๔๐ รำยงำนผลกำรด ำเนินกำรประจ ำปี ๒๕๖๑ ซื่อตรงต่อหน้ำที่ มีวินัย โปร่งใส ไร้ทุจริต
ส ำนักงำนสหกรณ์จังหวัดลพบุรี http://web.cpd.go.th/lopburi ๔๑ ซื่อตรงต่อหน้ำที่ มีวินัย โปร่งใส ไร้ทุจริต
๔๒ รำยงำนผลกำรด ำเนินกำรประจ ำปี ๒๕๖๑ ซื่อตรงต่อหน้ำที่ มีวินัย โปร่งใส ไร้ทุจริต
ส ำนักงำนสหกรณ์จังหวัดลพบุรี http://web.cpd.go.th/lopburi ๔๓ ซื่อตรงต่อหน้ำที่ มีวินัย โปร่งใส ไร้ทุจริต ส่วนที่ ๒ ผลการด าเนินงาน ศาลพระกาฬ วัดเขาพระ ต.หนองบัว อ.พัฒนานิคม จ.ลพบุรี
๔๔ รำยงำนผลกำรด ำเนินกำรประจ ำปี ๒๕๖๑ ซื่อตรงต่อหน้ำที่ มีวินัย โปร่งใส ไร้ทุจริต แผนงาน/ผลผลิต/กิจกรรม เป้าหมาย (หน่วยนับ) ผลการด าเนินงาน งบประมาณ ที่ได้รับ จัดสรร+โอนเพิ่ม ผลการเบิกจ่าย หมายเหตุ ประกอบ (อธิบาย).. หน่วยนับ ร้อยละ บาท บาท ร้อยละ 1. แผนงาน พื้นฐานด้านการแก้ไขปัญหาความยากจน ลดความเหลื่อมล้ าและสร้างการเติบโตจากภายใน ผลผลิต สหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรได้รับการแนะน าส่งเสริมและก ากับ กิจกรรมหลัก ส่งเสริมและพัฒนาสหกรณ์และกลุ่ม เกษตรกร กิจกรรมรอง รายจ่ายเพื่อการลงทุนส าหรับครุภัณฑ์ และสิ่งก่อสร้าง 2,422,800.00 2,422,800.00 100 กิจกรรม ส่งเสริมสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรตาม ระบบการส่งเสริมสหกรณ์ CPS 191 แห่ง 191 แห่ง 100 1,823,960.00 1,823,960.00 100 งบดูแลกิจการนิคมสหกรณ์ (แนะน า ส่งเสริม ส นั บ ส นุ น พั ฒ น า แ ล ะ ก า กั บ ส ห ก ร ณ์ใ น เ ข ต นิคมสหกรณ์) 1 แห่ง 1 แห่ง 100 128,800.00 128,800.00 100 กิ จ ก ร ร ม ส่ง เ ส ริ ม แ ล ะพัฒ น า ส ห ก รณ์ แ ล ะ กลุ่มเกษตรกร 172 แห่ง 172 แห่ง 100 855,200.00 855,200.00 100 ค่าใช้จ่ายในการประชุมการเข้าถึงแหล่งเงินทุน 58 แห่ง 58 แห่ง 100 12,400.00 12,400.00 100 ค่าใช้จ่ายในการช าระบัญชี 14 แห่ง 2 แห่ง 14.29 20,000.00 20,000.00 100 โครงการสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรได้รับการ แนะน าส่งเสริมและก ากับ 40 แห่ง 40 แห่ง 100 330,900.00 330,900.00 100 ค่าใช้จ่ายในการประชุม จกบ. 4 ครั้ง 4 ครั้ง 100 18,000.00 18,000.00 100 จัดท าข้อมูลพื้นฐานและปัจจัยพื้นฐานของสหกรณ์ และกลุ่มเกษตรกร 1,800.00 1,800.00 100 เงินอุดหนุนชดเชยน้ านมโคเททิ้งเนื่องจากโรงงาน ผู้รับซื้อประสบอุทกภัยปลายปี 2554 2 แห่ง 2 แห่ง 100 2,460,089.24 2,460,089.24 100 โครงการสินเชื่อเพื่อรวบรวมข้าวและสร้างมูลค่าเพิ่ม โดยสถาบันเกษตรกรปีการผลิต 2560/61 20,700 ตัน 28,848 ตัน 139 24,500.00 24,500.00 100 โครงการส่งเสริมสหกรณ์การเกษตรเพื่อการตลาด ลูกค้า ธ.ก.ส.ประจ าปีงบประมาณ พ.ศ.2561 เพิ่มเติม 1 แห่ง 1 แห่ง 100 37,080.00 37,080.00 100 โครงการพัฒนาการบริหารจัดการสหกรณ์เคหสถาน บ้านมั่นคงให้มีประสิทธิภาพ 1 แห่ง 1 แห่ง 100 26,000.00 26,000.00 100 โครงการประชุมคณะกรรมการกลุ่มเกษตรกร 1 ครั้ง 1 ครั้ง 100 50,240.00 50,240.00 100 โครงการพัฒนาศักยภาพกลุ่มเกษตรกร ปี 2561 1 แห่ง/30ราย 1 แห่ง/30ราย 100 41,800.00 41,800.00 100 ค่ าใช้ จ่ า ยในก า ร ด า เนิ นโ ค รงก า ร ฝึก อบ ร ม อาสาสมัครสหกรณ์ 11,200.00 11,200.00 100 ค่าใช้จ่ายในการพัฒนาศักยภาพการด าเนินธุรกิจ สินค้าเกษตรในสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร 103,500.00 103,500.00 100 ค่าใช้จ่ายส าหรับผู้เข้าประชุมเชิงปฏิบัติการ การ ปรับโครงสร้างภาคเกษตรโดยกลไกสหกรณ์ 10,000.00 10,000.00 100 โครงการพัฒนาศักยภาพการด าเนินธุรกิจสินค้า เกษตรในสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร 1 แห่ง 1 แห่ง 100 2,900,900.00 2,900,900.00 100 กิจกรรมหลัก การพัฒนาเทคโนโลยีสารสนเทศและ การสื่อสาร กิจกรรมรอง รายงานเพื่อการลงทุนด้านเทคโนโลยี สารสนเทศ 22,000.00 22,000.00 100 สรุปผลการปฏิบัติงานและผลเบิกจ่ายงบประมาณ ตามแผนปฏิบัติงานและงบประมาณรายจ่าย ประจ าปีงบประมาณ พ.ศ.๒๕๖๑
ส ำนักงำนสหกรณ์จังหวัดลพบุรี http://web.cpd.go.th/lopburi ๔๕ ซื่อตรงต่อหน้ำที่ มีวินัย โปร่งใส ไร้ทุจริต แผนงาน/ผลผลิต/กิจกรรม เป้าหมาย (หน่วยนับ) ผลการด าเนินงาน งบประมาณ ที่ได้รับ จัดสรร+โอนเพิ่ม ผลการเบิกจ่าย หมายเหตุ ประกอบ (อธิบาย).. หน่วยนับ ร้อยละ บาท บาท ร้อยละ 2. แผนงานยุทธศาสตร์การส่งเสริมการด าเนินงานตามแนวทางหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง โครงการส่งเสริมการด าเนินงานอันเนื่องมาจากพระราชด าริ กิจกรรมหลัก พัฒนาสหกรณ์/กลุ่มเกษตรในพื้นที่ โครงการอันเนื่องมาจากพระราชด าริ โครงการอนุรักษ์พันธุกรรมพืชฯ 90 ราย 90 ราย 100 74,500.00 74,500.00 100 คลินิกเกษตรเคลื่อนที่ฯ 4 ครั้ง 4 ครั้ง 100 20,000.00 20,000.00 100 ขับเคลื่อนปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงในเขตนิคม 2 แห่ง 2 แห่ง 100 53,000.00 53,000.00 100 ประกวดผลการขับเคลื่อนปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง 3,800.00 3,800.00 100 3. แผนงานบูรณาการ: พัฒนาเศรษฐกิจฐานรากและชุมชนเข้มแข็ง โครงการช่วยเหลือด้านหนี้สินสมาชิกสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร กิจกรรมหลัก ช่วยเหลือด้านหนี้สินสมาชิกสหกรณ์/ กลุ่มเกษตรกรที่ประสบอุทกภัย ปี 2559/60 โครงการช่วยเหลือด้านหนี้สินสมาชิกสหกรณ์/กลุ่ม เกษตรกร 3 แห่ง 3 แห่ง 100 14,500.00 14,500.00 100 เงินอุดหนุนเพื่อชดเชยดอกเบี้ยให้แก่สม าชิก สหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรที่ประสบอุทกภัย 1 แห่ง 1 แห่ง 100 74,806.70 74,806.70 100 กิจกรรมหลัก พักช าระหนี้ต้นเงินและลดดอกเบี้ยให้ สมาชิกกลุ่มเกษตรกรที่ปลูกข้าว ปีการผลิต 2559/60 เงินอุดหนุนเพื่อชดเชยดอกเบี้ยให้แก่สม าชิก สหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรที่ปลูกข้าว 59/60 2 แห่ง 2 แห่ง 100 4,377.27 4,377.27 100 โครงการพัฒนากลุ่มอาชีพสร้างมูลค่าเพิ่มในสังกัดสถาบันเกษตรกร กิจกรรมหลัก พัฒนากลุ่มอาชีพสร้างมูลค่าเพิ่มใน สังกัดสถาบันเกษตรกร โครงการพัฒนากลุ่มอาชีพสร้างมูลค่าเพิ่มในสังกัด สถาบันเกษตรกร 2 แห่ง 2 แห่ง 100 132,300.00 132,300.00 100 4. แผนงานบูรณาการ: การส่งเสริมวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม โครงการส่งเสริมการวมกลุ่มผู้ผลิตสินค้าเกษตรในสถาบันเกษตรกร กิจกรรมหลัก สนับสนุนการรวมกลุ่มผู้ผลิตสินค้า เกษตรในสถาบันเกษตรกร โครงการส่งเสริมการวมกลุ่มผู้ผลิตสินค้าเกษตรใน สถาบันเกษตรกร 1 แห่ง 1 แห่ง 100 8,100.00 8,100.00 100 5. แผนงานบูรณาการ : การพัฒนาศักยภาพการผลิตภาคเกษตร โครงการพัฒนาความเข้มแข็งสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร กิจก ร รมหลัก เส ริมส ร้างความเข้มแข็งภ าค การเกษตร 1 อ าเภอ 1 สหกรณ์ภาคการเกษตร โครงการ 1 หอการค้า 1 สหกรณ์การเกษตร 1 แห่ง 1 แห่ง 100 52,800.00 52,800.00 100 โครงการ 1 อ าเภอ 1 สหกรณ์การเกษตร 11 แห่ง 11 แห่ง 100 63,900.00 63,900.00 100 โครงการบริหารจัดการเขตเกษตรเศรษฐกิจส าหรับสินค้าเกษตรที่ส าคัญ กิจกรรมหลัก ส่งเสริมการปรับเปลี่ยนการเกษตร ตามแผนที่ Agri - Map 70 ราย/ 280 ไร่ 70 ราย/ 280 ไร่ 100 179,000.00 179,000.00 100 โครงการพัฒนาความเข้มแข็งสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร กิจกรรมหลัก พัฒนาความเข้มแข็งเพื่อยกระดับชั้น สหกรณ์ 77 แห่ง 77 แห่ง 100 127,400.00 127,400.00 100 โครงการส่งเสริมการใช้เครื่องจักรกลการเกษตรทดแทนแรงงานเกษตร กิจก ร รมหลัก ส่งเส ริมก า รใช้เครื่อง จักรกล การเกษตรทดแทนแรงงานเกษตร เงินอุดหนุนเพื่อลดต้นทุนการผลิตสินค้าเกษตร ให้แก่สหกรณ์ 1 แห่ง 1 แห่ง 100 8,674,600.00 8,674,600.00 100 โครงการตลาดเกษตรกร กิจกรรมหลัก สนับสนุนตลาดเกษตรกรในสหกรณ์/ กลุ่มเกษตรกร โครงการตลาดเกษตรกร 1 แห่ง 1 แห่ง 100 134,000.00 134,000.00 100 โครงการระบบส่งเสริมการตลาดแบบแปลงใหญ่ กิจกรรมหลัก สนับสนุนการด าเนินการบริหารจัด การเกษตรแบบแปลงใหญ่ในรูปแบบสหกรณ์ โครงการระบบส่งเสริมการเกษตรแบบแปลงใหญ่ 22 แปลง 34 แปลง 154 360,200.00 360,200.00 100 โครงการศูนย์เรียนรู้การเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตสินค้าเกษตร กิจกรรมหลัก สนับสนุนกิจกรรมสหกรณ์ในศูนย์ เรียนรู้การเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตสินค้าเกษตร
๔๖ รำยงำนผลกำรด ำเนินกำรประจ ำปี ๒๕๖๑ ซื่อตรงต่อหน้ำที่ มีวินัย โปร่งใส ไร้ทุจริต แผนงาน/ผลผลิต/กิจกรรม เป้าหมาย (หน่วยนับ) ผลการด าเนินงาน งบประมาณ ที่ได้รับ จัดสรร+โอนเพิ่ม ผลการเบิกจ่าย หมายเหตุ ป ร ะ ก อ บ (อธิบาย).. หน่วยนับ ร้อยละ บาท บาท ร้อยละ โครงการศูนย์เรียนรู้การเพิ่มประสิทธิภาพการผลิต สินค้าเกษตร 11 ศูนย์ 11 ศูนย์ 100 90,500.00 90,500.00 100 โครงการธนาคารสินค้าเกษตร กิจกรรมหลัก สนับสนุนการด าเนินงานในรูปแบบ ธนาคารสินค้าเกษตรในสหกรณ์ โครงการธนาคารสินค้าเกษตร 1 แห่ง 1 แห่ง 100 17,300.00 17,300.00 100 โครงการสนับสนุนการพัฒนาระบบเกษตรกรรมยั่งยืนในสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร กิจกรรมหลัก ส่งเสริมเกษตรอินทรีย์ในสหกรณ์ใน พื้นที่นิคมสหกรณ์ ส่งเสริมเกษตรอินทรีย์ในสหกรณ์ในพื้นที่นิคม สหกรณ์ 2 แห่ง 2 แห่ง 100 148,800.00 148,800.00 100 กิจกรรมหลัก ส่งเสริมการเกษตรตามแนวทาง ทฤษฎีใหม่ในสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร แนะน าส่งเสริมและติดตามกิจกรรมประเมินผล โครงการเกษตรทฤษฎีใหม่ ประจ าปี 2561 53 ราย 53 ราย 100 5,300.00 5,300.00 100 โครงการพัฒนาเกษตรปราดเปรื่อง (Smart Farmer) กิจกรรมหลัก พัฒนาสมาชิกสหกรณ์เป็นสมาชิก ปราดเปรื่อง (Smart Farmer) ค่าใช้จ่ายในการพัฒนาเกษตรกรปราดเปรื่อง 65 ราย 65 ราย 100 27,750.00 27,750.00 100 6. แผนงานค่าใช้จ่ายบุคลากรภาครัฐ กิจกรรมหลัก ค่าใช้จ่ายบุคลากรภาครัฐกรมส่งเสริม สหกรณ์ กิจกรรมรอง บุคลากรภาครัฐกรมส่งเสริมสหกรณ์ รายการค่าใช้จ่ายบุคลากรภาครัฐ พัฒนาเศรษฐกิจ ฐานรากและชุมชนเข้มแข็ง กิจกรรมค่าตอบแทนพนักงานราชการ 14 อัตรา 14 อัตรา 100 3,444,720.00 3,444,720.00 100 กิจกรรมเงินประกันสังคม 125,076.00 125,076.00 100 กิจกรรมค่าเช่าบ้าน 535,500.00 535,500.00 100 7. โครงการไทยนิยม ยั่งยืน โครงการพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานแก่สถาบันเกษตรกรจัดเก็บพืชผลทางการเกษตร (แก้มลิง) เงินอุดหนุนรายการก่อสร้างเครื่องชั่ง พร้อมฐานฯ 1 แห่ง 1 แห่ง 100 1,198,900.00 1,198,900.00 100 โครงการสนับสนุนอุปกรณ์แปรรูปผลผลิตทางการเกษตร (งบกลางปี 61) เงินอุดหนุนในการจัดหาเครื่องตรวจวิเคราะห์ คุณภาพน้ านม 1 แห่ง 1 แห่ง 100 1,506,600.00 1,506,600.00 100 ที่มา : ฝ่ายบริหารทั่วไป ส านักงานสหกรณ์จังหวัดลพบุรี, ๓๐ กันยายน 2561
ส ำนักงำนสหกรณ์จังหวัดลพบุรี http://web.cpd.go.th/lopburi ๔๗ ซื่อตรงต่อหน้ำที่ มีวินัย โปร่งใส ไร้ทุจริต ส านักงานสหกรณ์จังหวัดลพบุรี ได้มีค าสั่งส านักงานสหกรณ์จังหวัดลพบุรี ที่35/2560 เรื่อง แต่งตั้งคณะท างานขับเคลื่อนแผนการปฏิบัติงานประจ าปีงบประมาณ พ.ศ. 2561 เพื่ขับเคลื่อน แผนปฏิบัติงานประจ าปีงบประมาณ พ.ศ.2561 “Smart Agricultural Curve” โดยแบ่งการด าเนินการตาม แผนงานและงบประมาณเป็นภารกิจ 4 ด้าน ได้แก่ 1) การสร้างความเข้มแข็งของสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร 2) ส่งเสริมสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรให้มีบทบาทขับเคลื่อนนโยบายรัฐ/ยกระดับกระดาษ A4 3) ยกระดับ คุณภาพและมาตรฐานสินค้า/สร้างมูลค่าสินค้าเกษตร 4) พัฒนาคน ซึ่งสรุปผลส าเร็จได้ดังนี้ คณะท างานภารกิจที่ 1 การสร้างความเข้มแข็งของสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร ได้มีการด าเนินการ ดังนี้ 1. คณะท างานกลุ่มภารกิจที่ 1 การสร้างความเข้มแข็งของสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร ได้ประชุมคณะท างานฯ เมื่อวันที่ 27 พฤศจิกายน 2560 และได้มอบหมายให้คณะท างานฯ ด าเนินการวิเคราะห์ข้อมูลเบื้องต้นของสหกรณ์ เพื่อใช้เป็นข้อมูลในประกอบการจัดท าแผนงาน ในการสร้างความเข้มแข็งให้กับสหกรณ์ และใช้เป็นแนวทางในการแนะน า ส่งเสริม สหกรณ์และ กลุ่มเกษตรกรให้เกิดความเข้มแข็ง ภาพประกอบ การประชุมการจัดท าแผนงานในการสร้างความเข้มแข็งให้กับสหกรณ์ แนวทางที่ ๑ : สร้างความเข้มแข็งของสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร สรุปผลส าเร็จจากการปฏิบัติงาน ตามแนวทางการขับเคลื่อน Smart Agricultural curve ของกรมส่งเสริมสหกรณ์ ประจ าปี ๒๕๖๑
