ WE ARE HOPE เรา คือ ความหวังของเกษตรกร 6. ปัญหา/อุปสรรคในการดำเนินงาน 1. สหกรณ์ที่การดำเนินการชำระบัญชี ที่อยู่ในขั้นที่ 6 ดำเนินการจัดการทรัพย์สินและ หนี้สิน (ดำเนินคดี) ผู้ชำระบัญชีต้องรอกระบวนการ พิจารณาคดีของศาล จึงจะดำเนินการต่อได้ 1. ผู้ชำระบัญชีที ่ได้รับแต ่งตั้งจากบุคคลภายนอก ทำให้เกิดอุปสรรคในการติดต่อ ประสานงานการดำเนินการชำระบัญชี สำหรับในปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 สำนักงานสหกรณ์จังหวัดลพบุรีไม่มีกิจกรรมเกี่ยวกับ การออกหนังสือรับรองการทำประโยชน์ที่ดินพื้นที่นิคมสหกรณ์ 1. วัตถุประสงค์ของงาน/โครงการ 1. เพื่อรวบรวมข้อมูลของสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร นำมาจัดมาตรฐานตามหลักเกณฑ์ ที่กำหนด โดยแบ่งเป็นผ่านมาตรฐาน และไม่ผ่านมาตรฐาน 2. เพื ่อนำผลการจัดมาตรฐานสหกรณ์และกลุ ่มเกษตรกร ไปใช้เป็นข้อมูลพื้นฐาน ในการส่งเสริมและพัฒนาสหกรณ์ต่อไป 2. กลุ่มเป้าหมาย/พื้นที่เป้าหมายดำเนินการ 1. สหกรณ์ทุกประเภท ยกเว้นสหกรณ์ที่อยู่ในเงื่อนไขข้อใดข้อหนึ่ง ดังนี้ - สหกรณ์ที่ตั้งใหม่ยังไม่ได้ดำเนินการ หรือ ดำเนินการแต่จัดตั้งไม่ครบ 2 ปี - สหกรณ์ที ่หยุดดำเนินธุรกิจ หรือ ไม ่ดำเนินธุรกิจ หรือสหกรณ์อยู ่ระหว ่าง การตัดสินใจที่จะปรับปรุงกิจการ หรือหยุดเพื่อเตรียม ขอเลิกสหกรณ์ในปีถัดไป - สหกรณ์ที่เลิกหรืออยู่ระหว่างชำระบัญชีสหกรณ์ที่นำมาจัดมาตรฐาน จำนวน 68 แห่ง 2. กลุ่มเกษตรกรทุกประเภท ยกเว้นกลุ่มเกษตรกรที่อยู่ในเงื่อนไขข้อใดข้อหนึ่ง ดังนี้ - กลุ่มเกษตรกรที่จัดตั้งใหม่ไม่เกิน 1 ปี - กลุ่มเกษตรกรที่หยุดดำเนินงาน - กลุ ่มเกษตรกรที ่เลิก อยู ่ระหว ่างชำระบัญชีหรือกลุ ่มเกษตรกรที ่ล้มละลายโดยศาลสั่ง กลุ่มเกษตรกรที่นำมาจัดมาตรฐาน จำนวน 89 แห่ง 3. งบประมาณที่ได้รับในปีงบประมาณ พ.ศ.2566 - ไม่มี – 4. ผลการดำเนินงาน ตัวชี้วัด : สหกรณ์ที ่นำมาจัดเกณฑ์มาตรฐานของกรมส ่งเสริมสหกรณ์ผ ่านมาตรฐาน ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 ผล : สหกรณ์ผ่านมาตรฐาน ร้อยละ 51.47 ตัวชี้วัด : กล ุ ่มเกษตรกรที ่นำมาจัดเกณฑ์มาตรฐานของกรมส ่งเสริมสหกรณ์ ผ่านมาตรฐาน ไม่น้อยกว่าร้อยละ 81 ผล : กลุ่มเกษตรกรผ่านมาตรฐาน ร้อยละ 95.50 3) งานออกหนังสือรับรองการทำประโยชน์ที่ดินพื้นที่นิคมสหกรณ์ 4) งานส่งเสริมสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรให้ผ่านเกณฑ์มาตรฐานของกรมส่งเสริมสหกรณ์


สำนักงานสหกรณ์จังหวัดลพบุรี http://web.cpd.go.th/lopburi ๔๓ WE ARE HOPE เรา คือ ความหวังของเกษตรกร 5. ผลลัพธ์ ผลลัพธ์เชิงปริมาณ สหกรณ์ ที่ ประเภท จำนวน สหกรณ์ที่ สำรวจ (แห่ง) ไม่นำมาจัดมาตรฐาน (แห่ง) นำมาจัด มาตรฐาน (แห่ง) ผลการจัดมาตรฐาน (แห่ง) ไม่ครบ 2 ปี หยุด ชำระ บัญชี ผ่าน ไม่ผ่าน 1 สหกรณ์การเกษตร 38 - - 3 35 12 23 2 สหกรณ์ประมง - - - - - - - 3 สหกรณ์นิคม 3 - - - 3 2 1 4 สหกรณ์ออมทรัพย์ 17 - - - 17 17 - 5 สหกรณ์ร้านค้า 5 - - 2 3 2 1 6 สหกรณ์บริการ 8 - - - 8 3 5 7 สหกรณ์เครดิตยูเนี่ยน 2 - - - 2 2 - รวม 73 - - 5 68 38 30 กลุ่มเกษตรกร ที่ ประเภท จำนวน ทั้งหมด นำมาจัด มาตรฐาน ผ่านมาตรฐาน (กลุ่ม) ต่ำกว่า มาตรฐาน หมายเหตุ รักษา ผลักดัน (กลุ่ม) (กลุ่ม) มาตรฐาน เดิม ให้ผ่าน มาตรฐาน (กลุ่ม) 1 กลุ่มเกษตรกรทำนา 48 42 40 0 2 2 กลุ่มเกษตรกรทำสวน 3 3 3 0 0 3 กลุ่มเกษตรกรทำไร่ 46 38 35 1 2 4 กลุ่มเกษตรกรเลี้ยงสัตว์ 6 6 5 1 0 รวม 103 89 83 2 4 ผลลัพธ์เชิงปริมาณ 1.ทำให้ทราบถึงสถานะ และผลการดำเนินงานของสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร 2. สามารถระบุถึงสาเหตุที ่สหกรณ์หรือกลุ ่มเกษตรกรไม ่ผ ่านมาตรฐานในภาพรวม หรือไม่ผ่านมาตรฐานข้อใดข้อหนึ่งได้ 3. สามารถนำผลการจัดมาตรฐานสหกรณ์หรือกลุ ่มเกษตรกรเป็นข้อมูลประกอบ การคัดเลือกสหกรณ์หรือกลุ่มเกษตรกรเพื่อร่วมแผนงาน/ โครงการอย่างเหมาะสมกับสถานภาพ 6. ปัญหา/อุปสรรคในการดำเนินงานโครงการ - ไม่มี – 7. ข้อเสนอแนะ/แนวทางแก้ไขปัญหา - ไม่มี –


๔๔ รายงานผลการดำเนินการประจำปี ๒๕๖๖ WE ARE HOPE เรา คือ ความหวังของเกษตรกร 1. วัตถุประสงค์ของงาน/โครงการ 1. พิจารณาคัดเลือกสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรที่มีผลงานดีเด่นในพื้นที่รับผิดชอบ 2. รายงานผลการคัดเลือกสหกรณ์และกล ุ ่มเกษตรกรที ่มีผลงานดีเด ่น ถึง กรมส่งเสริมสหกรณ์ภายในเวลาที่กำหนด 2. กลุ่มเป้าหมาย/พื้นที่เป้าหมายดำเนินการ สหกรณ์เป้าหมาย จำนวน 2 แห่ง ดังนี้ 1. สหกรณ์โคนมท่าหลวง จำกัด อำเภอท่าหลวง จังหวัดลพบุรี 2. สหกรณ์ออมทรัพย์โรงพยาบาลบ้านหมี่ จำกัด อำเภอบ้านหมี่ จังหวัดลพบุรี 3. งบประมาณที่ได้รับในปีงบประมาณ พ.ศ.2566 - ไม่มี - 4. ผลการดำเนินงาน ผลลัพธ์เชิงปริมาณ มีการจัดประชุมคณะกรรมการระดับจังหวัดเพื ่อพิจารณาคัดเลือกสหกรณ์และ กลุ่มเกษตรกรดีเด่นแห่งชาติ มีสหกรณ์ทั้งภาคการเกษตร และนอกภาคการเกษตร ส่งผลการดำเนินงาน เข้ารับการคัดเลือก จำนวน 2 สหกรณ์ ดังนี้ 1. สหกรณ์โคนมท่าหลวง จำกัด ได้คะแนนรวม 833.00 คะแนน ได้รับการคัดเลือก ให้เป็นสหกรณ์ที ่มีผลงานดีเด ่นระดับจังหวัด ในประเภทสหกรณ์โคนม และเห็นสมควรส ่งผล การคัดเลือกของสหกรณ์ฯ เข้ารับการคัดเลือกในระดับภาคและระดับชาติต่อไป 2. สหกรณ์ออมทรัพย์โรงพยาบาลบ้านหมี่ จำกัด ได้คะแนนรวม 881.50 คะแนน ได้รับการคัดเลือกให้เป็นสหกรณ์ที่มีผลงานดีเด ่นระดับจังหวัด ในประเภทสหกรณ์ออมทรัพย์ และ เห็นสมควรส่งผลการคัดเลือกของสหกรณ์ฯ เข้ารับการคัดเลือกในระดับภาคและระดับชาติต่อไป ผลลัพธ์เชิงคุณภาพ 1. สหกรณ์โคนมท ่าหลวง จำกัด สามารถส ่งผลงานเข้าร ่วมประกวดสหกรณ์ดีเด่น ประเภทสหกรณ์โคนม ในระดับภาคต่อไป 2. สหกรณ์ออมทรัพย์โรงพยาบาลบ้านหมี่ จำกัด สามารถส่งผลงานเข้าร่วมประกวด สหกรณ์ดีเด่น ประเภทสหกรณ์ออมทรัพย์ ในระดับภาคต่อไป 6. ปัญหา/อุปสรรคในการดำเนินงานโครงการ กรมส ่งเสริมสหกรณ์มีการปรับเปลี่ยนหลักเกณฑ์การให้คะแนนใหม่ ทำให้การเก็บรวบรวม ข้อมูลของสหกรณ์มีความละเอียดขึ้น ประกอบกับมีระยะเวลาในการส ่งข้อมูลที ่จำกัด จึงทำให้ การรวบรวมข้อมูล/เอกสารประกอบการทำได้ไม่ครบถ้วนตามที่กำหนด 7. ข้อเสนอแนะ/แนวทางแก้ไขปัญหา - ไม่มี – 5) งานส่งเสริมและพัฒนาสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรสู่ดีเด่นแห่งชาติ


สำนักงานสหกรณ์จังหวัดลพบุรี http://web.cpd.go.th/lopburi ๔๕ WE ARE HOPE เรา คือ ความหวังของเกษตรกร ภาพประกอบ การประชุมคณะทำงานระดับจังหวัด เพื่อพิจารณาคัดเลือกสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรดีเด่นแห่งชาติ เมื่อวันพฤหัสบดีที่ 27 เมษายน 2566 นางพรสวรรค์ เริงมิตร สหกรณ์จังหวัดลพบุรี เป็นประธานในการประช ุมคณะกรรมการระดับจังหวัดเพื ่อพิจารณาคัดเลือกสหกรณ์และ กลุ่มเกษตรกรดีเด่นแห่งชาติ ณ ห้องประชุมสำนักงานสหกรณ์จังหวัดลพบุรีมีสหกรณ์ทั้งภาคการเกษตร และ นอกภาคการเกษตรเข้าร่วมประชุม ผลการดำเนินงานเข้ารับการคัดเลือก จำนวน 2 สหกรณ์ โครงการพัฒนาศักยภาพการดำเนินธุรกิจของสหกรณ์ กลุ ่มเกษตรกร และธุรกิจชุมชน สำหรับ ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 สำนักงานสหกรณ์จังหวัดลพบุรี ไม่มีโครงการนี้ โครงการยกระดับคุณภาพมาตรฐานสินค้าเกษตร สำหรับในปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 สำนักงานสหกรณ์จังหวัดลพบุรี ไม่มีโครงการนี้ 2.1) กิจกรรมการสนับสนุนการทำการเกษตรปลอดภัยสำหรับสินค้าผักและผลไม้ กิจกรรมการสนับสนุนการทำการเกษตรปลอดภัยสำหรับสินค้าผักและผลไม้สำหรับ ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 สำนักงานสหกรณ์จังหวัดลพบุรี ไม่มีกิจกรรมนี้ แผนแม่บทภายใต้ยุทธศาสตร์ชาติด้านการเกษตร ➢ แผนงานยุทธศาสตร์ แผนงานยุทธศาสตร์การเกษตรสร้างมูลค่า 1) โครงการพัฒนาศักยภาพดำเนินธุรกิจของสหกรณ์ กลุ่มเกษตรกร และธุรกิจชุมชน 2) โครงการยกระดับคุณภาพมาตรฐานสินค้าเกษตร


๔๖ รายงานผลการดำเนินการประจำปี ๒๕๖๖ WE ARE HOPE เรา คือ ความหวังของเกษตรกร 2.2) กิจกรรมการส่งเสริมการทำการเกษตรปลอดภัยในสินค้าพืชสมุนไพร กิจกรรมการส ่งเสริมการทำการเกษตรปลอดภัยในสินค้าพืชสม ุนไพร สำหรับ ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 สำนักงานสหกรณ์จังหวัดลพบุรี ไม่มีกิจกรรมนี้ 2.3) กิจกรรมการส่งเสริมและพัฒนาเกษตรปลอดภัยในสถาบันเกษตรกร ในเขตพื้นที่นิคมสหกรณ์ 1. วัตถุประสงค์ของงาน/โครงการ 1. เพื ่อส ่งเสริมและพัฒนาองค์ความรู้ การผลิตพืชปลอดภัยของสมาชิกสหกรณ์นิคม ให้ไปสู่การได้รับการรับรองมาตรฐาน GAP หรือ PGS และมาตรฐานเกษตรอินทรีย์ขั้นสูงสุด 2. เพื ่อส ่งเสริมให้สมาชิกมีการถ ่ายทอดองค์ความรู้แบบมีส ่วนร ่วม ซึ ่งจะก ่อให้เกิด การเรียนรู้โดยธรรมชาติ มีการช่วยเหลือซึ่งกันและกัน ตามหลักการสหกรณ์ 3. เพื ่อส ่งเสริมให้สถาบันเกษตรกรมีส ่วนร ่วมกับสมาชิกในการทำเกษตรปลอดภัย หรือเกษตรอินทรีย์ 2. กลุ่มเป้าหมาย/พื้นที่เป้าหมายดำเนินการ สมาชิกสหกรณ์ในเขตนิคมสหกรณ์ จำนวน 2 รุ่น ดังนี้ รุ่นที่ 1 ในวันที่ 17 มีนาคม 2566 ณ สหกรณ์นิคมลำนารายณ์ จำกัด อำเภอท่าหลวง จังหวัดลพบุรี จำนวน 20 คน รุ่นที่ 2 ในวันที่ 22 มีนาคม 2566 ณ สหกรณ์นิคมชัยบาดาล จำกัด อำเภอท่าหลวง จังหวัดลพบุรี จำนวน 20 คน 3. งบประมาณที่ได้รับในปีงบประมาณ พ.ศ.2566 หน่วย : บาท ประเภทรายจ่าย งบประมาณที่ได้รับ ผลเบิกจ่าย ร้อยละ งบดำเนินงาน 37,200 37,200 100 4. ผลการดำเนินงาน เกษตรกรสามารถนำความรู้ที ่ได้รับไปปฏิบัติในการทำเกษตรปลอดภัย มีแหล ่งผลิต สินค้าปลอดภัย/สินค้าเกษตรอินทรีย์ ที ่ผู้บริโภคมั ่นใจการผลิต มีฐานข้อมูลสมาชิกผู้ที ่ได้รับ การคัดเลือกเข้าร่วมโครงการเกษตรปลอดภัย สามารถผลักดันให้ไปสู่การได้รับการรับรองมาตรฐาน และต่อยอดในปีต่อไปได้ 5. ผลลัพธ์ ผลลัพธ์เชิงปริมาณ จัดอบรมสมาชิกสหกรณ์ในเขตนิคมสหกรณ์ จำนวน 2 รุ่น ๆ ละ 20 คน


