๔๐ รำยงำนผลกำรด ำเนินกำรประจ ำปี ๒๕๖๓ ซื่อตรงต่อหน้ำที่ มีวินัย โปร่งใส ไร้ทุจริต (คน)หนี้สิน ทนุของกล่มุ เกษตรกร 6.ท ำไร่ต ำบลดีลัง 31 ธ.ค. 62 92 ผ่ำนเกณฑ์ด ำเนินงำน 96,200.00 575,232.68 280,096.65 295,136.03 167,642.33 147,088.80 20,553.53 28,598.47 0.00 550,000.00 14,460.00 0.00 0.00 564,460.00 441,000.00 7.ท ำไร่ต ำบลโคกสลุง 31 ธ.ค. 62 190 ผ่ำนเกณฑ์ด ำเนินงำน 187,250.00 723,185.43 268,689.56 454,495.87 30,998.99 13,151.57 17,847.42 29,505.27 0.00 710,000.00 0.00 0.00 0.00 710,000.00 650,000.00 8.ท ำไร่มะนำวหวำน 31 มี.ค. 63 339 ผ่ำนเกณฑ์ด ำเนินงำน 25,250.00 923,513.80 605,621.93 317,891.87 52,697.95 51,115.37 1,582.58 4,768.73 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 9.ท ำไร่ต ำบลน ำ้สุด 31 ธ.ค. 62 108 ผ่ำนเกณฑ์ด ำเนินงำน 114,850.00 558,062.51 41,808.30 516,254.21 31,972.19 3,340.00 28,632.19 20,811.58 0.00 515,000.00 0.00 0.00 0.00 515,000.00 0.00 10.ท ำไร่ต ำบลห้วยขุนรำม 31 ธ.ค. 62 50 ผ่ำนเกณฑ์ด ำเนินงำน 53,500.00 649,713.80 442,422.41 207,291.39 22,338.83 3,170.00 19,168.83 7,444.88 0.00 554,000.00 0.00 0.00 0.00 554,000.00 390,000.00 11.ท ำไร่ต ำบลวังเพลิง 31 ธ.ค. 62 252 ผ่ำนเกณฑ์ด ำเนินงำน 117,110.00 370,756.76 143,517.59 227,239.17 1,724.11 -7,040.00 8,764.11 25,479.23 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 12.ท ำไร่ต ำบลสะแกรำบ 31 มี.ค. 63 49 ผ่ำนเกณฑ์ด ำเนินงำน 402,550.00 981,529.85 409,399.28 572,130.57 207,371.20 185,408.00 21,963.20 25,015.28 0.00 1,711,000.00 141,180.00 0.00 0.00 1,852,180.00 931,980.00 13.ท ำไร่หนองแขม 31 มี.ค.63 450 ไม่น ำมำจัด หยุด 29,200.00 8,342.74 312,496.67 -304,153.93 792.22 17,132.00 -16,339.78 -16,340.76 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 14.ท ำไร่ต ำบลวังจัน่ 31 มี.ค. 63 47 ผ่ำนเกณฑ์ด ำเนินงำน 295,450.00 732,790.71 133,283.51 599,507.20 42,007.06 21,005.48 21,001.58 2,236.71 0.00 557,000.00 0.00 0.00 0.00 557,000.00 565,000.00 15.ท ำไร่ต ำบลเกำะแก้ว 31 มี.ค. 63 176 ผ่ำนเกณฑ์ด ำเนินงำน 49,250.00 875,638.07 174,012.54 701,625.53 74,418.83 41,224.95 33,193.88 31,758.92 0.00 700,000.00 40,000.00 0.00 0.00 740,000.00 700,000.00 16.ท ำไร่บ่อทอง 31 มี.ค. 62 33 ผ่ำนเกณฑ์ด ำเนินงำน 159,900.00 846,083.25 418,000.00 428,083.25 30,185.89 8,218.00 21,967.89 5,782.00 0.00 723,000.00 0.00 0.00 0.00 723,000.00 380,000.00 17.ท ำไร่ยำงโทน 31 มี.ค. 63 39 ผ่ำนเกณฑ์ด ำเนินงำน 125,200.00 1,003,427.95 618,369.83 385,058.12 51,851.99 4,345.00 47,506.99 -20,547.41 0.00 470,000.00 0.00 0.00 0.00 470,000.00 455,000.00 18.ท ำไร่ชอนสำรเดช 30 มิ.ย. 63 37 ผ่ำนเกณฑ์ด ำเนินงำน 21,050.00 1,259,282.53 755,757.15 503,525.38 704,140.40 685,000.00 19,140.40 22,100.00 0.00 425,000.00 0.00 0.00 0.00 425,000.00 438,000.00 19.ท ำไร่หนองม่วง 30 มิ.ย. 63 68 ผ่ำนเกณฑ์ด ำเนินงำน 162,450.00 806,823.83 340,127.91 466,695.92 34,146.56 5,800.00 28,346.56 6,125.00 0.00 690,000.00 0.00 0.00 0.00 690,000.00 680,000.00 20.ท ำไร่เขำแหลม 31 มี.ค. 63 74 ผ่ำนเกณฑ์ด ำเนินงำน 16,000.00 374,657.58 87,990.65 286,666.93 19,331.35 -5,160.83 24,492.18 13,871.58 0.00 448,500.00 0.00 0.00 0.00 448,500.00 709,000.00 21.ท ำไร่ห้วยหิน 31 มี.ค. 63 151 ผ่ำนเกณฑ์ด ำเนินงำน 36,850.00 593,305.61 75,608.93 517,696.68 28,503.48 25,951.50 2,551.98 26,023.72 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 22.ท ำไร่หนองยำยโต๊ะ 30 มิ.ย. 63 175 ผ่ำนเกณฑ์ด ำเนินงำน 25,650.00 1,546,472.94 1,374,660.69 171,812.25 680,392.21 644,953.80 35,438.41 5,379.92 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 292,500.00 23.ท ำไร่นิคมล ำนำรำยณ์ 31 มี.ค. 63 199 ไม่น ำมำจัด หยุด 1,500.00 60,464.92 791.70 59,673.22 134.07 25,000.00 -24,865.93 81.28 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 24.ท ำไร่ชัยบำดำล 31 มี.ค.63 63 ผ่ำนเกณฑ์ด ำเนินงำน 46,850.00 685,475.53 428,697.31 256,778.22 36,044.10 6,940.00 29,104.10 35,451.10 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 402,800.00 25.ท ำไร่บ้ำนใหม่สำมัคคี 31 มี.ค.63 179 ผ่ำนเกณฑ์ด ำเนินงำน 86,350.00 1,016,635.57 651,811.04 364,824.53 40,322.36 0.00 40,322.36 46,386.22 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 516,000.00 26.ท ำไร่ล ำนำรำยณ์ 31 มี.ค. 63 78 ผ่ำนเกณฑ์ด ำเนินงำน 273,650.00 1,371,564.11 393,214.31 978,349.80 144,265.15 -199.19 144,464.34 -68,556.95 0.00 480,000.00 0.00 0.00 0.00 480,000.00 442,500.00 27.ท ำไร่ชัยนำรำยณ์ 31 มี.ค. 63 61 ผ่ำนเกณฑ์ด ำเนินงำน 383,000.00 1,264,145.94 528,038.20 736,107.74 50,072.74 29,034.38 21,038.36 64,285.42 0.00 695,000.00 0.00 0.00 0.00 695,000.00 290,500.00 28.ท ำไร่ศิลำทิพย์ 31 มี.ค.63 176 ผ่ำนเกณฑ์ด ำเนินงำน 20,700.00 883,631.59 588,243.84 295,387.75 40,618.35 5,031.36 35,586.99 28,920.39 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 1,200,000.00 29.