๔๘ รำยงำนผลกำรด ำเนินกำรประจ ำปี ๒๕๖๑ ซื่อตรงต่อหน้ำที่ มีวินัย โปร่งใส ไร้ทุจริต 2. จัดโครงการประชุมเชิงปฏิบัติการวิเคราะห์สหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร เพื่อจัดท า แนวทางการส่งเสริมสร้างความเข้มแข็งให้แก่สหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร เมื่อวันที่ 25 ธันวาคม 2560 ณ ห้องประชุมส านักงานสหกรณ์จังหวัดลพบุรี มีผู้เข้าร่วมประชุม ประกอบด้วย คณะท างานกลุ่ม ภารกิจที่ 1 ทุกท่าน เจ้าหน้าที่ส่งเสริมสหกรณ์ทุกท่าน และเจ้าหน้าที่กลุ่มงานที่เกี่ยวข้องจ านวน 25 คน โดยได้จัดท าแนวทางในการส่งเสริมสหกรณ์สร้างความเข้มแข็งให้กับสหกรณ์จ านวน 74 แห่ง ภาพประกอบ การประชุมเชิงปฏิบัติการการวิเคราะห์สหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร
ส ำนักงำนสหกรณ์จังหวัดลพบุรี http://web.cpd.go.th/lopburi ๔๙ ซื่อตรงต่อหน้ำที่ มีวินัย โปร่งใส ไร้ทุจริต 3. คณะท างานภารกิจที่ 1 การสร้างความเข้มแข็งสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร ได้แบ่ง คณะท างานเป็นทีมงาน 3 ทีม องค์ประกอบของคณะท างานประกอบด้วย ประธานคณะท างาน คณะท างาน และเลขานุการทีมงาน พิจารณาจากในทุกทีมจะต้องมีผู้แทนของกลุ่มงาน เพื่อด าเนินตามกรอบ ในการปฏิบัติงานในปีงบประมาณ พ.ศ. 2561 ซึ่งได้ก าหนดแนวทางในการสร้างความเข้มแข็งให้สหกรณ์ ประกอบด้วย การตรวจสอบข้อบังคับ ระเบียบ ในพื้นที่ที่สหกรณ์ตรวจสอบการมอบหมายหน้าที่ การปฏิบัติงานในต าแหน่งต่าง ๆ ของฝ่ายจัดการและกรรมการ ประเมินการควบคุมภายในของสหกรณ์และ ประเมินมาตรฐานสหกรณ์ ซึ่งด าเนินงานในสหกรณ์ทุกแห่งในจังหวัดลพบุรี 74 แห่ง ภาพประกอบ การแบ่งคณะท างานด าเนินงานในสหกรณ์ทุกแห่งในจังหวัดลพบุรี 4. เมื่อแต่ละทีมลงไปตรวจในพื้นที่ได้น าเอาข้อสังเกตต่าง ๆ มาประชุมหารือ แลกเปลี่ยนเรียนรู้ แนวทางในการส่งเสริมสหกรณ์ร่วมกัน จ านวน 3 ครั้ง และแต่ละทีมได้น า ข้อแนะน าต่าง ๆ แนะน าให้กับสหกรณ์ที่เข้าตรวจทุกสหกรณ์
๕๐ รำยงำนผลกำรด ำเนินกำรประจ ำปี ๒๕๖๑ ซื่อตรงต่อหน้ำที่ มีวินัย โปร่งใส ไร้ทุจริต ภาพประกอบ คณะท างานประชุมหารือ แลกเปลี่ยนเรียนรู้ แนวทางในการส่งเสริมสหกรณ์ร่อมกัน ชื่องาน/โครงการ: โครงการส่งเสริมและพัฒนามาตรฐานสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร ๑. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย/พื้นที่ด าเนินโครงการ การส่งเสริมและพัฒนามาตรฐานสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรในปี 2561 ส านักงานสหกรณ์ จังหวัดลพบุรี มีเป้าหมายในการรักษามาตรฐานสหกรณ์จ านวน 52 แห่ง จากสหกรณ์ที่น ามาจัด มาตรฐานจ านวน 69 แห่ง และรักษามาตรฐานกลุ่มเกษตรกรจ านวน 85 แห่ง เป้าหมายในการผลักดันสหกรณ์ ให้ผ่านเกณฑ์มาตรฐาน จ านวน 3 แห่งได้แก่สหกรณ์โคนมท่าหลวง จ ากัดสหกรณ์เครดิตยูเนี่ยนบ้านพรหมมาสตร์ จ ากัดและสหกรณ์โคนมชัยบาดาล จ ากัดส าหรับเป้าหมายในการผลักดันกลุ่มเกษตรให้ผ่านเกณฑ์มาตรฐาน จ านวน 2 แห่ง ได้แก่ กลุ่มเกษตรกรท านาดอนโพธิ์และกลุ่มเกษตรกรท านาผู้ใช้น้ าห้วยใหญ่วังแขม ๒. ผลการด าเนินงาน 2.1 ส านักงานสหกรณ์จังหวัดลพบุรีตระหนักถึงความส าคัญของเกณฑ์มาตรฐานที่ใช้ ในการวัดมาตรฐานสหกรณ์ ซึ่งเป็นสิ่งที่สหกรณ์ต้องมีความเข้าใจในเกณฑ์ดังกล่าวในทิศทางเดียวกัน จึงจัดประชุมชี้แจงเพื่อสร้างความรู้การจัดมาตรฐานสหกรณ์ประจ าปี 2561 จ านวน 2 รุ่น มีสหกรณ์เข้าร่วม ประชุมแยกเป็น รุ่นที่ 1 สหกรณ์ภาคการเกษตรในจังหวัดลพบุรี ได้แก่ สหกรณ์การเกษตร สหกรณ์ประมงและ สหกรณ์นิคม รวม 29 แห่ง และรุ่นที่ 2 สหกรณ์นอกภาคการเกษตร ได้แก่ สหกรณ์ออมทรัพย์ สหกรณ์ร้านค้า สหกรณ์บริการ และสหกรณ์เครดิตยูเนี่ยน รวม 23 แห่งซึ่งผู้เข้าประชุม คือ กรรมการและ ฝ่ายจัดการสหกรณ์เจ้าหน้าที่ส่งเสริมสหกรณ์และกลุ่มงานวิชาการ รวมทั้ง 2 รุ่น จ านวน 100 คน 2.2 ตรวจติดตามการประเมินมาตรฐานตามแบบประเมิน ซึ่งคณะท างานภารกิจที่ 1 สร้างความเข้มแข็งได้ด าเนินการตรวจ และแนะน าให้กับสหกรณ์ทุกแห่ง 2.3 แนะน าส่งเสริมกลุ่มเกษตรกรในการรักษามาตรฐาน พร้อมทั้งชี้แจงเกณฑ์ การจัดมาตรฐานและแนวทางในการพัฒนามาตรฐานกลุ่มเกษตรกรในการประชุมคณะกรรมการกลาง กลุ่มเกษตรกรระดับอ าเภอและจังหวัด
ส ำนักงำนสหกรณ์จังหวัดลพบุรี http://web.cpd.go.th/lopburi ๕๑ ซื่อตรงต่อหน้ำที่ มีวินัย โปร่งใส ไร้ทุจริต ๓. ผลลัพธ์ ผลลัพธ์เชิงปริมาณ สหกรณ์ ผลการรักษามาตรฐานสหกรณ์ สหกรณ์ที่ผ่านเกณฑ์มาตรฐานปีงบประมาณ 2561จ านวน 48 แห่ง ซึ่งต่ ากว่า ค่าเป้าหมายที่ก าหนด ผลการผลักดันมาตรฐานสหกรณ์ สหกรณ์ผ่านเกณฑ์มาตรฐานเพิ่มขึ้น จ านวน 3 แห่ง ได้แก่ 1. สหกรณ์โคนมท่าหลวง จ ากัดผลการระดับการประเมินมาตรฐานจากไม่ผ่านในปี 2560 เป็นดีเลิศในปี 2561 2. สหกรณ์ร้านค้าบี.ฟู้ดส์ ลพบุรีจ ากัด ผลการระดับการประเมินมาตรฐานจากดี ในปี 2560 เป็นดีเลิศในปี 2561 3. สหกรณ์เดินรถยนต์ขนาดเล็กลพบุรีจ ากัด ผลการระดับการประเมินมาตรฐาน จากดีในปี 2560 เป็นดีมากในปี 2561 กลุ่มเกษตรกร ผลการรักษามาตรฐานกลุ่มเกษตรกร กลุ่มเกษตรกรที่ผ่านเกณฑ์มาตรฐานปีงบประมาณ 2561 จ านวน 81 แห่ง ซึ่งต่ ากว่าค่าเป้าหมายที่ก าหนด ผลการผลักดันมาตรฐานกลุ่มเกษตรกร กลุ่มเกษตรกรผ่านเกณฑ์มาตรฐานเพิ่มขึ้น จ านวน 2 แห่ง ได้แก่ 1. กลุ่มเกษตรกรท าไร่หนองมะค่า 2. กลุ่มเกษตรกรท าไร่สระโบสถ์ ผลลัพธ์เชิงคุณภาพ กรรมการและฝ่ายจัดการสหกรณ์ได้รับองค์ความรู้ในเรื่องของเกณฑ์มาตรฐาน เพิ่มขึ้น ร้อยละ 75 ของสหกรณ์ที่น ามาจัดมาตรฐาน กลุ่มเกษตรกรในจังหวัดลพบุรีไม่ผ่านเกณฑ์มาตรฐานลดลงจากเดิมไม่ผ่านมาตรฐาน ไม่ผ่าน 13 แห่ง ลดลงเหลือ 9 แห่ง ๔. ปัญหา อุปสรรคในการด าเนินงานและแนวทางแก้ไข การประเมินมาตรฐานสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรของเจ้าหน้าที่ส่งเสริมสหกรณ์แต่ละคน มีความแตกต่างกันและมีเจ้าหน้าที่ส่งเสริมสหกรณ์ที่บรรจุใหม่จ านวนมากยังไม่เข้าใจ จึงได้แก้ไข โดยการประชุมชี้แจงท าความเข้าใจและแลกเปลี่ยนเรียนรู้ในการส่งเสริมสหกรณ์ และการตรวจสอบ ข้อมูลในการประเมินมาตรฐานในระบบจากเจ้าหน้าที่ที่รับผิดชอบเป็นระยะ พร้อมทั้งปรึกษาหารือ ในส่วนที่มีความคิดเห็นแตกต่างเพื่อให้เกิดทิศทางเดียวกันในการท างาน อีกทั้ง ให้ยึดการประเมินตาม ข้อเท็จจริงในพื้นที่และมีหลักฐานอ้างอิงได้เป็นหลัก
๕๒ รำยงำนผลกำรด ำเนินกำรประจ ำปี ๒๕๖๑ ซื่อตรงต่อหน้ำที่ มีวินัย โปร่งใส ไร้ทุจริต ภาพประกอบ การประชุมชี้แจงเพื่อสร้างความรู้การจัดมาตรฐานสหกรณ์ ชื่องาน/โครงการ: โครงการขับเคลื่อนเกษตรอินทรีย์ในสหกรณ์ในพื้นที่นิคมสหกรณ์ สรุปผลส าเร็จจาการปฏิบัติงาน นิคมสหกรณ์ชัยบาดาล ส านักงานสหกรณ์จังหวัดลพบุรีด าเนินการจัดฝึกอบรมสมาชิก สหกรณ์นิคมชัยบาดาล จ ากัด สหกรณ์นิคมล านารายณ์ จ ากัดเมื่อวันที่ 19-20 ธันวาคม ๒๕60 ณ ศูนย์เรียนรู้เศรษฐกิจพอเพียงบ้านไร่มอญพันธุ์ ต าบลหนองผักแว่น อ าเภอท่าหลวง จังหวัดลพบุรี ผลลัพธ์เชิงปริมาณ 1. สมาชิกสหกรณ์ในพื้นที่นิคมสหกรณ์ชัยบาดาล มีความรู้ด้านการผลิตสินค้าเกษตร ตามแนวทางเกษตรอินทรีย์จ านวน 2 ครั้ง 2. ในปีงบประมาณ 2561 สหกรณ์นิคมชัยบาดาล จ ากัด และสหกรณ์นิคมล านารายณ์ จ ากัด ได้รับการสนับสนุนเงินอุดหนุนเกษตรกรในพื้นที่นิคมสหกรณ์ เพื่อขับเคลื่อนเกษตรอินทรีย์ จ านวนแห่งละ 30,000 บาท เป็นเงิน 60,000 บาท ผลลัพธ์เชิงคุณภาพ สมาชิกสหกรณ์ในพื้นที่นิคมสหกรณ์ชัยบาดาลได้รับความรู้ในการส่งเสริมพัฒนา ด้านอาชีพเกษตรอินทรีย์หรือการผลิตสินค้าเกษตรปลอดภัย และมีช่องทางการจ าหน่ายสินค้าเพิ่มขึ้น สหกรณ์ด าเนินธุรกิจรวบรวมมันส าปะหลัง เพื่อเป็นการด าเนินงานด้านการตลาดผลิตผลการเกษตร พัฒนาคุณภาพชีวิตของสมาชิกให้ดียิ่งขึ้น
ส ำนักงำนสหกรณ์จังหวัดลพบุรี http://web.cpd.go.th/lopburi ๕๓ ซื่อตรงต่อหน้ำที่ มีวินัย โปร่งใส ไร้ทุจริต ส านักงานสหกรณ์จังหวัดลพบุรีได้สรุปผลส าเร็จการปฏิบัติงานแนวทางที่ 2 ส่งเสริมสหกรณ์ และกลุ่มเกษตรกรให้มีบทบาทขับเคลื่อนนโยบายรัฐ ดังต่อไปนี้ ชื่องาน/โครงการ: โครงการเงินอุดหนุนเพื่อชดเชยน้ านมโคที่เททิ้ง เนื่องจากโรงงานผู้ซื้อประสบอุทกภัย ปี 2554 (ครั้งที่ 2) สรุปผลส าเร็จจาการปฏิบัติงาน ส านักงานสหกรณ์จังหวัดลพบุรี ได้ด าเนินการเบิกจ่ายเงินและติดตามการด าเนินงาน ให้เป็นไปตามวัตถุประสงค์ของโครงการฯ ให้แก่สหกรณ์โคนมไทย-เดนมาร์ก พัฒนานิคม จ ากัด จ านวน 1,158,105 บาท และสหกรณ์ โคนม-ไทยเดนมาร์ก สวนมะเดื่อ จ ากัด จ านวน 1,301,984.24 บาท และรายงานผลการปฏิบัติงานให้กรมส่งเสริมสหกรณ์ทราบ ชื่องาน/โครงการ: โครงการส่งเสริมการใช้เครื่องจักรกลการเกษตร ทดแทนแรงงานการเกษตร สรุปผลส าเร็จจาการปฏิบัติงาน ส านักงานสหกรณ์จังหวัดลพบุรี ได้ด าเนินการเบิกจ่ายเงินและติดตามการด าเนินงาน ให้เป็นไปตามวัตถุประสงค์ของโครงการฯ ให้แก่สหกรณ์โคนมไทย-เดนมาร์ก สวนมะเดื่อ จ ากัด จ านวน 7 รายการ ดังนี้ 1. ลานคอนกรีต ขนาด 497.15 ตารางเมตร จ านวนเงินอุดหนุน 388,500 บาท 2. โรงเก็บวัตถุดิบอาหารสัตว์ ขนาด 768 ตารางเมตร จ านวนเงินอุดหนุน 1,942,500 บาท 3. ก่อสร้างบังเกอร์ ขนาดไม่น้อยกว่า 3,000 ตัน จ านวน 2 บ่อ จ านวนเงินอุดหนุน 1,167,200 บาท 4. โรงคลุมพร้อมเครื่องชั่ง ขนาด 62 ตารางเมตร จ านวนเงินอุดหนุน 1,165,400 บาท 5. รถแทรกเตอร์ ขนาด 85 แรงม้า พร้อมอุปกรณ์ จ านวนเงินอุดหนุน 955,500 บาท 6. เครื่องผสมอาหาร TMR จ านวนเงินอุดหนุน 955,500 บาท 7. เครื่องแยกกากมูลโค จ านวนเงินอุดหนุน 2,100,000 บาท รวมจ านวนเงินอุดหนุน 8 ,674,600 บ าท และรายงานผลกา รปฏิบัติง านให้ กรมส่งเสริมสหกรณ์ทราบ แนวทางที่ ๒ : ส่งเสริมสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรให้มีบทบาทขับเคลื่อนนโยบายรัฐ