สำนักงานสหกรณ์จังหวัดลพบุรี http://web.cpd.go.th/lopburi ๔๗ WE ARE HOPE เรา คือ ความหวังของเกษตรกร ผลลัพธ์เชิงคุณภาพ สมาชิกที ่เข้าร ่วมโครงการฯ ได้รับความรู้เกี ่ยวกับการยื ่นขอรับรองมาตรฐาน และ มาตรฐานอินทรีย์ และการตรวจสารเคมีตกค้างในผลผลิตมากขึ้น ส ่งเสริมการทำเกษตรปลอดภัย ทำให้สมาชิกมีรายได้จากการผลิตสินค้าเกษตรปลอดภัยหรือเกษตรอินทรีย์เพิ่มขึ้น 6. ปัญหา/อุปสรรคในการดำเนินงานโครงการ - ไม่มี – 7. ข้อเสนอแนะ/แนวทางแก้ไขปัญหา - ไม่มี – ภาพประกอบ โครงการส่งเสริมการทำเกษตรปลอดภัยในเขตนิคมสหกรณ์ ภายใต้โครงการยกระดับคุณภาพมาตรฐานสินค้าเกษตร ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 นางพรสวรรค์ เริงมิตร สหกรณ์จังหวัดลพบุรีเป็นประธานและลงพื้นที ่ในโครงการส ่งเสริม การทำเกษตรปลอดภัยในเขตนิคมสหกรณ์ ภายใต้โครงการยกระดับคุณภาพมาตรฐานสินค้าเกษตร ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 ณ นิคมสหกรณ์ชัยบาดาล อำเภอท่าหลวง จังหวัดลพบุรี 1. วัตถุประสงค์ของงาน/โครงการ 1. เพื่อพัฒนาคณะกรรมการดำเนินการ สมาชิก และฝ่ายจัดการของสหกรณ์ภาคการเกษตร ให้มีความรู้ ความสามารถ และทักษะในการเป็นผู้ประกอบการธุรกิจการเกษตรแบบมืออาชีพ 2. เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการบริหารจัดการธุรกิจของสหกรณ์ด้านการผลิต (การรวบรวม และการแปรรูป) 3. เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการบริหารจัดการธุรกิจของสหกรณ์ด้านการตลาด (การพัฒนา ผลิตภัณฑ์ การกำหนดราคา การเพิ่มช่องทางการจำหน่าย และการส่งเสริมการขาย) 3) โครงการยกระดับสถาบันเกษตรกรให้เป็นผู้ประกอบการธุรกิจเกษตร


๔๘ รายงานผลการดำเนินการประจำปี ๒๕๖๖ WE ARE HOPE เรา คือ ความหวังของเกษตรกร 2. กลุ่มเป้าหมาย/พื้นที่เป้าหมายดำเนินการ 1. ผู้เข้าร ่วมประชุมเชิงปฏิบัติการ จำนวน 20 ราย ประกอบด้วย คณะกรรมการ ดำเนินการ สมาชิก และเจ้าหน้าที่สหกรณ์การเกษตรสระโบสถ์ จำกัด 2. สถานที่ดำเนินการ ณ ห้องประชุมสหกรณ์การเกษตรสระโบสถ์ จำกัด ตำบลนิยมชัย อำเภอสระโบสถ์ จังหวัดลพบุรี 3. งบประมาณที่ได้รับในปีงบประมาณ พ.ศ.2566 หน่วย : บาท ประเภทรายจ่าย งบประมาณที่ได้รับ ผลเบิกจ่าย ร้อยละ งบดำเนินงาน 10,400 10,400 100 4. ผลการดำเนินงาน ดำเนินการจัดประชุมโครงการประชุมเชิงปฏิบัติการเพื่อสร้างเครือข่ายผู้ผลิต พร้อมทั้ง จัดทำแผนบริหารจัดการสินค้าเกษตรจากแหล่งผลิต (แปลงเกษตรกร เกษตรสมาชิก สถาบันเกษตรกร) เข้าสู่กระบวนการรวบรวมและแปรรูปเพื่อพัฒนาสหกรณ์ภาคการเกษตรที่มีศักยภาพ ให้มีทักษะและ วิธีการบริหารจัดการองค์กร และธุรกิจที่มีประสิทธิภาพ เพื่อยกระดับเป็นผู้ประกอบการธุรกิจเกษตร แบบมืออาชีพ ให้สามารถดำเนินธุรกิจเป็นศูนย์กลางในการบริหารจัดการผลผลิตทางการเกษตร ระดับชุมชน เช่น ข้าว ยางพารา มันสำปะหลัง ข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ ปาล์มน้ำมัน ผัก ผลไม้ โคเนื้อ โคนม และประมง ได้อย่างมีประสิทธิภาพในสภาวะการแข่งขันที่สูงขึ้น จำนวน 20 ราย 5. ผลลัพธ์ ผลลัพธ์เชิงปริมาณ 1. แผนบริหารจัดการสินค้าเกษตรหลัก (ข้าว) ของสหกรณ์การเกษตรสระโบสถ์ จำกัด จำนวน 1 แผน 2. แผนการกระจายสินค้าข้าวสารหอมมะลิ 105 ตราข้าวหอมสระโบสถ์ จำนวน 1 แผน ผลลัพธ์เชิงคุณภาพ 1. แผนบริหารจัดการสินค้าเกษตรหลัก (ข้าว) ของสหกรณ์การเกษตรสระโบสถ์ จำกัด จำนวน 1 แผน 2. ชุดข้อมูลที ่ได้มีความสมบูรณ์สามารถนำไปใช้ประโยชน์ในการวางแผนการผลิต สินค้าเกษตรหรือผลิตภัณฑ์ได้ 6. ปัญหา/อุปสรรคในการดำเนินงานโครงการ - ไม่มี – 7. ข้อเสนอแนะ/แนวทางแก้ไขปัญหา - ไม่มี –


สำนักงานสหกรณ์จังหวัดลพบุรี http://web.cpd.go.th/lopburi ๔๙ WE ARE HOPE เรา คือ ความหวังของเกษตรกร ภาพประกอบ โครงการประชุมเชิงปฏิบัติการ เพื่อสร้างเครือข่ายผู้ผลิต พร้อมทั้งจัดทำแผนบริหารจัดการสินค้าเกษตรจากแหล่งผลิต (แปลงเกษตรกร เกษตรสมาชิก สถาบันเกษตรกร) เมื ่อวันพ ุธที ่ 8 มีนาคม 2566 นางพรสวรรค์ เริงมิตร สหกรณ์จังหวัดลพบ ุรี เป็นประธานในการประชุมเชิงปฏิบัติการเพื่อสร้างเครือข่ายผู้ผลิตพร้อมทั้งจัดทำแผนบริหารจัดการ สินค้าเกษตรจากแหล่งผลิต (แปลงเกษตรกร เกษตรสมาชิก สถาบันเกษตรกร) ณ ห้องประชุมสหกรณ์ การเกษตรสระโบสถ์จำกัด อำเภอสระโบสถ์จังหวัดลพบุรี


๕๐ รายงานผลการดำเนินการประจำปี ๒๕๖๖ WE ARE HOPE เรา คือ ความหวังของเกษตรกร 1. วัตถุประสงค์ของงาน/โครงการ ๑. ส่งเสริมแปลงใหญ่ให้มีการบริหารจัดการกลุ่มร่วมกัน การรวมกลุ่มผลิต การจำหน่าย ตลอดห ่วงโซ ่ ต้นน้ำ กลางน้ำ ปลายน้ำ โดยใช้เทคโนโลยีการผลิตและการแปรรูป เพื ่อลดต้นทุน การผลิต และเพิ่มผลผลิต 2. สนับสนุนและเชื่อมโยงตลาดระหว่างผู้ผลิตแปลงใหญ่และผู้ซื้อ ให้มีตลาดรองรับ ที่แน่นอน และเพิ่มช่องทางการจำหน่าย 2. กลุ่มเป้าหมาย/พื้นที่เป้าหมายดำเนินการ 2.1 แปลงใหญ ่สหกรณ์/กลุ ่มเกษตรกร จำนวน 6 แปลง ดังนี้(๑) สหกรณ์โคนม ไทย-เดนมาร์ก พัฒนานิคม จำกัด 1) สหกรณ์โคนมไทย-เดนมาร์ก สวนมะเดื่อ จำกัด 2) สหกรณ์โคนมไทย-เดนมาร์ก ชอนม่วง จำกัด 3) สหกรณ์นิคมชัยบาดาล จำกัด 4) สหกรณ์นิคมลำนารายณ์ จำกัด 5) สหกรณ์โคนมท่าหลวง จำกัด 2.๒ ส ่งเสริมและขับเคลื ่อนการดำเนินงานแปลงใหญ ่ทั ่วที่จัดตั้ง ปี พ.ศ. 2564 จำนวน ๑1 แปลง ดังนี้ 1) แปลงใหญ่ข้าว ม.6 ต.มหาโพธิ อ.สระโบสถ์ จ.ลพบุรี 2) แปลงใหญ่ข้าว ม.4 ต.โพตลาดแก้ว อ.ท่าวุ้ง จ.ลพบุรี 3) กลุ่มนาแปลงใหญ่ตำบลหินปัก อ.บ้านหมี่ จ.ลพบุรี 4) แปลงใหญ่หัวไชเท้า ต.โคกตูม อ.เมืองลพบุรี จ.ลพบุรี 5) แปลงใหญ่ข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ (ต้นสด) ต.น้ำสุด อ.พัฒนานิคม จ.ลพบุรี 6) แปลงใหญ่มะขามเทศ ต.หนองมะค่า อ.โคกเจริญ จ.ลพบุรี 7) แปลงใหญ่ข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ ม.15 ต.โคกตูม อ.เมืองลพบุรี จ.ลพบุรี 8) แปลงใหญ่มันสำปะหลัง ม. 4 ต.ห้วยใหญ่ อ.สระโบสถ์ จ.ลพบุรี 9) แปลงใหญ่มันสำปะหลัง ม.3 ต.ซับตะเคียน อ.ชัยบาดาล จ.ลพบุรี 10) แปลงใหญ่ข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ ต.หนองยายโต๊ะ อ.ชัยบาดาล จ.ลพบุรี 11) สหกรณ์โคนมท่าหลวง จำกัด อ.ท่าหลวง จังหวัดลพบุรี จัดทำโครงการประชุมเชิงปฏิบัติการโครงการระบบส ่งเสริมเกษตรแบบแปลงใหญ่ ในแปลงใหญ่สหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร ดังนี้ 1. จัดโครงการประชุมเชิงปฏิบัติ “โครงการระบบส ่งเสริมเกษตรแบบแปลงใหญ่” กิจกรรมประชุมการบริหารจัดการร ่วมกันตลอดห ่วงโซ่ในกลุ ่มแปลงใหญ ่สหกรณ์/กลุ ่มเกษตรกร จำนวน 6 แปลง ผู้เข้าร่วมประชุมประกอบด้วย ผู้แทนกลุ่มแปลงใหญ่ หน่วยงานบูรณาการ เจ้าหน้าที่ สำนักงานสหกรณ์จังหวัดลพบุรี และผู้สังเกตการณ์ จำนวน ๑๕ ราย 4) โครงการระบบส่งเสริมเกษตรแบบแปลงใหญ่


สำนักงานสหกรณ์จังหวัดลพบุรี http://web.cpd.go.th/lopburi ๕๑ WE ARE HOPE เรา คือ ความหวังของเกษตรกร 2. ปรับปรุงฐานข้อมูลสมาชิกและข้อมูลแปลงใหญ ่ ในระบบรายงานข้อมูล ของ กรมส ่งเสริมการเกษตร (Co-farm) โดยจังหวัดประสานงานกับหน ่วยงานที่เกี่ยวข้องตรวจสอบและ แก้ไข ข้อมูลให้ถูกต้องและเป็นปัจจุบัน 3. บูรณาการร ่วมกับหน ่วยงานที ่เกี ่ยวข้องในการดำเนินงานด้านการตลาดของแปลงใหญ่ เช ่น ถ ่ายทอดองค์ความรู้ จัดทำแผนการผลิต/แผนการตลาด เชื ่อมโยงตลาดร ่วมกันระหว ่าง ผู้ผลิตแปลงใหญ่และผู้ซื้อ เป็นต้น 4. ส่งเสริมสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรให้มีการบริหารจัดการการผลิต โดยใช้เทคโนโลยีและ เครื่องจักรกลการเกษตรสมัยใหม่ เพื่อลดต้นทุนและเพิ่มผลผลิต 5. ส ่งเสริมสหกรณ์/กลุ ่มเกษตรกรให้มีบทบาททางการเกษตรกับ แปลงใหญ ่ เช่น เป็นแหล่งรวบรวมผลผลิตในแปลงใหญ่ เป็นแหล่งให้บริการเครื่องจักรกลการเกษตร เป็นต้น 6. ส ่งเสริม แนะนำและประชาสัมพันธ์ให้สหกรณ์/กลุ ่มเกษตรกรในพื้นที่ เข้าร ่วม สนับสนุนการลดต้นทุนการผลิต การจัดหาปัจจัยการผลิต ปัจจัยการตลาด การเข้าถึงแหล่งเงินทุนฯ การ จัดจำหน่ายสินค้าเกษตร ฯลฯ 7. ส่งเสริมการแปรรูปผลผลิต เพิ่มมูลค่าสินค้า และเพิ่มช่องทางการจำหน่าย 8. ติดตามและรายงานผลให้กรมส่งเสริมสหกรณ์ทราบตามแบบรายงาน ที่กำหนด สนับสนุนให้มีการเชื ่อมโยงตลาด/เครือข ่ายระหว ่างผู้ผลิตแปลงใหญ ่และผู้ซื้อ ในแปลงที่จัดตั้ง ปี 2564 จำนวน ๑๐ แปลง ดังนี้ 1. สำนักงานสหกรณ์จังหวัดบูรณาการกับหน ่วยงานในสังกัดกระทรวงเกษตรและ สหกรณ์เพื่อร่วมกันดำเนินงานโครงการส่งเสริมการเกษตรแบบแปลงใหญ่ 2. สำรวจและจัดทำข้อมูลพื้นฐานเกี่ยวกับพื้นที่แปลงใหญ่ 3. สำรวจและจัดทำข้อมูลเกษตรกรรายแปลง รวมถึงข้อมูลการตลาด 4. วางแผนการผลิตสินค้าเกษตร (พืช/ปศุสัตว์/ประมง/ผลิตผลการเกษตร เช่น น้ำนมดิบ 5. การจัดประชุมเชิงปฏิบัติการ/เวทีชุมชน เพื่อจัดทำแผนการตลาด/ธุรกิจ หรือบูรณาการ ร่วมกับหน่วยงานอื่นในการให้ความรู้ด้านการตลาด การรวมกลุ่ม เชื่อมโยงเครือข่ายเชื่อมโยงตลาด ฯลฯเป็นต้น 6. ส่งเสริมการรวมกลุ่มของเกษตรกรในพื้นที่แปลงใหญ่เพื่อดำเนินการเกี่ยวกับ การลดต้นทุน การผลิต การจัดหาปัจจัยการผลิต ปัจจัยการตลาด การเข้าถึงแหล่งเงินทุนฯ การจัดจำหน่ายสินค้าเกษตร ฯลฯ 7. เป็นเจ้าภาพหลักร ่วมกับทีมเศรษฐกิจจังหวัดของภาคเอกชน ส ่วนราชการ และ หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ดำเนินการเกี่ยวกับการตลาดของสินค้าแปลงใหญ่ 8. ติดตามและรายงานผลให้กรมส่งเสริมสหกรณ์ทราบตามแบบรายงานที่กำหนด 3. งบประมาณที่ได้รับในปีงบประมาณ พ.ศ.2566 หน่วย : บาท ประเภทรายจ่าย งบประมาณที่ได้รับ ผลเบิกจ่าย ร้อยละ งบดำเนินงาน ๑๒,๑๐๐ ๑๒,๑๐๐ 100