ท ำไร่ยำสูบนิคมล ำนำรำยณ์ 31 มี.ค.63 61 ผ่ำนเกณฑ์ด ำเนินงำน 58,450.00 631,392.28 470,027.66 161,364.62 18,890.11 3,351.85 15,538.26 15,171.28 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 412,500.00 30.ท ำไร่ซับตะเคียนพัฒนำ 31 มี.ค. 63 71 ผ่ำนเกณฑ์ด ำเนินงำน 57,500.00 516,623.37 400,000.00 116,623.37 28,189.79 21,962.00 6,227.79 3,604.76 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 465,000.00 31.ท ำไร่บัวชุมพัฒนำ 30 เม.ย. 63 51 ผ่ำนเกณฑ์ด ำเนินงำน 324,350.00 2,566,910.09 1,986,106.36 580,803.73 176,469.65 87,708.71 88,760.94 49,677.00 73,517.45 0.00 0.00 0.00 0.00 73,517.45 572,000.00 32.ท ำไร่หนองมะค่ำ 31 มี.ค. 62 265 ผ่ำนเกณฑ์ด ำเนินงำน 30,400.00 44,215.28 1,038,064.00 -993,848.72 14,859.62 14,649.96 209.66 23,104.81 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 33.ท ำไร่โคกแสมสำร 31 มี.ค. 63 74 ผ่ำนเกณฑ์ด ำเนินงำน 12,550.00 296,130.31 51,800.00 244,330.31 7,082.84 553.15 6,529.69 6,520.18 0.00 127,570.00 0.00 0.00 0.00 127,570.00 380,000.00 34.ท ำไร่วังทอง 31 มี.ค.63 201 ผ่ำนเกณฑ์ด ำเนินงำน 75,700.00 947,806.10 684,740.21 263,065.89 25,109.21 5,492.36 19,616.85 20,865.69 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 630,000.00 35.ท ำไร่โคกเจริญ 31 มี.ค. 63 67 ผ่ำนเกณฑ์ด ำเนินงำน 62,900.00 327,026.52 89,421.10 237,605.42 208,002.62 202,070.00 5,932.62 5,705.95 0.00 340,000.00 0.00 0.00 0.00 340,000.00 330,000.00 36.ท ำไร่ต ำบลยำงรำก 31 มี.ค.63 103 ไม่ผ่ำนเกณฑ์ด ำเนินงำน 12,600.00 44,424.47 100,844.57 -56,420.10 7,170.71 49,042.72 -41,872.01 -12,154.40 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 37.ท ำไร่ล ำสนธิ 31 มี.ค.63 134 ผ่ำนเกณฑ์ด ำเนินงำน 279,250.00 759,099.63 484,000.00 275,099.63 30,923.13 234.60 30,688.53 33,963.11 0.00 656,000.00 0.00 0.00 0.00 656,000.00 638,765.00 38.ท ำไร่กุดตำเพชร 31 มี.ค. 63 110 ผ่ำนเกณฑ์ด ำเนินงำน 141,700.00 1,733,981.68 778,449.98 955,531.70 251,132.68 187,255.93 63,876.75 30,734.42 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 1,300,000.00 39.ท ำไร่เขำรวก 31 มี.ค. 63 190 ผ่ำนเกณฑ์ด ำเนินงำน 18,600.00 671,043.98 11,200.96 659,843.02 635,127.62 631,478.00 3,649.62 24,605.83 0.00 0.00 635,050.00 0.00 0.00 635,050.00 0.00 40.ท ำไร่หนองรี 31 มี.ค.63 94 ผ่ำนเกณฑ์ด ำเนินงำน 51,800.00 269,732.26 41,201.00 228,531.26 12,772.55 5,530.60 7,241.95 8,021.03 0.00 210,000.00 0.00 0.00 0.00 210,000.00 212,548.00 41.ท ำไร่สระโบสถ์ 30 มิ.ย. 63 87 ผ่ำนเกณฑ์ด ำเนินงำน 224,900.00 923,297.72 422,186.85 501,110.87 47,065.90 3,678.65 43,387.25 36,761.54 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 380,000.00 42.ท ำไร่มหำโพธิ 30 มิ.ย. 63 38 ผ่ำนเกณฑ์ด ำเนินงำน 554,450.00 1,198,465.71 232,407.89 966,057.82 241,724.71 160,215.65 81,509.06 67,529.84 0.00 994,000.00 0.00 0.00 0.00 994,000.00 468,000.00 43.ท ำไร่หนองผักแว่นพัฒนำ 31 ธ.ค. 62 31 ผ่ำนเกณฑ์ด ำเนินงำน 72,885.00 710,435.68 569,559.23 140,876.45 46,304.40 44,662.07 1,642.33 45,748.09 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 448,200.00 44.ท ำไร่เกำะรังพัฒนำ 30 เม.ย. 63 145 ผ่ำนเกณฑ์ด ำเนินงำน 27,800.00 371,667.20 399,467.20 71,667.20 634,281.57 622,947.82 11,333.75 36,111.45 0.00 300,000.00 0.00 0.00 0.00 300,000.00 448,200.00 หมายเหตุ - กลุ่มเกษตรกรท ำนำหนองเต่ำอยู่ระหว่ำงปิดบัญชีณวันที่31 มีนำคม2558 ผู้สอบบัญชียังไม่รับรองงบ กล่มุเกษตรกรสินทรัพย์ ปริมาณธรุกิจแยกตามประเภทการให้บริการ (บาท) ปีบัญชี ผลการจัด มาตรฐาน ประจ าปี2563 จ านวนสมาชิก สถานะกล่มุ เกษตรกร ผลการด าเนินงานของกล่มุเกษตรกรในรอบปีบัญชีล่าสดุประจ าปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 ส านักงานสหกรณ์จังหวัดลพบรุี ปริมาณธรุกิจปีบัญชี ก่อนหน้า(พ.ศ. 2562) รับฝากเงิน ให้เงินกู้ จัดหาสินค้ามา จ าหน่าย รวบรวม ผลผลิตและ แปรรปู บริการและอื่น ๆ รวมปริมาณธรุกิจปี ล่าสดุ (พ.ศ. 2563) รายได้ค่าใช้จ่าย ก าไร/(ขาดทนุ ) ปี บัญชีก่อนหน้า สถานะทั่วไปของกล่มุเกษตรกร ปีล่าสดุที่มีการปิดบัญชีในปีงบประมาณพ.ศ. 2563 (บาท) ก าไร/(ขาดทนุ ) ปี บัญชีล่าสดุ ทนุด าเนินงาน ทนุเรือนห้นุ
ส ำนักงำนสหกรณ์จังหวัดลพบุรี http://web.cpd.go.th/lopburi ๔๑ ซื่อตรงต่อหน้ำที่ มีวินัย โปร่งใส ไร้ทุจริต ส่วนที่ ๒ ผลการด าเนินงาน ศาลพระกาฬ วัดไลย์ ต.เขาสมอคอน อ.ท่าวุ้ง จ.ลพบุรี