๕๔ รำยงำนผลกำรด ำเนินกำรประจ ำปี ๒๕๖๑ ซื่อตรงต่อหน้ำที่ มีวินัย โปร่งใส ไร้ทุจริต ชื่องาน/โครงการ: โครงการพัฒนาศักยภาพสหกรณ์ ภายใต้ความร่วมมือ 1 หอการค้า 1 สหกรณ์ภาคการเกษตร สรุปผลส าเร็จจาการปฏิบัติงาน ส านักงานสหกรณ์จังหวัดลพบุรี ได้ด าเนินการจัดประชุมให้กับสหกรณ์นิคมชัยบาดาล จ ากัด ร่วมกับหอการค้าจังหวัดลพบุรี ดังนี้ 1. จัดท าแผนปฏิบัติงานร่วม 3 ฝ่าย 1 ครั้ง เมื่อวันที่ 27 ธันวาคม 2560 ผู้เข้าร่วมประชุม ครั้งละ 30 คน 2. จัดประชุมขับเคลื่อนการปฏิบัติงาน 2 ครั้ง ด าเนินการจัดประชุม ครั้งที่ 1 เมื่อวันที่ 21 มีนาคม 2561 และครั้งที่ 2 เมื่อวันที่ 26 กรกฎาคม 2561 ผู้เข้าร่วมประชุมครั้งละ 30 คน 3. จัดประชุมติดตามผล เมื่อวันที ่ 19 กันยายน 2561 ผู้เข้าร ่วมประชุม 30 คน และรายงานผลการด าเนินงานให้กรมส่งเสริมสหกรณ์โดยใช้งบประมาณรวม 52,800 บาท ชื่องาน/โครงการ: โครงการธนาคารสินค้าเกษตร (ธนาคารโคนมทดแทนฝูง) สรุปผลส าเร็จจาการปฏิบัติงาน ส านักงานสหกรณ์จังหวัดลพบุรี ได้ด าเนินการติดตามโครงการฯ ของสหกรณ์ให้ผ่านที่ประชุม คณะกรรมการด าเนินการสหกรณ์ ผลการด าเนินงานส่งเสริมและติดตามสหกรณ์ สหกรณ์โคนม ไทย-เดนมาร์ก สวนมะเดื่อ จ ากัด สามารถด าเนินงานตามโครงการธนาคารสินค้าเกษตร ตามระเบียบ ว่าด้วยการจัดตั้งและบริหารจัดการธนาคารโคนมทดแทนฝูง พ.ศ. 2560 ผลจากการได้รับ การแนะน าส่งเสริมจากเจ้าหน้าที่ส่งเสริมสหกรณ์ ท าให้สหกรณ์มีระบบการเก็บเอกสารที่มี ประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น มีระบบการจัดการฟาร์มที่มีประสิทธิภาพ มีความรู้ความเข้าใจในการผลิต อาหาร TMR และจากากรประชาสัมพันธ์ท าให้หน่วยงานต่างๆ บุคคลภายนอก มีความรู้ความเข้าใจ ถึงวิธีการด าเนินงาน ตามโครงการฯ และอาจจะเข้าร่วมโครงการในอนาคต สมาชิกสามารถลดต้นทุน การเลี้ยงโคนมได้เดือนละ 800 บาท อีกทั้งและท าให้สมาชิกมีรายได้เพิ่มขึ้น 2,925 บาท/เดือน และรายผลการด าเนินงานให้กรมส่งเสริมสหกรณ์ทราบ โดยใช้งบประมาณรวม 17,300 บาท ชื่องาน/โครงการ: โครงการระบบส่งเสริมการเกษตรแปลงใหญ่ สนับสนุนการด าเนินการบริหารจัดการเกษตรแบบแปลงใหญ่ สรุปผลส าเร็จจาการปฏิบัติงาน ส านักงานสหกรณ์จังหวัดลพบุรี มีผลการด าเนินงานตามโครงการฯ ดังนี้ 1. เข้าร่วมการถ่ายทอดความรู้การบริหารจัดการเกษตรแบบแปลงใหญ่รูปแบบสหกรณ์ (บูรณาการร่วมกระทรวงเกษตรและสหกรณ์) ร่วมกับส่วนราชการในกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ในจังหวัดลพบุรี
ส ำนักงำนสหกรณ์จังหวัดลพบุรี http://web.cpd.go.th/lopburi ๕๕ ซื่อตรงต่อหน้ำที่ มีวินัย โปร่งใส ไร้ทุจริต 2. ได้ด าเนินการจัดประชุมเชิงปฏิบัติการ ถ่ายทอดความรู้ให้กับเกษตรกรแปลงใหญ่ ตามหลักสูตร ดังต่อไปนี้ 2.1 การบริหารจัดการรูปแบบสหกรณ์ 2.2 แผนการผลิตและแผนการตลาด 2.3 แผนธุรกิจเพื่อขอกู้เงินโครงการฯ 2.4 การเชื่อมโยงเครือข่ายการตลาดแปลงใหญ่/เอกชน/สหกรณ์ 2.5 การแปรรูปและบรรจุภัณฑ์ ให้กับจ านวน 45 แปลง ผู้เข้าร่วมประชุม 1,894 ราย และติดตามผลการด าเนินโครงการฯ รายงาน กรมส่งเสริมสหกรณ์ทราบ โดยใช้งบประมาณรวม 340,600 บาท ชื่องาน/โครงการ: โครงการศูนย์เรียนรู้การเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตสินค้า การเกษตร (ศพก.) สรุปผลส าเร็จจาการปฏิบัติงาน ส านักงานสหกรณ์จังหวัดลพบุรี ได้ด าเนินการตามแผนงานกรมส่งเสริมสหกรณ์และแผนงาน (บูรณาการร่วมกระทรวงเกษตรและสหกรณ์) ร่วมกับส่วนราชการในกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ในจังหวัดลพบุรี ในศูนย์การเรียนรู้การเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตสินค้าการเกษตร ใน 11 ศูนย์ ดังต่อไปนี้ 1. เข้าร่วมการจัดอบรมเกษตรกร ณ ศูนย์ ศพก. 2. ถ่ายทอดความรู้เกี่ยวกับสหกรณ์ และสนับสุนนกิจกรรมกลุ่มของเกษตรกร จัดประชุม โครงการ “เชื่อมโยงเครือข่ายศูนย์เรียนรู้การเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตสินค้าเกษตร เมื่อวันที่ 25 กรกฎาคม 2561 ณ ส านักงานสหกรณ์จังหวัดลพบุรี มีผู้เข้าประชุม 26 คน และจัดประชุม โครงการ “เชื่อมโยงเครือข่ายศูนย์เรียนรู้การเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตสินค้าเกษตร ครั้งที่ 2 เมื่อวันที่ 18 ตุลาคม 2561 ณ ศูนย์การเรียนรู้การเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตสินค้าเกษตร อ าเภอหนองม่วง จังหวัดลพบุรี มีผู้เข้าร่วประชุม 30 คน 3. สนับสนุนสื่อเรียนรู้การสหกรณ์/สื่อประชาสัมพันธ์การสหกรณ์/อื่น ให้กับศูนย์ ศพก. และศูนย์การเรียนรู้การสหกรณ์ 4. รายงานผลและติดตามการด าเนินงานให้กรมส่งเสริมสหกรณ์ทราบ โดยใช้งบประมาณ รวม 90,500 บาท
๕๖ รำยงำนผลกำรด ำเนินกำรประจ ำปี ๒๕๖๑ ซื่อตรงต่อหน้ำที่ มีวินัย โปร่งใส ไร้ทุจริต ส านักงานสหกรณ์จังหวัดลพบุรีได้สรุปผลส าเร็จการปฏิบัติงานแนวทางที่ 3 ยกระดับ คุณภาพและมาตรฐานสินค้า/สร้างมูลค่าเพิ่มสินค้าเกษตร ดังต่อไปนี้ ชื่องาน/โครงการ: โครงการตลาดเกษตรกรของสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร (Co-op Market) ชัยบาดาล จังหวัดลพบุรี ๑. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย/พื้นที่ด าเนินโครงการ วัตถุประสงค์ 1. เพื่อส่งเสริมแหล่งผลิตสินค้าเกษตรปลอดภัยในพื้นที่นิคมสหกรณ์ชัยบาดาลเข้า สู่ช่องทางการจ าหน่าย 2. เพื่อส่งเสริมแหล่งจ าหน่ายสินค้าเกษตรปลอดภัยในพื้นที่นิคมสหกรณ์ชัยบาดาล ให้เป็นที่รู้จักและเป็นที่ยอมรับของผู้บริโภค 3. เพื่อสร้างรายได้ให้กับสมาชิกสหกรณ์ในพื้นที่นิคมสหกรณ์ชัยบาดาลผู้ผลิตสินค้า อาหารปลอดภัย 4. เพื่อเป็นการประชาสัมพันธ์ให้ผู้บริโภคเข้าถึงสถานที่จ าหน่ายและผลิตสินค้า เกษตรปลอดภัยในพื้นที่สหกรณ์นิคมชัยบาดาล เป้าหมาย : คณะกรรมการ และสมาชิก ของสหกรณ์นิคมชัยบาดาล จ ากัด และสหกรณ์ นิคมล านารายณ์ จ ากัด จ านนน ๔๕ คน พื้นที่ด าเนินการ : สหกรณ์นิคมชัยบาดาล จ ากัด และ สหกรณ์นิคมล านารายณ์ จ ากัด อ าเภอท่าหลนง จังหนัดลพบุรี ๒. ผลการด าเนินงาน 1. ประสานงานสหกรณ์เป้าหมาย ทั้ง ๒ สหกรณ์ 2. จัดฝึกอบรมสมาชิกสหกรณ์ และศึกษาดูงานตลาดเกษตรกร 3. จัดท าป้ายประชาสัมพันธ์ตลาดเกษตรกรของสหกรณ์ในพื้นที่นิคมสหกรณ์ ส านักงานสหกรณ์จังหวัดลพบุ รีด าเนินกา รจัดฝึกอบรมและศึกษาดูงาน แก่คณะกรรมการ และสมาชิกสหกรณ์นิคมนิคมชัยบาดาล จ ากัด สหกรณ์นิคมล านารายณ์ จ ากัด เมื่อวันที่ 10 – 11 มกราคม 2561 ณ สหกรณ์การเกษตรท่ายาง จ ากัด อ าเภอท่ายาง จังหวัดเพชรบุรี ๓. ผลลัพธ์ ผลลัพธ์เชิงปริมาณ 1. มีแหล่งจ าหน่ายสินค้าเกษตรในพื้นที่นิคมสหกรณ์ชัยบาดาล จ านวน 1 แห่ง 2. ในปีงบประมาณ 2561 มีสมาชิกสหกรณ์นิคมชัยบาดาล จ ากัด น ามันส าปะหลังมา จ าหน่ายที่ตลาดเกษตรกร จ านวน 93 ราย จ านวนมันส าปะหลัง 6,307 ตัน เป็นเงิน 11,288,414.15 บาท แนวทางที่ ๓ : ยกระดับคุณภาพและมาตรฐานสินค้า/สร้างมูลค่าเพิ่มสินค้าเกษตร
ส ำนักงำนสหกรณ์จังหวัดลพบุรี http://web.cpd.go.th/lopburi ๕๗ ซื่อตรงต่อหน้ำที่ มีวินัย โปร่งใส ไร้ทุจริต ผลลัพธ์เชิงคุณภาพ สมาชิกสหกรณ์ในพื้นที่นิคมสหกรณ์ชัยบาดาลได้รับคนามรู้ในการส่งเสริมพัฒนา ด้านอาชีพและมีช่องทางการจ าหน่ายสินค้าเพิ่มขึ้น สหกรณ์ด าเนินธุรกิจรวบรวมมันส าปะหลัง จากสมาชิกโครงการส่งเสริมเกษตรแปลงใหญ่ และสมาชิกของสหกรณ์ทั่วไป เพื่อเป็นการด าเนินงาน ด้านการตลาดผลิตผลการเกษตร สมาชิกสหกรณ์สามารถจ าหน่ายมันส าปะหลังได้ราคาที่สูงขึ้น ตามเปอร์เซ็นต์แป้ง พัฒนาคุณภาพชีวิตของสมาชิกให้ดียิ่งขึ้น เป็นการแก้ไขปัญหาราคาผลผลิตตกต่ า ได้ระดับหนึ่งในพืชมันส าปะหลัง ๔. ปัญหา อุปสรรคในการด าเนินงานและแนวทางแก้ไข ปัจจุบันสินค้าของตลาดเกษตรกรมีเพียงชนิดเดียวคือมันส าปะหลัง ซึ่งสมาชิกสหกรณ์ ไม่สามารถผลิตได้ตลอดทั้งปี ท าให้การด าเนินกิจกรรมตลาดเกษตรกรไม่สามารถด าเนินการ ได้ต่อเนื่อง ขณะนี้อยู่ระหว่างพิจารณาผลผลิตอย่างอื่น ๆ เข้ามาด าเนินการเพื่อขยายผลการด าเนิน กิจกรรมตลาดเกษตรกรของสหกรณ์ต่อไป ๕. ภาพถ่ายแสดงการด าเนินกิจกรรมของงาน/โครงการ นายอุบล เทพทอง สหกรณ์จังหวัดลพบุรี เป็นประธานในพิธีฝึกอบรมโครงการ ตลาดเกษตรของสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร (Co-op Market) ในพื้นที่นิคมสหกรณ์ชัยบาดาล จังหวัดลพบุรี ณ สหกรณ์การเกษตรท่ายาง จ ากัด จังหวัดเพชรบุรี ระหว่างวันที่ 10-11 มกราคม 2561 ผู้เข้าร่วมอบรม/ศึกษาดูงาน ได้แก่ สมาชิกสหกรณ์นิคมชัยบาดาล จ ากัด และสมาชิกสหกรณ์ นิคมล านารายณ์ จ ากัด จ านวน 50 คน วัตถุประสงค์เพื่อ ส่งเสริมแหล่งผลิตสินค้าเกษตรปลอดภัย ในพื้นที่นิคมสหกรณ์ชัยบาดาลให้มีช่องทางในการจ าหน่ายให้แก่ผู้บริโภคได้อย่างครอบคลุมผลผลิต ทางการเกษตรและผลิตภัณฑ์แปรรูปอาหารปลอดภัยของสมาชิกสหกรณ์มีช่องทางในการจ าหน่ายมากขึ้น สมาชิกสหกรณ์มีรายได้เพิ่มขึ้น สามารถพึ่งพาตนเองได้ ส่งผลให้ระบบสหกรณ์เกิดความเข้มแข็ง ได้อย่างยั่งยืนต่อไป ภาพประกอบ การฝึกอบรมโครงการตลาดเกษตรของสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร (Co-opMarket) ในพื้นที่นิคมสหกรณ์ชัยบาดาล จ.ลพบุรี
๕๘ รำยงำนผลกำรด ำเนินกำรประจ ำปี ๒๕๖๑ ซื่อตรงต่อหน้ำที่ มีวินัย โปร่งใส ไร้ทุจริต ภาพประกอบ การศึกษาดูงานตลาดเกษตรของสหกรณ์การเกษตรท่ายาง จ ากัด นายอุบล เทพทอง สหกรณ์จังหวัดลพบุรี มอบหมายให้นายช านาญ อยู่โต ผู้อ านวยการนิคมสหกรณ์ชัยบาดาล พร้อมคณะท างานตามภารกิจที่ 3 ของส านักงานสหกรณ์ จังหวัดลพบุรี น าสมาชิกสหกรณ์นิคมชัยบาดาล จ ากัด และ สหกรณ์นิคมล านารายณ์ จ ากัด จ านวน 50 คน ไปศึกษาดูงานตลาดเกษตรกรของสหกรณ์การเกษตรท่ายาง จ ากัด จังหวัดเพชรบุรีวันที่ 11 ธันวาคม 2561 เป็นวันที่สองตามโครงการตลาดเกษตรกรของสมาชิกสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร (Co-op-Market) ในพื้นที่นิคมสหกรณ์ชัยบาดาล จังหวัดลพบุรี ทั้งนี้ สมาชิกต่างให้ความสนใจ แนวทางการบริหารจัดการตลาดเกษตรกร พร้อมน าไปปรับใช้ให้เหมาะสมกับผลผลิตของตนเองและ สภาพแวดล้อมของสมาชิกสหกรณ์และผู้บริโภคในพื้นที่นิคมสหกรณ์ชัยบาดาล เกิดแนวคิดในการเพิ่มช่อง ทางการจ าหน่ายผลผลิตของสมาชิกและสหกรณ์ได้กว้างขวางมากยิ่งขึ้นต่อไป
ส ำนักงำนสหกรณ์จังหวัดลพบุรี http://web.cpd.go.th/lopburi ๕๙ ซื่อตรงต่อหน้ำที่ มีวินัย โปร่งใส ไร้ทุจริต
๖๐ รำยงำนผลกำรด ำเนินกำรประจ ำปี ๒๕๖๑ ซื่อตรงต่อหน้ำที่ มีวินัย โปร่งใส ไร้ทุจริต ภาพประกอบ การร่วมพิธีเปิดการรับซื้อมันส าปะหลังของสหกรณ์นิคมชัยบาดาล จ ากัด ประจ าปีงบประมาณ พศ.2561 นายอุบล เทพทอง สหกรณ์จังหนัดลพบุรี นายช านาญ อยู่โต ผู้อ านนยการ นิคมสหกรณ์ชัยบาดาล และ นายนงษ์ชัย ไชโย ผู้อ านนยการกลุ่มส่งเสริมและพัฒนาธุรกิจสหกรณ์ ร่นมพิธีเปิดการรับซื้อมันส าปะหลังของ สหกรณ์นิคมชัยดาล จ ากัด ประจ าปีงบประมาณ พ.ศ.๒๕๖๑ ณ บริเนณตลาดเกษตรกรของ สหกรณ์นิคมชัยดาล จ ากัด
ส ำนักงำนสหกรณ์จังหวัดลพบุรี http://web.cpd.go.th/lopburi ๖๑ ซื่อตรงต่อหน้ำที่ มีวินัย โปร่งใส ไร้ทุจริต ชื่องาน/โครงการ: โครงการพัฒนากลุ่มอาชีพสร้างมูลค่าเพิ่มในสังกันสถาบันเกษตรกร ประจ าปีงบประมาณ 2561 ๑. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย/พื้นที่ด าเนินโครงการ วัตถุประสงค์ 1. เพื่อส่งเสริมการจัดท าแผนพัฒนาธุรกิจการพัฒนาผลิตภัณฑ์ให้มีประสิทธิภาพ และคุณภาพเพิ่มมากขึ้น 2. เพื่อสนับสนุนปัจจัยพื้นฐานพัฒนาให้กลุ่มอาชีพในสังกัดสถาบันเกษตรกร เพื่อการพัฒนาผลิตภัณฑ์ให้ได้คุณภาพและมาตรฐานที่สอดคล้องกับความต้องการของตลาด 3. เพื่อสร้างมูลค่าเพิ่มสินค้าของกลุ่มอาชีพในสังกัดสถาบันเกษตรกร เป้าหมาย : คณะกรรมกา ร และสมาชิกกลุ่มสต รีอาสาบ้ านพวน ม. ๑๐ สังกัด สหกรณ์การเกษตรบ้านหมี่ จ ากัด จ านวน ๒๐ คน คณะกรรมการ และสมาชิก กลุ่มแม่บ้านเกษตรกรแก่งเสือเต้นพัฒนา สังกัด กลุ่มเกษตรกรท าไร่หนองบัว จ านวน ๒๐ คน พื้นที่ด าเนินการ : กลุ่มสตรีอาสาบ้านพวน ม.๑๐ สังกัด สหกรณ์การเกษตรบ้านหมี่ จ ากัด อ าเภอบ้านหมี่ จังหวัดลพบุรี และกลุ่มแม่บ้านเกษตรกรแก่งเสือเต้นพัฒนา สังกัด กลุ่มเกษตรกร ท าไร่หนองบัว อ าเภอพัฒนานิคม จังหวัดลพบุรี ๒. ผลการด าเนินงาน 1. คัดเลือกกลุ่มเป้าหมาย/พื้นที่ด าเนินการ 2. พัฒนาเพื่อสร้างมูลค่าเพิ่มให้สินค้าของกลุ่ม ด าเนินการโดยส านักงานสหกรณ์ จังหวัดร่วมกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้องในพื้นที่ อาทิ เกษตร ประมง ปศุสัตว์ สาธารณสุข อุตสาหกรรม (1) ส ารวจข้อมูลสมาชิกกลุ่มอาชีพ เช่น การประกอบอาชีพ รายได้ ครัวเรือน เพื่อจัดท าฐานข้อมูลสมาชิกกลุ่ม (2) จัดเวทีประชุมเพื่อวิเคราะห์ สถานการณ์กลุ่มจัดท าแผนพัฒนาธุรกิจ เพื่อพัฒนาการผลิตผลิตภัณฑ์ให้ได้คุณภาพและมาตรฐานที่สอดคล้องกับความต้องการของตลาด การสร้างมูลค่าเพิ่มให้กับผลิตภัณฑ์ (3) สนับสนุนปัจจัยพื้นฐานพัฒนาให้กลุ่มอาชีพผ่านทางสถาบันเกษตรกร ต้นสังกัดของกลุ่มในการพัฒนาผลิตภัณฑ์ให้ได้คุณภาพและมาตรฐานที่สอดคล้องกับความต้องการ ของตลาด รวมทั้งสร้างมูลค่าเพิ่มให้กับผลิตภัณฑ์ของกลุ่ม (4) ประสานงาน ติดตาม ประเมินผลการด าเนินกิจกรรมการพัฒนา ปรับปรุงแก้ไขปัญหาอุปสรรค และรายงานผลการด าเนินงานแก่กรมส่งเสริมสหกรณ์ และสรุปผล เมื่อเสร็จสิ้นโครงการ