๕๒ รายงานผลการดำเนินการประจำปี ๒๕๖๖ WE ARE HOPE เรา คือ ความหวังของเกษตรกร 4. ผลการดำเนินงาน 1. เข้าร่วมกิจกรรมบูรณาการโครงการระบบส่งเสริมเกษตรแบบแปลงใหญ่ กิจกรรม ระบบส ่งเสริมเกษตรแบบแปลงใหญ ่ กิจกรรมย ่อย บริหารจัดการถ ่ายทอดความรู้เรื ่องการบริหาร จัดการกลุ่ม การสร้างความเข้มแข็งกลุ่ม การส่งเสริมการตลาด การเชื่อมโยงเครือข่ายการตลาด 2. เข้าร่วมการจัดประชุมเวทีชุมชน โครงการระบบส่งเสริมเกษตรแบบแปลงใหญ่ ปี ๒๕๖๕ กิจกรรมส่งเสริมการทำนาแบบแปลงใหญ่ จัดโดยศูนย์เมล็ดพันธุ์ข้าวลพบุรี ร่วมกับหน่วยงานบูรณาการ กระทรวงเกษตรและสหกรณ์และหน่วยงานภาคีที่เกี่ยวข้อง เพื่อสร้างความเข้าใจให้กับสมาชิกในกลุ่มแปลงใหญ่ ข้าว ในเรื ่องของแผนการผลิต การกำหนดเทคโนโลยีที ่เหมาะสมในการผลิตเพื ่อเพิ ่มประสิทธิภาพ การผลิตข้าว การเพิ่มคุณภาพข้าว ตั้งแต่เตรียมดิน การปรับปรุงบำรุงดินการเลือกเมล็ดพันธุ์คุณภาพดี การปลูก การดูแลรักษาจนถึงเก็บเกี่ยวเชื่อมโยงและบริหารจัดการเรื่องการตลาด 5. ผลลัพธ์ ผลลัพธ์เชิงปริมาณ แปลงใหญ่สหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรได้รับการส่งเสริมให้มีการบริหารจัดการร่วมกัน ตลอดห่วงโซ่ไม่น้อยกว่า ๓ แปลง ผลลัพธ์เชิงคุณภาพ สมาชิกในกลุ่มแปลงใหญ่ข้าว มีความรู้ความเข้าใจ ในเรื ่องของแผนการผลิต การกำหนด เทคโนโลยีที่เหมาะสมในการผลิต เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตข้าว การเพิ่มคุณภาพข้าว ตั้งแต่เตรียมดิน การปรับปรุงบำรุงดินการเลือกเมล็ดพันธุ์คุณภาพดี การปลูก การดูแลรักษาจนถึงเก็บเกี่ยวเชื่อมโยงและ บริหารจัดการเรื่องการตลาด 6. ปัญหา/อุปสรรคในการดำเนินงานโครงการ - ไม่มี – 7. ข้อเสนอแนะ/แนวทางแก้ไขปัญหา - ไม่มี – ภาพประกอบ ประชุมเชิงปฏิบัติการ โครงการระบบส่งเสริมเกษตรแบบแปลงใหญ่ เมื ่อวันอังคารที่ 30 มกราคม 2566 นางพรสวรรค์ เริงมิตร สหกรณ์จังหวัดลพบุรี เป็นประธานในการประชุมเชิงปฏิบัติการโครงการระบบส่งเสริมเกษตรแบบแปลงใหญ่ ณ ห้องประชุม สำนักงานสหกรณ์จังหวัดลพบุรี อำเภอเมืองลพบุรีจังหวัดลพบุรี


สำนักงานสหกรณ์จังหวัดลพบุรี http://web.cpd.go.th/lopburi ๕๓ WE ARE HOPE เรา คือ ความหวังของเกษตรกร โครงการส่งเสริมการแปรรูปสินค้าเกษตร สำหรับในปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 สำนักงาน สหกรณ์จังหวัดลพบุรี ไม่มีโครงการนี้ 1. วัตถุประสงค์ของงาน/โครงการ 1. เพื่อส่งเสริมและพัฒนาสหกรณ์ภาคการเกษตรและกลุ่มเกษตรกรให้มีความเข้มแข็ง 2. เพื่อยกระดับความเข้มแข็งของสหกรณ์ภาคการเกษตรและกลุ่มเกษตรกร 2. กลุ่มเป้าหมาย/พื้นที่เป้าหมายดำเนินการ กลุ่มเป้าหมาย จำนวน 5 สถาบัน ดังนี้ 1. สหกรณ์การเกษตรโคกเจริญ จำกัด 2. สหกรณ์การเกษตรสระโบสถ์ จำกัด 3. สหกรณ์การเกษตรนิคมสร้างตนเองเขตโคกตูม จำกัด 4.กลุ่มเกษตรกรทำนาบัวชุมพัฒนา 5.กลุ่มเกษตรกรทำไร่บัวชุมพัฒนา ผู้เข้าร่วมประชุม ประกอบด้วย กรรมการ ฝ่ายจัดการ สมาชิกสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร เจ้าหน้าที่ส่งเสริมสหกรณ์ และผู้สังเกตการณ์ แห่งละ 20 คน รวมเป็น 100 คน 3. งบประมาณที่ได้รับในปีงบประมาณ พ.ศ.2566 หน่วย : บาท ประเภทรายจ่าย งบประมาณที่ได้รับ ผลเบิกจ่าย ร้อยละ งบดำเนินงาน 62,200 62,200 100 4. ผลการดำเนินงาน คณะกรรมการ ฝ ่ายจัดการ สมาชิกสหกรณ์/กลุ ่มเกษตรกร ที ่เข้าร ่วมโครงการฯ จำนวน 5 แห ่ง แบ ่งเป็นสหกรณ์ 3 สหกรณ์ และกลุ ่มเกษตรกร 2 กลุ ่ม ได้นำความรู้ที ่ได้รับ จากการจัดโครงการไปพัฒนาต่อยอด ทำให้สามารถรักษาระดับชั้นความเข้มแข็งได้ 4 แห่ง คือ 1) สหกรณ์การเกษตรโคกเจริญ จำกัด 2) สหกรณ์การเกษตรสระโบสถ์ จำกัด 3) สหกรณ์การเกษตรนิคมสร้างตนเองเขตโคกตูม จำกัด 4) กลุ่มเกษตรกรทำนาบัวชุมพัฒนา 5. ผลลัพธ์ ผลลัพธ์เชิงปริมาณ คณะกรรมการ ฝ่ายจัดการ สมาชิกสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร นำความรู้ที่ได้รับไปพัฒนา ต่อยอด ทำให้สามารถรักษาระดับชั้นความเข้มแข็งได้ 4 แห่ง 5) โครงการส่งเสริมการแปรรูปสินค้าเกษตร 6) โครงการส่งเสริมและพัฒนาสถาบันเกษตรกร


๕๔ รายงานผลการดำเนินการประจำปี ๒๕๖๖ WE ARE HOPE เรา คือ ความหวังของเกษตรกร ผลลัพธ์เชิงคุณภาพ คณะกรรมการฝ่ายจัดการ สมาชิกสหกรณ์/กลุ ่มเกษตรกรคณะกรรมการฯ ที่เข้าร ่วม โครงการฯ ได้รับความรู้เกี ่ยวกับการบริหารจัดการองค์กรให้เข้มแข็งเพื ่อใช้เป็นแนวทาง ในการบริหารงานของสหกรณ์ 6. ปัญหา/อุปสรรคในการดำเนินงานโครงการ - ไม่มี – 7. ข้อเสนอแนะ/แนวทางแก้ไขปัญหา - ไม่มี – ภาพประกอบ ประชุมเชิงปฏิบัติการ โครงการส่งเสริมและพัฒนาสถาบันเกษตรกรให้เข้มแข็ง พ.ศ.2566 เมื ่อวันศุกร์ที ่ 14 กรกฎาคม ๒๕๖๖ นางพรสวรรค์ เริงมิตร สหกรณ์จังหวัดลพบุรี เป็นประธานในพิธีเปิดการประชุมเชิงปฏิบัติการโครงการส่งเสริมและพัฒนาสถาบันเกษตรกรให้เข้มแข็งและ บรรยายพิเศษแนวทางการบริหารจัดการองค์กรให้เข้มแข็ง ในการประชุมครั้งนี้ได้เชิญ นางนัทธมน จันทร์ฤกษ์ หัวหน้าสำนักงานกองทุนฟื้นฟูและพัฒนาเกษตรกร จังหวัดลพบุรี มาเป็นวิทยากรเพื่อให้ความรู้การส่งเสริมอาชีพ การปลูกว่านหางจระเข้ให้กับสมาชิก เพื่อเป็นอาชีพเสริมเพิ่มรายได้ และสามารถชำระหนี้เงินกู้ของสมาชิก ลดปัญหาหนี้ค้าง ณ ห้องประชุมสหกรณ์การเกษตรนิคมสร้างตนเองเขตโคกตูม จำกัด อ.เมือง จ.ลพบุรี โครงการส ่งเสริมและพัฒนาสินค้าเกษตรอัตลักษณ์พื้นถิ ่น สำหรับในปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 สำนักงานสหกรณ์จังหวัดลพบุรี ไม่มีโครงการนี้ 7) โครงการส่งเสริมและพัฒนาสินค้าเกษตรอัตลักษณ์พื้นถิ่น


สำนักงานสหกรณ์จังหวัดลพบุรี http://web.cpd.go.th/lopburi ๕๕ WE ARE HOPE เรา คือ ความหวังของเกษตรกร โครงการสร้างความเชื่อมั่นในสินค้าเกษตรและอาหาร สำหรับในปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 สำนักงานสหกรณ์จังหวัดลพบุรี ไม่มีโครงการนี้ 1. วัตถุประสงค์ของงาน/โครงการ 1. เพื่อส่งเสริมสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรมีการบริหารจัดการสินเชื่อที่มีประสิทธิภาพ 2. เพื่อส่งเสริมสมาชิกสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรมีความสามารถในการบริหารจัดการหนี้ของตนเอง 3. เพื่อเสริมสร้างรายได้ให้แก่สมาชิกโดยผ่านกลไกการให้บริการของสหกรณ์หรือกลุ่มเกษตรกร 2. กลุ่มเป้าหมาย/พื้นที่เป้าหมายดำเนินการ สหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรที่เข้าร่วมโครงการ จำนวน 22 แห่ง ดังนี้ สหกรณ์ กลุ่มเกษตรกร 1. สหกรณ์ผู้ใช้น้ำลพบุรี จำกัด 2. สหกรณ์การเกษตรนิคมสร้างตนเองเขตโคกตูม จำกัด 3. สหกรณ์การเกษตรปฏิรูปที่ดินพัฒนานิคมสาม จำกัด 4. สหกรณ์ผู้ใช้น้ำลพบุรี โซน 5 จำกัด 5. สหกรณ์การเกษตรท่าวุ้ง จำกัด 6. สหกรณ์การเกษตรท่าโขลง จำกัด 7. สหกรณ์โคนมไทย-เดนมาร์คชอนม่วง จำกัด 8. สหกรณ์การเกษตรโคกสำโรง จำกัด 9. สหกรณ์การเกษตรหนองม่วง จำกัด 10. สหกรณ์การเกษตรบ่อทอง-หนองม่วง จำกัด 11. สหกรณ์ผู้ใช้สถานีสูบน้ำด้วยไฟฟ้าบ้านหนองยายโต๊ะ จำกัด 12. สหกรณ์ผู้ใช้น้ำสถานีสูบน้ำด้วยไฟฟ้าท่าดินดำ จำกัด 13. สหกรณ์นิคมชัยบาดาล จำกัด 14. สหกรณ์นิคมลำนารายณ์ จำกัด 15. สหกรณ์โคนมท่าหลวง จำกัด 1. กลุ่มเกษตรกรทำนาดอนโพธิ์ 2. กลุ่มเกษตรกรทำนาท่าศาลา 3. กลุ่มเกษตรกรทำนาผู้ผลิตและแปรรูปข้าวโคกเจริญ 4. กลุ่มเกษตรกรทำไร่ยาสูบนิคมลำนารายณ์ 5. กลุ่มเกษตรผู้เลี้ยงสัตว์ท่าดินดำ 6. กลุ่มเกษตรกรผู้เลี้ยงโคเนื้อนาโสม 7. กลุ่มเกษตรกรทำไร่ลำนารายณ์ 3. งบประมาณที่ได้รับในปีงบประมาณ พ.ศ.2566 หน่วย : บาท ประเภทรายจ่าย งบประมาณที่ได้รับ ผลเบิกจ่าย ร้อยละ งบดำเนินงาน 29,300 29,300 100 8) โครงการสร้างความเชื่อมั่นในสินค้าเกษตรและอาหาร ยุทธศาสตร์ชาติด้านการสร้างโอกาสและความเสมอภาคทางสังคม แผนแม่บทภายใต้ยุทธศาสตร์ชาติด้านการดำเนินภารกิจยุทธศาสตร์เพื่อสนับสนุนยุทธศาสตร์ ➢ แผนงานยุทธศาสตร์ แผนงานยุทธศาสตร์เพื่อสนับสนุนด้านการสร้างโอกาสและความเสมอภาคทางสังคม 1) โครงการแก้ไขปัญหาหนี้สินและพัฒนาคุณภาพชีวิตสมาชิกสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรด้วยระบบสหกรณ์


๕๖ รายงานผลการดำเนินการประจำปี ๒๕๖๖ WE ARE HOPE เรา คือ ความหวังของเกษตรกร 4. ผลการดำเนินงาน 1. สหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรมีการบริหารจัดการสินเชื่อที่มีประสิทธิภาพ 2. สมาชิกสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรมีความสามารถในการบริหารจัดการหนี้ของตนเอง 3. สามารถสร้างรายได้ให้แก่สมาชิก โดยผ่านกลไกการให้บริการของสหกรณ์หรือกลุ่มเกษตรกร 5. ผลลัพธ์ ผลลัพธ์เชิงปริมาณ หนี้สินของสมาชิกที่มีหนี้ค้างเฉลี่ยลดลงร้อยละ 10 ผลลัพธ์เชิงคุณภาพ 1. สหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรได้รับการส่งเสริมการจัดการหนี้ที่มีประสิทธิภาพเพิ่มมากขึ้น 2. สมาชิกสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรมีความสามารถในการบริหารจัดการหนี้ของตนเองเพิ่มมากขึ้น 6. ปัญหา/อุปสรรคในการดำเนินงานโครงการ 1. คณะกรรมการสหกรณ์ยังขาดความรู้ความเข้าใจด้านการบริหารสินเชื่อ ไม่คำนึงถึง ความสำคัญของกระบวนการด้านสินเชื่อตั้งแต ่การอนุมัติเงินกู้ การตรวจสอบเงินกู้ และการติดตาม ทวงถามการชำระหนี้จากสมาชิก เจ้าหน้าที่ส่งเสริมสหกรณ์จึงต้องเป็นผู้คอยให้คำแนะนำอย่างใกล้ชิด และสหกรณ์มีเจ้าหน้าที่อยู่เพียง 1 คน ยังขาดบุคลากรด้านสินเชื่อในการร่วมออกติดตามหนี้จากสมาชิก 2. สมาชิกที่มีหนี้ค้างชำระส่วนมากเป็นผู้สูงอายุ ไม่สามารถประกอบอาชีพเกษตรกรรม ได้ที ่ดินทำกินของสมาชิกก็ได้มีการแบ ่งให้กับบุตรในการประกอบอาชีพส ่งผลให้สมาชิกสหกรณ์ มีรายได้ลดลง จึงทำให้เกิดปัญหาในการส่งชำระหนี้คืนให้กับสหกรณ์ 3. ลูกหนี้ผิดนัดชำระหนี้สหกรณ์มีดอกเบี้ยค้างชำระ ค ่าปรับค้างรับ อย ่างต ่อเนื ่อง โดยไม่มีการแก้ไข กลายเป็นปัญหาหนี้ค้างนาน ถูกตั้งเป็นสำรองหนี้สงสัยจะสูญลูกหนี้ค้า หนี้สงสัยจะสูญ ดอกเบี้ยค้าง ส ่งผลโดยตรงต ่อสภาพคล ่องในการดำเนินงานของสหกรณ์ลดลง ขาดทุนหมุนเวียน ในการดำเนินงานความสามารถ ในการก ่อหนี้เพื ่อนำเงินมาให้สินเชื ่อลดลง ปัญหาต ่าง ๆ ข้างต้น จะส่งผลต่อการบริหารจัดการธุรกิจ สินเชื่อและอาจส่งผลให้มีผลการดำเนินงานขาดทุนได้ 7. ข้อเสนอแนะ/แนวทางแก้ไขปัญหา 1. ควรมีการพัฒนาศักยภาพให้เกษตรกรสามารถฟื้นฟูอาชีพเดิมหรือประกอบอาชีพเสริม หรือ เปลี่ยนอาชีพใหม่ เพื่อให้สมาชิกสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรมีรายได้เพียงพอในการดำรงชีวิต สามารถชำระ หนี้ได้เพื่อให้มีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้นโดยการฟื้นฟูการประกอบอาชีพและการแก้ไขปัญหาหนี้สินครัวเรือน อย่างครบวงจรด้วยการส่งเสริมอาชีพ การปรับเปลี่ยนและเพิ่มผลิตภาพการผลิต สนับสนุนการแปรรูป แล ะอ ุตสาหก ร รมการเกษต ร ส ่งเส ริมการท ำการเกษต รใน รูปแบบเกษต รแปลงใหญ่ เพื่อลดต้นทุนและสร้างพลังในการจำหน่ายสินค้า การสร้างวินัยทางการเงินและการออมเงิน การสร้าง ภูมิคุ้มกันทางการเงินและการประกอบอำชีพ 2. คณะกรรมการดำเนินการ ฝ ่ายจัดการสหกรณ์เข้ารับการอบรมในด้าน การบริหารธุรกิจสินเชื ่อตั้งแต ่กระบวนการเริ ่มต้นที ่มีการปล ่อยสินเชื ่อให้กับสมาชิก การประเมิน ความสามารถในการชำระหนี้แล้วกำหนดวงเงินกู้เฉพาะราย รวมถึงวิธีการติดตามหนี้