๔๒ รำยงำนผลกำรด ำเนินกำรประจ ำปี ๒๕๕๓ ซื่อตรงต่อหน้ำที่ มีวินัย โปร่งใส ไร้ทุจริต สรุปผลการปฏิบัติงานและผลเบิกจ่ายงบประมาณ ตามแผนปฏิบัติงานและงบประมาณรายจ่าย ประจ าปีงบประมาณ พ.ศ.๒๕๖๓ งบประมาณ ทไี่ดร้ับ จัดสรร+โอนเพมิ่ หนว่ยนบัร้อยละ บาท บาท ร้อยละ 1. แผนงาน พนื้ฐานดา้นการแกไ้ขปญัหาความยากจน ลดความ ผลผลิต สหกรณแ์ละกลุ่มเกษตรกรไดร้ับการแนะนา ส่งเสริม กจิกรรมหลักส่งเสริมและพัฒนาสหกรณ์และกลมุ่เกษตรกร กิจกรรมรอง ส่งเสริมและพัฒนาสหกรณ์/กลมุ่เกษตรกรให้มี ความเข้มแข็งตามศกัยภาพ 177 แห่ง 177 แห่ง 100 2,074,740.00 2,074,740.00 100 กิจกรรม ส่งเสริมและพัฒนาสหกรณ์/กลมุ่เกษตรกร 175 แห่ง 175 แห่ง 100 562,000.00 562,000.00 100 งบดแูลกิจการนิคมสหกรณ์(แนะน า ส่งเสริม สนับสนุน พัฒนา และก ากับสหกรณ์ในเขตนิคมสหกรณ์) 1 แห่ง 1 แห่ง 100 172,700.00 172,700.00 100 คา่ ใช้จ่ายในการช าระบัญชี 14 แห่ง 14 แห่ง 100 28,000.00 28,000.00 100 คา่ ใช้จ่ายในการประชุม จกบ. 4 ครั้ง 4 ครั้ง 100 11,400.00 11,400.00 100 โครงการสหกรณ์และกลมุ่เกษตรกรไดร้ับการแนะน าส่งเสริม และก ากับ 175 แห่ง 175 แห่ง 100 104,800.00 104,800.00 100 คา่ ใช้จ่ายในการด าเนินโครงการพัฒนาศกัยภาพการด าเนินงาน 1 ครั้ง 1 ครั้ง 100 13,610.00 13,610.00 100 คา่ ใช้จ่ายในการด าเนินงานโครงการสหกรณ์สีขาวดว้ยธรรมาภิ บาล 1 ครั้ง 1 ครั้ง 100 10,360.00 10,360.00 100 คา่ ใช้จ่ายในการประชุมเชิงปฏิบัตกิารขับเคลอื่นเกษตรอินทรีย์ 1 ครั้ง 1 ครั้ง 100 1,006.00 1,006.00 100 คา่ ใช้จ่ายในการด าเนินโครงการสร้างเครือข่ายลูกหลาน เกษตรกร 107 ราย 107 ราย 100 93,750.00 93,750.00 100 กจิกรรมหลักส่งเสริมและพัฒนาสหกรณ์และกลมุ่เกษตรกร กิจกรรมรอง ส่งเสริมและพัฒนาสหกรณ์/กลมุ่เกษตรกรให้มี ความเข้มแข็งตามศกัยภาพ (รายจ่ายเพื่อการลงทุนดา้น เทคโนโลยีสารสนเทศ) 158,500.00 158,500.00 100 แผนงาน/ผลผลิต/กจิกรรม ผลการดา เนนิงาน ผลการเบกิจ่าย หมายเหตุ ประกอบ (อธบิาย).. เปา้หมาย (หนว่ยนบั)
ส ำนักงำนสหกรณ์จังหวัดลพบุรี http://web.cpd.go.th/lopburi ๔๓ ซื่อตรงต่อหน้ำที่ มีวินัย โปร่งใส ไร้ทุจริต ที่มา : ฝ่ายบริหารทั่วไป ส านักงานสหกรณ์จังหวัดลพบุรี, ๓๐ กันยายน 2563 งบประมาณ ทไี่ดร้ับ จัดสรร+โอนเพมิ่ หนว่ยนบัร้อยละ บาท บาท ร้อยละ กจิกรรมหลัก พัฒนาสหกรณ/์กลมุ่เกษตรในพื้นทโี่ครงการอัน เนื่องมาจากพระราชด าริ โครงการอนุรักษ์พันธุกรรมพืชฯ 1 แห่ง 1 แห่ง 100 17,700.00 17,700.00 100 ขับเคลอื่นปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง 5 แห่ง 5 แห่ง 100 47,000.00 47,000.00 100 ส่งเสริมการเกษตรตามแนวทางทฤษฎีใหม่ในสหกรณ/์กลมุ่ เกษตรกร 147 ราย 147 ราย 100 10,600.00 10,600.00 100 คลินิกเกษตรเคลอื่นทฯี่ 4 ครั้ง 4 ครั้ง 100 25,100.00 25,100.00 100 กจิกรรมหลักช่วยเหลือดา้นหนี้สินสมาชิกสหกรณ/์กลมุ่ เกษตรกร กิจกรรมรอง ลดดอกเบยี้เงินกใู้ห้เกษตรกรสมาชิกสหกรณ/์กลมุ่ เกษตรกร 12 ราย 12 ราย 100 2,587,232.25 2,587,232.25 100 กจิกรรมหลักคา่ ใช้จ่ายบุคลากรภาครัฐกรมส่งเสริมสหกรณ์ กิจกรรมรอง บุคลากรภาครัฐกรมส่งเสริมสหกรณ์ รายการคา่ ใช้จ่ายบุคลากรภาครัฐ พัฒนาเศรษฐกิจฐานราก และชุมชนเข้มแข็ง กิจกรรมคา่ตอบแทนพนักงานราชการ 14 อัตรา 14 อัตรา 100 3,696,048.00 3,696,048.00 100 กิจกรรมเงินประกันสังคม 117,752.00 117,752.00 100 กิจกรรมคา่เช่าบ้าน 763,300.00 763,300.00 100 แผนงาน/ผลผลิต/กจิกรรม เปา้หมาย (หนว่ยนบั) ผลการดา เนนิงาน ผลการเบกิจ่าย หมายเหตุ ประกอบ (อธบิาย).. 2. แผนงานยุทธศาสตร์เสริมสร้างพลังทางสังคม โครงการส่งเสริมการดา เนนิงานอนัเนอื่งมาจากพระราชดา ริ 3. แผนงานยุทธศาสตร์เพอื่สนบัสนนุดา้นการสร้างโอกาสและความเสมอภาคทางสังคม โครงการช่วยเหลือดา้นหนสี้ินสมาชิกสหกรณ/์กลุ่มเกษตรกร (ลดดอกเบยี้เงินกใู้หเ้กษตรกรสมาชิกสหกรณ/์กลุ่มเกษตรกร) 4. แผนงานค่าใช้จ่ายบคุลากรภาครัฐ
๔๔ รำยงำนผลกำรด ำเนินกำรประจ ำปี ๒๕๕๓ ซื่อตรงต่อหน้ำที่ มีวินัย โปร่งใส ไร้ทุจริต กลุ่มส่งเสริมสหกรณ์ แบ่งออกเป็น 3กลุ่ม มีข้าราชการทั้งสิ้น 18ราย รับผิดชอบในการส่งเสริมสหกรณ์/ กลุ่มเกษตรกร ในพื้นที่ 11 อ าเภอส าหรับสหกรณ์ในพื้นที่ของนิคมสหกรณ์ชัยบาดาลอยู่ในอ าเภอท่าหลวง มีข้าราชการของนิคมสหกรณ์ชัยบาดาล ทั้งสิ้น 2 ราย รวม 20 ราย ท าหน้าที่ในการแนะน าและ ส่งเสริมสหกรณ์ด้วย ซึ่งผลการส่งเสริมสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร ในปีงบประมาณพ.ศ.2563 มีดังนี้ ประกอบด้วย สหกรณ์ 30 แห่ง สมาชิก 83,891 คน ชุมนุมสหกรณ์ 1 แห่ง สมาชิก 28 สหกรณ์ กลุ่มเกษตรกร 15 แห่ง สมาชิก 1,542 คน ผลการเข้าแนะน า ส่งเสริมสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร อ าเภอเมืองลพบุรี ดูแลส่งเสริมสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร จ านวน 46 แห่ง แบ่งเป็น สหกรณ์ 30 แห่ง ชุมนุมสหกรณ์ 1 แห่ง กลุ่มเกษตรกร 15 แห่ง มีผลการเข้าแนะน า ส่งเสริม ดังนี้ ด้านการด าเนินงาน ในปีงบประมาณ พ.ศ.2563 ได้แนะน าส่งเสริมสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร ในด้าน การบริหารจัดการเงินทุน และการด าเนินธุรกิจของสหกรณ์ทุกด้านให้มีผลการด าเนินงานให้มีก าไร ลดต้นทุนและควบคุมค่าใช้จ่ายในแต่ละธุรกิจ ให้สอดคล้องกับธุรกิจนั้น ๆ ส่งผลให้มีปริมาณธุรกิจเพิ่มขึ้น แนะน าส่งเสริมให้มีการติดตามช าระหนี้เร่งรัดหนี้ของสมาชิกอย่างต่อเนื่อง และป้องกันไม่ให้มีหนี้ค้าง ช าระนาน ควบคุมการใช้จ่ายงบประมาณให้เป็นไปตามแผนงานงบประมาณที่ได้รับอนุมัติจากที่ประชุมใหญ่ สามัญประจ าปีผลการแนะน าส่งเสริมสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร มีผลการด าเนินงาน ดังนี้ สหกรณ์ มีก าไรสุทธิ จ านวน 29 แห่ง จ านวน 858.900 ล้านบาท ขาดทุน จ านวน 2 แห่ง จ านวน 4.460 ล้านบาท กลุ่มเกษตรกร มีก าไรสุทธิ จ านวน 13 แห่ง จ านวนเงิน 0.300 ล้านบาท ขาดทุน จ านวน 2 แห่ง จ านวนเงิน 0.012 ล้านบาท อ าเภอเมืองลพบุรี ผลการปฏิบัติงานส่งเสริมสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร ประจ าปีงบประมาณ พ.ศ.๒๕๖๓