๖๒ รำยงำนผลกำรด ำเนินกำรประจ ำปี ๒๕๖๑ ซื่อตรงต่อหน้ำที่ มีวินัย โปร่งใส ไร้ทุจริต ผลส าเร็จ: ด าเนินการจัดเวทีเพื่อท าฐานข้อมูลสมาชิกกลุ่ม การวิเคราะห์ข้อมูล จัดท าแผนธุรกิจ และแผนพัฒนาธุรกิจให้กับกลุ่มอาชีพ คือ กลุ่มสตรีอาสาบ้านพวน ม.๑๐ สังกัด สหกรณ์การเกษตรบ้านหมี่ จ ากัดเมื่อวันที่ 25 ธันวาคม 2560 ณ ที่ท าการกลุ่มสตรีอาสาบ้าน พวน ม.๑๐ ต าบลหินปัก อ าเภอบ้านหมี่ จังหวัดลพบุรี คณะกรรมการและสมาชิกเข้าร่วมเวทีประชุม จ านวน ๒๐ คน กลุ่มสตรีอาสาบ้านพวน ม.๑๐ สังกัด สหกรณ์การเกษตรบ้านหมี่ จ ากัด ได้รับ การสนับสนุนเงินอุดหนุนจากรมส่งเสริมสหกรณ์ เพื่อซื่อวัสดุอุปกรณ์เพื่อใช้ประโยชน์ในการด าเนิน กิจกรรมของกลุ่ม จ านวน 2 รายการ ก 1) เตารีดแรงดันไอน้ า จ านวน 1 เครื่อง เป็นเงิน 16,900 บาท 2) เครื่องซักผ้าอบผ้า ขนาด 11 กิโลกรัม จ านวน 1 เครื่อง เป็นเงิน 39,900 บาท ด าเนินการจัดเวทีเพื่อท าฐานข้อมูลสมาชิกกลุ่ม การวิเคราะห์ข้อมูลจัดท าแผนธุรกิจ และแผนพัฒนาธุรกิจให้กับกลุ่มอาชีพ คือ กลุ่มแม่บ้านเกษตรกรแก่งเสือเต้นพัฒนา สังกัด กลุ่มเกษตรกรท าไร่หนองบัว เมื่อวันที่ 27 ธันวาคม 2560 ณ ที่ท าการกลุ่มแม่บ้านเกษตรกร แก่งเสือเต้นพัฒนา ต าบลหนองบัว อ าเภอพัฒนานิคม จังหวัดลพบุรี คณะกรรมการและสมาชิก เข้าร่วมเวทีประชุม จ านวน ๒๐ คน กลุ่มแม่บ้านเกษตรกรแก่งเสือเต้นพัฒนา สังกัด กลุ่มเกษตรกรท าไร่หนองบัวได้รับ การสนับสนุนเงินอุดหนุนจากรมส่งเสริมสหกรณ์ เพื่อซื่อวัสดุอุปกรณ์เพื่อใช้ประโยชน์ในการด าเนิน กิจกรรมของกลุ่ม จ านวน 4 รายการ ก 1) โต๊ะสแตนเลส จ านวน 2 ตัว ราคา 28,000 บาท 2) เครื่องซีลสายพาน จ านวน 1 เครื่อง ราคา 13,910 บาท 3) เครื่องซีลสายพานต่อเนื่อง จ านวน 1 เครื่อง ราคา 18,000 บาท 4) เครื่องตีแป้งขนาด 30 ลิตร จ านวน 1 เครื่อง ราคา 35,000 บาท ๓. ผลลัพธ์ ผลลัพธ์เชิงปริมาณ 1. กลุ่มสตรีอาสาบ้านพวน ม.๑๐ สังกัด สหกรณ์การเกษตรบ้านหมี่ จ ากัด และ กลุ่มแม่บ้านเกษตรกรแก่งเสือเต้นพัฒนา สังกัด กลุ่มเกษตรกรท าไร่หนองบัว มีแผนพัฒนาธุรกิจ ในการพัฒนาผลิตภัณฑ์เพื่อก าหนดทิศทางการด าเนินงานของกลุ่ม อย่างน้อยกลุ่มละ ๑ แผน 2) กลุ่มสตรีอาสาบ้านพวน ม.๑๐ สังกัด สหกรณ์การเกษตรบ้านหมี่ จ ากัด และ กลุ่มแม่บ้านเกษตรกรแก่งเสือเต้นพัฒนา สังกัด กลุ่มเกษตรกรท าไร่หนองบัว มีมียอดจ าหน่ายเพิ่มขึ้น จากเดิมร้อยละ ๑๐ ผลลัพธ์เชิงคุณภาพ 1. กลุ่มสตรีอาสาบ้านพวน ม.๑๐ สังกัด สหกรณ์การเกษตรบ้านหมี่ จ ากัด และ กลุ่มแม่บ้านเกษตรกรแก่งเสือเต้นพัฒนา สังกัด กลุ่มเกษตรกรท าไร่หนองบัว มีการพัฒนาผลิตภัณฑ์ ได้คุณภาพและมาตรฐานสอดคล้องกับความต้องการของตลาด 2. สินค้าของกลุ่มสตรีอาสาบ้านพวน ม.๑๐ สังกัด สหกรณ์การเกษตรบ้านหมี่ จ ากัดและ กลุ่มแม่บ้านเกษตรกรแก่งเสือเต้นพัฒนา สังกัด กลุ่มเกษตรกรท าไร่หนองบัวมีมูลค่าเพิ่มขึ้น
ส ำนักงำนสหกรณ์จังหวัดลพบุรี http://web.cpd.go.th/lopburi ๖๓ ซื่อตรงต่อหน้ำที่ มีวินัย โปร่งใส ไร้ทุจริต ๔. ปัญหา อุปสรรคในการด าเนินงานและแนวทางแก้ไข การติดต่อประสานงานกับสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรในสังกัดของกลุ่มอาชีพ เกิดคนามล่าช้า เนื่องจากเจ้าหน้าที่ของกับสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรในสังกัดของกลุ่มอาชีพมีภารกิจ หลักเป็นงานประจ าของตนเองที่รับผิดชอบ หน่นยงานราชการที่ให้การสนับสนุนคนรชี้แจงท า คนามเข้าใจกับเจ้าหน้าที่สหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร และกลุ่มอาชีพให้เข้าใจตรงกันทุกเรื่องตลอดจน การท าเอกสารต่าง ๆ เพื่อใช้ประกอบในการเบิกจ่ายเงินอุดหนุน เพื่อให้การด าเนินกิจกรรมต่าง ๆ ตามโครงการส าเร็จลุล่นงตามนัตถุประสงค์ กลุ่มอาชีพได้รับประโยชน์ได้อย่างเต็มประสิทธิภาพต่อไป ๕. ภาพถ่ายแสดงการด าเนินกิจกรรมของงาน/โครงการ ส านักงานสหกรณ์จังหวัดลพบุรี โดย นางนิตยา อยู่บ้านคลอง เจ้าพักงานส่งเสริมสหกรณ์อาวุโส พร้อมพนักงานราชการ ได้ด าเนินการจัดเวทีประชุม เมื่อวันที่ 25 ธันวาคม 2560 ณ กลุ่มสตรีอาสาบ้านพวน ม.10 อ าเภอบ้านหมี่ จังหวัดลพบุรีผู้เข้าร่วมจัดเวทีประชุม ได้แก่คณะกรรมการและสมาชิกของกลุ่มสตรี อาสาบ้านพวน ม.10 จ านวน 20 คน และเจ้าหน้าที่จากส านักงานสหกรณ์จังหวัดลพบุรีเพื่อจัดท า ฐานข้อมูลสมาชิกกลุ่มการวิเคราะห์ข้อมูลจัดท าแผนธุรกิจ และแผนพัฒนาธุรกิจให้กับกลุ่มอาชีพ ภาพประกอบ การจัดเวทีท าฐานข้อมูลสมาชิกกลุ่ม ของกลุ่มสตรีอาสาบ้านพวก ม.10
๖๔ รำยงำนผลกำรด ำเนินกำรประจ ำปี ๒๕๖๑ ซื่อตรงต่อหน้ำที่ มีวินัย โปร่งใส ไร้ทุจริต ภาพประกอบ วัสดุ อุปกรณ์ที่ได้รับการสนับสนุนเงินอุดหนุน จากกรมส่งเสริมสหกรณ์จ านวน 2 รายการ ภาพ เตารีดแรงดันไอน้ า จ านวน 1 เครื่อง ราคา 16,990 บาท ภาพ เครื่องซักผ้าและอบผ้า จ านวน 1 เครื่อง ราคา 40,900 บาท
ส ำนักงำนสหกรณ์จังหวัดลพบุรี http://web.cpd.go.th/lopburi ๖๕ ซื่อตรงต่อหน้ำที่ มีวินัย โปร่งใส ไร้ทุจริต ภาพประกอบ การส่งเสริม แนะน า ติดตามผลขั้นตอนอการด าเนินงาน ส านักงานสหกรณ์จังหวัดลพบุรี โดย นางนิตยา อยู่บ้านคลอง เจ้าพักงานส่งเสริมสหกรณ์อาวุโส พร้อมพนักงานราชการ ได้ด าเนินการจัดเวทีประชุม เมื่อวันที่ 27 ธันวาคม 2560 ณ กลุ่มแม่บ้าน เกษตรกรแก่งเสือเต้นพัฒนา อ าเภอพัฒนานิคม จังหวัดลพบุรี ผู้เข้าร่วมจัดเวทีประชุม ได้แก่ คณะกรรมการและสมาชิกของกลุ่มแม่บ้านเกษตรกรแก่งเสือเต้นพัฒนา จ านวน 20 คน และ เจ้าหน้าที่จากส านักงานสหกรณ์จังหวัดลพบุรี เพื่อจัดท าฐานข้อมูลสมาชิกกลุ่ม การวิเคราะห์ข้อมูล จัดท าแผนธุรกิจ และแผนพัฒนาธุรกิจให้กับกลุ่มอาชีพ ภาพประกอบ การจัดเวทีท าฐานข้อมูลสมาชิกกลุ่ม ของกลุ่มแม่บ้านเกษตรกรแก่งเสือเต้นพัฒนา ภาพ เมื่อวันที่ 31 มกราคม 2561 คณะท างานตามภารกิจที่ 3 ได้ติดตาม ส่งเสริม แนะน าในแต่ละขั้นตอน เรื่องการเบิกจ่ายเงินอุดหนุนฯ ตามโครงการฯ ณ กลุ่มสตรีอาส าบ้านพวน ม.10 ต าบลหินปัก อ าเภอบ้านหมี่ จังหวัดลพบุรี
๖๖ รำยงำนผลกำรด ำเนินกำรประจ ำปี ๒๕๖๑ ซื่อตรงต่อหน้ำที่ มีวินัย โปร่งใส ไร้ทุจริต ภาพประกอบ วัสดุ อุปกรณ์ที่ได้รับการสนับสนุนเงินอุดหนุน จากกรมส่งเสริมสหกรณ์ จ านวน ๔ รายการ ภาพ โต๊ะสแตนเลส จ านวน 2 ตัว ราคา 28,000 บาท
ส ำนักงำนสหกรณ์จังหวัดลพบุรี http://web.cpd.go.th/lopburi ๖๗ ซื่อตรงต่อหน้ำที่ มีวินัย โปร่งใส ไร้ทุจริต ภาพ เครื่องตีแป้งขนาด 30 ลิตร จ านวน 1 เครื่อง ราคา 35,000 บาท ภาพ เครื่องซีลสายพานต่อเนื่อง จ านวน 1 เครื่อง ราคา 18,000 บาท ภาพ เครื่องซีลสายพาน จ านวน 1 เครื่อง ราคา 13,910 บาท
๖๘ รำยงำนผลกำรด ำเนินกำรประจ ำปี ๒๕๖๑ ซื่อตรงต่อหน้ำที่ มีวินัย โปร่งใส ไร้ทุจริต ภาพประกอบ การส่งเสริม แนะน า ติดตามผลขั้นตอนอการด าเนินงาน ชื่องาน/โครงการ: โครงการส่งเสริมการรวมกลุ่มผู้ผลิตสินค้าเกษตรในสถาบันเกษตรกร (ข้าวโพดเลี้ยงสัตว์) ประจ าปีงบประมาณ 2561 ๑. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย/พื้นที่ด าเนินโครงการ วัตถุประสงค์ 1. เพื่อส่งเสริมการรวมกลุ่มของเกษตรกรในรูปแบบสถาบันเกษตรกร 2. เพื่อพัฒนาการเชื่อมโยงเครือข่ายเกษตรกร สถาบันเกษตรกร และทุกภาคส่วน ที่เกี่ยวข้องในการท าธุรกิจในลักษณะ Cluster ให้มีศักยภาพ สามารถบริหารจัดการสินค้าเกษตร ได้ครบวงจรตลอดห่วงโซ่การผลิต 3. เพื่อยกระดับความสามารถในการด าเนินธุรกิจของสถาบันเกษตรกร รวมทั้ง การเข้าถึงแหล่งเงินทุน เป้าหมาย: คณะกรรมการ และสมาชิกสหกรณ์การเกษตรนิคมสร้างตนเองเขต โคกตูม จ ากัด จ านวน ๒๐ คน พื้นที่ด าเนินการ: สหกรณ์การเกษตรนิคมสร้างตนเองเขตโคกตูม จ ากัด อ าเภอเมือง จังหวัดลพบุรี ภาพ เมื่อวันที่ 25 มกราคม 2561 คณะท างานตามภารกิจที่ 3 ได้ไปติดตามส่งเสริม แนะน า ในแต่ละขั้นตอน เรื่องการเบิกจ่ายเงินอุดหนุนฯ ตามโครงการฯ ณ กลุ่มแม่บ้านเกษตรกรแก่งเสือเต้นพัฒนา ไร่หนองบัว อ าเภอพัฒนานิคม จังหวัดลพบุรี
ส ำนักงำนสหกรณ์จังหวัดลพบุรี http://web.cpd.go.th/lopburi ๖๙ ซื่อตรงต่อหน้ำที่ มีวินัย โปร่งใส ไร้ทุจริต ๒. ผลการด าเนินงาน 1. ประสานงานกับสหกรณ์การเกษตรนิคมสร้างตนเองเขตโคกตูม จ ากัด ชี้แจง วัตถุประสงค์เป้าหมายโครงการความต้องการในการยกระดับความสามารถในการด าเนินธุรกิจของ สถาบันเกษตรกร การเข้าถึงแหล่งเงินทุนพัฒนา การเชื่อมโยงเครือข่ายเกษตรกร สถาบันเกษตรกร และทุกภาคส่วนที่เกี่ยวข้องในการท าธุรกิจในลักษณะ Cluster ให้มีศักยภาพ สามารถบริหารจัดการ สินค้าเกษตรได้ครบวงจรตลอดห่วงโซ่การผลิต 2. ประสานงานกับวิทยากรจากหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง เพื่อให้ความรู้เรื่องการพัฒนา และเชื่อมโยงเครือข่ายของสถาบันเกษตรกรในลักษณะ Cluster สินค้าเกษตร 3. จัดฝึกอบรมสมาชิกสหกรณ์เพื่อพัฒนาการเชื่อมโยงเครือข่ายเกษตรกร สถาบัน เกษตรกร ที่เกี่ยวข้องในการท าธุรกิจในลักษณะ Cluster ให้มีศักยภาพ สามารถบริหารจัดการสินค้า เกษตรได้ครบวงจรตลอดห่วงโซ่การผลิต 4. เข้าร่วมประชุมเชิงปฏิบัติการส่งเสริมการรวมกลุ่มผู้ผลิตสินค้าเกษตร (Cluster) ข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ในสถาบันเกษตรกร ผลล าเร็จ ส านักงานสหกรณ์จังหวัดลพบุรีด าเนินการจัดฝึกอบรมคณะกรรมการ และสมาชิก สหกรณ์การเกษตรนิคมสร้างตนเองเขตโคกตูม จ ากัด จ านวน 20 คน เมื่อวันที่ วันที่ ๑๖ มกราคม ๒๕๖๑ ณ ห้องประชุมสหกรณ์การเกษตรนิคมสร้างตนเองเขตโคกตูม จ ากัด อ าเภอเมืองลพบุรี จังหวัดลพบุรี โดยได้รับการสนับสนุนวิทยากรจากส านักงานเกษตรจังหวัดลพบุรี วัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาการเชื่อมโยง เครือข่ายเกษตรกร สถาบันเกษตรกรและทุกภาคส่วนที่เกี่ยวข้องในการท าธุรกิจในลักษณะ Cluster ให้มีศักยภาพ สามารถบริหารจัดการสินค้าเกษตรได้ครบวงจร ซึ่งจะช่วยขับเคลื่อนการด าเนินธุรกิจ สินค้าเกษตร ช่วยเหลือเกษตรกรด้านการผลิตและการตลาดสินค้าเกษตรตลอดห่วงโว่การผลิต ให้มีประสิทธิภาพยิ่งขึ้นต่อไป เจ้าหน้าที่จากส านักงานสหกรณ์จังหวัดลพบุรีที่เกี่ยวข้อง และคณะกรรมการสหกรณ์ การเกษตรนิคมสร้างตนเองเขตโคกตูม จ ากัด (ที่ได้รับมอบหมาย) ร่วมประชุมเชิงปฏิบัติการส่งเสริมการรวมกลุ่ม ผู้ผลิตสินค้าเกษตร (Cluster) ข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ในสถาบันเกษตรกร เมื่อวันที่ 21-23 มกราคม 2561 ณ โรงแรมควีนพาเลส อ าเภอแม่สอด จังหวัดตาก และเมื่อวันที่ 17–19 กันยายน 2561 ณ โรงแรมเวียงตาก อ าเภอเมืองตาก จังหวัดตาก ๓. ผลลัพธ์ ผลลัพธ์เชิงปริมาณ คณะกรรมการ และสมาชิกสหกรณ์การเกษตรนิคมสร้างตนเองเขตโคกตูม จ ากัด เข้ารับการฝึกอบรมเรื่องพัฒนาการเชื่อมโยงเครือการรวมกลุ่มผู้ผลิตสินค้าเกษตรในสถาบันเกษตรกร (ข้าวโพดเลี้ยงสัตว์) ในลักษณะ Cluster จ านวน 3 ครั้ง ในจังหวัดลพบุรี 1 ครั้ง ที่จังหวัดตาก 2 ครั้ง