สำนักงานสหกรณ์จังหวัดลพบุรี http://web.cpd.go.th/lopburi ๕๗ WE ARE HOPE เรา คือ ความหวังของเกษตรกร ภาพประกอบ โครงการประชุมเชิงปฏิบัติการ “การบริหารคุณภาพหนี้อย่างยั่งยืนในสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร” เมื ่อวันศุกร์ที ่ 23 มิถุนายน 2566 นางพรสวรรค์ เริงมิตร สหกรณ์จังหวัดลพบุรี เป็นประธานในพิธีเปิดการประชุมเชิงปฏิบัติการ “การบิหารคุณภาพหนี้อย ่างยั ่งยืนในสหกรณ์ กลุ่มเกษตรกร” เพื่อช่วยบรรเทาหนี้สินของสมาชิกสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร โดยส่งเสริม สนับสนุน สมาชิกสหกรณ์และกลุ ่มเกษตรกรให้มีองค์ความรู้ในการประกอบอาชีพ เพื ่อสร้างรายได้ มีสมาชิก เข้าร่วมประชุม ณ ห้องประชุมสำนักงานตรวจบัญชีสหกรณ์จังหวัดลพบุรี จำนวน 68 ราย 1. วัตถุประสงค์ของงาน/โครงการ สำนักงานสหกรณ์จังหวัดลพบุรี ได้ดำเนินโครงการช ่วยเหลือด้านหนี้สินสมาชิก สหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร โดยมีวัตถุประสงค์ ดังต่อไปนี้ 1. เพื ่อบรรเทาภาระหนี้สินและลดต้นทุนในการประกอบอาชีพทำนาของสมาชิก สหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร 2. เพื่อให้สมาชิกสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรที่ประกอบอาชีพทำนามีโอกาสนำเงินที่ต้อง ส่งชำระหนี้ไปฟื้นฟูตนเองในการประกอบอาชีพ ตลอดจนมีเงินทุนไว้เป็นค่าใช้จ่ายในครัวเรือน 3. เพื ่อพัฒนาคุณภาพชีวิต และส ่งเสริมให้สมาชิกสหกรณ์/กลุ ่มเกษตรกรสามารถ พึ่งตนเองได้มีรายได้เพียงพอในการชำระหนี้ได้ภายหลังได้รับการพักชำระหนี้ 2) โครงการช่วยเหลือด้านหนี้สินสมาชิกสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร


๕๘ รายงานผลการดำเนินการประจำปี ๒๕๖๖ WE ARE HOPE เรา คือ ความหวังของเกษตรกร 2. กลุ่มเป้าหมาย/พื้นที่เป้าหมายดำเนินการ สหกรณ์เข้าร่วมโครงการ ๑2 แห่ง สมาชิกทั้งสิ้น ๓,๗๐๙ ราย 3. งบประมาณที่ได้รับในปีงบประมาณ พ.ศ.2566 หน่วย : บาท ประเภทรายจ่าย งบประมาณที่ได้รับ ผลเบิกจ่าย ร้อยละ งบดำเนินงาน ๒,048,079.65 ๒,048,079.65 100 4. ผลการดำเนินงาน โครงการลดดอกเบี้ยเงินกู้ให้เกษตรกรสมาชิกสหกรณ์/กลุ ่มเกษตรกร จังหวัดลพบุรี มีสหกรณ์เข้าร่วมโครงการจำนวน 12 แห่ง สมาชิกทั้งสิ้น ๓,๗๐๙ ราย จำนวน ๒,048,079.65 บาท สหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร ได้เบิกจ่ายชดเชยดอกเบี้ยให้กับสมาชิกเรียบร้อยแล้ว 5. ผลลัพธ์ ผลลัพธ์เชิงปริมาณ โครงการลดดอกเบี้ยเงินกู้ให้เกษตรกรสมาชิกสหกรณ์/กลุ ่มเกษตรกร จังหวัดลพบุรี มีสหกรณ์เข้าร่วมโครงการจำนวน 12 แห่ง สมาชิกทั้งสิ้น ๓,๗๐๙ ราย จำนวน ๒,048,079.65 บาท สหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร ได้เบิกจ่ายชดเชยดอกเบี้ยให้กับสมาชิกเรียบร้อยแล้ว ผลลัพธ์เชิงคุณภาพ สมาชิกสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรที่ประกอบอาชีพทำนามีเงินส่งชำระหนี้ไปฟื้นฟูตนเอง ในการประกอบอาชีพ และมีเงินทุนเหลือไว้เป็นค ่าใช้จ ่ายในครัวเรือน สามารถพึ ่งตนเองได้ มีรายได้เพียงพอในการชำระหนี้ได้ภายหลังได้รับการพักชำระหนี้ 6. ปัญหา/อุปสรรคในการดำเนินงานโครงการ - ไม่มี – 7. ข้อเสนอแนะ/แนวทางแก้ไขปัญหา โครงการลดดอกเบี้ยเงินกู้ให้เกษตรกรสมาชิกสหกรณ์/กลุ ่มเกษตรกร สามารถ จ่ายเงินชดเชยดอกเบี้ยให้กับสมาชิกได้ 1.1) โครงการส่งเสริมสหกรณ์ในพื้นที่โครงการหลวง โครงการส ่งเสริมสหกรณ์ในพื้นที่โครงการหลวง สำหรับในปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 สำนักงานสหกรณ์จังหวัดลพบุรี ไม่มีโครงการนี้ แผนแม่บทภายใต้ยุทธศาสตร์ชาติด้านพลังทางสังคม ➢ แผนงานยุทธศาสตร์ แผนงานยุทธศาสตร์เสริมสร้างพลังทางสังคม 1) โครงการพัฒนาพื้นที่โครงการหลวง


สำนักงานสหกรณ์จังหวัดลพบุรี http://web.cpd.go.th/lopburi ๕๙ WE ARE HOPE เรา คือ ความหวังของเกษตรกร 1.2) โครงการส่งเสริมสหกรณ์ในพื้นที่โครงการพัฒนาพื้นที่สูงแบบโครงการหลวง โครงการส ่งเสริมสหกรณ์ในพื้นที ่โครงการพัฒนาพื้นที ่สูงแบบโครงการหลวง สำหรับในปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 สำนักงานสหกรณ์จังหวัดลพบุรี ไม่มีโครงการนี้ 2.1) โครงการส่งเสริมสหกรณ์ตามโครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำริ โครงการส ่งเสริมสหกรณ์ตามโครงการอันเนื ่องมาจากพระราชดำริสำหรับ ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 สำนักงานสหกรณ์จังหวัดลพบุรี ไม่มีโครงการนี้ 2.2) โครงการส่งเสริมกิจกรรมสหกรณ์นักเรียนในโรงเรียน และการส่งเสริม กลุ่มอาชีพประชาชนตามพระราชดำริสมเด็จพระกนิษฐาธิราชเจ้า กรมสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี โครงการส ่งเสริมกิจกรรมสหกรณ์นักเรียนในโรงเรียน และการส ่งเสริมกลุ ่มอาชีพประชาชน ตามพระราชดำริสมเด็จพระกนิษฐาธิราชเจ้ากรมสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี สำหรับในปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 สำนักงานสหกรณ์จังหวัดลพบุรี ไม่มีโครงการนี้ 2.3) โครงการส่งเสริมกิจกรรมสหกรณ์นักเรียนในโรงเรียนเพียงหลวง ในทูลกระหม่อมหญิงอุบลรัตนราชกัญญา สิริวัฒนาพรรณวดี โครงการส ่งเสริมกิจกรรมสหกรณ์นักเรียนในโรงเรียนเพียงหลวง ในทูลกระหม ่อมหญิง อุบลรัตนราชกัญญาสิริวัฒนาพรรณวดีสำหรับในปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 สำนักงานสหกรณ์ จังหวัดลพบุรี ไม่มีโครงการนี้ 2.4) โครงการอนุรักษ์พันธุ์กรรมพืชอันเนื่องมาจากพระราชดำริ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี 1. วัตถุประสงค์ของงาน/โครงการ 1. เพื่ออนุรักษ์พันธุกรรมพืชและความหลากหลายทางชีวภาพ 2. เพื่อสำรวจและเก็บรวบรวมทรัพยากร จัดเก็บข้อมูลพันธ์ไม้/พันธุกรรมพืชท้องถิ่น 3. เพื่อจัดทำ/พัฒนาแปลงสาธิตพันธุกรรมพืชในพื้นที่นิคมสหกรณ์ให้เป็นแหล่งเรียนรู้ 2) โครงการส่งเสริมการดำเนินงานอันเนื่องมาจากพระราชดำริ


๖๐ รายงานผลการดำเนินการประจำปี ๒๕๖๖ WE ARE HOPE เรา คือ ความหวังของเกษตรกร 2. กลุ่มเป้าหมาย/พื้นที่เป้าหมายดำเนินการ สหกรณ์ในเขตนิคมสหกรณ์ จำนวน 1 แห่ง คือ สหกรณ์นิคมลำนารายณ์ จำกัด 3. งบประมาณที่ได้รับในปีงบประมาณ พ.ศ.2566 หน่วย : บาท ประเภทรายจ่าย งบประมาณที่ได้รับ ผลเบิกจ่าย ร้อยละ งบดำเนินงาน 7,600 7,600 100 4. ผลการดำเนินงาน สหกรณ์ในพื้นที่โครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำริ จัดทำแปลงสาธิตพันธุกรรมพืช ในพื้นที่สหกรณ์นิคมลำนารายณ์ จำกัด มีการขยายตัวของปริมาณธุรกิจเพิ่มขึ้น พร้อมเป็นแหล่งเรียนรู้ ด้านพันธุกรรมพืชของสมาชิกสหกรณ์ 5. ผลลัพธ์ สหกรณ์ได้รับความรู้ในการจัดทำแปลงสาธิตพันธุกรรมพืชในพื้นที ่นิคมสหกรณ์ เพิ ่มมากขึ้น พร้อมให้เป็นแหล ่งเรียนรู้ด้านพันธุกรรมพืช ส ่งผลทำให้สมาชิกสกรณ์มีการขยายตัว ด้านปริมาณธุรกิจเพิ่มขึ้น 6. ปัญหา/อุปสรรคในการดำเนินงานโครงการ - ไม่มี – 7. ข้อเสนอแนะ/แนวทางแก้ไขปัญหา - ไม่มี – 2.5) โครงการคลินิกเกษตรเคลื่อนที่ในพระราชานุเคราะห์ สมเด็จพระบรมโอรสาธิราชฯ สยามมกุฎราชกุมาร 1. วัตถุประสงค์ของงาน/โครงการ 1. เพื่อให้ประชาชน ได้รับความรู้ด้านการสหกรณ์เพื่อประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวัน ในการพัฒนาให้มีความเป็นอยู่ที่ดี 2. เพื ่อสนับสนุนให้เกษตรกร มีความรู้ความเข้าใจ เกี ่ยวกับสหกรณ์และสามารถ นำไปปรับใช้เพื่อประกอบอาชีพได้อย่างมั่นคงและยั่งยืน


สำนักงานสหกรณ์จังหวัดลพบุรี http://web.cpd.go.th/lopburi ๖๑ WE ARE HOPE เรา คือ ความหวังของเกษตรกร 2. กลุ่มเป้าหมาย/พื้นที่เป้าหมายดำเนินการ กลุ่มเป้าหมายคือ เกษตรกรและประชาชนทั่วไปในเขตพื้นที่จังหวัดลพบุรี พื้นที่ดำเนินการคือ พื้นที่ที่เหมาะสมในจัดโครงการคลินิกเกษตรเคลื่อนที่ในพระราชานุเคราะห์ฯ จำนวน 4 ครั้ง ดังนี้ 1. หอประชุมที่ว่าการอำเภอท่าหลวง จังหวัดลพบุรี 2. อาคารอเนกประสงค์วัดพยัคฆาราม (วัดเสือ) ต.บางคู้ อ.ท่าวุ้ง จ.ลพบุรี 3. โรงเรียนโคกสำโรงวิทยา อ.โคกสำโรง จ.ลพบุรี 4. อาคารอเนกประสงค์องค์การบริหารส่วนตำบลโคกลำพาน หมู่ที่ 3 ต.โคกลำพาน อ.เมือง จ.ลพบุรี 3. งบประมาณที่ได้รับในปีงบประมาณ พ.ศ.2566 หน่วย : บาท ประเภทรายจ่าย งบประมาณที่ได้รับ ผลเบิกจ่าย ร้อยละ งบดำเนินงาน 9,100 9,100 100 4. ผลการดำเนินงาน ดำเนินการจัดกิจกรรมคลินิกสหกรณ์ ภายใต้โครงการคลินิกเกษตรเคลื่อนที่ในพระราชานุเคราะห์ฯ ไตรมาสละ 1 ครั้ง จัดนิทรรศการเพื่อให้ความรู้เรื่องการสหกรณ์ การให้คำปรึกษาเรื่องการสหกรณ์ การตอบปัญหาชิงรางวัล กิจกรรมสหกรณ์สอน/ส่งเสริมอาชีพ ส่งเสริมการดำเนินชีวิตตามหลักปรัชญา ของเศรษฐกิจพอเพียง ในปีงบประมาณ พ.ศ.2566 ได้จัดกิจกรรม จำนวน 4 ครั้ง และรายงานผล การดำเนินกิจกรรมตามแบบรายงานที่ กองประสานงานโครงการพระราชดำริกำหนด และรายงานผล การดำเนินงานในระบบข้อมูลโครงการคลินิกเกษตรเคลื ่อนที ่ในพระราชาน ุเคราะห์ฯ ของ กรมส่งเสริมการเกษตร