ส ำนักงำนสหกรณ์จังหวัดลพบุรี http://web.cpd.go.th/lopburi ๔๕ ซื่อตรงต่อหน้ำที่ มีวินัย โปร่งใส ไร้ทุจริต ด้านการบริหารธุรกิจ ปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖3 ได้แนะน าส่งเสริมสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรในด้านการบริหารธุรกิจ ในด้านต่าง ๆ ส่งผลให้มีปริมาณธุรกิจเพิ่มขึ้น โดยแยกเป็น สหกรณ์มียอดปริมาณธุรกิจรวม จ านวนเงิน 15,971.680 ล้านบาท จ าแนกเป็น 1. ธุรกิจสินเชื่อ จ านวน 3,178.402 ล้านบาท 2. ธุรกิจรับฝากเงิน จ านวน 12,130.716 ล้านบาท 3. ธุรกิจจัดหาสินค้ามาจ าหน่าย จ านวน 253.459 ล้านบาท 4. ธุรกิจให้บริการอื่น ๆ จ านวน 0.790 ล้านบาท 5. ธุรกิจรวบรวม จ านวน 389.820 ล้านบาท 6. ธุรกิจแปรรูป จ านวน 18.493 ล้านบาท กลุ่มเกษตรกร มีปริมาณธุรกิจโดยรวม จ านวนเงิน 6.400 ล้านบาท จ าแนกเป็น 1. ธุรกิจสินเชื่อ จ านวน 6.400 ล้านบาท ด้านการบริหารเงินทุน ปีงบประมาณ พ.ศ.2563 ได้แนะน าส่งเสริมสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร ในอ าเภอเมือง ดังนี้ สหกรณ์ภาคเกษตร ใช้เงินทุนภายในของตนเองส่วนใหญ่ สหกรณ์นอกภาคเกษตร มีทั้งใช้ทุนภายในและภายนอก โดยการเชื่อมโยงเครือ ทางการเงินระหว่างสหกรณ์ระดับชุมนุมสหกรณ์ และสหกรณ์ภายในจังหวัดลพบุรี และธนาคาร เพื่อการเกษตรและสหกรณ์การเกษตร และธนาคารกรุงไทย กลุ่มเกษตรกร กู้เงินตามโครงการสร้างความเข้มแข็งให้กับกลุ่มเกษตรกร เพื่อเข้าถึง แหล่งเงินทุนในการผลิตและการตลาด จ านวน 6 กลุ่ม และมีกลุ่มเกษตรกรบางส่วนใช้เงินทุนของ ตนเอง เป็นเงินทุนหมุนเวียนให้กับกลุ่มเกษตรกร จ านวน 5 กลุ่ม ปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖3 ไม่พบข้อบกพร่องของสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร ด้านปิดบัญชีภายใน ๓๐ วัน นับแต่วันสิ้นปีทางบัญชี ปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖3 ได้แนะน าส่งเสริมสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรให้ปิดบัญชี พร้อมทั้งจัดท างบแสดงฐานะการเงิน และรายละเอียดต่าง ๆ ให้เสร็จสิ้นภายใน ๓๐ วันหลังจาก วันสิ้นปีทางบัญชี เพื่อพร้อมรับการตรวจสอบบัญชี ด้านมาตรฐานสหกรณ์ ปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 ได้แนะน าส่งเสริมสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรในอ าเภอเมือง ดังนี้ สหกรณ์ จ านวน 31 สหกรณ์ ได้มาตรฐาน 27 สหกรณ์คิดเป็นร้อยละ 87 กลุ่มเกษตรกรจ านวน 15 กลุ่ม ได้มาตรฐาน 10 กลุ่ม คิดเป็นร้อยละ 62 ด้านระเบียบข้อบังคับ ปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖3 ได้แนะน าส่งเสริมสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรในการจัดท าระเบียบข้อบังคับ ให้สอดคล้องกับการปฏิบัติงานในภาวการณ์ปัจจุบัน พร้อมทั้งให้ปฏิบัติตามระเบียบฯและข้อบังคับของสหกรณ์
๔๖ รำยงำนผลกำรด ำเนินกำรประจ ำปี ๒๕๕๓ ซื่อตรงต่อหน้ำที่ มีวินัย โปร่งใส ไร้ทุจริต ปัญหา/อุปสรรคในการด าเนินงานของสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร จากการเข้าแนะน าส่งเสริม อ าเภอเมือง ดูแลสหกรณ์ 30 แห่ง ชุมนุมสหกรณ์ 1 แห่ง และกลุ่มเกษตรกร 15 แห่ง ซึ่งมีปัญหาอุปสรรคในการด าเนินงานของสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร ดังนี้ 1. การประกอบอาชีพทางการเกษตร มีความเสี่ยงสูงขึ้น ทั้งด้านต้นทุนการผลิตที่เพิ่มขึ้น อย่างต่อเนื่อง ในขณะที่ราคาผลผลิตมีแนวโน้มลดลง จากภาวการณ์แข่งขันทางการค้าเสรีในตลาด ปัจจุบันส่งผลต่อความสามารถในการช าระหนี้ต่อสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร 2. ผลกระทบจากการใช้ปัจจัยการผลิตที่มีเคมีผสมอยู่ ท าให้สุขภาวะของทั้งเกษตรกร และผู้บริโภค สภาพแวดล้อมรวมถึงผลผลิตมีสารเคมี เจือปน ส่งผลต่อราคาผลผลิต และตลาดที่รับซื้อ เป็นเหตุให้เกษตรกรสมาชิกต้องยอมรับราคา ผลผลิตทางการเกษตรที่ขยายตัวไม่คุ้มกับต้นทุนการผลิต 3. ภัยธรรมชาติและศัตรูพืชผลผลิตเสียหาย 4. นโยบายภาครัฐในการกับพื้นที่เกษตรกรรมบางพื้นที่ เป็นพื้นที่รับน้ าส่งผลต่อการประกอบ อาชีพทางการเกษตรของสมาชิก 5. นโยบายและความช่วยเหลือภาครัฐ ส่งผลต่อการด าเนินธุรกิจของสหกรณ์ เช่น บัตรเครดิตเกษตรกร บัตรผู้มีรายได้น้อยซึ่งสหกรณ์หลายแห่งมีปริมาณธุรกิจจัดหาสินค้าที่ลดลง 6. นโยบายและโครงการอบรมช่วยเหลือต่าง ๆ จากภาครัฐ บางครั้งเป็นภาระและปัญหา ในการด าเนินงานของสหกรณ์ เนื่องจากแต่ละโครงการต้องการข้อมูลประกอบค่อนข้างมาก และก าหนด ระยะเวลาด าเนินการเร่งด่วน 7. สหกรณ์ออมทรัพย์มีสภาพคล่องทางการเงินค่อนข้างสูง เนื่องจากมีทุนเรือนหุ้นและ เงินรับฝากเข้ามาในสหกรณ์ออมทรัพย์เป็นจ านวนมาก ท าให้สหกรณ์มีความเสี่ยงในการลงทุน ภายนอกสหกรณ์ ข้อเสนอแนะ/แนวทางแก้ไขปัญหา 1. การลดต้นทุนการประกอบอาชีพเป็นเรื่องที่เกษตรกร สถาบันเกษตรกรรวมถึงรัฐบาลควรให้ ความส าคัญ และด าเนินการอย่างจริงจังและต่อเนื่อง โดยเฉพาะเมล็ดพันธุ์พืช ซึ่งปัจจุบัน มีการผูกขาด เนื่องจากเป็นการตัดต่อพันธุกรรม พืชที่เกษตรกรไม่สามารถเก็บผลผลิตไว้ท าพันธุ์ ในฤดูการผลิตต่อไปได้ หรือเก็บไว้ได้ก็กลายพันธุ์ 2. ส่งเสริมประชาสัมพันธ์ให้เกษตรกรและสมาชิกเข้าใจ และตระหนักถึงแนวคิด เศรษฐกิจพอเพียง และน าไปใช้ในการด าเนินชีวิตอย่างจริงจัง และต่อเนื่อง 3. การบริหารสินทรัพย์สภาพคล่องส่วนเกินของสหกรณ์ ยังต้องได้รับแนะน าส่งเสริม อย่างถูกต้องรัดกุม และปลอดภัย 4. เกณฑ์ก ากับสหกรณ์ออมทรัพย์และสหกรณ์เครดิตยูเนี่ยน ควรมีความชัดเจนแน่นอน สหกรณ์มีความเข้าใจและน าไปปฏิบัติได้จริงทุกประเด็น 5. แนะน าให้สหกรณ์ควบคุมและจ ากัดการถือหุ้นและการรับฝากเงินจากสมาชิกที่มี จ านวนมาก เพื่อลดสภาพคล่องในสหกรณ์ออมทรัพย์ และลดความเสี่ยงในการลงทุนภายนอก