๗๐ รำยงำนผลกำรด ำเนินกำรประจ ำปี ๒๕๖๑ ซื่อตรงต่อหน้ำที่ มีวินัย โปร่งใส ไร้ทุจริต ผลลัพธ์เชิงคุณภาพ คณะกรรมการ และสมาชิกสหกรณ์การเกษตรนิคมสร้างตนเองเขตโคกตูม จ ากัด มีคนามรู้ คนามเข้าใจเรื่องพัฒนาการเชื่อมโยงเครือข่ายเกษตรกร สถาบันเกษตรกร ในการท าธุรกิจ ในลักษณะ Cluster (ข้านโพดเลี้ยงสัตน์) มากขึ้น ๔. ปัญหา อุปสรรคในการด าเนินงานและแนวทางแก้ไข เนื่องจ ากก า รเพ าะปลูกพืชไร่ของสม าชิกสหกรณ์ก า รเกษต รนิคมส ร้ างตนเอง ในเขตโคกตูม จ ากัด ในแต่ละปีมีการปลูกพืชแต่ละชนิดสลับสับเปลี่ยนหมุนเนียนกัน เช่น ข้านโพด เลี้ยงสัตน์ ข้านโพดหนาน มัน ส าปะหลัง ถั่นลิสง ถั่นเหลือง ฯลฯ ซึ่งในช่นงเนลานี้ ไม่มีการปลูกข้านโพด เลี้ยงสัตน์กิจกรรมนี้จึงไม่มีการขยายผลอย่างเป็นรูปธรรม ๕. ภาพถ่ายแสดงการด าเนินกิจกรรมของงาน/โครงการ ส านักงานสหกรณ์จังหวัดลพบุรี โดย นางสาวพัชรี สายน้ าเงิน นักวิชาการสหกรณ์ช านาญการ พร้อมเจ้าหน้าที่ส่งเสริมสหกรณ์ ด าเนินการจัดฝึกอบรมสมาชิกสหกรณ์ตามภารกิจที่ 3 โครงการส่งเสริม การรวมกลุ่มผู้ผลิตสินค้าเกษตรในสถาบันเกษตรกร (ข้าวโพดเลี้ยงสัตว์) ประจ าปีงบประมาณ ๒๕๖๑ ผู้เข้าอบรมได้แก่ สมาชิกสหกรณ์การเกษตรนิคมสร้างตนเองเขตโคกตูม จ ากัด จ านวน ๒๐ คน โดยได้รับ การสนับสนุนวิทยากรจากส านักงานเกษตรจังหวัดลพบุรีเพื่อพัฒนาการเชื่อมโยงเครือข่ายเกษตรกร สถาบันเกษตรกรและทุกภาคส่วนที่เกี่ยวข้องในการท าธุรกิจในลักษณะ Cluster ให้มีศักยภาพ สามารถ บริหารจัดการสินค้าเกษตรได้ครบวงจร ซึ่งจะช่วยขับเคลื่อนการด าเนินธุรกิจสินค้าเกษตร ช่วยเหลือ เกษตรกรด้านการผลิตและการตลาดสินค้าเกษตรตลอดห่วงโซ่การผลิตให้มีประสิทธิภาพยิ่งขึ้นต่อไป ภาพประกอบ การฝึกอบรมสมาชิกสหกรณ์นิคมสร้างตนเองเขตโคกตูม จ ากัด
ส ำนักงำนสหกรณ์จังหวัดลพบุรี http://web.cpd.go.th/lopburi ๗๑ ซื่อตรงต่อหน้ำที่ มีวินัย โปร่งใส ไร้ทุจริต ส านักงานสหกรณ์จังหวัดลพบุรี โดย นางสาวพัชรี สายน้ าเงิน นักวิชาการสหกรณ์ ช านาญการ พร้อมด้วย นางสาวธัญทิพย์ กันเกตุ นักวิชาการมาตรฐานสินค้า ได้เข้าร่วมประชุม เชิงปฏิบัติการส่งเสริมการรวมกลุ่มผู้ผลิตสินค้าเกษตร (Cluster) ในสถาบัน (ข้าวโพดเลี้ยงสัตว์) เมื่อวันที่ 17 – 19 กันยายน 2561 ณ โรงแรมเวียงตาก อ าเภอเมืองตาก จังหวัดตาก ภาพประกอบ การเข้าร่วมประชุมเชิงปฏิบัติการส่งเสริมการรวมกลุ่ม ผู้ผลิตสินค้าเกษตร (Cluster) ในสถาบัน (ข้าวโพดเลี้ยงสัตว์) ชื่องาน/โครงการ: โครงการขับเคลื่อนปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงในพื้นที่นิคมสหกรณ์ ชัยบาดาล จังหวัดลพบุรี ๑. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย/พื้นที่ด าเนินโครงการ วัตถุประสงค์ 1. เพื่อส่งเสริมให้สมาชิกสหกรณ์ในพื้นที่นิคมสหกรณ์ชัยบาดาล ได้รับการเรียนรู้ตาม แนวปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง การเกษตรทฤษฎีใหม่และการท าเกษตรปลอดภัยจากสารพิษ
๗๒ รำยงำนผลกำรด ำเนินกำรประจ ำปี ๒๕๖๑ ซื่อตรงต่อหน้ำที่ มีวินัย โปร่งใส ไร้ทุจริต 2. เพื่อให้สมาชิกสหกรณ์ในพื้นที่นิคมสหกรณ์ชัยบาดาล สามารถน าความรู้จากการฝึกอบรม เชิงปฏิบัติการไปประยุกต์ใช้และปฏิบัติในชีวิตประจ าวันน าไปสู่การพัฒนาคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น 3. เพื่อสร้างรายได้ให้กับสมาชิกสหกรณ์ในพื้นที่นิคมสหกรณ์ชัยบาดาลผู้ผลิตสินค้า อาหารปลอดภัย เป้าหมาย: สมาชิกของสหกรณ์นิคมชัยบาดาล จ ากัด และสหกรณ์นิคมล านารายณ์ จ ากัด และกลุ่มเกษตรกรท าไร่หนองผักแว่นพัฒนา จ านวน ๔0 คน พื้นที่ด าเนินการ : สหกรณ์นิคมชัยบาดาล จ ากัด และ สหกรณ์นิคมล านารายณ์ จ ากัด และกลุ่มเกษตรกรท าไร่หนองผักแว่นพัฒนา อ าเภอท่าหลวง จังหวัดลพบุรี ๒. ผลการด าเนินงาน 1. ประสานงานสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรเป้าหมาย 2. จัดฝึกอบรมสมาชิกสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรในพื้นที่นิคมสหกรณ์ ผลส าเร็จ นิคมสหกรณ์ชัยบาดาล ส านักงานสหกรณ์จังหวัดลพบุรีด าเนินการจัดฝึกอบรม สมาชิกสหกรณ์นิคมชัยบาดาล จ ากัด สหกรณ์นิคมล านารายณ์ จ ากัด และกลุ่มเกษตรกรท าไร่ หนองผักแว่นพัฒนา เมื่อวันที่ 26 ธันวาคม ๒๕60 ณ ศูนย์เรียนรู้เศรษฐกิจพอเพียงบ้านไร่มอญพันธุ์ ต าบลหนองผักแว่น อ าเภอท่าหลวง จังหวัดลพบุรี ๓. ผลลัพธ์ ผลลัพธ์เชิงปริมาณ สมาชิกสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรในพื้นที่นิคมสหกรณ์ชัยบาดาล มีความรู้เกี่ยวกับ แนวปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง การเกษตรทฤษฎีใหม่ การท าเกษตรปลอดภัยจากสารพิษ จากการอบรม ตามโครงการฯ จ านวน 2 ครั้ง ผลลัพธ์เชิงคุณภาพ สมาชิกสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรที่เข้าร่วมโครงการมีความรู้ ความเข้าใจสามารถน าไป ประยุกต์ใช้และปฏิบัติในชีวิตประจ าวันน าไปสู่การพัฒนาคุณภาพชีวิตที่ดียิ่งขึ้น ๔. ปัญหา อุปสรรคในการด าเนินงานและแนวทางแก้ไข การน้อมน าปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงมาใช้เป็นแนวทางในการด ารงชีวิตและปฏิบัติตน ของประชาชนทั่วไปด้วยเงื่อนไขความรู้และเงื่อนไขคุณธรรม ซึ่งสอดคล้องกับหลักการและแนวทาง ของสหกรณ์ เพื่อให้สมาชิกได้รับความรู้ความเข้าใจที่ถูกต้องและสามารถน าไปประยุกต์ใช้ให้ เกิดประโยชน์สูงสุดในการด ารงชีวิต แต่สมาชิกสหกรณ์อาจจะมีการปฏิบัติตนและการด าเนินกิจกรรม ยังไม่ได้ผลส าเร็จเป็นรูปธรรม จึงยังต้องให้ความรู้อย่างต่อเนื่อง ทั้งในการผลิตทางการเกษตรและ การด ารงชีวิตตามแนวเศรษฐกิจพอเพียง
ส ำนักงำนสหกรณ์จังหวัดลพบุรี http://web.cpd.go.th/lopburi ๗๓ ซื่อตรงต่อหน้ำที่ มีวินัย โปร่งใส ไร้ทุจริต ๕. ภาพถ่ายแสดงการด าเนินกิจกรรมของงาน/โครงการ ส านักงานสหกรณ์จังหวัดลพบุรี โดย นายอุบล เทพทอง สหกรณ์จังหวัดลพบุรี และ พร้อมด้วยเจ้าหน้าที่ของส านักงานสหกรณ์จังหวัดลพบุรี ได้ด าเนินการฝึกอบรมโครงการขับเคลื่อน ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงในสหกรณ์ในพื้นที่ นิคมสหกรณ์ของนิคมสหกรณ์ชัยบาดาล จังหวัดลพบุรี เมื่อวันที่ 26 ธันวาคม ๒๕60 และวันที่4 กรกฎาคม ๒๕61 ณ ศูนย์เรียนรู้เศรษฐกิจพอเพียง บ้านไร่มอญพันธุ์ ต าบลหนองผักแว่น อ าเภอท่าหลวง จังหวัดลพบุรีมีสมาชิกสหกรณ์นิคมชัยบาดาล จ ากัด และสมาชิกสหกรณ์นิคมล านารายณ์ จ ากัดและกลุ่มเกษตรกรท าไร่หนองผักแว่นพัฒนา จ านวน 40 คน ภาพประกอบ การฝึกอบรมโครงการขับเคลื่อนปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงในสหกรณ์ ในพื้นที่นิคมสหกรณ์ของนิคมสหกรณ์ชัยบาดาล จังหวัดลพบุรี
๗๔ รำยงำนผลกำรด ำเนินกำรประจ ำปี ๒๕๖๑ ซื่อตรงต่อหน้ำที่ มีวินัย โปร่งใส ไร้ทุจริต ส านักงานสหกรณ์จังหวัดลพบุรีได้สรุปผลส าเร็จการปฏิบัติงานแนวทางที่ 4 พัฒนาคน โดยการจัดการเรียนการสอนในหน่วยงานแบบ CPD Unit School ดังต่อไปนี้ ชื่องาน/โครงการ: การจัดการเรียนการสอนในหน่วยงานแบบ CPD Unit School ๑. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย/พื้นที่ด าเนินโครงการ วัตถุประสงค์ ส านักงานสหกรณ์จังหวัดลพบุรี ได้ด าเนินการจัดการเรีย นการสอนแบบ CPD Unit School ขึ้นในหน่วยงาน เพื่อพัฒนาทักษะการปฏิบัติงานที่จ าเป็นแก่บุคลากรของ ส านักงานสหกรณ์จังหวัดลพบุรี ให้เกิดการเรียนรู้อย่างต่อเนื่องจนสามารถพัฒนาทักษะ ความรู้และ ความสามารถที่จ าเป็นในต าแหน่งงานให้บรรลุผลส าเร็จของงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ พร้อมทั้ง ให้ความรู้เพื่อน าไปปฏิบัติงานตามแนวทางขับเคลื่อน (Smart Agricultural Curve) ของกรมส่งเสริมสหกรณ์ ประจ าปี ๒๕๖๑ เป้าหมาย การจัดการเรียนการสอนในหน่วยงานแบบ CPD Unit School ให้แก่ ข้าราชการ และพนักงานราชการ ของส านักงานสหกรณ์จังหวัดลพบุรี จ านวน ๑๐ ครั้ง พื้นที่ด าเนินโครงการ พื้นที่ในการด าเนินงาน ณ ห้องประชุมส านักงานสหกรณ์จังหวัดลพบุรี ๒. ผลการด าเนินงาน ส านักงานสหกรณ์จังหวัดลพบุรี ได้ด าเนินการจัดการเรียนการสอนแบบ CPD Unit School ขึ้นในหน่วยงาน เพื่อพัฒนาความรู้ ความสามารถ และเตรียมความพร้อมของบุคลากรให้สามารถ บูรณาการท างานร่วมกันทั้งหน่วยงานภายในและท างานร่วมกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ประยุกต์ใช้เทคโนโลยี เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการท างาน สร้างสรรค์นวัตกรรมใหม่ โดยมุ่งเน้นการเรียนรู้ด้วยตนเอง การเรียนรู้ร่วมกัน ภายในองค์กรอย่างต่อเนื่อง ไม่ใช้งบประมาณหรือใช้อย่างประหยัดโดยใช้การเรียนรู้แบบ Unit School ซึ่งได้ ก าหนดการเรียนการสอนตามแผนการพัฒนาบุคลากรด้วยกระบวนการ CPD Unit School โดยเริ่ม ด าเนินการตั้งแต่เดือน ธันวาคม ๒๕๖๐ ถึง เดือน สิงหาคม ๒๕๖๑ จ านวน ๑๐ ครั้ง ๓. ผลลัพธ์ ผลลัพธ์เชิงปริมาณ ส านักงานสหกรณ์จังหวัดลพบุรี ได้ด าเนินการจัดท าการเรียนการสอนภายใน หน่วยงานแบบ CPD Unit School เพื่อพัฒนาบุคลากรในส านักงานสหกรณ์จังหวัดลพบุรี ในปีงบประมาณ พ.ศ.๒๕๖๑ จ านวน ๑๐ ครั้ง ณ ห้องประชุมส านักงานสหกรณ์จังหวัดลพบุรี ดังนี้ ครั้งที่ ๑ เมื่อวันที่ ๑๒ ธันวาคม ๒๕๖๐ เรื่อง คู่มือและเอกสารการเบิกจ่ายเงิน จ านวนผู้เรียน ๓๙ คน แนวทางที่ ๔ : พัฒนาคน
ส ำนักงำนสหกรณ์จังหวัดลพบุรี http://web.cpd.go.th/lopburi ๗๕ ซื่อตรงต่อหน้ำที่ มีวินัย โปร่งใส ไร้ทุจริต ครั้งที่ ๒ เมื่อวันที่ ๒๕ ธันวาคม ๒๕๖๐ เรื่อง โครงการประชุมเชิงปฏิบัติการ วิเคราะห์สหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร เพื่อจัดท าแนวทางในการส่งเสริมสร้างความเข้มแข็งให้แก่ สหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร ประจ าปีงบประมาณ พ.ศ.๒๕๖๑ จ านวนผู้เรียน ๒๕ คน ครั้งที่ ๓ เมื่อวันที่ ๘ มกราคม ๒๕๖๑ เรื่อง เทคนิคการจ าหน่ายสินค้าเกษตร ในตลาดออนไลน์จ านวนผู้เรียน ๓๙ คน ประกอบด้วย ครั้งที่ ๔ เมื่อวันที่ ๑๒ กุมภาพันธ์ 2561 เรื่อง การฟ้องเคลือบคลุมคืออะไร จ านวนผู้เรียน ๔๐ คน ครั้งที่ ๕ เมื่อวันที่ ๑๒ มีนาคม ๒๕๖๑ เรื่อง การปรับอัตราค่าแรงขั้นต่ า ๑ เมษายน ๒๕๖๑ จ านวนผู้เรียน ๔๒ คน ครั้งที่ ๖ เมื่อวันที่ ๑๙ เมษายน ๒๕๖๑ เรื่อง ตลาดกลางสินค้าเกษตร จ านวน ผู้เรียน ๔๒ คน ครั้งที่ ๗ เมื่อวันที่ ๑๘ พฤษภาคม ๒๕๖๑ (๑) เรื่อง การเขียนหนังสือราชการ (องค์ ๕) (2) เรื่อง การใช้บัตรประชาชนแทนบัตรรับรองสิทธิการรักษาพยาบาล จ านวนผู้เรียน ๓๕ คน ครั้งที่ ๘ เมื่อวันที่ ๑๑ มิถุนายน ๒๕๖๑ เรื่อง ความเป็นมาและความส าคัญของ ระบบ GFMIS จ านวนผู้เรียน ๔๗ คน ครั้งที่ ๙ เมื่อวันที่ ๑๓ กรกฎาคม เรื่อง แนวคิดการพัฒนาทรัพยากรบุคคล จ านวน ผู้เรียน ๔๔ คน ครั้งที่ ๑๐ เมื่อวันที่ ๖ สิงหาคม ๒๕๖๑ เรื่อง ความแตกต่างพระราชบัญญัติ การจัดซื้อ/จัดจ้างและการบริหารพัสดุภาครัฐ พ.ศ.๒๕๖๐ กับ ระเบียบส านักนายกรัฐมนตรีว่าด้วย การพัสดุ พ.ศ.๒๕๓๕ และที่แก้ไขเพิ่มเติม จ านวนผู้เรียน ๔๐ คน ผลลัพธ์เชิงคุณภาพ บุคลากรของส านักงานสหกรณ์จังหวัดลพบุรี ได้น าความรู้ที่ได้รับไปแนะน า ส่งเสริมสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร ดังนี้ ๑. น าไปแนะน าส่งเสริมสร้างความเข้มแข็งให้แก่สหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร ๒. น าไปส่งเสริมสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรให้มีบทบาทขับเคลื่อนนโยบายรัฐ ๓. น าไปแนะน าส่งเสริมสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร เพื่อยกระดับคุณภาพ และ มาตรฐานสินค้า สร้างมูลค่าเพิ่มให้กับสินค้าเกษตร ๔. น าไปปรับใช้และพัฒนาตนเองให้มีคุณภาพ พัฒนาทักษะก่อให้เกิดประสิทธิภาพ และประสิทธิผลในการปฏิบัติงานราชการมากยิ่งขึ้น ๔. ปัญหา อุปสรรคในการด าเนินงานและแนวทางแก้ไข ในการปฏิบัติงานตามแนวทางขับเคลื่อน (Smart Agricultural Curve) ของกรมส่งเสริมสหกรณ์ ประจ าปี ๒๕๖๑ แนวทางที่ ๔ พัฒนาคน ในการจัดการเรียนการสอนในหน่วยงานแบบ CPD UnitSchool ไม่มีปัญหาอุปสรรคในการด าเนินงานแต่อย่างใด และยังสามารถด าเนินงานให้เป็นไปตามที่ กรมส่งเสริมสหกรณ์ก าหนด
๗๖ รำยงำนผลกำรด ำเนินกำรประจ ำปี ๒๕๖๑ ซื่อตรงต่อหน้ำที่ มีวินัย โปร่งใส ไร้ทุจริต ๕. ภาพถ่ายแสดงการด าเนินกิจกรรมของงาน/โครงการ ส านักงานสหกรณ์จังหวัดลพบุรี ได้ประมวลภาพถ่ายแสดงกิจกรรมของงาน/โครงการ จากปฏิบัติงานตามแนวทางขับเคลื่อน (Smart Agricultural Curve) ของกรมส่งเสริมสหกรณ์ ประจ าปี ๒๕๖๑ แนวทางที่ ๔ พัฒนาคน ตามภาพกิจกรรม ดังนี้ ภาพประกอบ การจัดการเรียนการสอนในหน่วยงานแบบ CPD Unit School ส านักงานสหกรณ์จังหวัดลพบุรี น าโดย นายอุบล เทพทอง สหกรณ์จังหวัดลพบุรี พร้อมด้วย ข้าราชการ พนักงานราชการ ของส านักงานสหกรณ์จังหวัดลพบุรี เข้าร่วมการจัดการเรียนการสอน ในหน่วยงานแบบ CPD Unit School แนวทางที่ ๔ พัฒนาคน โดยเริ่มด าเนินการตั้งแต่เดือน ธันวาคม ๒๕๖๐ ถึง เดือน สิงหาคม ๒๕๖๑ ณ ห้องประชุมส านักงานสหกรณ์จังหวัดลพบุรี