๖๒ รายงานผลการดำเนินการประจำปี ๒๕๖๖ WE ARE HOPE เรา คือ ความหวังของเกษตรกร 5. ผลลัพธ์ ผลลัพธ์เชิงปริมาณ ดำเนินการจัดกิจกรรมคลินิกสหกรณ์ ภายใต้โครงการคลินิกเกษตรเคลื ่อนที ่ในพระราชา นุเคราะห์ฯจำนวน 4 ครั้ง ประชาชนทั่วไปรู้และเข้าใจในหลักการ อุดมการณ์ และวิธีการสหกรณ์ ผลลัพธ์เชิงคุณภาพ ประชาชนผู้เข้าชมนิทรรศการ มีความรู้และเข้าใจในหลักการ อุดมการณ์วิธีการ ประชาชนสนใจและสมัครเป็นสมาชิกสหกรณ์ในพื้นที่ได้รับบริการ 6. ปัญหา/อุปสรรคในการดำเนินงานโครงการ - ไม่มี – 7. ข้อเสนอแนะ/แนวทางแก้ไขปัญหา - ไม่มี – 2.6) โครงการขับเคลื่อนการประยุกต์ใช้ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ในสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร 1. วัตถุประสงค์ของงาน/โครงการ 1. เพื่อคัดเลือกสหกรณ์และ กลุ ่มเกษตรกร ที ่นำแนวคิดตามปรัชญาของ เศรษฐกิจพอเพียงไปประยุกต์ใช้ในการบริหาร องค์กรได้อย ่างโดดเด ่น และสามารถเป็น แบบอย ่างให้สหกรณ์และกล ุ ่มเกษตรกรอื่น นำไปประยุกต์ใช้ในองค์กรได้ ๒ . เ พื่อ เ ป ็ น ก า ร เ ผ ย แ พ ร่ สนับสนุน ส่งเสริม กระตุ้นและสร้างแรงจูงใจให้สหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรนำแนวทางตามหลักปรัชญา ของเศรษฐกิจพอเพียงไปประยุกต์ใช้ในการดำเนินงาน ส่งเสริมและสนับสนุนให้สมาชิกของ สหกรณ์และ กลุ่มเกษตรกร มีการดำเนินชีวิตตามแนวคิดปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ๓. เพื่อเป็นการรวมความสมัครสมานสามัคคีของคนไทยทุกคน ในการทำกิจกรรม สาธารณประโยชน์ เพื่อ พัฒนาพื้นที่ในชุมชนต่าง ๆ ให้มีความเจริญ เพื่อให้เกิดประโยชน์ต่อชุมชนอย่างถาวร 2. กลุ่มเป้าหมาย/พื้นที่เป้าหมายดำเนินการ สหกรณ์และกล ุ ่มเกษตรกรที่ นำหลักปรัชญาเศรฐกิจพอเพียงไปประยุกต์ใช้ ในการดำเนินงาน ส่งเสริมและสนับสนุนให้สมาชิก ของสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรทุกแห่ง


สำนักงานสหกรณ์จังหวัดลพบุรี http://web.cpd.go.th/lopburi ๖๓ WE ARE HOPE เรา คือ ความหวังของเกษตรกร 3. งบประมาณที่ได้รับในปีงบประมาณ พ.ศ.2566 หน่วย : บาท ประเภทรายจ่าย งบประมาณที่ได้รับ ผลเบิกจ่าย ร้อยละ งบดำเนินงาน 3,200 3,200 100 4. ผลการดำเนินงาน คณะกรรมการคัดเลือกสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรที่มีการนำหลักปรัชญาของเศรษฐกิจ พอเพียงไปประยุกต์ใช้ ระดับจังหวัด เพื่อพิจารณาเพื่อคัดเลือกสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรที่มีผลงาน ในการ ขับเคลื ่อนปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงระดับจังหวัด ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖6 มีสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรประสงค์เข้าร่วมโครงการฯ จำนวน ๕ แห่ง ดังนี้ ๑) สหกรณ์การเกษตรโคกเจริญ จำกัด 2) กลุ่มเกษตรกรทำไร่ซับตะเคียนพัฒนา 3) กลุ่มเกษตรกรผู้เลี้ยงสัตว์ท่าดินดำ 4) กลุ่มเกษตรกรทำไร่บัวชุมพัฒนา 5) กลุ่มเกษตรกรทำนาบัวชุมพัฒนา 5. ผลลัพธ์ ผลลัพธ์เชิงปริมาณ จากการประเมินหลักเกณฑ์ตามที ่กรมส่งเสริมสหกรณ์กำหนดผลปรากฏว่า มีสถาบัน ที่ผ่านเกณฑ์ดังนี้ ๑. สหกรณ์การเกษตรโคกเจริญ จำกัด ผ่านเกณฑ์การประเมิน ซึ่งคะแนนรวม ๔๑๑ คะแนน คิดเป็นร้อยละ ๘๘ โดยแยกเป็น ระดับองค์กร ๒๔๑ คะแนน และคะแนนระดับสมาชิก ๒๐๐ คะแนน ๒. กลุ่มเกษตรกรทำไร ่บัวชุมพัฒนา ผ ่านเกณฑ์การประเมิน ซึ ่งคะแนนรวม ๔๕๓ คะแนน คิดเป็นร้อยละ ๙๑ โดยแยกเป็น ระดับองค์กร ๒๕๘ คะแนน และคะแนนระดับสมาชิก ๑๙๕ คะแนน


๖๔ รายงานผลการดำเนินการประจำปี ๒๕๖๖ WE ARE HOPE เรา คือ ความหวังของเกษตรกร ผลลัพธ์เชิงคุณภาพ จากการประเมินของคณะกรรมการฯ จึงได้เสนอชื่อกลุ ่มเกษตรกรทำไร่บัวชุมพัฒนา เข้ารับการคัดเลือกระดับภาค และระดับกรมตามลำดับ โดยผลการประกวดได้รับรางวัลชมเชย ทั้ง ๒ สถาบัน 6. ปัญหา/อุปสรรคในการดำเนินงานโครงการ - ไม่มี – 7. ข้อเสนอแนะ/แนวทางแก้ไขปัญหา - ไม่มี – 2.7) โครงการจัดงาน “7 มิถุนายน วันสหกรณ์นักเรียน ประจำปี 2566” 1. วัตถุประสงค์ของงาน/โครงการ 1. เพื่อเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระกนิษฐาธิราชเจ้า กรมสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาเจ้าฟ้ามหาจักรีสิรินธร มหาวชิราลงกรณวรราชภักดี สิริกิจการิณีพีรยพัฒนรัฐสีมาคุณากรปิยชาติ- สยามบรมราชกุมารี ที่ทรงริเริ่มให้จัดการเรียนรู้การสหกรณ์ในโรงเรียน 2. เพื ่อสร้างกิจกรรม วันกิจกรรมสหกรณ์นักเรียน ส ่งเสริมการจัดการเรียนรู้ การสหกรณ์ในโรงเรียนให้แพร่หลาย 2. กลุ่มเป้าหมาย/พื้นที่เป้าหมายดำเนินการ นักเรียน ครู ผู้ปกครองของโรงเรียนในสังกัดกระทรวงศึกษาธิการข้าราชการกรมส่งเสริมสหกรณ์ กรมตรวจบัญชีสหกรณ์หน่วยงานของรัฐและเอกชน ขบวนการสหกรณ์ และประชาชนในจังหวัดลพบุรี จำนวน 80 คน 3. งบประมาณที่ได้รับในปีงบประมาณ พ.ศ.2566 - ไม่มี – 4. ผลการดำเนินงาน สำนักงานสหกรณ์จังหวัดลพบุรี ได้ดำเนินการตามโครงการจัดงานวันกิจกรรมสหกรณ์นักเรียน “7 มิถุนายน 256๖” โดยกำหนดให้มีกิจกรรมต่าง ๆ ดังนี้ 1. จัดประชุมเพื่อกำหนดรายละเอียดกิจกรรม และกำหนดผู้รับผิดชอบ 2. ดำเนินการจัดงาน 7 มิถุนายน วันกิจกรรมสหกรณ์นักเรียน ประจำปี 256๖ ในวันพุธที่ ๗ มิถุนายน ๒๕๖๖ ณ โรงเรียนวัดดงสวอง ตำบลเขาสามยอด อำเภอเมืองลพบุรี จังหวัดลพบุรี โดยกำหนดให้มีกิจกรรมต่าง ๆ ดังนี้


สำนักงานสหกรณ์จังหวัดลพบุรี http://web.cpd.go.th/lopburi ๖๕ WE ARE HOPE เรา คือ ความหวังของเกษตรกร - กิจกรรมฐานการเรียนรู้การสหกรณ์ - นิทรรศการการจัดการสหกรณ์ - กิจกรรมเกมส์ และการตอบปัญหาสหกรณ์ 3. รายงานผลมายังสำนักพัฒนาและถ่ายทอดเทคโนโลยีการสหกรณ์ เป็นรูปเล่มพร้อมไฟล์ ข้อมูลและรูปถ่าย ในแผ่น CD-ROM ภายในวันที่ 15 กรกฎาคม 256๖ ตามแบบรายงานที่กำหนด 5. ผลลัพธ์ ผลลัพธ์เชิงปริมาณ สำนักงานสหกรณ์จังหวัดลพบุรี ได้ดำเนินการจัดงาน 7 มิถุนายน วันกิจกรรมสหกรณ์นักเรียน ประจำปี 256๖ ซึ่งมีผลลัพธ์ ดังต่อไปนี้ กิจกรรม จำนวนโรงเรียน (แห่ง) จำนวนผู้เข้าร่วม (คน) รายชื่อโรงเรียน ที่เข้าร่วม ๑. กิจกรรมฐานการเรียนรู้การสหกรณ์ ๑ ๕๗ โรงเรียนวัดดงสวอง ๒. นิทรรศการการจัดการสหกรณ์ ๑ ๑๒๙ โรงเรียนวัดดงสวอง ๓. กิจกรรมเกมส์ และการตอบปัญหา สหกรณ์ ๑ ๘๐ โรงเรียนวัดดงสวอง 6. ปัญหา/อุปสรรคในการดำเนินงานโครงการ ในการปฏิบัติงานตามโครงการจัดงานวันกิจกรรมสหกรณ์นักเรียน “7 มิถุนายน 256๖” ไม่มีปัญหาอุปสรรคในการดำเนินงานแต่อย่างใด และยังสามารถดำเนินงานเป็นไปตามแผนปฏิบัติงาน ที่กรมส่งเสริมสหกรณ์กำหนด 7. ข้อเสนอแนะ/แนวทางแก้ไขปัญหา - ไม่มี – ภาพประกอบ โครงการจัดงานวันกิจกรรมสหกรณ์นักเรียน “๗ มิถุนายน 256๖” พิธีเปิดงาน และ ผู้ร่วมงานลงทะเบียนร่วมงาน


๖๖ รายงานผลการดำเนินการประจำปี ๒๕๖๖ WE ARE HOPE เรา คือ ความหวังของเกษตรกร เยี่ยมชมการจัดนิทรรศการ ร่วมกิจกรรมต่าง ๆ มอบของรางวัล


สำนักงานสหกรณ์จังหวัดลพบุรี http://web.cpd.go.th/lopburi ๖๗ WE ARE HOPE เรา คือ ความหวังของเกษตรกร 1. วัตถุประสงค์ของงาน/โครงการ 1. เพื ่อกำหนดแนวทาง/แผนในการส ่งเสริมพัฒนาอาชีพ และการพัฒนาคุณภาพชีวิต ให้สอดคล้องกับความเป็นจริง 2. เพื่อให้ทราบข้อมูลพื้นฐานของกลุ่มเป้าหมายในการนำไปใช้ประโยชน์ต่อการส่งเสริม และพัฒนาอาชีพ 2. กลุ่มเป้าหมาย/พื้นที่เป้าหมายดำเนินการ ราษฎรที่อาศัยอยู ่ในพื้นที่สาธารณประโยชน์บ้านมะม่วงเจ็ดต้น หมู่ที่ 9 ตำบลวังเพลิง อำเภอโคกสำโรง จังหวัดลพบุรี เนื้อที่ 18 ไร่ 0 งาน 75 ตารางวา จำนวน 86 ราย 3. งบประมาณที่ได้รับในปีงบประมาณ พ.ศ.2566 - ไม่มี – 4. ผลการดำเนินงาน สำนักงานสหกรณ์จังหวัดลพบุรีได้ลงพื้นที่เพื ่อสำรวจ จัดทำฐานข้อมูลพื้นฐาน ของราษฎรในพื้นที ่เป้าหมายซึ่งในปี 2566 ยังไม่มีสมาชิกสนใจเข้าร ่วมโครงการ จึงได้มีการจัดทำ Action plan เพื่อดำเนินโครงการ ติดตาม และรายงานผลให้กรมส่งเสริมสหกรณ์ทราบ 5. ผลลัพธ์ มีการปรับปร ุงข้อมูลพื้นฐานของราษฎรในพื้นที ่เป้าหมายให้เป็นปัจจ ุบัน เพื่อเป็นประโยชน์ต่อคณะทำงานส่งเสริมและพัฒนาอาชีพ ใช้ในการดำเนินโครงการต่อไป 6. ปัญหา/อุปสรรคในการดำเนินงานโครงการ ประชาชนที่อาศัยในพื้นที่ มีอาชีพรับจ้างทั่วไปค้าขาย พนักงานโรงงาน จึงไม่ประสงค์จะรับการ ฝึกอบรมอาชีพ 7. ข้อเสนอแนะ/แนวทางแก้ไขปัญหา ควรจัดให้มีการประชุมคณะทำงานส่งเสริมและพัฒนาอาชีพ แผนแม่บทภายใต้ยุทธศาสตร์ชาติด้านเศรษฐกิจฐานราก ➢ แผนงานบูรณาการ แผนงานบูรณาการพัฒนาและส่งเสริมเศรษฐกิจฐานราก 1) โครงการส่งเสริมและพัฒนาอาชีพเพื่อแก้ไขปัญหาที่ดินทำกินของเกษตรกร