ส ำนักงำนสหกรณ์จังหวัดลพบุรี http://web.cpd.go.th/lopburi ๔๗ ซื่อตรงต่อหน้ำที่ มีวินัย โปร่งใส ไร้ทุจริต สหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรที่สะท้อนผลส าเร็จของการปฏิบัติงานตามภารกิจของ ส านักงานสหกรณ์จังหวัดลพบุรีในปีงบประมาณ พ.ศ.2563 ชื่อสหกรณ์ : สหกรณ์การเกษตรเมืองลพบุรี จ ากัด ประเภทของสหกรณ์ : สหกรณ์ภาคการเกษตร ผลงาน/ความส าเร็จของสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร สหกรณ์: ได้แก่สหกรณ์ ก ารเกษต รเมืองลพบุ รี จ ากัด จดทะเบี ยน ต าม พระราชบัญญัติสหกรณ์ พ.ศ.2511/พ.ศ.2542 (ประกาศคณะปฏิวัติฉบับที่ 141 พ.ศ.2515) เมื่อวันที่ 1 ๕พฤศจิกายน 2517มีสมาชิก1,1๑๐ คน มีการด าเนินธุรกิจ 3 ด้านได้แก่ธุรกิจสินเชื่อ ธุรกิจรับฝากเงิน และธุรกิจ จัดหาสินค้ามาจ าหน่าย แก่สมาชิกสหกรณ์ในการด าเนินธุรกิจสมาชิกมีส่วนร่วมร้อยละ 9๙ ดังนี้ 1) ธุรกิจสินเชื่อ โดยสหกรณ์มีให้เงินกู้แก่สมาชิกประเภทเงินกู้ โดยมีวัตถุประสงค์ เพื่อช่วยเหลือสมาชิกที่มีเดือดร้อน และมีความจ าเป็นในการครองชีพ ทั้งนี้มีจ านวนสมาชิกที่กู้เงินกับ สหกรณ์ จ านวน ๔๓๖ ราย จากจ านวนสมาชิกที่ท าธุรกิจกับสหกรณ์ ทั้งหมด 1,1๑๐ ราย ปริมาณ ธุรกิจสินเชื่อ ๑๓๐,๙๐5,๓๕๙.00 บาท 2) ธุรกิจรับฝากเงิน สมาชิกของสหกรณ์การเกษตรเมืองลพบุรี จ ากัด สามารถออมเงินใน รูปแบบของการถือหุ้นและการออมโดยการฝากเงิน โดยในระหว่างปีของบัญชีปัจจุบัน (31 มีนาคม 2563) สมาชิกของสหกรณ์ได้มีการใช้บริการฝากเงินกับสหกรณ์เป็นจ านวน ๙๓๕ ราย เป็นเงินจ านวน ๖๙,๒๔๑,๑๐๔.๗๐ บาท โดย ณ วันสิ้นปีสหกรณ์มีเงินรับฝากจากสมาชิกทุกประเภททั้งสิ้น จ านวน 1,๐๙๓ ราย เป็นเงินจ านวน 14๓,5๙๙,๒๖๔.๙๓ บาท ซึ่งมีอัตราการออมเงินของสมาชิกต่อคน เทียบกับสมาชิกทั้งหมด 12๙,๓๖๘.๗๑ บาท และมีแนวโน้มเพิ่มมากขึ้นเรื่อยๆ (จากรายงานประจ าปี บัญชีสิ้นสุด 31 มีนาคม 2563) โดยเงินฝากของสหกรณ์สามารถจ าแนกได้ดังต่อไปนี้ - เงินฝากออมทรัพย์ (อัตราดอกเบี้ยร้อยละ 1.50 ณ สิ้นปี) 2๓๖ ราย - เงินฝากออมทรัพย์ (โครงการสัจจะออมทรัพย์อัตราดอกเบี้ยร้อยละ1.50 ณ สิ้นปี) 1,๐๙๔ ราย - เงินฝากออมทรัพย์ (ซื้อสิ่งของ อัตราดอกเบี้ยร้อยละ 2.50 ณ สิ้นปี) ๐ ราย - เงินฝากออมทรัพย์พิเศษ (อัตราดอกเบี้ยร้อยละ ๒.50 ณ สิ้นปี) 1๗๕ ราย - เงินฝากประจ า (อัตราดอกเบี้ยร้อยละ 3.25 ณ สิ้นปี) ๖๕ ราย 3) ธุรกิจจัดหาสินค้ามาจ าหน่าย สหกรณ์ได้จัดหาสินค้าประเภทต่าง ๆ มาจ าหน่าย แก่สมาชิก โดยระหว่างปีมีสมาชิกใช้บริการซื้อสินค้าจากสหกรณ์ จ านวน 1,1๐๒ ราย โดยสินค้าที่ สหกรณ์จัดหามาจ าหน่ายได้แก่ ปุ๋ย ยาปราบศัตรูพืช เมล็ดพันธุ์ข้าวเปลือก ข้าวสาร และอุปโภค บริโภค โดยในปีบัญชีสิ้นสุด 31 มีนาคม 2563 ธุรกิจจัดหาสินค้ามาจ าหน่ายสามารถท าก าไรได้ ๒๖๒,๒๕๑.๔1 บาท ปัจจัยแห่งความส าเร็จ สหกรณ์มีผลการด าเนินงานที่โดดเด่นด้านการบริหารจัดการสหกรณ์ ไม่มีข้อบกพร่อง และ ข้อสังเกตของผู้สอบบัญชีในรอบปีบัญชีที่ผ่านมา มีบทบาทในการขับเคลื่อนงานตามนโยบายของ รัฐบาล ได้แก่ โครงการลดดอกเบี้ยให้แก่เกษตรกร และโครงการช่วยเหลือสมาชิกที่ได้รับผลกระทบ จากการแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 เป็นต้น
๔๘ รำยงำนผลกำรด ำเนินกำรประจ ำปี ๒๕๕๓ ซื่อตรงต่อหน้ำที่ มีวินัย โปร่งใส ไร้ทุจริต ภาพประกอบ การประชุมกลุ่มสมาชิกสหกรณ์การเกษตรเมืองลพบุรี จ ากัด ส านักงานสหกรณ์จังหวัดลพบุรีน าโดย นางสุบิน เรืองอุดมสกุล ผู้อ านวยการกลุ่มส่งเสริมสหกรณ์ 1 พร้อมเจ้าหน้าที่ส านักงานสหกรณ์จังหวัดลพบุรีร่วมประชุมกลุ่มสมาชิกสหกรณ์การเกษตรเมืองลพบุรี จ ากัด โดยได้ก าหนดการประชุมกลุ่มสมาชิกสหกรณ์ปีละ 2 ครั้ง ครั้งที่ 1 เดือน พฤศจิกายน ถึง ธันวาคม ของทุกปี และครั้งที่ 2 เดือน เมษายน - พฤษภาคม ของทุกปี ซึ่งมีกิจกรรมการประชุมครบถ้วน และมีการน าธุรกิจ จัดหาสินค้ามาจ าหน่ายให้สมาชิกที่ประชุมกลุ่มสมาชิกด้วย และส านักงานสหกรณ์จังหวัดลพบุรี กลุ่มส่งเสริมสหกรณ์ 1 เข้าร่วมการประชุมกลุ่มสมาชิกสหกรณ์ เพื่อให้ค าแนะน าและชี้แจง โครงการของทางภาครัฐบาล