ส ำนักงำนสหกรณ์จังหวัดลพบุรี http://web.cpd.go.th/lopburi ๗๗ ซื่อตรงต่อหน้ำที่ มีวินัย โปร่งใส ไร้ทุจริต กลุ่มส่งเสริมสหกรณ์ แบ่งออกเป็น 3 กลุ่ม มีข้าราชการทั้งสิ้น 16 ราย รับผิดชอบในการส่งเสริม สหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร ในพื้นที่ 11 อ าเภอ ส าหรับสหกรณ์ในพื้นที่ของนิคมสหกรณ์ชัยบาดาลอยู่ ในอ าเภอท่าหลวง มีข้าราชการของนิคมสหกรณ์ชัยบาดาล ทั้งสิ้น 2 ราย ท าหน้าที่ในการแนะน าและ ส่งเสริมสหกรณ์ด้วย ซึ่งผลการส่งเสริมสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร ตามระบบ CPS ในปีงบประมาณ พ.ศ.2561 มีดังนี้ ประกอบด้วย สหกรณ์ 31 แห่ง สมาชิก 83,978 คน ชุมนุมสหกรณ์ 1 แห่ง สมาชิก 26 คน กลุ่มเกษตรกร 16 แห่ง สมาชิก 1,711 คน ผลการเข้าแนะน า ส่งเสริมสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร อ าเภอเมืองลพบุรี ดูแลส่งเสริมสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร จ านวน 47 แห่ง แบ่งเป็น สหกรณ์ 3๑ แห่ง ชุมนุมสหกรณ์ 1 แห่ง กลุ่มเกษตรกร 16 แห่ง มีผลการเข้าแนะน า ส่งเสริม ดังนี้ ด้านการด าเนินงาน ในปีงบประมาณ พ.ศ.256๑ ได้แนะน าส่งเสริมสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร ในด้าน การบริหารจัดการเงินทุน และการด าเนินธุรกิจของสหกรณ์ทุกด้านให้มีผลการด าเนินงานให้มีก าไร ลดต้นทุนและควบคุมค่าใช้จ่ายในแต่ละธุรกิจ ให้สอดคล้องกับธุรกิจนั้น ๆ ส่งผลให้มีปริมาณธุรกิจเพิ่มขึ้น แนะน าส่งเสริมให้มีการติดตามช าระหนี้เร่งรัดหนี้ของสมาชิกอย่างต่อเนื่อง และป้องกันไม่ให้มีหนี้ค้าง ช าระนาน ควบคุมการใช้จ่ายงบประมาณให้เป็นไปตามแผนงานงบประมาณที่ได้รับอนุมัติจากที่ประชุมใหญ่ สามัญประจ าปีผลการแนะน าส่งเสริมสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร มีผลการด าเนินงาน ดังนี้ สหกรณ์ มีก าไรสุทธิ จ านวน 32 แห่ง จ านวนเงิน 729.230 ล้านบาท กลุ่มเกษตรกร มีก าไรสุทธิ จ านวน 13 แห่ง จ านวนเงิน 240,901.57 ล้านบาท ขาดทุน จ านวน 3 แห่ง จ านวนเงิน 100,994.64 ล้านบาท อ าเภอเมืองลพบุรี ผลการปฏิบัติงานส่งเสริมสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร ประจ าปีงบประมาณ พ.ศ.๒๕๖๑
๗๘ รำยงำนผลกำรด ำเนินกำรประจ ำปี ๒๕๖๑ ซื่อตรงต่อหน้ำที่ มีวินัย โปร่งใส ไร้ทุจริต ด้านการบริหารธุรกิจ ปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖1 ได้แนะน าส่งเสริมสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรในด้านการบริหารธุรกิจ ในด้านต่าง ๆ ส่งผลให้มีปริมาณธุรกิจเพิ่มขึ้น โดยแยกเป็น สหกรณ์มียอดปริมาณธุรกิจรวม จ านวนเงิน 12,879.044 ล้านบาท จ าแนกเป็น 1. ธุรกิจสินเชื่อ จ านวน 8,924.398 ล้านบาท 2. ธุรกิจรับฝากเงิน จ านวน 3,436.431 ล้านบาท 3. ธุรกิจจัดหาสินค้ามาจ าหน่าย จ านวน 460.098 ล้านบาท 4. ธุรกิจให้บริการอื่น ๆ จ านวน 58.117 ล้านบาท กลุ่มเกษตรกร มีปริมาณธุรกิจโดยรวม จ านวนเงิน 6.790ล้านบาท จ าแนกเป็น 1. ธุรกิจสินเชื่อ จ านวน 5.895 ล้านบาท 2. ธุรกิจจัดหาสินค้ามาจ าหน่าย จ านวน 0.894 ล้านบาท ด้านการบริหารเงินทุน ปีงบประมาณ พ.ศ.2561 ได้แนะน าส่งเสริมสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร ในอ าเภอเมือง ดังนี้ สหกรณ์ภาคเกษตร ใช้เงินทุนภายในของตนเองส่วนใหญ่ มีเพียงสหกรณ์ผู้ใช้น้ าลพบุรี จ ากัด ได้ขอรับการสนับสนุนเงินทุนจากกองทุนพัฒนาสหกรณ์จ านวน 1 ล้านบาท สหกรณ์นอกภาคเกษตร มีทั้งใช้ทุนภายในและภายนอก โดยการเชื่อมโยงเครือ ทางการเงินระหว่างสหกรณ์ระดับชุมนุมสหกรณ์ และสหกรณ์ภายในจังหวัดลพบุรี และธนาคาร เพื่อการเกษตรและสหกรณ์การเกษตร และธนาคารกรุงไทย กลุ่มเกษตรกร ส่วนใหญ่ได้ขอรับการสนับสนุนเงินทุนสงเคราะห์เกษตรกร กรมส่งเสริมสหกรณ์ มีเพียงกลุ่มเกษตรกรท านาบ้านข่อยที่ใช้เงินทุนของตนเอง ด้านข้อบกพร่องที่ตรวจพบ ปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖1 ไม่พบข้อบกพร่องของสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร ด้านปิดบัญชีภายใน ๓๐ วัน นับแต่วันสิ้นปีทางบัญชี ปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖1 ได้แนะน าส่งเสริมสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรให้ปิดบัญชี พร้อมทั้งจัดท างบแสดงฐานะการเงิน และรายละเอียดต่าง ๆ ให้เสร็จสิ้นภายใน ๓๐ วันหลังจาก วันสิ้นปีทางบัญชี เพื่อพร้อมรับการตรวจสอบบัญชี ด้านมาตรฐานสหกรณ์ ปีงบประมาณ พ.ศ. 2561 ได้แนะน าส่งเสริมสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรในอ าเภอเมือง ดังนี้ สหกรณ์ จ านวน 32 สหกรณ์ ได้มาตรฐาน 30 สหกรณ์ กลุ่มเกษตรกรจ านวน 15 กลุ่ม ได้มาตรฐาน 10 กลุ่ม หยุดด าเนินงาน จ านวน 4 กลุ่ม ด้านระเบียบข้อบังคับ ปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖1 ได้แนะน าส่งเสริมสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรในการจัดท าระเบียบข้อบังคับ ให้สอดคล้องกับการปฏิบัติงานในภาวการณ์ปัจจุบัน พร้อมทั้งให้ปฏิบัติตามระเบียบฯและข้อบังคับของสหกรณ์ ปัญหา/อุปสรรคในการด าเนินงานของสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร จากการเข้าแนะน าส่งเสริม อ าเภอเมือง ดูแลสหกรณ์ 32 แห่ง กลุ่มเกษตรกร 16 แห่ง ซึ่งมีปัญหาอุปสรรคในการด าเนินงานของสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร ดังนี้
ส ำนักงำนสหกรณ์จังหวัดลพบุรี http://web.cpd.go.th/lopburi ๗๙ ซื่อตรงต่อหน้ำที่ มีวินัย โปร่งใส ไร้ทุจริต 1. การประกอบอาชีพทางการเกษตร มีความเสี่ยงสูงขึ้น ทั้งด้านต้นทุนการผลิตที่เพิ่มขึ้น อย่างต่อเนื่อง ในขณะที่ราคาผลผลิตมีแนวโน้มลดลง จากภาวการณ์แข่งขันทางการค้าเสรีในตลาด ปัจจุบันส่งผลต่อความสามารถในการช าระหนี้ต่อสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร 2. ผลกระทบจากการใช้ปัจจัยการผลิตที่มีเคมีผสมอยู่ ท าให้สุขภาวะของทั้งเกษตรกร และผู้บริโภค สภาพแวดล้อมรวมถึงผลผลิตมีสารเคมี เจือปน ส่งผลต่อราคาผลผลิต และตลาดที่รับซื้อ เป็นเหตุให้เกษตรกรสมาชิกต้องยอมรับราคา ผลผลิตทางการเกษตรที่ขยายตัวไม่คุ้มกับต้นทุนการผลิต 3. ภัยธรรมชาติและศัตรูพืชผลผลิตเสียหาย 4. นโยบายภาครัฐในการกับพื้นที่เกษตรกรรมบางพื้นที่ เป็นพื้นที่รับน้ าส่งผลต่อการประกอบ อาชีพทางการเกษตรของสมาชิก 5. นโยบายและความช่วยเหลือภาครัฐ ส่งผลต่อการด าเนินธุรกิจของสหกรณ์ เช่น บัตรเครดิตเกษตรกร บัตรผู้มีรายได้น้อยซึ่งสหกรณ์หลายแห่งมีปริมาณธุรกิจจัดหาสินค้าที่ลดลง 6. นโยบายและโครงการอบรมช่วยเหลือต่าง ๆ จากภาครัฐ บางครั้งเป็นภาระและปัญหา ในการด าเนินงานของสหกรณ์ เนื่องจากแต่ละโครงการต้องการข้อมูลประกอบค่อนข้างมาก และก าหนด ระยะเวลาด าเนินการเร่งด่วน ข้อเสนอแนะ/แนวทางแก้ไขปัญหา 1. การลดต้นทุนการประกอบอาชีพเป็นเรื่องที่เกษตรกร สถาบันเกษตรกรรวมถึงรัฐบาล ควรให้ความส าคัญ และด าเนินการอย่างจริงจังและต่อเนื่อง โดยเฉพาะเมล็ดพันธุ์พืช ซึ่งปัจจุบัน มีการผูกขาด เนื่องจากเป็นการตัดต่อพันธุกรรม พืชที่เกษตรกรไม่สามารถเก็บผลผลิตไว้ท าพันธุ์ ในฤดูการผลิตต่อไปได้ หรือเก็บไว้ได้ก็กลายพันธุ์ 2. ส่งเสริมประชาสัมพันธ์ให้เกษตรกรและสมาชิกเข้าใจ และตระหนักถึงแนวคิด เศรษฐกิจพอเพียง และน าไปใช้ในการด าเนินชีวิตอย่างจริงจัง และต่อเนื่อง 3. การบริหารสินทรัพย์สภาพคล่องส่วนเกินของสหกรณ์ ยังต้องได้รับแนะน าส่งเสริม อย่างถูกต้องรัดกุม และปลอดภัย 4. เกณฑ์ก ากับสหกรณ์ออมทรัพย์และสหกรณ์เครดิตยูเนี่ยน ควรมีความชัดเจนแน่นอน สหกรณ์มีความเข้าใจและน าไปปฏิบัติได้จริงทุกประเด็น สหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรที่สะท้อนผลส าเร็จของการปฏิบัติงานตามภารกิจของ ส านักงานสหกรณ์จังหวัดลพบุรี ในปีงบประมาณ พ.ศ.2561 ชื่อสหกรณ์ : สหกรณ์การเกษตรเมืองลพบุรี จ ากัด ประเภทของสหกรณ์ : สหกรณ์ภาคการเกษตร ผลงาน/ความส าเร็จของสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร สห ก รณ์: ไ ด้ แ ก่ ส ห ก ร ณ์ ก า ร เ กษ ต ร เ มื อง ลพ บุ รี จ า กั ด จ ด ท ะเบี ย น ตามพระราชบัญญัติสหกรณ์พ.ศ.2511/พ.ศ.2542 (ประกาศคณะปฏิวัติฉบับที่ 141 พ.ศ.2515) เมื่อวันที่ 14 พฤศจิกายน 2517 มีสมาชิก 1,321 คน มีการด าเนินธุรกิจ 3 ด้าน ได้แก่ ธุรกิจสินเชื่อ ธุรกิจรับฝากเงิน และธุรกิจจัดหาสินค้ามาจ าหน่าย แก่สมาชิกสหกรณ์ในการด าเนินธุรกิจสมาชิก มีส่วนร่วมร้อยละ 90 ดังนี้
๘๐ รำยงำนผลกำรด ำเนินกำรประจ ำปี ๒๕๖๑ ซื่อตรงต่อหน้ำที่ มีวินัย โปร่งใส ไร้ทุจริต 1) ธุรกิจสินเชื่อ โดยสหกรณ์มีให้เงินกู้แก่สมาชิกประเภทเงินกู้ โดยมีวัตถุประสงค์ เพื่อช่วยเหลือสมาชิกที่มีเดือดร้อน และมีความจ าเป็นในการครองชีพ ทั้งนี้มีจ านวนสมาชิกที่กู้เงิน กับสหกรณ์ จ านวน 170 ราย จากจ านวนสมาชิกที่ท าธุรกิจกับสหกรณ์ ทั้งหมด 1,225 ราย ปริมาณธุรกิจสินเชื่อ 41,003,000.00 บาท 2) ธุรกิจรับฝากเงิน สมาชิกของสหกรณ์การเกษตรเมืองลพบุรี จ ากัด สามารถออมเงิน ในรูปแบบของการถือหุ้นและการออมโดยการฝากเงิน โดยในระหว่างปีของบัญชีปัจจุบัน (31 มีนาคม 2561) สมาชิกของสหกรณ์ได้มีการใช้บริการฝากเงินกับสหกรณ์เป็นจ านวน 1,002 ราย เป็นเงินจ านวน 80,443,532.98 บาท โดย ณ วันสิ้นปีสหกรณ์มีเงินรับฝากจากสมาชิกทุกประเภททั้งสิ้น จ านวน 1,218 ราย เป็นเงินจ านวน 136,965,608.78 บาท ซึ่งมีอัตราการออมเงินของสมาชิกต่อคน เทียบกับสมาชิกทั้งหมด 111,263.70 บาท และมีแนวโน้มเพิ่มมากขึ้นเรื่อยๆ (จากรายงานประจ าปี บัญชีสิ้นสุด 31 มีนาคม 2561) โดยเงินฝากของสหกรณ์สามารถจ าแนกได้ดังต่อไปนี้ - เงินฝากออมทรัพย์ (อัตราดอกเบี้ยร้อยละ 2 ณ สิ้นปี) 255 ราย - เงินฝากออมทรัพย์ (โครงการสัจจะออมทรัพย์ อัตราดอกเบี้ยร้อยละ 2 ณ สิ้นปี) 1,215 ราย - เงินฝากออมทรัพย์ (ซื้อสิ่งของ อัตราดอกเบี้ยร้อยละ 2 ณ สิ้นปี) 14 ราย - เงินฝากออมทรัพย์พิเศษ (อัตราดอกเบี้ยร้อยละ 3 ณ สิ้นปี) 169 ราย - เงินฝากออมทรัพย์พิเศษ (อัตราดอกเบี้ยร้อยละ 3 ณ สิ้นปี) 83 ราย 3) ธุรกิจจัดหาสินค้ามาจ าหน่าย สหกรณ์ได้จัดหาสินค้าประเภทต่าง ๆ มาจ าหน่าย แก่สมาชิก โดยระหว่างปีมีสมาชิกใช้บริการซื้อสินค้าจากสหกรณ์ จ านวน 1,228 ราย โดยสินค้า ที่สหกรณ์จัดหามาจ าหน่ายได้แก่ ปุ๋ย ยาปราบศัตรูพืช เมล็ดพันธุ์ข้าวเปลือก ข้าวสาร และอุปโภค บริโภค โดยในปีบัญชีสิ้นสุด 31 มีนาคม 2561 ธุรกิจจัดหาสินค้ามาจ าหน่ายสามารถท าก าไร ได้ 97,225.02 บาท ปัจจัยแห่งความส าเร็จ สหกรณ์มีผลการด าเนินงานที่โดดเด่นด้านการบริหารจัดการสหกรณ์ ไม่มีข้อบกพร่อง และ ข้อสังเกตของผู้สอบบัญชีในรอบปีบัญชีที่ผ่านมา มีบทบาทในการขับเคลื่อนงานตามนโยบาย ของรัฐบาล ได้แก่ โครงการลดดอกเบี้ยให้แก่เกษตรกร เป็นต้น ภาพประกอบ การประชุมกลุ่มสมาชิกสหกรณ์การเกษตรเมืองลพบุรี จ ากัด ส านักงานสหกรณ์จังหวัดลพบุรีน าโดย นางสุบิน เรืองอุดมสกุล ผู้อ านวยการกลุ่มส่งเสริมสหกรณ์ 1 พร้อมเจ้าหน้าที่ส านักงานสหกรณ์จังหวัดลพบุรีร่วมประชุมกลุ่มสมาชิกสหกรณ์การเกษตรเมืองลพบุรี จ ากัด โดยได้ก าหนดการประชุมกลุ่มสมาชิกสหกรณ์ปีละ 2 ครั้ง ครั้งที่ 1 เดือน พฤศจิกายน ถึง ธันวาคม ของทุกปี และครั้งที่ 2 เดือน เมษายน - พฤษภาคม ของทุกปี ซึ่งมีกิจกรรมการประชุมครบถ้วน และมีการน าธุรกิจ จัดหาสินค้ามาจ าหน่ายให้สมาชิกที่ประชุมกลุ่มสมาชิกด้วย และส านักงานสหกรณ์จังหวัดลพบุรี กลุ่มส่งเสริมสหกรณ์ 1 เข้าร่วมการประชุมกลุ่มสมาชิกสหกรณ์ เพื่อให้ค าแนะน าและชี้แจง โครงการของทางภาครัฐบาล