๖๘ รายงานผลการดำเนินการประจำปี ๒๕๖๖ WE ARE HOPE เรา คือ ความหวังของเกษตรกร สรุปผลการใช้จ่ายงบประมาณ เปรียบเทียบงบประมาณที่ได้รับจัดสรร ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.๒๕๖๖ • แผนภูมิแสดงสรุปผลการใช้จ่ายงบประมาณเปรียบเทียบกับงบประมาณที่ได้รับจัดสรร ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 จำแนกตามประเภทงบรายจ่าย ที่มา : ข้อมูลทางการเงิน ฝ่ายบริหารทั่วไป สำนักงานสหกรณ์จังหวัดลพบุรี 30 กันยายน 2566 งบบุคลากร งบด าเนินงาน งบลงทุน งบอุดหนุน งบรายจ่ายอื่น งบประมาณที่ได้รับจัดสรร 4,190,760.00 3,849,333.64 99,800.00 2,048,079.65 0 ผลการใช้จ่ายงบประมาณ 4,190,760.00 3,849,333.64 99,800.00 2,048,079.65 0 4,190,760.00 3,849,333.64 99,800.00 2,048,079.65 0 0.00 500,000.00 1,000,000.00 1,500,000.00 2,000,000.00 2,500,000.00 3,000,000.00 3,500,000.00 4,000,000.00 4,500,000.00 งบประมาณ หน่วย : บาท งบประมาณ ทไี่ดร้ับ จดัสรร+โอนเพมิ่ หนว่ยนบัร้อยละ บาท บาท ร้อยละ ยทุธศาสตร์ชาติด้านการสร้างความสามารถในการแขง่ขนั 1.1 แผนงานพนื้ฐาน กจิกรรมหลักส่งเสริมและพัฒนาสหกรณ์และกลมุ่เกษตรกร กิจกรรมรอง : ส่งเสริมและพัฒนาสหกรณ/์กลมุ่เกษตรกรให้ความเข้มแข็ง ตามศกัยภาพ 165 แห่ง 165 แห่ง 100 2,248,623.72 2,248,623.72 100 กิจกรรม : ส่งเสริมและพัฒนาสหกรณ/์กลมุ่เกษตรกร 165 แห่ง 165 แห่ง 100 485,510.00 485,510.00 100 กิจกรรม : ดแูลกิจการนิคมสหกรณ์(แนะน า ส่งเสริม สนับสนุน พัฒนาและ ก ากับสหกรณ์ในเขตนิคมสหกรณ)์ 6 แห่ง 6 แห่ง 100 119,944.00 119,944.00 100 กิจกรรม : คา่ ใช้สอยการด าเนินงานก ากับ ดแูล ตรวจสอบและคมุ้ครอง ระบบสหกรณ์ 165 แห่ง 165 แห่ง 100 47,345.00 47,345.00 100 กิจกรรม : คา่ ใช้จ่ายคณะผตู้รวจการสหกรณ์ประจ าเขต1 - - 100 4,000.00 4,000.00 100 กิจกรรม : การช าระบัญชีสหกรณ/์กลมุ่เกษตรกร 17 แห่ง 17 แห่ง 100 8,000.00 8,000.00 100 กิจกรรม : การจัดประชุมคณะกรรมการกลางกลมุ่เกษตรกรระดบัจังหวัด 1 ครั้ง 1 ครั้ง 100 4,730.00 4,730.00 100 กิจกรรม : เพื่อเป็นคา่ ใช้สอยในการด าเนินการและการตดิตาม โครงการบริหารจัดการนมทงั้ระบบ 1 ครั้ง 1 ครั้ง 100 2,980.00 2,980.00 100 กจิกรรมหลักการพัฒนาเทคโนโลยีสารสนเทศและการสอื่สาร กิจกรรมรอง : ส่งเสริมและพัฒนาสหกรณ/์กลมุ่เกษตรกรให้มีความเข้มแข็ง ตามศกัยภาพ (รายจ่ายเพื่อการลงทุน) ครุภัณฑ์ส านักงาน เครื่องปรับอากาศแบบตงั้พื้นขนาด18,000 บีทียู 1 เครื่อง 1 เครื่อง 100 27,200.00 27,200.00 100 ครุภัณฑ์ส านักงาน เครื่องปรับอากาศแบบตงั้พื้นขนาด26,000 บีทียู 2 เครื่อง 2 เครื่อง 100 72,600.00 72,600.00 100 1. แผนแม่บทภายใตย้ทุธศาสตร์ชาตดิา้นการดา เนนิภารกจิพนื้ฐานเพอื่สนบัสนนุยทุธศาสตร์ แผนงาน/ผลผลิต/กจิกรรม เปา้หมาย (หนว่ยนบั) ผลการดา เนนิงาน ผลการเบกิจา่ยหมายเหตุ ประกอบ (อธบิาย) ผลผลิต สหกรณแ์ละกลุ่มเกษตรกรไดร้ับการส่งเสริมและพฒันาใหม้ีความเข้มแข็งตามศักยภาพ 1.2 แผนงานพนื้ฐาน ดา้นการสร้างการเตบิโตบนคุณภาพชีวิตทเี่ปน็มิตรตอ่สิ่งแวดล้อม ิื่ืไิัี่ิัิ 1.1.1 แผนงานพนื้ฐาน ดา้นการสร้างความสามารถในการแข่งขัน สรุปผลการใช้จ่ายงบประมาณเปรียบเทียบกับงบประมาณที่ได้รับจัดสรร ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2566


สำนักงานสหกรณ์จังหวัดลพบุรี http://web.cpd.go.th/lopburi ๖๙ WE ARE HOPE เรา คือ ความหวังของเกษตรกร งบประมาณ ทไี่ดร้ับ จดัสรร+โอนเพมิ่ หนว่ยนบัร้อยละ บาท บาท ร้อยละ กจิกรรมหลักการพัฒนาเทคโนโลยีสารสนเทศและการสอื่สาร กิจกรรมรอง : ส่งเสริมและพัฒนาสหกรณ/์กลมุ่เกษตรกรให้มีความเข้มแข็ง ตามศกัยภาพ (รายจ่ายเพื่อการลงทุน) ครุภัณฑ์ส านักงาน เครื่องปรับอากาศแบบตงั้พื้นขนาด18,000 บีทียู 1 เครื่อง 1 เครื่อง 100 27,200.00 27,200.00 100 ครุภัณฑ์ส านักงาน เครื่องปรับอากาศแบบตงั้พื้นขนาด26,000 บีทียู 2 เครื่อง 2 เครื่อง 100 72,600.00 72,600.00 100 กิจกรรม : คา่ ใช้สอยในการด าเนินการและตดิตาม โครงการตามนโยบาย คทช. 1 ครั้ง 1 ครั้ง 100 1,000.00 1,000.00 100 2.1 แผนงานยทุธศาสตร์ กิจกรรม : ส่งเสริมเกษตรปลอดภัยในสหกรณ์และกลมุ่เกษตรกร 2 แห่ง 2 แห่ง 100 37,200.00 37,200.00 100 กิจกรรม : ยกระดบัสถาบันเกษตรกรให้เป็นผปู้ระกอบการธุรกิจเกษตร 1 แห่ง 1 แห่ง 100 11,080.00 11,080.00 100 กิจกรรม : ส่งเสริมเกษตรแบบแปลงใหญใ่นสถาบันเกษตรกร 14 แห่ง 14 แห่ง 100 12,100.00 12,100.00 100 กิจกรรม : ส่งเสริมและพัฒนาเพื่อรักษาและยกระดบัความเข้มแข็ง ของสหกรณ/์กลมุ่เกษตรกร 5 แห่ง 5 แห่ง 100 62,200.00 62,200.00 100 1.1 แผนงานยทุธศาสตร์ กจิกรรมหลักแก้ไขปัญหาหนี้สินและพัฒนาคณุภาพชีวิตสมาชิก สหกรณ/์กลมุ่เกษตรกรดว้ยระบบสหกรณ์ - แก้ไขปัญหาหนี้สินและพัฒนาคณุภาพชีวิตสมาชิก สหกรณ์และ กลมุ่เกษตรกรดว้ยระบบสหกรณ์ 22 แห่ง 22 แห่ง 100 29,300.00 29,300.00 100 กจิกรรมหลักช่วยเหลือดา้นหนี้สินสมาชิกสหกรณ์และกลมุ่เกษตรกร กิจกรรมรอง : ลดดอกเบยี้เงินกใู้ห้เกษตรกรสมาชิกสหกรณ์และ กลมุ่เกษตรกร 12 แห่ง 12 แห่ง 100 2,048,079.65 2,048,079.65 100 กิจกรรม : คา่ ใช้จ่ายตามโครงการชดเชยดอกเบยี้เงินกใู้ห้สหกรณ์ และกลมุ่เกษตรกร 12 แห่ง 12 แห่ง 100 15,500.00 15,500.00 100 2.1 แผนงานยทุธศาสตร์ กจิกรรมหลัก พัฒนาสหกรณ์และกลมุ่เกษตรกรในพื้นที่ โครงการอันเนื่องมาจากพระราชด าริ โครงการอนุรักษ์พันธุกรรมพืชอันเนื่องมาจากพระราชด าริสมเดจ็พระเทพ รัตราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี 1 แห่ง 1 แห่ง 100 7,600.00 7,600.00 100 โครงการคลินิกเกษตรเคลอื่นทใี่นราชานุเคราะห์สมเดจ็พระบรมโอรสาธิราชฯ สยามมกุฎราชกุมาร 4 ครั้ง 4 ครั้ง 100 9,100.00 9,100.00 100 โครงการขับเคลอื่นการประยุกตใ์ช้หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ในสหกรณ์และกลมุ่เกษตรกร 5 แห่ง 5 แห่ง 100 3,200.00 3,200.00 100 โครงการจัดงาน "7 มิถุนายน วันสหกรณ์นักเรียน ประจ าปี2566" 1 ครั้ง 1 ครั้ง 100 20,000.00 20,000.00 100 แผนงาน/ผลผลิต/กจิกรรม เปา้หมาย (หนว่ยนบั) ผลการดา เนนิงาน ผลการเบกิจา่ยหมายเหตุ ประกอบ (อธบิาย) 1.2 แผนงานพนื้ฐาน ดา้นการสร้างการเตบิโตบนคุณภาพชีวิตทเี่ปน็มิตรตอ่สิ่งแวดล้อม ผลผลิต เครื่องมือ กลไก การบริหารจัดการทดี่นิและทรัพยากรดนิ 1) โครงการส่งเสริมการดา เนนิงานอนัเนอื่งมาจากพระราชดา ริ กจิกรรมหลักส่งเสริมเกษตรแบบแปลงใหญใ่นสถาบันเกษตรกร 4) โครงการส่งเสริมและพฒันาสถาบนัเกษตรกร กจิกรรมหลักส่งเสริมและพัฒนาเพื่อรักษาและยกระดบัความเข้มแข็งของสหกรณ/์กลมุ่เกษตรกร ยทุธศาสตร์ชาติด้านการสร้างโอกาสและความเสมอภาคทางสังคม 2. แผนแม่บทภายใตย้ทุธศาสตร์ชาตดิา้นการเกษตร 2.1.1 แผนงานยทุธศาสตร์การเกษตรสร้างมูลค่าเพมิ่ 2) โครงการยกระดบัสถาบนัเกษตรกรใหเ้ปน็ผู้ประกอบการธรุกจิเกษตร กจิกรรมหลักยกระดบัสถาบันเกษตรกรให้เป็นผปู้ระกอบการธุรกิจเกษตร 1) โครงการยกระดบัคุณภาพมาตรฐานสินค้าเกษตร กจิกรรมหลักการส่งเสริมและพัมนาเกษตรปลอดภัยในสถาบันเกษตรกรในเขตพื้นทนี่ิคมสหกรณ์ กจิกรรมหลัก พัฒนาเครื่องมือ กลไกเพื่อการบริหารจัดการทดี่นิและทรัพยากรดนิ 1. แผนแม่บทภายใตย้ทุธศาสตร์ชาตดิา้นการดา เนนิกภารกจิยทุธศาสตร์เพอื่สนบัสนนุยทุธศาสตร์ 1.1.1 แผนงานยทุธศาสตร์เพอื่สนบัสนนุดา้นการสร้างโอกาสและความเสมอภาคทางสังคม 1) โครงการแกไ้ขปญัหาหนสี้ินและพฒันาคุณภาพชีวิตสมาชิกสหกรณ/์กลุ่มเกษตรกรดว้ยระบบสหกรณ์ 3) โครงการระบบส่งเสริมการเกษตรแบบแปลงใหญ่ 2) โครงการช่วยเหลือดา้นหนสี้ินสมาชิกสหกรณแ์ละกลุ่มเกษตรกร 2. แผนแม่บทภายใตย้ทุธศาสตร์ชาตดิา้นพลังทางสังคม 2.1.1 แผนงานยทุธศาสตร์เสริมสร้างพลังทางสังคม


๗๐ รายงานผลการดำเนินการประจำปี ๒๕๖๖ WE ARE HOPE เรา คือ ความหวังของเกษตรกร งบประมาณ ทไี่ดร้ับ จดัสรร+โอนเพมิ่ หนว่ยนบัร้อยละ บาท บาท ร้อยละ 3.1 แผนงานบรูณาการ กิจกรรม ส่งเสริม พัฒนาอาชีพเพื่อแก้ไขปัญหาทดี่นิท ากินของเกษตรกร 1 ครั้ง 1 ครั้ง 0 0.00 0.00 0 กจิกรรมหลักคา่ ใช้จ่ายบุคลากรภาครัฐกรมส่งเสริมสหกรณ์ กิจกรรม : คา่ตอบแทนพนักงานราชการ 14 อัตรา 14 อัตรา 100 4,190,760.00 4,190,760.00 100 กิจกรรม : เงินสมทบกองทุนประกันสังคมและเงินสมทบกองทุนทดแทน 14 อัตรา 14 อัตรา 100 118,185.00 118,185.00 100 กิจกรรม : คา่เช่าบ้าน 11 ราย 17 ราย 100 601,735.92 601,735.92 100 รวมเบกิจา่ยทงั้สิ้น 10,187,973.29 10,187,973.29 100 แผนงาน/ผลผลิต/กจิกรรม เปา้หมาย (หนว่ยนบั) ผลการดา เนนิงาน ผลการเบกิจา่ย หมายเหตุ ประกอบ (อธบิาย) แผนงานบคุลากรภาครัฐ ค่าใชจ้่ายบคุลากรภาครัฐ 3.1.1 แผนงานบรูณาการพฒันาและส่งเสริมเศรษฐกจิฐานราก 3. แผนแม่บทภายใตย้ทุธศาสตร์ชาตดิา้นเศรษฐฐานราก 1) โครงการส่งเสริม และพฒันาอาชีพเพอื่แกไ้ขปญัหาทดี่นิทา กนิของเกษตรกร


สำนักงานสหกรณ์จังหวัดลพบุรี http://web.cpd.go.th/lopburi ๗๑ WE ARE HOPE เรา คือ ความหวังของเกษตรกร ๒.๒ ผลการดำเนินงาน/โครงการนอกแผน การปฏิบัติงานและงบประมาณรายจ่าย ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.๒๕๖๖ 1. วัตถุประสงค์ของงาน/โครงการ เพื ่อให้ผู้เข้ารับการอบรมรู้และเข้าใจแนวคิดหลักการและวิธีการสหกรณ์ กฎหมาย สหกรณ์ กฎระเบียบที่ออกตามในพระราชบัญญัติสหกรณ์ พ.ศ.2542 และที่แก้ไขเพิ ่มเติม ความรู้ เกี ่ยวกับการเงิน การบัญชีของสหกรณ์ การวิเคราะห์งบการเงินของสหกรณ์ การบริหารความเสี่ยง เทคนิคและวิธีการตรวจสอบกิจการ การสรุปผลการตรวจสอบและเขียนรายงานผลการตรวจสอบ กิจการเพื่อนำเสนอต่อที่ประชุมใหญ่ สามารถนำความรู้ที่ได้รับจากการอบรมไปปรับใช้ในการปฏิบัติงาน ได้อย่างมีประสิทธิภาพ สามารถสรุปผลเสนอรายงาน ให้ข้อสังเกตและข้อเสนอแนะที่เป็นประโยชน์ต่อ การดำเนินงานของสหกรณ์และต่อมวลสมาชิกได้ 2. กลุ่มเป้าหมาย/พื้นที่เป้าหมายดำเนินการ สมาชิกสหกรณ์ และบุคคลทั่วไปที่มีความสนใจ และเจ้าหน้าที่ที่เกี่ยวข้อง จำนวน 45 คน 3. งบประมาณที่ได้รับในปีงบประมาณ พ.ศ.2566 หน่วย : บาท ประเภทรายจ่าย งบประมาณที่ได้รับ ผลเบิกจ่าย ร้อยละ งบดำเนินงาน 33,300 33,300 100 4. ผลการดำเนินงาน ดำเนินการจัดอบรมจำนวน 3 วัน ระหว ่างวันที ่ 23 - 25 มิถุนายน 2566 ผู้เข้ารับการอบรมทราบหลักการสหกรณ์ กฎหมาย บทบาทหน้าที่ จริยธรรมของผู้ตรวจสอบกิจการ รวมทั้งระเบียบและคำแนะนำที่เกี่ยวข้องกับการปฏิบัติด้านการเงินการบัญชีของสหกรณ์ และผู้เข้ารับ การอบรมสามารถนำความรู้เกี ่ยวกับการตรวจสอบกิจการไปปรับใช้ในการปฏิบัติงานได้อย ่างมี ประสิทธิภาพ มีผู้เข้าร่วมอบรมจำนวน 45 คน 1) การกำกับดูแลการแก้ไขข้อบกพร่องสหกรณ์ และงานตรวจการ กิจกรรมโครงการเสริมสร้างความเข้มแข็งและเป็นอิสระให้กับระบบสหกรณ์หลักสูตร ผู้ตรวจสอบกิจการสหกรณ์ พ.ศ. 2566