ส ำนักงำนสหกรณ์จังหวัดลพบุรี http://web.cpd.go.th/lopburi ๔๙ ซื่อตรงต่อหน้ำที่ มีวินัย โปร่งใส ไร้ทุจริต ชื่อสหกรณ์ : สหกรณ์ออมทรัพย์ศูนย์อ านวยการสร้างอาวุธ จ ากัด ประเภทของสหกรณ์ : สหกรณ์ออมทรัพย์ ผลงาน/ความส าเร็จของสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร สหกรณ์: ได้แก่สหกรณ์ออมทรัพย์ศูนย์อ านวยการสร้างอาวุธ จ ากัด จดทะเบียน ตามพระราชบัญญัติสหกรณ์ พ.ศ.2511/พ.ศ.2542 (ประกาศคณะปฏิวัติฉบับที่ 141 พ.ศ.2515) เมื่อวันที่ 8 มกราคม 2539 ปัจจุบันมีสมาชิก 1,262 คน สมาชิกสมทบ 48 คน มีการด าเนินธุรกิจ 2 ด้านได้แก่ธุรกิจสินเชื่อ ธุรกิจรับฝากเงิน ทั้ง 2 ธุรกิจมีสมาชิกร่วมท าธุรกิจกับสหกรณ์ จ านวน 1,048 คน ในการด าเนินธุรกิจสมาชิกมีส่วนร่วมร้อยละ 80 ดังนี้ 1) ธุรกิจสินเชื่อ โดยสหกรณ์มีให้เงินกู้แก่สมาชิกประเภทเงินกู้ โดยมีวัตถุประสงค์ เพื่อช่วยเหลือสมาชิกที่มีเดือดร้อน และมีความจ าเป็นในการครองชีพ ทั้งนี้มีจ านวนสมาชิกที่กู้เงินกับ สหกรณ์ จ านวน 829 ราย จากจ านวนสมาชิกที่ท าธุรกิจกับสหกรณ์ ทั้งหมด 1,262 ราย ปริมาณ ธุรกิจสินเชื่อ 445,245,817.25 บาท 2) ธุรกิจรับฝากเงิน สมาชิกของสหกรณ์ออมทรัพย์ศูนย์อ านวยการสร้างอาวุธ จ ากัด สามารถออมเงินโดยการฝากเงิน โดยในระหว่างปีของบัญชีปัจจุบัน (31 ธันวาคม 2563) สมาชิก ของสหกรณ์ได้มีการใช้บ ริการฝากเงินกับสหกรณ์เป็น จ านวน 762 ราย เป็นเงินจ านวน 175,204,154.76 บาท โดย ณ วันสิ้นปีสหกรณ์มีเงินรับฝากจากสมาชิกทุกประเภททั้งสิ้น จ านวน 762 ราย เป็นเงินจ านวน 175,204,154.76 บาท ซึ่งมีอัตราการออมเงินของสมาชิกต่อคนเทียบ กับสมาชิกทั้งหมด 138,830.55 บาท และมีแนวโน้มเพิ่มมากขึ้นเรื่อยๆ (จากรายงานประจ าปีบัญชี สิ้นสุด 31 ธันวาคม 2563) โดยเงินฝากของสหกรณ์สามารถจ าแนกได้ดังต่อไปนี้ - เงินฝากออมทรัพย์ (อัตราดอกเบี้ยร้อยละ 1.75 ณ สิ้นปี) 268 ราย - เงินฝากออมทรัพย์พิเศษ (อัตราดอกเบี้ยร้อยละ ๒.50 ณ สิ้นปี) 494 ราย การบริหารจัดการอยู่ในระดับดีมาก สมาชิกและคณะกรรมการด าเนินการ มีความเข้าใจในบทบาท หน้าที่ของตนเองดี การบริหารสหกรณ์ตามหลักการ วิธีการสหกรณ์ การบริหารงานมีความโปร่งใส ไม่ส่งเสริมให้สมาชิกเป็นหนี้เพิ่มขึ้น มุ่งเน้นให้สมาชิกมีเงินออม และมีส่วนร่วมในการบริหารสหกรณ์ มีการส่งเสริมให้สมาชิกน าหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงมาปรับใช้ในการด าเนินชีวิตประจ าวัน ปัจจัยแห่งความส าเร็จ สหกรณ์มีผลการด าเนินงานที่โดดเด่นด้านการบริหารจัดการสหกรณ์ ไม่มี ข้อบกพร่อง และข้อสังเกตของผู้สอบบัญชีในรอบปีบัญชีที่ผ่านมา มีบทบาทในการขับเคลื่อนงานตาม นโยบายของรัฐบาล ได้แก่ โครงการปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง และ โครงการช่วยเหลือสมาชิกที่ได้รับ ผลกระทบจากการแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (covid – 19) โดยผ่อนเวลาการ ช าระเงินต้นส าหรับเงินกู้สามัญเป็นเวลา 3 เดือน ตั้งแต่เดือน มิถุนายน 2563 ถึง สิงหาคม 2563
๕๐ รำยงำนผลกำรด ำเนินกำรประจ ำปี ๒๕๕๓ ซื่อตรงต่อหน้ำที่ มีวินัย โปร่งใส ไร้ทุจริต ภาพประกอบ การประชุมใหญ่สามัญประจ าปี ของสหกรณ์ออมทรัพย์ศูนย์อ านวยการสร้างอาวุธ จ ากัด ส านักงานสหกรณ์จังหวัดลพบุรีน าโดยนางสุบิน เรืองอุดมสกุล ผู้อ านวยการกลุ่มส่งเสริมสหกรณ์ 1 พร้อมเจ้าหน้าที่ส่งเสริมสหกรณ์ ส านักงานสหกรณ์จังหวัดลพบุรี ร่วมประชุมใหญ่สามัญประจ าปี บัญชี สิ้นสุด 31 ธันวาคม 2562 เมื่อวันที่ 14 กุมภาพันธ์ 2563 ณ ห้องอุดมรังสรรค์ อาคารพาสนยง ภิญโญ ศูนย์อ านวยการสร้างอาวุธ ศูนย์การอุตสาหกรรมป้องกันประเทศและพลังงานทหาร มีกิจกรรมต่าง ๆ ดังนี้ มอบเกรียติบัตรให้กับกรรมการดีเด่น สมาชิกสหกรณ์ดีเด่น เจ้าหน้าที่สหกรณ์ ดีเด่น และจับสลากรางวัลส าหรับสมาชิกที่เข้าร่วมประชุมใหญ่สามัญประจ าปี
ส ำนักงำนสหกรณ์จังหวัดลพบุรี http://web.cpd.go.th/lopburi ๕๑ ซื่อตรงต่อหน้ำที่ มีวินัย โปร่งใส ไร้ทุจริต ชื่อกลุ่มเกษตรกร : กลุ่มเกษตรกรท านาบ้านข่อย ประเภทของกลุ่มเกษตรกร : กลุ่มเกษตรกรท านา ผลงาน/ความส าเร็จของสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร กลุ่มเกษตรกร: ได้แก่กกลุ่มเกษตรกรท านาบ้านข่อยจดทะเบียนพระราชกฤษฎีกาว่าด้วย กลุ่มเกษตรกร พ.ศ.2511 เมื่อวันที่ 9 สิงหาคม 2519 มีสมาชิก 100 คน มีเงินเป็นของตนเอง จ านวน 554,432.86 บาท มีการด าเนินธุรกิจ 1 ด้านได้แก่ธุรกิจสินเชื่อ แก่สมาชิกกลุ่มเกษตรกร ในการด าเนินธุรกิจสมาชิกมีส่วนร่วมร้อยละ 69 ดังนี้ - ธุรกิจสินเชื่อ โดยกลุ่มเกษตรกรท านาบ้านข่อย มีให้เงินกู้แก่สมาชิก โดยมีวัตถุประสงค์ เพื่อช่วยเหลือสมาชิกที่มีเดือดร้อน และมีความจ าเป็นในการครองชีพ ทั้งนี้มีจ านวนสมาชิกที่กู้เงิน กับ กลุ่มเกษตรกรจ านวน 69 ราย จากจ านวนสมาชิกทั้งหมด 100 ราย ปริมาณธุรกิจสินเชื่อ 546,800.00 บาท การบริหารจัดการอยู่ในระดับดี สมาชิกและคณะกรรมการด าเนินการ มีความเข้าใจในบทบาท หน้าที่ของตนเองดี การบริหารกลุ่มตามหลักการ วิธีการสหกรณ์ การบริหารงานมีความโปร่งใสไม่ส่งเสริมให้ สมาชิกเป็นหนี้เพิ่มขึ้น มุ่งเน้นให้สมาชิกมีเงินออม และมีส่วนร่วมในการบริหารกลุ่มเกษตรกร มีการส่งเสริมให้สมาชิกน าหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงมาปรับใช้ในการด าเนิน ปัจจัยแห่งความส าเร็จ กลุ่มเกษตรกรท านาบ้านข่อย มีผลการด าเนินงานที่โดดเด่นด้านเงินทุนมีเงินทุนเป็น ของตนเอง ด้านการบริหารจัดการกลุ่มเกษตรกรโดยมีการรับช าระหนี้และให้เงินกู้ในวันเดียวกัน โดยไม่มีหนี้ค้าง ไม่มีข้อบกพร่อง และข้อสังเกตของผู้สอบบัญชีในรอบปีบัญชีที่ผ่านมา มีบทบาท ในการขับเคลื่อนงาน ตามนโยบายของรัฐบาล ได้แก่ โครงการกองทุนฟื้นฟูอาชีพให้แก่สมาชิก กลุ่มเกษตรกร จ านวน 54 ราย เป็นจ านวนเงินทั้งสิ้น 228,000.00 บาท และโครงการลดดอกเบี้ย ให้แก่เกษตรกรในปีผ่านมา เป็นต้น ภาพประกอบ การประชุมใหญ่สามัญประจ าปี ของกลุ่มเกษตรกรท านาบ้านข่อย ส านักงานสหกรณ์จังหวัดลพบุรีน าโดยนางกุลณัฐฐา วิงวอน เจ้าพนักงานส่งเสริมสหกรณ์อาวุโส พร้อมเจ้าพนักงานส่งเสริมสหกรณ์ ส านักงานสหกรณ์จังหวัดลพบุรี ร่วมประชุมใหญ่สามัญประจ าปี 31 มีนาคม 2563 เมื่อวันที่ 28 สิงหาคม 2563 ณ วัดข่อยเหนือ ต.ข่อยเหนือ อ.เมือง จ.ลพบุรี