ส ำนักงำนสหกรณ์จังหวัดลพบุรี http://web.cpd.go.th/lopburi ๘๑ ซื่อตรงต่อหน้ำที่ มีวินัย โปร่งใส ไร้ทุจริต
๘๒ รำยงำนผลกำรด ำเนินกำรประจ ำปี ๒๕๖๑ ซื่อตรงต่อหน้ำที่ มีวินัย โปร่งใส ไร้ทุจริต ประกอบด้วย สหกรณ์ 8 แห่ง สมาชิก 5,314 คน ชุมนุมสหกรณ์ 1 แห่ง สมาชิก 19 สหกรณ์ กลุ่มเกษตรกร 11 แห่ง สมาชิก 2,340 คน ผลการเข้าแนะน า ส่งเสริมสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร อ าเภอพัฒนานิคม ดูแลส่งเสริมสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร จ านวน 19 แห่ง แบ่งเป็น สหกรณ์ 8 แห่ง ชุมนุมสหกรณ์ 1 แห่ง และกลุ่มเกษตรกร 11 แห่ง มีผลการเข้าแนะน า ส่งเสริม ดังนี้ ด้านการด าเนินงาน ในปีงบประมาณ พ.ศ.2561 ได้แนะน าส่งเสริมสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร ในด้าน การบริหารจัดการเงินทุน และการด าเนินธุรกิจของสหกรณ์ทุกด้านให้มีผลการด าเนินงานให้มีก าไร ลดต้นทุนและควบคุมค่าใช้จ่ายในแต่ละธุรกิจ ให้สอดคล้องกับธุรกิจนั้น ๆ ส่งผลให้มีปริมาณธุรกิจเพิ่มขึ้น แนะน าส่งเสริมให้มีการติดตามช าระหนี้เร่งรัดหนี้ของสมาชิกอย่างต่อเนื่อง และป้องกันไม่ให้มีหนี้ค้าง ช าระนาน ควบคุมการใช้จ่ายงบประมาณให้เป็นไปตามแผนงานงบประมาณที่ได้รับอนุมัติจากที่ประชุมใหญ่ สามัญประจ าปีผลการแนะน าส่งเสริมสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร มีผลการด าเนินงาน ดังนี้ สหกรณ์ มีก าไรสุทธิ จ านวน 7 แห่ง จ านวนเงิน 39,045,133.21 ล้านบาท ขาดทุน จ านวน 2 แห่ง จ านวนเงิน 447,935.54 บาท กลุ่มเกษตรกร มีก าไรสุทธิ จ านวน 11 แห่ง จ านวนเงิน 260,693 บาท ด้านการบริหารธุรกิจ ปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖1 ได้แนะน าส่งเสริมสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรในด้านการบริหารธุรกิจใน ด้านต่าง ๆ ส่งผลให้มีปริมาณธุรกิจเพิ่มขึ้น โดยแยกเป็น สหกรณ์มียอดปริมาณธุรกิจรวม จ านวนเงิน 1,590,047,750.25 ล้านบาท จ าแนกเป็น 1. ธุรกิจสินเชื่อ จ านวน 8,924.398 บาท 2. ธุรกิจรับฝากเงิน จ านวน 155,965,539.92 บาท 3. ธุรกิจจัดหาสินค้ามาจ าหน่าย จ านวน 287,518,045.24 บาท 4. ธุรกิจให้บริการอื่น ๆ จ านวน 0 บาท กลุ่มเกษตรกร มีปริมาณธุรกิจโดยรวม จ านวนเงิน 5,543,860.79 บาท จ าแนกเป็น 1. ธุรกิจสินเชื่อ จ านวน 4,380,929.05 บาท 2. ธุรกิจรับฝากเงิน จ านวน 1,006,208.74 บาท 3. ธุรกิจจัดหาสินค้ามาจ าหน่าย จ านวน 156,723.00 บาท อ าเภอพัฒนานิคม
ส ำนักงำนสหกรณ์จังหวัดลพบุรี http://web.cpd.go.th/lopburi ๘๓ ซื่อตรงต่อหน้ำที่ มีวินัย โปร่งใส ไร้ทุจริต ด้านการบริหารเงินทุน ปีงบประมาณ พ.ศ.2561 ได้แนะน าส่งเสริมสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร ในอ าเภอเมือง ดังนี้ สหกรณ์ภาคเกษตร ใช้เงินทุนภายในของตนเองและแหล่งทุนภายนอก มีเพียงสหกรณ์ โคนมไทย-เดนมาร์กสวนมะเดื่อ จ ากัดและสหกรณ์โคนมไทย-เดนมาร์กพัฒนานิคม จ ากัดได้ขอรับการสนับสนุน เงินทุนจากทางราชการ สหกรณ์นอกภาคเกษตร ใช้ทุนภายในของตนเองคือ สหกรณ์ร้านค้าบีฟูดส์ ลพบุรี จ ากัด กลุ่มเกษตรกร ส่วนใหญ่ได้ขอรับการสนับสนุนเงินทุนสงเคราะห์เกษตรกร กรมส่งเสริมสหกรณ์ มีเพียงกลุ่มเกษตรกรท าไร่ช่องสาลิกาที่ใช้เงินทุนของตนเอง ด้านข้อบกพร่องที่ตรวจพบ ปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖1 ไม่พบข้อบกพร่องของสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร ด้านปิดบัญชีภายใน ๓๐ วัน นับแต่วันสิ้นปีทางบัญชี ปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖1 ได้แนะน าส่งเสริมสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรให้ปิดบัญชี พร้อมทั้ง จัดท างบแสดงฐานะการเงิน และรายละเอียดต่าง ๆ ให้เสร็จสิ้นภายใน ๓๐ วันหลังจาก วันสิ้นปีทางบัญชี เพื่อพร้อมรับการตรวจสอบบัญชี ด้านมาตรฐานสหกรณ์ ปีงบประมาณ พ.ศ. 2561 ได้แนะน าส่งเสริมสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรในอ าเภอพัฒนานิคม ดังนี้ สหกรณ์ จ านวน 8 สหกรณ์ ได้มาตรฐาน 7 สหกรณ์ กลุ่มเกษตรกร จ านวน 11 กลุ่ม ได้มาตรฐาน 11 กลุ่ม ด้านระเบียบข้อบังคับ ปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖1 ได้แนะน าส่งเสริมสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรในการจัดท าระเบียบข้อบังคับ ให้สอดคล้องกับการปฏิบัติงานในภาวการณ์ปัจจุบัน พร้อมทั้งให้ปฏิบัติตามระเบียบฯและข้อบังคับของสหกรณ์ ปัญหา/อุปสรรคในการด าเนินงานของสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร จากการเข้าแนะน าส่งเสริม อ าเภอเมือง ดูแลสหกรณ์ 8 แห่ง กลุ่มเกษตรกร 11 แห่ง ซึ่งมีปัญหาอุปสรรคในการด าเนินงานของสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร ดังนี้ 1. การประกอบอาชีพทางการเกษตร มีความเสี่ยงสูงขึ้น ทั้งด้านต้นทุนการผลิตที่เพิ่มขึ้น อย่างต่อเนื่อง ในขณะที่ราคาผลผลิตมีแนวโน้มลดลง จากภาวการณ์แข่งขันทางการค้าเสรีในตลาด ปัจจุบันส่งผลต่อความสามารถในการช าระหนี้ต่อสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร 2. ผลกระทบจากการใช้ปัจจัยการผลิตที่มีเคมีผสมอยู่ ท าให้สุขภาวะของทั้งเกษตรกร และผู้บริโภค สภาพแวดล้อมรวมถึงผลผลิตมีสารเคมี เจือปน ส่งผลต่อราคาผลผลิต และตลาดที่รับซื้อ เป็นเหตุให้เกษตรกรสมาชิกต้องยอมรับราคา ผลผลิตทางการเกษตรที่ขยายตัวไม่คุ้มกับต้นทุนการผลิต 3. นโยบายภาครัฐในการกับพื้นที่เกษตรกรรมบางพื้นที่ เป็นพื้นที่รับน้ าส่งผลต่อการประกอบ อาชีพทางการเกษตรของสมาชิก 4. นโยบายและความช่วยเหลือภาครัฐ ส่งผลต่อการด าเนินธุรกิจของสหกรณ์ เช่น บัตรเครดิตเกษตรกร บัตรผู้มีรายได้น้อยซึ่งสหกรณ์หลายแห่งมีปริมาณธุรกิจจัดหาสินค้าที่ลดลง 5. ภัยธรรมชาติและศัตรูพืชผลผลิตเสียหาย
๘๔ รำยงำนผลกำรด ำเนินกำรประจ ำปี ๒๕๖๑ ซื่อตรงต่อหน้ำที่ มีวินัย โปร่งใส ไร้ทุจริต 6. นโยบายและโครงการอบรมช่วยเหลือต่าง ๆ จากภาครัฐ บางครั้งเป็นภาระและปัญหา ในการด าเนินงานของสหกรณ์ เนื่องจากแต่ละโครงการต้องการข้อมูลประกอบค่อนข้างมาก และก าหนด ระยะเวลาด าเนินการเร่งด่วน ข้อเสนอแนะ/แนวทางแก้ไขปัญหา 1. ส่งเสริมประชาสัมพันธ์ให้เกษตรกรและสมาชิกเข้าใจ และตระหนักถึงแนวคิด เศรษฐกิจพอเพียง และน าไปใช้ในการด าเนินชีวิตอย่างจริงจัง และต่อเนื่อง 2. การลดต้นทุนการประกอบอาชีพเป็นเรื่องที่เกษตรกร สถาบันเกษตรกรรวมถึงรัฐบาล ควรให้ความส าคัญ และด าเนินการอย่างจริงจังและต่อเนื่อง โดยเฉพาะเมล็ดพันธุ์พืช ซึ่งปัจจุบันมีการ ผูกขาด เนื่องจากเป็นการตัดต่อพันธุกรรม พืชที่เกษตรกรไม่สามารถเก็บผลผลิตไว้ท าพันธุ์ในฤดูการ ผลิตต่อไปได้ หรือเก็บไว้ได้ก็กลายพันธุ์ 3. เกณฑ์ก ากับสหกรณ์ออมทรัพย์และสหกรณ์เครดิตยูเนี่ยน ควรมีความชัดเจนแน่นอน สหกรณ์มีความเข้าใจและน าไปปฏิบัติได้จริงทุกประเด็น 4. การบริหารสินทรัพย์สภาพคล่องส่วนเกินของสหกรณ์ ยังต้องได้รับแนะน าส่งเสริม อย่างถูกต้องรัดกุม และปลอดภัย สหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรที่สะท้อนผลส าเร็จของการปฏิบัติงานตามภารกิจของ ส านักงานสหกรณ์จังหวัดลพบุรี ในปีงบประมาณ พ.ศ.2561 ชื่อสหกรณ์ : สหกรณ์การเกษตรพัฒนานิคม จ ากัด ประเภทของสหกรณ์ : สหกรณ์ภาคการเกษตร ผลงาน/ความส าเร็จของสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร สหกรณ์การเกษตรพัฒนานิคม จ ากัด ณ 31 มีนาคม 2561 มีจ านวนสมาชิก 2,152 คน ผลผลิตการเกษตรหลักของสหกรณ์ คือ มัน ข้าว และอ้อย ธุรกิจที่สหกรณ์ด าเนินการ ได้แก่ ธุรกิจสินเชื่อ ธุรกิจรับฝากเงิน ธุรกิจจัดหาสินค้ามาจ าหน่าย โดยธุรกิจหลักของสหกรณ์ คือ ธุรกิจสินเชื่อ และธุรกิจรับฝากเงิน ผลการด าเนินงานที่โดดเด่นของสหกรณ์คือ ด้านการบริหาร จัดการสหกรณ์ ไม่มีข้อบกพร่อง และข้อสังเกตของผู้สอบบัญชีในรอบปีบัญชีที่ผ่านมา ในปีงบประมาณ พ.ศ.2561 อ าเภอพัฒนานิคม มีบทบาทของสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร ในการขับเคลื่อนงานตามนโยบายของรัฐบาล ได้แก่ โครงการลดดอกเบี้ยให้แก่เกษตรกร เป็นต้น ปัจจัยแห่งความส าเร็จ สหกรณ์: ได้แก่ สหกรณ์กา รเกษต รพัฒน านิคม จ ากัด จดทะเบียนตาม พระราชบัญญัติสหกรณ์ พ.ศ.2511/พ.ศ.2542 (ประกาศคณะปฏิวัติฉบับที่ 141 พ.ศ.2515) เมื่อวันที่ 14 พฤศจิกายน 2517มีสมาชิก 2,152 คน มีการด าเนินธุรกิจ 3 ด้าน ได้แก่ ธุรกิจสินเชื่อ ธุรกิจรับฝากเงิน และธุรกิจจัดหาสินค้ามาจ าหน่าย แก่สมาชิกสหกรณ์ในการด าเนินธุรกิจสมาชิก มีส่วนร่วมร้อยละ 85 ดังนี้ 1) ธุรกิจสินเชื่อ โดยสหกรณ์มีให้เงินกู้แก่สมาชิกประเภทเงินกู้ โดยมีวัตถุประสงค์ เพื่อช่วยเหลือสมาชิกที่มีเดือดร้อน และมีความจ าเป็นในการครองชีพ ทั้งนี้มีจ านวนสมาชิกที่กู้เงินกับ สหกรณ์ จ านวน 1,237 ราย จากจ านวนสมาชิกที่ท าธุรกิจกับสหกรณ์ ทั้งหมด 1,752 ราย ปริมาณ ธุรกิจสินเชื่อ 45,732,600.00 บาท
ส ำนักงำนสหกรณ์จังหวัดลพบุรี http://web.cpd.go.th/lopburi ๘๕ ซื่อตรงต่อหน้ำที่ มีวินัย โปร่งใส ไร้ทุจริต 2) ธุรกิจรับฝากเงิน สมาชิกของสหกรณ์การเกษตรพัฒนานิคม จ ากัด สามารถออม เงินในรูปแบบของการถือหุ้นและการออมโดยการฝากเงิน โดยในระหว่างปีของบัญชีปัจจุบัน (31 มีนาคม 2561) สมาชิกของสหกรณ์ได้มีการใช้บริการฝากเงินกับสหกรณ์เป็นจ านวน 1,666 ราย เป็นเงินจ านวน 39,523,835.17 บาท และมีแนวโน้มเพิ่มมากขึ้นเรื่อยๆ (จากรายงานประจ าปี บัญชีสิ้นสุด 31 มีนาคม 2561) โดยเงินฝากของสหกรณ์สามารถจ าแนกได้ดังต่อไปนี้ 3) ธุรกิจจัดหาสินค้ามาจ าหน่าย สหกรณ์ได้จัดหาสินค้าประเภทต่าง ๆ มาจ าหน่าย แก่สมาชิก โดยระหว่างปีมีสมาชิกใช้บริการซื้อสินค้าจากสหกรณ์ จ านวน 1,752 ราย โดยสินค้าที่ สหกรณ์จัดหามาจ าหน่ายได้แก่ ปุ๋ย ยาปราบศัตรูพืช เมล็ดพันธุ์ข้าวเปลือก ข้าวสาร และอุปโภค บริโภค น้ ามันเชื้อเพลิง โดยในปีบัญชีสิ้นสุด 31 มีนาคม 2561 ธุรกิจจัดหาสินค้ามาจ าหน่าย จ านวน 140,314,489.89 บาท ภาพประกอบ การประชุมกลุ่มสมาชิกสหกรณ์การเกษตรพัฒนานิคม จ ากัด ส านักงานสหกรณ์จังหวัดลพบุรี น าโดย นายอ านาจ ศรีข า เจ้าพนักงานส่งเสริมสหกรณ์อาวุโส พร้อมเจ้าหน้าที่ส่งเสริมสหกรณ์ เข้าร่วมการประชุมกลุ่มสมาชิกสหกรณ์การเกษตรพัฒนานิคม จ ากัด ซึ่งได้ ก าหนดการประชุมกลุ่มสมาชิกสหกรณ์เดือนพฤศจิกายน ของทุกปี ซึ่งมีกิจกรรมการประชุมครบถ้วน และมีการน าธุรกิจจัดหาสินค้ามาจ าหน่ายให้สมาชิกที่ประชุมกลุ่มสมาชิกด้วย และส านักงานสหกรณ์ จังหวัดลพบุรี กลุ่มส่งเสริมสหกรณ์ 1 เข้าร่วมการประชุมกลุ่มสมาชิกสหกรณ์ เพื่อให้ค าแนะน าและ ชี้แจงโครงการของทางภาครัฐบาล