๗๒ รายงานผลการดำเนินการประจำปี ๒๕๖๖ WE ARE HOPE เรา คือ ความหวังของเกษตรกร 5. ผลลัพธ์ ผลลัพธ์เชิงปริมาณ ผู้เข้ารับการอบรมมีระยะเวลาในการเข้ารับการอบรมไม ่น้อยกว ่า ร้อยละ 80 ของระยะเวลาการอบรมทั้งหมด ผลลัพธ์เชิงคุณภาพ ผู้เข้าร่วมประชุมมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับบทบาทหน้าที่ของผู้ตรวจสอบกิจการ และ สามารถนำความรู้เกี่ยวกับการตรวจสอบกิจการไปปรับใช้ในการปฏิบัติงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ 6. ปัญหา/อุปสรรคในการดำเนินงานโครงการ ผู้เข้าร ่วมประชุมส ่วนใหญ ่ยังไม ่เข้าใจถึงบาทบาทหน้าที ่ของผู้ตรวจสอบกิจการและ ยังไม่สามารถตรวจการสหกรณ์ในด้านข้อมูลเชิงลึกได้เท่าที่ควร 7. ข้อเสนอแนะ/แนวทางแก้ไขปัญหา ชี้แจงให้ผู้ตรวจสอบกิจการเกิดความเข้าใจถึงบาทบาทหน้าที ่ กระบวนการ ในการตรวจสอบกิจการ และการรายงานผลการตรวจสอบสอบกิจการได้อย่างถูกต้อง ครบถ้วนทุกประเด็น สำนักงานสหกรณ์จังหวัดลพบุรีได้จัดทำโครงการประชุมเชิงปฏิบัติการ “การเรียนการสอน ตามแผนการพัฒนาบุคลากรด้วยกระบวนการ CPD Unit School” เพื่อพัฒนาความรู้ ความสามารถ และเตรียม ความพร้อมกำลังคนให้มีความรู้ความสามารถตามที่หน่วยงานต้องการและคาดหวัง และพัฒนาทักษะ การปฏิบัติงานที ่จำเป็นแก ่บุคลากรกรมส ่งเสริมสหกรณ์ ให้เกิดการเรียนรู้ต ่อเนื ่องจนสามารถพัฒนาทักษะ ความรู้ และความสามารถที่จำเป็นในตำแหน่งงานให้บรรลุผลสำเร็จของงานได้อย่างดี 1. วัตถุประสงค์ของงาน/โครงการ ๑. เพื่อจัดการเรียนการสอนในหน่วยงานเพื่อพัฒนาความรู้ ความสามารถ และ เตรียมพร้อมบุคลากรทุกระดับให้สามารถปฏิบัติงานตามบทบาทภารกิจได้อย่างมีประสิทธิภาพ ๒. เพื่อสร้างเครือข่ายและวัฒนธรรมการเรียนรู้ในองค์กรแก่บุคลากรกรมส่งเสริมสหกรณ์ ในทุกระดับและทุกหน่วยงาน 2. กลุ่มเป้าหมาย/พื้นที่เป้าหมายดำเนินการ ข้าราชการ และพนักงานราชการ สำนักงานสหกรณ์จังหวัดลพบุรี จำนวน ๓๐ คน 3. งบประมาณที่ได้รับในปีงบประมาณ พ.ศ.2566 หน่วย : บาท ประเภทรายจ่าย งบประมาณที่ได้รับ ผลเบิกจ่าย ร้อยละ งบดำเนินงาน 5,700 5,700 100 2) โครงการประชุมเชิงปฏิบัติการ “การเรียนการสอนตามแผนการพัฒนาบุคลากร ด้วยกระบวนการ CPD Unit School”


สำนักงานสหกรณ์จังหวัดลพบุรี http://web.cpd.go.th/lopburi ๗๓ WE ARE HOPE เรา คือ ความหวังของเกษตรกร 4. ผลการดำเนินงาน สำนักงานสหกรณ์จังหวัดลพบุรี จัดประชุมโครงการประชุมเชิงปฏิบัติการ“การเรียนการสอนตาม แผนการพัฒนาบุคลากรด้วยกระบวนการ CPD Unit School” เมื ่อวันที ่ ๒๔ กรกฎาคม ๒๕๖๖ ณ สำนักงานสหกรณ์จังหวัดลพบุรี มีผู้เข้าร่วมประชุมประกอบด้วยข้าราชการ และพนักงานราชการ สำนักงานสหกรณ์จังหวัดลพบุรี จำนวน ๓๐ คน โดยได้ให้ความรู้กับตามหัวข้อวิชา ๑. แนวทางการแนะนำการแก้ไขข้อบังคับ/ ระเบียบของสหกรณ์และกลุ ่มเกษตรกรการให้ความรู้ เกี ่ยวกับการนับองค์ประชุม การนับวันประชุมใหญ่ ภายใน 1๕๐ วัน การจัดสรรกำไรสุทธิ และการตรวจ เอกสารข้อบังคับ/ระเบียบที ่สหกรณ์และกลุ ่มเกษตรกรขอ แก้ไขมาก่อนที่จะส่งมาถึงกลุ่มงาน ๒. ข้อสังเกตกลุ่มเกษตรกร โดยแจ้งประเด็น หลัก ๆ ตามข้อสังเกตที ่ตรวจพบในกล ุ ่มเกษตรกร ที ่ตรวจพบ อาทิการบันทึกบัญชีไม ่ครบถ้วน ไม ่เป็นปัจจุบัน เงินฝากจากบุคคลภายนอกไม ่มีสมุดเงินฝาก, ไม ่มีทะเบียน สมาชิกและถือหุ้น, ขาดทุนสะสม, หุ้นไม ่เป็นไปตามระเบียบ จ ่ายเงินกู้โดยไม ่หักตามข้อบังคับกำหนด หรือเรียกเก็บไม ่เต็ม มูลค ่าหุ้น, ประชุมไม ่เป็นไปตามข้อบังคับ, จ ่ายเงินกู้ให้กับ ผู้ที ่ไม ่ใช ่สมาชิก, เก็บรักษาเงินสดเกินระเบียบ, ไม ่มีระเบียบ ขึ้นถือใช้, จัดสรรกำไรไม ่เป็นไปตามขอบังคับ 11) ลูกหนี้ มีการปฏิเสธหนี้ 5. ผลลัพธ์ ผลลัพธ์เชิงปริมาณ ผู้เข้าร ่วมโครงการฯ ร้อยละ 80 ได้รับ การพัฒนาความรู้ ความสามารถ ในการปฏิบัติงาน ตามบทบาทภารกิจได้อย่าง มีประสิทธิภาพ มีผู้เข้าร่วมอบรม จำนวนร้อยละ ๑๐๐ ของเป้าหมาย ผลลัพธ์เชิงคุณภาพ ผู้เข้าร่วมโครงการได้พัฒนาทักษะ ความรู้ และสามารถที่จำเป็นในตำแหน ่งให้บรรลุ ผลสำเร็จของงานได้อย่างดี 6. ปัญหา/อุปสรรคในการดำเนินงานโครงการ - ไม่มี – 7. ข้อเสนอแนะ/แนวทางแก้ไขปัญหา - ไม่มี –


๗๔ รายงานผลการดำเนินการประจำปี ๒๕๖๖ WE ARE HOPE เรา คือ ความหวังของเกษตรกร ๒.๓ ผลการดำเนินงาน โครงการตามนโยบายสำคัญ และ การบูรณาการในระดับพื้นที่ 1.1) โครงการส่งเสริมการดำเนินธุรกิจร้านค้าสหกรณ์ในรูปแบบซูเปอร์มาเก็ตสหกรณ์ 1. วัตถุประสงค์ของงาน/โครงการ 1. เพื่อส่งเสริมและพัฒนาการดำเนินธุรกิจร้านค้าสหกรณ์ในรูปแบบซูเปอร์มาร์เก็ตสหกรณ์ 2. เพื ่อส ่งเสริมการเชื ่อมโยงธุรกิจระว ่างร้านค้าสหกรณ์และเครือข ่ายสหกรณ์และ กลุ่มเกษตรกรผู้ผลิตสินค้า 2. กลุ่มเป้าหมาย/พื้นที่เป้าหมายดำเนินการ สหกรณ์ จำนวน 2 แห่ง ดังนี้ 1. สหกรณ์การเกษตรโคกสำโรง จำกัด 2. สหกรณ์โคนมไทย – เดนมาร์ก พัฒนานิคม จำกัด 3. งบประมาณที่ได้รับในปีงบประมาณ พ.ศ.2566 - ไม่มี - 4. ผลการดำเนินงาน 1. สหกรณ์การเกษตรโคกสำโรง จำกัด มีการเชื่อมโยงเครือข่ายกับร้านสหกรณ์ลพบุรี จำกัด โดยซื้อสินค้าอุปโภค บริโภคมาจำหน่าย 2. สหกรณ์โคนมไทย – เดนมาร์ก พัฒนานิคม จำกัด มีการเชื ่อมโยงเครือข ่ายกับ สมาชิกสหกรณ์ เจ้าหน้าที ่ กลุ ่มอาชีพในพื้นที ่อำเภอพัฒนานิคม และมีการเชื ่อมโยงเครือข ่ายกับ นายวัชระ หินดีสมาชิกโครงการลูกหลานเกษตรกรกลับบ้าน สานต่ออาชีพการเกษตร (สินค้า ปลาหมอ ไร้ก้าง กบแดดเดียว แช่แข็ง) 5. ผลลัพธ์ ผลลัพธ์เชิงปริมาณ 1. มูลค ่าการจำหน ่ายของร้านซูเปอร์มาร์เก็ต ของสหกรณ์การเกษตรโคกสำโรง จำกัด ถึง วันที่ 30 กันยายน 2566 เป็นเงิน 1,731,221 บาท 2. มูลค่าการจำหน่ายของร้านซูเปอร์มาร์เก็ต ของสหกรณ์โคนมไทย –เดนมาร์ก พัฒนานิคม จำกัด ถึง วันที่ 30 กันยายน 2566 เป็นเงิน 461,775.42 บาท 1) งานส่งเสริม และพัฒนา


สำนักงานสหกรณ์จังหวัดลพบุรี http://web.cpd.go.th/lopburi ๗๕ WE ARE HOPE เรา คือ ความหวังของเกษตรกร ผลลัพธ์เชิงคุณภาพ มีการเชื่อมโยงเครือข ่ายกับ นายวัชระ หินดี สมาชิกจากโครงการลูกหลานเกษตรกร กลับบ้าน สานต่ออาชีพการเกษตร จ.ลพบุรี (สินค้า ปลาหมอไร้ก้าง กบแดดเดียว แช่แข็ง) 6. ปัญหา/อุปสรรคในการดำเนินงานโครงการ สหกรณ์การเกษตรโคกสำโรง จำกัด พบปัญญาตำแหน ่งจุดตั้งร้านค้าไม ่เหมาะสม ทางเข้าร้านค้าไม่สะดุดตา ไม่โดดเด่น 7. ข้อเสนอแนะ/แนวทางแก้ไขปัญหา - ไม่มี - ภาพประกอบ ซูเปอร์มาเก็ตสหกรณ์โคนมไทย - เดนมาร์ก พัฒนานิคม จำกัด นางสาวฉายาลักษณ์ศรีจะบก นักวิชาการสหกรณ์ชำนาญการและ นางสาวศุกร์ฤดีขุมดินพิทักษ์ นักวิชาการสหกรณ์ปฏิบัติการ เข้าแนะนำส่งเสริมการดำเนินธุรกิจร้านค้าสหกรณ์ในรูปแบบซูเปอร์มาเก็ต สหกรณ์ณ สหกรณ์การเกษตรโคกสำโรง จำกัด และ สหกรณ์โคนมไทย – เดนมาร์ก พัฒนานิคม จำกัด สหกรณ์การเกษตรโคกสำโรง จำกัด


๗๖ รายงานผลการดำเนินการประจำปี ๒๕๖๖ WE ARE HOPE เรา คือ ความหวังของเกษตรกร 2.1) การกำกับ ดูแล การแก้ไขข้อบกพร่องสหกรณ์ และงานตรวจการ กิจกรรมโครงการประชุมซักซ้อมผู้ตรวจการสหกรณ์ 1. วัตถุประสงค์ของงาน/โครงการ เพื่อเตรียมความพร้อมและวางแนวทางในการตรวจการสหกรณ์ในจังหวัดลพบุรี 2. กลุ่มเป้าหมาย/พื้นที่เป้าหมายดำเนินการ ผู้ตรวจการสหกรณ์ในจังหวัดลพบุรีและเจ้าหน้าที่กลุ่มตรวจการสหกรณ์ 3. งบประมาณที่ได้รับในปีงบประมาณ พ.ศ.2566 หน่วย : บาท ประเภทรายจ่าย งบประมาณที่ได้รับ ผลเบิกจ่าย ร้อยละ งบดำเนินงาน 7,100 7,100 100 4. ผลการดำเนินงาน จัดประช ุมเชิงปฏิบัติการ จำนวน 1 วัน โดยมีหัวข้อการประชุม ดังนี้ - บทบาทหน้าที่ของผู้ตรวจการสหกรณ์ - แนวทาง หลักเกณฑ์ กระบวนการในการ ตรวจการสหกรณ์ ระยะเวลาดำเนินงาน วันที่ 19 ธันวาคม 2565 5. ผลลัพธ์ ผลลัพธ์เชิงปริมาณ จำนวนผู้เข้าร่วมประชุมมีมากกว่าร้อยละ 80 ผลลัพธ์เชิงคุณภาพ ผู้เข้าร่วมประชุมมีความรู้ความเข้าใจถึงบทบาท หน้าที่ของผู้ตรวจการสหกรณ์ และรับรู้ถึงแนวทาง หลักเกณฑ์ กระบวนการในการตรวจการสหกรณ์ 6. ปัญหา/อุปสรรคในการดำเนินงานโครงการ ผู้เข้าร่วมประชุมส่วนใหญ่ยังไม่เข้าใจถึงบาทบาทหน้าที่ของผู้ตรวจการสหกรณ์ และ ยังไม่สามารถตรวจการสหกรณ์ในด้านข้อมูลเชิงลึกได้เท่าที่ควร 7. ข้อเสนอแนะ/แนวทางแก้ไขปัญหา ชี้แจงให้ผู้เข้าร ่วมประชุมเกิดความเข้าใจถึงบาทบาทหน้าที่ของผู้ตรวจการสหกรณ์ และรับรู้ถึงแนวทาง หลักเกณฑ์ กระบวนการในการตรวจการสหกรณ์เพื ่อนำความรู้ไปปฏิบัติ ในการตรวจการสหกรณ์ได้อย่างถูกต้อง ครบถ้วน 2) งานกำกับติดตามและงานแก้ไขปัญหา


สำนักงานสหกรณ์จังหวัดลพบุรี http://web.cpd.go.th/lopburi ๗๗ WE ARE HOPE เรา คือ ความหวังของเกษตรกร 3.1) กิจกรรมการเข้าร่วมตรวจสอบปริมาณและมูลค่าสินค้าเกษตร 1. วัตถุประสงค์ของงาน/โครงการ ตรวจสอบปริมาณและมูลค่าข้าวตามโครงการชดเชยดอกเบี้ยให้ผู้ประกอบการค้าข้าว ในการเก็บสต็อก ปีการผลิต 2564/65 ของผู้เข้าร่วมโครงการ 2. กลุ่มเป้าหมาย/พื้นที่เป้าหมายดำเนินการ 1. โรงสีโชควรลักษณ์รุ่งเรืองกิจ อำเภอท่าวุ้ง จังหวัดลพบุรี 2. โรงสีข้าวยิ่งเจริญธัญญกิจ อำเภอเมือง จังหวัดลพบุรี 3. งบประมาณที่ได้รับในปีงบประมาณ พ.ศ.2566 - ไม่มี - 4. ผลการดำเนินงาน เข้าร ่วมตรวจสอบปริมาณและมูลค ่า ตามโครงการสินเชื ่อเพื ่อรวบรวมข้าวและ สร้างมูลค่าเพิ่มโดยสถาบันเกษตรกร ปี 2565/66 5. ผลลัพธ์ ผลลัพธ์เชิงปริมาณ 1. มูลค่ารวบรวมข้าวเปลือก ประจำปี 2565/66 รวมมูลค่า 1,560,336,825 บาท 2. มูลค่ารวบรวมข้าวสาร ประจำปี 2565/66 รวมมูลค่า 30,073,650 บาท 6. ปัญหา/อุปสรรคในการดำเนินงานโครงการ - ไม่มี – 7. ข้อเสนอแนะ/แนวทางแก้ไขปัญหา - ไม่มี – ภาพประกอบ ตรวจสอบปริมาณและมูลค่าข้าว ตามโครงการชดเชยดอกเบี้ยให้ผู้ประกอบการค้าข้าวในการเก็บสต็อก ปีการผลิต 2564/65 นางสาวฉายาลักษณ์ศรีจะบก นักวิชาการสหกรณ์ปฏิบัติการ นายเจตริน ขันแก้ว นักวิชาการสหกรณ์ ปฏิบัติการ และ นางสาวธัญทิพย์กันเกตุ นักวิชาการมาตรฐานสินค้า เข้าตรวจสอบปริมาณและมูลค ่าข้าว ตามโครงการชดเชยดอกเบี้ยให้ผู้ประกอบการค้าข้าวในการเก็บสต็อก ปีการผลิต 2564/65 ณโรงสีโชควรลักษณ์ รุ่งเรืองกิจ อำเภอท่าวุ้ง จังหวัดลพบุรีและ โรงสีข้าวยิ่งเจริญธัญญกิจ อำเภอเมือง จังหวัดลพบุรี 3) งานบูรณาการกับหน่วยงานภาคส่วนต่าง ๆ ในพื้นที่