๕๒ รำยงำนผลกำรด ำเนินกำรประจ ำปี ๒๕๕๓ ซื่อตรงต่อหน้ำที่ มีวินัย โปร่งใส ไร้ทุจริต ประกอบด้วย สหกรณ์ 7 แห่ง สมาชิก 5,174 คน กลุ่มเกษตรกร 11 แห่ง สมาชิก 1,998 คน ผลการเข้าแนะน า ส่งเสริมสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร อ าเภอพัฒนานิคม ดูแลส่งเสริมสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร จ านวน 18 แห่ง แบ่งเป็น สหกรณ์ 7 แห่ง และกลุ่มเกษตรกร 11 แห่ง มีผลการเข้าแนะน า ส่งเสริม ดังนี้ ด้านการด าเนินงาน ในปีงบประมาณ พ.ศ.2563 ได้แนะน าส่งเสริมสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร ในด้าน การบริหารจัดการเงินทุน และการด าเนินธุรกิจของสหกรณ์ทุกด้านให้มีผลการด าเนินงานให้มีก าไร ลดต้นทุนและควบคุมค่าใช้จ่ายในแต่ละธุรกิจ ให้สอดคล้องกับธุรกิจนั้น ๆ ส่งผลให้มีปริมาณธุรกิจเพิ่มขึ้น แนะน าส่งเสริมให้มีการติดตามช าระหนี้เร่งรัดหนี้ของสมาชิกอย่างต่อเนื่อง และป้องกันไม่ให้มี หนี้ค้างช าระนาน ควบคุมการใช้จ่ายงบประมาณให้เป็นไปตามแผนงานงบประมาณที่ได้รับอนุมัติจากที่ ประชุมใหญ่สามัญประจ าปีผลการแนะน าส่งเสริมสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร มีผลการด าเนินงาน ดังนี้ สหกรณ์ มีก าไรสุทธิ จ านวน 5 แห่ง จ านวนเงิน 28,142,199.4 ล้านบาท สหกรณ์ ขาดทุนสุทธิ จ านวน 2 แห่ง จ านวนเงิน 36,416,706.85 ล้านบาท กลุ่มเกษตรกร มีก าไรสุทธิ จ านวน 11 แห่ง จ านวนเงิน 263,835.82 บาท ด้านการบริหารธุรกิจ ปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖3 ได้แนะน าส่งเสริมสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรในด้านการบริหารธุรกิจ ในด้านต่าง ๆ ส่งผลให้มีปริมาณธุรกิจเพิ่มขึ้น โดยแยกเป็น สหกรณ์ มียอดปริมาณธุรกิจรวม จ านวนเงิน 1,925,479,925.06 ล้ านบาท จ าแนกเป็น 1. ธุรกิจสินเชื่อ จ านวน 235,927,280.00 บาท 2. ธุรกิจรับฝากเงิน จ านวน 82,067,822.07 บาท 3. ธุรกิจจัดหาสินค้ามาจ าหน่าย จ านวน 647,385,588.10 บาท 4. ธุรกิจรวบรวมผลผลิตสมาชิก จ านวน 610,433,811.38 บาท 5. ธุรกิจแปรรูปผลิตผล จ านวน 349,665,423.51 บาท 6. ธุรกิจให้บริการอื่น ๆ จ านวน 0 บาท กลุ่มเกษตรกร มีปริมาณธุรกิจโดยรวม จ านวนเงิน 7,556,159.78 บาท จ าแนกเป็น 1. ธุรกิจสินเชื่อ จ านวน 6,644,125.00 บาท 2. ธุรกิจรับฝากเงิน จ านวน 33,099.78 บาท 3. ธุรกิจจัดหาสินค้ามาจ าหน่าย จ านวน 878,935.00 บาท อ าเภอพัฒนานิคม
ส ำนักงำนสหกรณ์จังหวัดลพบุรี http://web.cpd.go.th/lopburi ๕๓ ซื่อตรงต่อหน้ำที่ มีวินัย โปร่งใส ไร้ทุจริต ด้านการบริหารเงินทุน ปีงบประมาณ พ.ศ.2563 ได้แนะน าส่งเสริมสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร ในอ าเภอ พัฒนานิคม ดังนี้ สหกรณ์ภาคเกษตร ที่ใช้เงินทุนภายในของตนเอง และแหล่งเงินทุนภายนอก ได้แก่ 1) สหกรณ์การเกษตรพัฒนานิคม จ ากัด ๒) สหกรณ์โคนมไทย-เดนมาร์กพัฒนานิคม จ ากัด 3) สหกรณ์ไทย-เดนมาร์กสวนมะเดื่อ จ ากัด 4) สหกรณ์โคนมพัฒนานิคม จ ากัดและ 5) สหกรณ์การเกษตร ปฏิรูปที่ดินพัฒนานิคมสาม จ ากัด ซึ่ง สหกรณ์โคนมไทย-เดนมาร์กพัฒนานิคม จ ากัด และสหกรณ์ โคนมไทย-เดนมาร์กสวนมะเดื่อ จ ากัด ได้ขอรับการสนับสนุนเงินทุนจากทางราชการเพื่อจัดซื้อ เครื่องจักรกลการเกษตร ยานพาหนะ และอุปกรณ์การตลาด สหกรณ์ภาคการเกษตรที่ ใช้ทุนภายในของตนเองคือ สหกรณ์การเกษตรปฏิรูปที่ดิน พัฒนานิคมหนึ่งจ ากัดในการด าเนินธุรกิจสินเชื่อ และจัดหาสินค้ามาจ าหน่ายแก่สมาชิก สหกรณ์นอกภาคการเกษตรที่ ใช้ทุนภายในของตนเองคือ สหกรณ์ร้านค้า บี.ฟูดส์ จ ากัด ในการด าเนินธุรกิจจัดหาสินค้ามาจ าหน่ายแก่สมาชิก กลุ่มเกษตรกรส่วนใหญ่ได้ขอรับการสนับสนุนเงินกู้ตามโครงการสร้างความเข้มแข็ง ให้กับกลุ่มเกษตรกร เพื่อเข้าถึงแหล่งเงินทุนในการผลิตและการตลาด มีเพียงกลุ่มเกษตรกรท าไร่ ต าบลน้ าสุด กลุ่มท าไร่ช่องสาริกา และกลุ่มท าไร่พัฒนานิคม ที่ใช้เงินทุนของตนเอง ด้านข้อบกพร่องที่ตรวจพบ ปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖3 ข้อบกพร่องของสหกรณ์1 แห่ง กลุ่มเกษตรกร - แห่ง ได้แก่ สหกรณ์ร้านค้าบี.ฟูดส์ ลพบุรี จ ากัด ด้านปิดบัญชีภายใน ๓๐ วัน นับแต่วันสิ้นปีทางบัญชี ปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖3 ได้แนะน าส่งเสริมสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรให้ปิดบัญชี พร้อมทั้ง จัดท างบแสดงฐานะการเงิน และรายละเอียดต่าง ๆ ให้เสร็จสิ้นภายใน ๓๐ วันหลังจาก วันสิ้นปีทางบัญชี เพื่อพร้อมรับการตรวจสอบบัญชีโดยสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรทุกกลุ่มสามารถ ปิดบัญชี และประชุมใหญ่ได้ภายในก าหนดตามกฎหมาย ด้านมาตรฐานสหกรณ์ ปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 ได้แนะน าส่งเสริมสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรในอ าเภอพัฒนานิคม ดังนี้ สหกรณ์ จ านวน 7 สหกรณ์ ได้มาตรฐาน 5 สหกรณ์ ไม่ผ่านมาตรฐาน 2 สหกรณ์ กลุ่มเกษตรกร จ านวน 11 กลุ่ม ได้มาตรฐาน 11 กลุ่ม ด้านระเบียบข้อบังคับ ปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖3 ได้แนะน าส่งเสริมสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรในการจัดท าระเบียบข้อบังคับ ให้สอดคล้องกับการปฏิบัติงานในภาวการณ์ปัจจุบัน พร้อมทั้งให้ปฏิบัติตามระเบียบฯและข้อบังคับของสหกรณ์