๘๖ รำยงำนผลกำรด ำเนินกำรประจ ำปี ๒๕๖๑ ซื่อตรงต่อหน้ำที่ มีวินัย โปร่งใส ไร้ทุจริต ประกอบด้วย สหกรณ์ 3 แห่ง สมาชิก 3,682 คน กลุ่มเกษตรกร 8 แห่ง สมาชิก 842 คน ผลการเข้าแนะน า ส่งเสริมสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร อ าเภอบ้านหมี่ ดูแลส่งเสริมสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร จ านวน 11 แห่ง แบ่งเป็นสหกรณ์ 3 แห่ง กลุ่มเกษตรกร 8 แห่ง มีผลการเข้าแนะน า ส่งเสริม ดังนี้ ด้านการด าเนินงาน ปีงบประมาณ พ.ศ. 2561 ได้แนะน าส่งเสริมสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรในด้านการบริหารธุรกิจ ให้ทุกธุรกิจมีผลการด าเนินงานให้มีก าไร และควบคุมค่าใช้จ่ายในแต่ละธุรกิจให้สอดคล้องกับธุรกิจนั้น ๆ ได้แนะน าให้สหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรท าธุรกิจสินเชื่อโดยความรอบครอบ พิจารณาวินัยทางการเงิน ของสมาชิกและความสามารถของการช าระหนี้เป็นหลัก ควบคุมการท าธุรกิจสินเชื่อให้เป็นไปตามระเบียบ และให้มีการติดตามเร่งรัดหนี้ก่อนถึงก าหนดช าระหนี้ของสมาชิกอย่างต่อเนื่อง ป้องกันไม่ให้มีหนี้ค้างช าระ ควบคุมค่าใช้จ่ายงบประมาณให้รัดกุม ใช้จ่ายเท่าที่มีความจ าเป็นและควบคุมค่าใช้จ่ายให้อยู่ภายใต้ วงเงินตามแผนที่ประชุมใหญ่สามัญประจ าปีอนุมัติไว้ มีการจ่ายเงินกู้ผ่านบัญชีสมาชิกรายตัวและการช าระหนี้ ของสมาชิกเริ่มให้สมาชิกช าระผ่านบัญชีธนาคารของสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรโดยตรง สหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร ในอ าเภอบ้านหมี่ มีผลประกอบการ ดังนี้ สหกรณ์ มีก าไรสุทธิ จ านวน 2 แห่ง กลุ่มเกษตรกร มีก าไรสุทธิ จ านวน 7 แห่ง สหกรณ์ ขาดทุนสุทธิ จ านวน 1 แห่ง กลุ่มเกษตรกร ปิดบัญชีไม่ได้ จ านวน 1 แห่ง สหกรณ์ที่มีผลประกอบการมีก าไร จ านวน 2 แห่ง คือ สหกรณ์การเกษตรบ้านหมี่ จ ากัด สหกรณ์ออมทรัพย์โรงพยาบาลบ้านหมี่ จ ากัด และขาดทุน จ านวน 1 แห่ง คือ สหกรณ์การเกษตร ปฏิรูปที่ดินบ้านหมี่ จ ากัด ในส่วนกลุ่มเกษตรกร มีผลประกอบการมีก าไร 7 แห่ง คือ กลุ่มเกษตรกร ท านาบ้านชี กลุ่มเกษตรกรท านาสนามแจง กลุ่มเกษตรกรท านาบ้านกล้วย กลุ่มเกษตรกรท านาหินปัก กลุ่มเกษตรกรท านาต าบลบ้านทราย กลุ่มเกษตรกรท านาหนองทรายขาว และกลุ่มเกษตรท านา ต าบลโพนทองพัฒนา ไม่สามารถปิดบัญชีได้ 1 แห่ง คือ กลุ่มเกษตรกรท านาหนองเต่า สาเหตุการที่ ไม่สามารถปิดบัญชีได้ เนื่องจากมีการด าเนินโครงการส่งเสริมการช าระหนี้ และเรียกเก็บเงินจาก สมาชิกที่เข้าร่วมโครงการหลายกรณี ท าให้สับสนในการค านวณค่าใช้จ่ายในการส่งเสริมการช าระหนี้ เป็นเหตุให้ไม่สามารถจัดท ารายละเอียดประกอบงบการเงินให้ผู้สอบบัญชีตรวจสอบได้ ด้านการบริหารธุรกิจ ปีงบประมาณ พ.ศ. 2561 ได้แนะน าส่งเสริมสหกรณ์ในด้านการบริหารธุรกิจในด้าน ต่าง ๆควบคุมค่าใช้จ่าย และเพิ่มปริมาณธุรกิจตามสภาวการณ์ของแต่ละแห่ง วางแผนการหาเงินทุน มาให้บริการสมาชิกส่งเสริมการด าเนินธุรกิจให้สหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร มีปริมาณธุรกิจเพิ่มขึ้น ดังนี้ สหกรณ์ มีปริมาณธุรกิจเพิ่มขึ้น จ านวน 2 แห่ง กลุ่มเกษตรกร มีปริมาณธุรกิจเพิ่มขึ้น จ านวน 7 แห่ง อ าเภอบ้านหมี่
ส ำนักงำนสหกรณ์จังหวัดลพบุรี http://web.cpd.go.th/lopburi ๘๗ ซื่อตรงต่อหน้ำที่ มีวินัย โปร่งใส ไร้ทุจริต ด้านการบริหารเงินทุน ปีงบประมาณ พ.ศ. 2561 ได้เข้าแนะน าส่งเสริมสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร โดยเน้นการพึ่งพา ทุนภายในเป็นหลัก ลดการพึ่งพาทุนจากภายนอก จากการด าเนินงานสหกรณ์และกลุ่มเกษตร พึ่งพาทุนจากทุนของสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรเอง และมีการพึ่งพาทุนจากแหล่งภายนอก คือ 1. เงินกู้กองทุนพัฒนาสหกรณ์ จ านวน 1 แห่ง คือ สหกรณ์การเกษตรปฏิรูปที่ดินบ้านหมี่ จ ากัด จ านวน 1,500,000 บาท 2. เงินกองทุนสงเคราะห์เกษตรกร จ านวน 4 แห่ง คือ กลุ่มเกษตรกรท านาบ้านชีจ านวน 300,000 บาท กลุ่มเกษตรกรท านาสนามแจง จ านวน 300,000 บาท กลุ่มเกษตรกรท านาบ้านกล้วย จ านวน 300,000 บาท และกลุ่มเกษตรกรท านาหินปัก จ านวน 537,000 บาท ในด้านของทุนภายในเพิ่มขึ้น มีดังนี้ สหกรณ์ มีทุนภายในเพิ่มขึ้น จ านวน 2 แห่ง กลุ่มเกษตรกร มีทุนภายในเพิ่มขึ้น จ านวน 7 แห่ง ด้านข้อบกพร่องที่ตรวจพบ ปีงบประมาณ พ.ศ. 2561 สหกรณ์/กลุ่มเกษตร ไม่มีข้อบกพร่องร้ายแรงที่ตรวจพบใหม่ มีเพียงการติดตามแก้ไขข้อบกพร่องของกลุ่มเกษตรกรท านาหนองเต่า กรณีไม่สามารถปิดบัญชีไม่ได้ ติดต่อกันเป็นเวลา 3 ปีบัญชีซึ่งเข้าข่ายที่นายทะเบียนกลุ่มเกษตรกรประจ าจงหวัด อาจสั่งเลิกกลุ่มเกษตรกร และอยู่ระหว่างการตรวจสอบสาเหตุแห่งการเลิกกลุ่มเกษตรกร เพื่อรายงานนายทะเบียนกลุ่มเกษตรกร ประจ าจังหวัดต่อไป ด้านปิดบัญชีภายใน ๓๐ วัน นับแต่วันสิ้นปีทางบัญชี ปีงบประมาณ พ.ศ. 2561 สหกรณ์/กลุ่มเกษตร ได้เข้าแนะน าส่งเสริมสหกรณ์และ กลุ่มเกษตรกร จัดท ารายการทางบัญชีและบันทึกบัญชีให้ถูกต้องตามหลักบัญชีและเรียบร้อย เป็นปัจจุบันตามระเบียบนายทะเบียนสหกรณ์ว่าด้วยการบัญชีสหกรณ์ พ.ศ. 2542 โดยเคร่งครัด โดยเมื่อสิ้นปีของสหกรณ์/กลุ่มเกษตร จัดท างบดุล งบก าไรขาดทุนและงบประกอบต่าง ๆ รวมทั้ง รายละเอียดประกอบงบการเงินตามแบบที่กรมตรวจบัญชีสหกรณ์ก าหนด พร้อมทั้งตรวจนับทรัพย์สิน สินค้าคงเหลือ วัสดุคงเหลือ ณ วันสิ้นปีให้เรียบร้อยพร้อมที่จะรับบริการตรวจสอบบัญชีภายใน 30 วัน นับแต่วันสิ้นปีทางบัญชี โดยสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรสามารถปิดบัญชีได้ภายใน 30 วัน สหกรณ์ จ านวน 3 แห่ง กลุ่มเกษตรกร จ านวน 7 แห่ง และคงเหลือกลุ่มเกษตรกรที่ยังไม่สามารถปิดบัญชี ไม่ได้ 3 ปีติดต่อกัน คือ กลุ่มเกษตรกรท านาหนองเต่า ด้านมาตรฐานสหกรณ์ ปีงบประมาณ พ.ศ. 2561 ได้เข้าแนะน าส่งเสริมสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรด าเนินงาน โดยยึดหลักเกณฑ์ตามเกณฑ์มาตรฐานสหกรณ์ 7 ข้อ และเกณฑ์มาตรฐานกลุ่มเกษตรกร 5 ข้อ เป็นแนวทางในการด าเนินงาน ผลการจัดชั้นมาตรฐาน มีดังนี้ สหกรณ์: ผ่านเกณฑ์มาตรฐาน จ านวน 2 แห่ง ไม่ผ่านมาตรฐาน จ านวน 1 แห่ง กลุ่มเกษตรกร: ผ่านเกณฑ์มาตรฐาน จ านวน 7 แห่ง ไม่ผ่านมาตรฐาน จ านวน 1 แห่ง
๘๘ รำยงำนผลกำรด ำเนินกำรประจ ำปี ๒๕๖๑ ซื่อตรงต่อหน้ำที่ มีวินัย โปร่งใส ไร้ทุจริต ด้านระเบียบข้อบังคับ ปีงบประมาณ พ.ศ. 2561 ได้แนะน าให้สหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร ศึกษาข้อบังคับ ให้สอดคล้องกับการด าเนินงาน เหมาะสมกับสภาพการณ์ของสหกรณ์ในปัจจุบัน และเพื่อให้ง่าย ในการถือปฏิบัติงาน โดยน าเสนอรายละเอียดการศึกษา ผ่านที่ประชุมคณะกรรมการด าเนินการ พิจารณา ยังไม่มีการขอแก้ไขเพิ่มเติมแต่อย่างใด ปัญหา/อุปสรรคในการด าเนินงานของสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร จากการเข้าแนะน าส่งเสริม อ าเภอบ้านหมี่เป็นอ าเภอ มีปัญหาอุปสรรคในการด าเนินงาน ของสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร โดยแยกออกเป็นแต่ละด้าน ดังนี้ 1. ด้านบุคลากร ประกอบด้วย ฝ่ายบริหาร สหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร คณะกรรมการยังขาดความรู้ในการบริหาร จัดการธุรกิจ และขาดความรู้ความเข้าใจในเรื่องอุดมการณ์และวิธีการสหกรณ์ ขาดความรู้ความเข้าใจ ในการบริหารงานซึ่งต้องบริการงานภายใต้ระเบียบ ข้อบังคับ พระราชบัญญัติสหกรณ์ ค าแนะน าของ นายทะเบียนสหกรณ์ และกฎหมายอื่นที่เกี่ยวข้องกับการด าเนินธุรกิจของสหกรณ์ และมีการปล่อย สินเชื่อให้กับสมาชิกโดยอาศัยความคุ้นเคยมากกว่าที่จะดูศักยภาพในการส่งช าระหนี้ ฝ่ายจัดการ สหกรณ์มีการจัดจ้างเจ้าหน้าที่ จ านวน 2 แห่ง คือ สหกรณ์การเกษตร บ้านหมี่ จ ากัด และสหกรณ์ออมทรัพย์โรงพยาบาลบ้านหมี่ จ ากัด มีการก าหนดระเบียบ ว่าด้วย ข้อบังคับเกี่ยวกับการท างานของเจ้าหน้าที่ มีการจัดท าสัญญาจ้าง และเรียกหลักประกันการท างาน ครบถ้วน ถูกต้อง และสหกรณ์การเกษตรปฏิรูปที่ดินบ้านหมี่ จ ากัด ไม่มีการจัดจ้างเจ้าหน้าที่ มีการมอบหมาย ให้กรรมการด าเนินการเป็นผู้รับผิดชอบในการด าเนินการของสหกรณ์ และเก็บรักษาเงินสด ซึ่งมิได้ เป็นบุคคลเดียวกัน ส่วนการจัดท าบัญชีได้รับการสนับสนุนพนักงานราชการจากส านักงานสหกรณ์ จังหวัดลพบุรี ด้านกลุ่มเกษตรกรส่วนใหญ่ไม่มีเจ้าหน้าที่ คณะกรรมการด าเนินการท าหน้าที่ผู้จัดการ ซึ่งขาดความรู้ความเข้าใจการบันทึกรายการทางบัญชี ท าให้มีปัจจัยเสี่ยงในการควบคุมภายใน และ ขาดประสิทธิภาพในการบริหารงาน สมาชิก สมาชิกสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรส่วนใหญ่มีหนี้ค้างนาน ไม่ยอมมาติดต่อกับ สหกรณ์ สหกรณ์มีการติดตามเร่งรัดหนี้โดยตลอด แต่ไม่ได้รับความร่วมมือจากสมาชิกที่เป็นลูกหนี้ค้างนาน และสมาชิกมีความซ้ าซ้อนกับสถาบันการเงิน/กลุ่มอื่น ๆ ท าให้มีดอกเบี้ยค้างและค่าปรับค้างเพิ่มขึ้น ทุกปีในการติดตามเร่งรัดหนี้ตามบ้านสมาชิกก็ติดต่อไม่ได้ ไม่เจอตัวสมาชิกที่เป็นหนี้ หลบหนี ท าให้ ไม่ทราบข้อมูลว่าจะมีการช าระหนี้ได้เมื่อใด ประกอบกับไม่สามารถวางแผนการควบคุมต้นทุน การผลิตได้ สมาชิกขายผลผลิตไม่ได้ราคา รายได้ไม่เพียงพอกับค่าใช้จ่าย ส่งผลให้สมาชิกบางส่วน ไม่สามารถส่งช าระหนี้ต่อสหกรณ์ได้ทันตามก าหนดเวลา สมาชิกบางส่วนมีหนีหลายทาง และมีหนี้ซ้ าซ้อน 2. ด้านการบริหารจัดการ สหกรณ์การเกษตรบ้านหมี่ จ ากัด และสหกรณ์ออมทรัพย์โรงพยาบาลบ้านหมี่ จ ากัด มีการควบคุมภายในอยู่ในระดับดี สามารถบริหารจัดการสหกรณ์ได้อย่างมีประสิทธิภาพ โดยเฉพาะ สหกรณ์ออมทรัพย์โรงพยาบาลบ้านหมี่ จ ากัด ในปีที่ผ่านมาได้รับการประเมินผลการด าเนินงานของ สหกรณ์อยู่ในขั้นดีเด่นระดับจังหวัด ส่วนสหกรณ์การเกษตรปฏิรูปที่ดินบ้านหมี่ จ ากัด และกลุ่มเกษตรกรยัง
ส ำนักงำนสหกรณ์จังหวัดลพบุรี http://web.cpd.go.th/lopburi ๘๙ ซื่อตรงต่อหน้ำที่ มีวินัย โปร่งใส ไร้ทุจริต ขาดการควบคุมภายในที่ดี ส่งเผลให้มีข้อสังเกตของผู้สอบบัญชีแต่ก็สามารถให้ค าแนะน าในการแก้ไข ข้อสังเกตในทุกประเด็นเรียบร้อยแล้ว และได้ให้ค าแนะน าแนวทางป้องกันไม่ให้มีข้อสังเกตในปีต่อไป 3. ด้านการบริหารธุรกิจ สหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรขาดความเป็นมืออาชีพในการบริหารธุรกิจ ด าเนินธุรกิจด้านเดียว แต่ยังขาดความเชี่ยวชาญ มีการด าเนินธุรกิจสินเชื่อเป็นหลัก แต่ขาดการวางแผนในการติดตามเร่งรัดหนี้ สมาชิกอย่างเป็นระบบ ส่งผลให้สมาชิกมีหนี้ค้างนานและค่าปรับค้างจ านวนมาก ธุรกิจจัดหาสินค้ามา จ าหน่าย ไม่สามารถจัดหาสินค้าที่สมาชิกต้องการในราคายุติธรรมที่จะจูงใจสมาชิกให้มาใช้บริการได้ ท าให้มียอด จ าหน่ายต่ า ไม่คุ้มกับค่าใช้จ่ายเฉพาะธุรกิจในทุกๆ ปี ในส่วนของสหกรณ์ออมทรัพย์โรงพยาบาลบ้านหมี่ จ ากัด ด าเนินธุรกิจสินเชื่อ และรับฝากเงินจากสมาชิก สหกรณ์ก าหนดให้สมาชิกได้กู้เงินค่อนข้างสูง และงวด ช าระหนี้หลายงวดท าให้ไม่สามารถขยายวงเงินกู้ให้แก่สมาชิกได้ เนื่องจากความเสี่ยงจากการด าเนินธุรกิจนี้ ค่อนข้างสูงแล้ว ประกอบกับนโยบายของสหกรณ์ต้องการเป็นสถาบันการเงินของสมาชิกจึงไม่มีการจ ากัด สกัดกั้นเงินฝากจากสมาชิก เป็นเหตุให้สหกรณ์มีสภาพคล่องเงินส่วนเกินสูง และไม่สามารถหาประโยชน์ จากเงินจ านวนดังกล่าว สหกรณ์จึงเสียโอกาสในการท ารายได้จากเงินส่วนนี้ ข้อเสนอแนะ/แนวทางแก้ไขปัญหา 1. ด้านบุคลากร ควรมีการถ่ายทอดความรู้แก่คณะกรรมการ ฝ่ายจัดการและสมาชิกอย่างสม่ าเสมอ ให้มีความรู้ ความเข้าใจและตระหนักถึงความส าคัญในการมีส่วนร่วมทางธุรกิจของสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร 2. ด้านการบริหารจัดการ ควรด าเนินการโดยยึดหลักการควบคุมภายในที่ดีทั้งด้านระบบการเงิน การบัญชี การปฏิบัติงาน และคณะกรรมการควรมีการตรวจสอบการปฏิบัติงานของฝ่ายจัดการอย่างต่อเนื่อง และเสนอแนะการแก้ไขวิธีการปฏิบัติในที่ประชุมประจ าเดือนทุกครั้ง 3. ด้านการบริหารธุรกิจ สหกรณ์และกลุ่มเกษตรต้องมีแผนงานในการจัดหามาตรการในการเร่งรัดหนี้ค้างนาน พร้อมทั้งติดตามเร่งรัดหนี้เพื่อให้สมาชิกสามารถส่งช าระหนี้ได้ตามก าหนด ให้คณะกรรมการจัดท าแผน ในการติดตามข้อบกพร่อง เพื่อเพิ่มสภาพคล่องทางการเงินให้กับสหกรณ์ จัดท าแผนเพิ่มปริมาณธุรกิจ ให้รอบการหมุนของเงินให้มากขึ้นเพื่อให้บริการสมาชิกมากขึ้นให้เพียงพอกับค่าใช้จ่ายที่เพิ่มขึ้นด้วย และสหกรณ์ต้องมีการวางระบบการควบคุมภายในที่สามารถตรวจสอบได้ และมีความโปร่งใส เพื่อป้องกันปัญหาและมีระบบการแก้ไขปัญหาเฉพาะหน้าที่อันอาจเกิดขึ้นตลอดเวลา สหกรณ์ควรมี แผนงานที่ชัดเจนในการบริหารเงินไม่ว่าจะเป็นธุรกิจสินเชื่อ ธุรกิจจัดหาสินค้ามาจ าหน่าย เพื่อให้ สอดคล้องกับความต้องการของสมาชิก อีกทั้งสหกรณ์ต้องควบคุมค่าใช้จ่ายให้รัดกุม เพิ่มปริมาณธุรกิจ ให้เพียงพอกับค่าใช้จ่ายเพื่อให้ผลประกอบการมีก าไร และให้สหกรณ์ปฏิบัติงานภายใต้ระเบียบ ข้อบังคับ และกฎกติกาของส่วนรวม ไม่มีการแยกอภิสิทธิ์คณะกรรมการกับสมาชิกทั่วไป