๗๘ รายงานผลการดำเนินการประจำปี ๒๕๖๖ WE ARE HOPE เรา คือ ความหวังของเกษตรกร 1. วัตถุประสงค์ของงาน/โครงการ เพื ่อสนับสนุนเงินทุนในการส ่งเสริมกิจการของสหกรณ์ในจังหวัดลพบุรีเป็นกองทุน ที ่มีการบริหารจัดการอย ่างมืออาชีพ สนับสนุน พัฒนาสหกรณ์ เพื ่อขับเคลื ่อนระบบสหกรณ์ ให้มีขีดความสามารถในการแข่งขัน มั่นคง และยั่งยืน 2. กลุ่มเป้าหมาย/พื้นที่เป้าหมายดำเนินการ สหกรณ์ในพื้นที่จังหวัดลพบุรี จำนวน 10 สหกรณ์ 13 สัญญา 3. งบประมาณที่ได้รับในปีงบประมาณ พ.ศ.2566 หน่วย : บาท ประเภทรายจ่าย งบประมาณที่ได้รับ ผลเบิกจ่าย ร้อยละ โครงการปกติ 28,300,000.00 28,300,000.00 100.00 โครงการพิเศษ 9,130,000.00 9,130,000.00 100.00 รวม 37,430,000.00 37,430,000.00 100.00 4. ผลการดำเนินงาน หน่วย : บาท รายการ หน่วยนับ แผน ผล 1. ตรวจสอบและวิเคราะห์คำขอกู้ สหกรณ์/สัญญา 10/13 10/13 2. จัดประชุมคณะอนุกรรมการพิจารณาเงินกู้ฯ ครั้ง 4 4 3. จัดทำสัญญาเงินกู้และสัญญาค้ำประกัน สัญญา 13 13 4. ติดตามเร่งรัดหนี้สัญญาครบกำหนดปี 2566 สัญญา 27 26 4) กองทุนพัฒนาสหกรณ์ (กพส.)


สำนักงานสหกรณ์จังหวัดลพบุรี http://web.cpd.go.th/lopburi ๗๙ WE ARE HOPE เรา คือ ความหวังของเกษตรกร 5. ผลลัพธ์ ผลลัพธ์เชิงปริมาณ สามารถจ ่ายเงินกู้ให้แก ่สหกรณ์ในจังหวัดลพบุรี จำนวน 13 สัญญา เป็นเงิน 37,430,000 บาท ดังนี้ อนุมัติ/เบิกจ่าย ที่ ชื่อสหกรณ์ วัตถุประสงค์ วันที่อนุมัติ สัญญา ด/บ จำนวน เงิน วันที่ ครบ % จังหวัด 1 สหกรณ์โคนมไทย-เดนมาร์ก พัฒนานิคม จำกัด รวบรวมน้ำนมดิบ 11 ม.ค. 66 3 ก.พ. 66 29 ธ.ค.66 2.5 5.000 2 สทด.พัฒนานิคม จำกัด ซื้อวัตถุดิบผลิต อาหารสัตว์ 11 ม.ค. 66 3 ก.พ. 66 29 ธ.ค.66 1.0 2.200 3 สหกรณ์โคนมพัฒนานิคม จำกัด ให้สมาชิกกู้ปรับปรุง ฟาร์ม 11 ม.ค. 66 3 ก.พ. 66 30 ธ.ค.70 1.0 3.000 4 สหกรณ์โคนมพัฒนานิคม จำกัด ให้สมาชิกกู้บรรเทา ความเดือนร้อนจาก อุทกภัย 11 ม.ค. 66 3 ก.พ. 66 29 ธ.ค.66 0.0 3.000 5 สหกรณ์โคนมท่าหลวง จำกัด เป็นทุนให้สมาชิกกู้ เพื่อบรรเทาความ เดือดร้อนหลังประสบ อุทกภัย 11 ม.ค. 66 20 ก.พ.66 29 ธ.ค.66 0.0 0.930 6 สหกรณ์การเกษตรบ่อทอง - หนองม่วง จำกัด ให้สมาชิกกู้ 17 ก.พ. 66 10 มี.ค.66 29 ก.พ. 67 2.5 2.000 7 สหกรณ์บริการหินอ่อน ท่าดินดำ จำกัด เป็นทุนให้สมาชิกกู้ 17 ก.พ. 66 13 มี.ค.66 28 ก.พ. 67 3.0 1.500 8 สหกรณ์ผู้ใช้น้ำบ้านท่าดินดำ จำกัด เป็นทุนให้สมาชิกกู้ 17 ก.พ. 66 3 เม.ย. 66 31 มี.ค. 67 3.0 1.500 9 สหกรณ์ผู้ใช้น้ำสถานีสูบน้ำ ด้วยไฟฟ้าบ้านหนองยายโต๊ะ จำกัด เป็นทุนให้สมาชิกกู้ 30 พ.ค.66 13 มิ.ย.66 31 พ.ค. 67 3.0 3.000 10 สหกรณ์การเกษตรสระโบสถ์ จำกัด เป็นทุนจัดหาวัสดุ การเกษตรมา จำหน่ายให้กับสมาชิก 30 พ.ค.66 28 มิ.ย.66 31 พ.ค. 67 3.0 5.000 11 สหกรณ์โคนมไทย-เดนมาร์ค ก.น.ช.หนองรี จำกัด การรวบรวมน้ำนมดิบ 18 ก.ค. 66 23 ส.ค.66 31 ก.ค.67 3.0 5.000 12 สหกรณ์โคนมไทย-เดนมาร์ค ก.น.ช.หนองรี จำกัด จัดหาสินค้ามา จำหน่าย(อาหารสัตว์) 18 ก.ค. 66 23 ส.ค.66 31 ก.ค.67 3.0 5.000 13 สหกรณ์เดินรถสระโบสถ์ จำกัด เป็นทุนให้สมาชิกกู้ 18 ก.ค. 66 18 ส.ค.66 31 ก.ค. 67 2 0.300


๘๐ รายงานผลการดำเนินการประจำปี ๒๕๖๖ WE ARE HOPE เรา คือ ความหวังของเกษตรกร ผลลัพธ์เชิงคุณภาพ 1. สหกรณ์ได้รับเงินกู้ยืมในอัตราดอกเบี้ยที ่ต่ำกว่าสถาบันการเงินอื ่น และลดต้นทุน การประกอบอาชีพของสมาชิกสหกรณ์ได้ 2. สหกรณ์มีเงินทุนในการพัฒนาศักยภาพในการดำเนินธุรกิจ และช ่วยลดปัญหา การขาดสภาพคล่องทางการเงินของสหกรณ์ ทำให้สหกรณ์สามารถขยายปริมาณธุรกิจและให้บริการ สมาชิกได้ครอบคลุมมากขึ้น 6. ปัญหา/อุปสรรคในการดำเนินงานโครงการ สหกรณ์บางแห ่งได้รับเงินกู้ล ่าช้า เนื ่องจากเอกสารหลักฐานประกอบการขอกู้ ไม่ถูกต้อง ครบถ้วน 7. ข้อเสนอแนะ/แนวทางแก้ไขปัญหา เจ้าหน้าที่ผู้ปฏิบัติงานกองทุนพัฒนาสหกรณ์ ต้องประสานงานอย่างใกล้ชิดกับสหกรณ์ เจ้าหน้าที่ส่งเสริมสหกรณ์ และกรมส่งเสริมสหกรณ์ ภาพประกอบ การประชุมคณะอนุกรรมการพิจารณาเงินกู้กองทุนพัฒนาสหกรณ์ ระดับจังหวัด จังหวัดลพบุรี ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2566


สำนักงานสหกรณ์จังหวัดลพบุรี http://web.cpd.go.th/lopburi ๘๑ WE ARE HOPE เรา คือ ความหวังของเกษตรกร 5.1) โครงการสร้างความเข้มแข็งให้กับกลุ่มเกษตรกร เพื่อเข้าถึงแหล่งเงินทุน ในการผลิตและการตลาด 1. วัตถุประสงค์ของงาน/โครงการ 1. สนับสนุนเงินกู้ยืมให้กับกลุ ่มเกษตรกรเฉพาะที ่มีมาตรฐาน เพื ่อให้มีเงินกู้ยืม ใช้เป็นเงินทุนหมุนเวียนในแต่ละปี 2. เพื่อส่งเสริมเกษตรกรให้สามารถจัดหาปัจจัยการผลิตทางการเกษตรที ่มีคุณภาพ และราคายุติธรรม ตรงตามความประสงค์ของเกษตรกรเอง เพื่อเป็นการลดต้นทุนการผลิตของเกษตรกร รวมทั้งสร้างรายได้เพิ่มจากการรวบรวมผลผลิตเพื่อจาหน่าย หรือแปรรูปผลผลิตร่วมกัน 3. สร้างโอกาสการเข้าถึงแหล่งเงินทุนให้กับเกษตรกร เพื่อร่วมกันแก้ไขปัญหาและสร้าง ความยั่งยืนในการเพิ่มทุนภายใน เพื่อให้การบริหารจัดการกลุ่มเกษตรกรมีศักยภาพและความเข้มแข็งต่อไป 2. กลุ่มเป้าหมาย/พื้นที่เป้าหมายดำเนินการ 1. กลุ ่มเกษตรกรผ ่านตัวชี้วัด การจัด ระดับมาตรฐานกลุ่มเกษตรกรของกรมส่งเสริมสหกรณ์ 2. ต ้ อ ง ไ ด ้ ร ั บ ค ว า ม เ ห ็ น ช อ บ จากคณะกรรมการกลางกลุ่มเกษตรกร ระดับจังหวัด 3. มีวินัยทางการเงิน กล่าวคือ ใช้เงินกู้ ตามวัตถุประสงค์และไม่บิดพลิ้วการชำระหนี้ 4. มีระเบียบหรือข้อบังคับเกี ่ยวกับ การดำเนินธุรกิจที่สามารถดำเนินการตามวัตถุประสงค์ ของโครงการ/แผนงาน 5. ต้องไม่ผิดนัดชำระหนี้เงินทุนอื ่น ๆ ของทางราชการ 6. มีประวัติชำระหนี้อยู่ในเกณฑ์ดี 7. ไม่อยู่ในระหว่างการถูกดำเนินคดี เกี ่ยวกับการเงินจากกรมส ่งเสริมสหกรณ์ หรือ หน่วยงานอื่น 3. งบประมาณที่ได้รับในปีงบประมาณ พ.ศ.2566 หน่วย : บาท จำนวน กลุ่มเกษตรกรขอกู้ งบประมาณ ที่ได้รับ ผลการอนุมัติ ผลการเบิกจ่าย ร้อยละ 4๒ กลุ่ม 1๘,๔๘๖,๐๐๐ 1๘,๔๘๖,๐๐๐ 1๘,๔๘๖,๐๐๐ ๑๐๐ 5) กองทุนส่งเคราะห์เกษตร


๘๒ รายงานผลการดำเนินการประจำปี ๒๕๖๖ WE ARE HOPE เรา คือ ความหวังของเกษตรกร 4. ผลการดำเนินงาน สำหรับสำนักงานสหกรณ์จังหวัดลพบุรี ได้รับจัดสรรเงินในปีงบประมาณ พ.ศ. 256๖ เพื่อดำเนินการปล่อยเงินกู้ให้กลุ่มเกษตรกรโดยปลอดดอกเบี้ย กลุ่มเกษตรกรจำนวน 4๒ กลุ่ม เป็นเงิน จำนวน 1๘,๔๘๖,๐๐๐.00 บาท ซึ่งสามารถบรรเทาความเดือดร้อนด้านภาระหนี้สิน และได้รับโอกาส ในการฟื้นฟูอาชีพของตนเองได้ 5. ผลลัพธ์ ผลลัพธ์เชิงปริมาณ กลุ่มเกษตรกรในจังหวัดลพบุรีได้รับเงินกู้ปลอดดอกเบี้ยไปส่งเสริมการประกอบอาชีพของ สมาชิกเพิ่มมูลค่าให้กับผลผลิตทางกรเกษตร จำนวน ๔๒ กลุ่ม เป็นจำนวนเงิน ๑๘,๔๘๐,๐๐๐.๐๐ บาท ผลลัพธ์เชิงคุณภาพ ๑. การสนับสนุนเงินกู้ยืมให้กับกลุ ่มเกษตรกรเฉพาะกลุ ่มที ่ผ ่านมาตรฐาน มีผลทำให้ กลุ ่มต้องต้องพยายามรักษามาตรฐานไว้ จึงจะสามารถกู้เงินกองทุนสงเคราะห์เกษตรกรได้ อีกทั้งยัง มีผลทำให้กลุ ่มที ่ยังไม ่ผ ่านเกณฑ์มาตรฐานต้องพัฒนาตนเองเพื ่อให้ผ ่านเกณฑ์มาตรฐาน ทำให้ กลุ่มเกษตรกรภายในจังหวัดลพบุรีมีความเข็มแข็งยิ่งขึ้น 2. กลุ่มเกษตรกรสามารถจัดหาปัจจัยการผลิตทางการเกษตรที่มีคุณภาพในราคาที่ยุติธรรม ตรงตามความประสงค์ของสมาชิก ช่วยลดต้นทุนการผลิต และสร้างรายได้ให้สมาชิกเพิ่มมากขึ้น ๓. สร้างโอกาสการเข้าถึงแหล่งเงินทุนให้กับกลุ่มเกษตรกร เพื่อร่วมกันแก้ไขปัญหาและ สร้างความยั ่งยืนในการเพิ ่มทุนภายใน กลุ ่มเกษตรกรมีศักยภาพในการบริหารจัดการ และสร้าง ความเข้มแข็งให้กับกลุ่มเกษตรกรต่อไป 6. ปัญหา/อุปสรรคในการดำเนินงานโครงการ กลุ่มเกษตรกรไม่มีพนักงานจัดทำเอกสารต่าง ๆ ให้กับกลุ่มเกษตรกร การจัดทำคำขอกู้ หนังสือสัญญา และหนังสือสัญญาค้ำประกันของกลุ ่มเกษตรกร การจัดทำเอกสารมีความผิดพลาด ซึ ่งเกิดจากความเข้าใจคลาดเคลื ่อนในแบบฟอร์มเอกสารคู ่มือ เนื ่องจากขาดการศึกษาคู ่มือ การดำเนินงานอย่างละเอียด 7. ข้อเสนอแนะ/แนวทางแก้ไขปัญหา สำนักงานสหกรณ์จังหวัดลพบุรีควรจัดประชุมเชิงปฏิบัติการ เรื่อง หลักเกณฑ์เงื่อนไข โครงการการเขียนแผนงานโครงการ การจัดทำคำขอกู้เงิน การขอเบิกเงินกู้ การใช้เงินตามวัตถุประสงค์ การจัดทำและจัดเก็บเอกสารด้านการเงินการบัญชี และความรับผิดชอบของกรรมการในฐานะผู้กู้และ ผู้ค้ำประกัน การเก็บค่าหุ้นตามสัดส่วนของเงินกู้เพื่อเป็นการเพิ่มทุนภายในให้กับกลุ่มเกษตรกรให้แก่ คณะกรรมการกลุ่มเกษตรกรที่ขอกู้เงินและเจ้าหน้าที่ส่งเสริมสหกรณ์หรือผู้ที่เกี่ยวข้อง โดยใช้ข้อมูลจริง ของกลุ่มเกษตรกรในการฝึกปฏิบัติ ระยะเวลาการจัดอบรมในช่วงต้นปีงบประมาณ


Click to View FlipBook Version