๕๔ รำยงำนผลกำรด ำเนินกำรประจ ำปี ๒๕๕๓ ซื่อตรงต่อหน้ำที่ มีวินัย โปร่งใส ไร้ทุจริต ปัญหา/อุปสรรคในการด าเนินงานของสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร จากการเข้าแนะน าส่งเสริม อ าเภอพัฒนานิคม ดูแลสหกรณ์ 7 แห่ง กลุ่มเกษตรกร 11 แห่ง ซึ่งมีปัญหาอุปสรรคในการด าเนินงานของสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร ดังนี้ 1.ปัญหาที่เกิดจากการบริหารภายในของสหกรณ์เอง ทั้งจากฝ่ายบริหาร ฝ่ายจัดการ รวมทั้งจากตัวสมาชิก 2. ความไม่พร้อมในการแข่งขันกับภาคเอกชน สหกรณ์มีการปรับตัวช้าไม่ทันต่อความ ต้องการของเกษตร รวมไปถึงธุรกิจที่มีความเฉพาะและซับซ้อน ส่งผลให้ภาคเอกชนซึ่งมีความคล่องตัว และมีความสามารถในการแข่งขันตอบสนองต่อความต้องการของเกษตรกรได้ดีมากกว่าภาคสหกรณ์ 2. ปัญหาภัยแล้งส่งผลกระทบต่อรายได้ของสมาชิกที่จะมีเหลือพอส่งช าระหนี้ได้ ตามก าหนด เพราะสมาชิกต้องสูญเสียการลงทุนในพืชผลการเกษตร ซึ่งโดยปกติแล้วสมาชิกจะไม่มี ทุนส ารองเก็บไว้ จึงต้องกู้ยืมเพิ่มขึ้น ท าให้มีผลกระทบต่อเงินทุนหมุนเวียนของสหกรณ์ 3. นโยบายและโครงการอบรมช่วยเหลือต่าง ๆ จากภาครัฐ บางครั้งเป็นภาระและปัญหา ในการด าเนินงานของสหกรณ์ เนื่องจากแต่ละโครงการต้องการข้อมูลประกอบค่อนข้างมาก และก าหนด ระยะเวลาด าเนินการเร่งด่วน 4. นโยบายรัฐในการช่วยเหลือเกษตรกรที่ผ่านมา ส่งผลกระทบต่อการด าเนินงานของ สหกรณ์ อาทิ นโยบายพักช าระหนี้ นโยบายรับจ าน าฯ กองทุนฟื้นฟูฯ โดยท าให้สมาชิกสหกรณ์ ไม่ยืนอยู่บนหลักการพึ่งพาตนเอง เกิดปัญหาหนี้สินและข้อเรียกร้องต่าง ๆ เป็นต้น 5. การขาดข้อมูลและสารสนเทศในการจัดการรวมถึงการน าไปใช้ ท าให้บุคลากรของ สหกรณ์สามารถใช้สารสนเทศเป็นเรื่องยากล าบาก ข้อเสนอแนะ/แนวทางแก้ไขปัญหา 1. ส่งเสริมประชาสัมพันธ์ให้เกษตรกรและสมาชิกเข้าใจ และตระหนักถึงแนวคิด เศรษฐกิจพอเพียง และน าไปใช้ในการด าเนินชีวิตอย่างจริงจัง และต่อเนื่อง 2. การลดต้นทุนการประกอบอาชีพเป็นเรื่องที่เกษตรกร สถาบันเกษตรกรรวมถึงรัฐบาล ควรให้ความส าคัญ และด าเนินการอย่างจริงจังและต่อเนื่อง โดยเฉพาะเมล็ดพันธุ์พืช ซึ่งปัจจุบันมีการ ผูกขาด เนื่องจากเป็นการตัดต่อพันธุกรรม พืชที่เกษตรกรไม่สามารถเก็บผลผลิตไว้ท าพันธุ์ในฤดูการ ผลิตต่อไปได้ หรือเก็บไว้ได้ก็กลายพันธุ์ 3. เพิ่มความรู้และทักษะการด าเนินธุรกิจให้กับสหกรณ์การเกษตรและร่วมเข้ากับคุณธรรม จริยธรรม และความ ซื่อสัตย์ จะท าให้สหกรณ์เป็นอีกเสาหลักหนึ่งของเศรษฐกิจและสังคมของประเทศ สหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรที่สะท้อนผลส าเร็จของการปฏิบัติงานตามภารกิจของ ส านักงานสหกรณ์จังหวัดลพบุรี ในปีงบประมาณ พ.ศ.2563 ชื่อสหกรณ์ : สหกรณ์การเกษตรพัฒนานิคม จ ากัด ประเภทของสหกรณ์ : สหกรณ์ภาคการเกษตร
ส ำนักงำนสหกรณ์จังหวัดลพบุรี http://web.cpd.go.th/lopburi ๕๕ ซื่อตรงต่อหน้ำที่ มีวินัย โปร่งใส ไร้ทุจริต ผลงาน/ความส าเร็จของสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร สหกรณ์การเกษตรพัฒนานิคม จ ากัด ณ 31 มีนาคม 2563 มีจ านวนสมาชิก 2,057 คน และสมาชิกสมทบ 835 คน ผลผลิตการเกษตรหลักของสหกรณ์ คือ มัน ข้าว และอ้อย ธุรกิจที่สหกรณ์ด าเนินการ ได้แก่ ธุรกิจสินเชื่อ ธุรกิจรับฝากเงิน ธุรกิจจัดหาสินค้ามาจ าหน่าย โดยธุรกิจหลัก ของสหกรณ์ คือ ธุรกิจสินเชื่อ และธุรกิจรับฝากเงิน ผลการด าเนินงานที่โดดเด่นของสหกรณ์คือ ด้านการบริหารจัดการสหกรณ์ ไม่มีข้อบกพร่อง และข้อสังเกตของผู้สอบบัญชีในรอบปีบัญชีที่ผ่านมา ในปีงบประมาณ พ.ศ.2563 อ าเภอพัฒนานิคม มีบทบาทของสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร ในการขับเคลื่อนงานตามนโยบายของรัฐบาล ได้แก่ โครงการลดดอกเบี้ยให้แก่เกษตรกร และโครงการ ชดเชยดอกเบี้ยจากภาครัฐให้แก่เกษตรกร เป็นต้น ปัจจัยแห่งความส าเร็จ สหกรณ์: ได้แก่ สห กรณ์ ก ารเกษต รพัฒ น านิคม จ ากัด จดท ะเบี ยนต าม พระราชบัญญัติสหกรณ์ พ.ศ.2511/พ.ศ.2542 (ประกาศคณะปฏิวัติฉบับที่ 141 พ.ศ.2515) เมื่อวันที่ 14 พฤศจิกายน 2517มีสมาชิก 2,152 คน มีการด าเนินธุรกิจ 3 ด้าน ได้แก่ ธุรกิจสินเชื่อ ธุรกิจรับฝากเงิน และธุรกิจจัดหาสินค้ามาจ าหน่ายแก่สมาชิกสหกรณ์ในการด าเนินธุรกิจสมาชิก มีส่วนร่วมร้อยละ 60 ดังนี้ 1) ธุรกิจสินเชื่อ โดยสหกรณ์มีให้เงินกู้แก่สมาชิกประเภทเงินกู้ โดยมีวัตถุประสงค์ เพื่อช่วยเหลือสมาชิกที่มีเดือดร้อน และมีความจ าเป็นในการครองชีพ ทั้งนี้มีจ านวนสมาชิกที่กู้เงินกับ สหกรณ์ ระหว่างปีบัญชี เป็นจ านวนเงิน 38,026,980.00 บาท จ านวน 895 ราย 2) ธุรกิจรับฝากเงิน สมาชิกของสหกรณ์การเกษตรพัฒนานิคม จ ากัด สามารถออมเงิน ในรูปแบบของการถือหุ้นและการออมโดยการฝากเงิน โดยในระหว่างปีของบัญชีปัจจุบัน (31 มีนาคม 2563) สมาชิกของสหกรณ์ได้มีการใช้บริการฝากเงินกับสหกรณ์เป็นจ านวน 785 ราย เป็นเงินจ านวน 47,581,967.31 บาท และมีแนวโน้มเพิ่มมากขึ้นเรื่อยๆ (จากรายงานประจ าปีบัญชีสิ้นสุด 31 มีนาคม 2563) โดยเงินฝากของสหกรณ์สามารถจ าแนกเป็นเงินฝากอออมทรัพย์ และเงินฝากออมทรัพย์พิเศษ 3) ธุรกิจจัดหาสินค้ามาจ าหน่าย สหกรณ์ได้จัดหาสินค้าประเภทต่าง ๆ มาจ าหน่าย แก่สมาชิก โดยระหว่างปีมีสมาชิกใช้บริการซื้อสินค้าจากสหกรณ์โดยสินค้าที่สหกรณ์จัดหามาจ าหน่ายได้แก่ ปุ๋ย ยาปราบศัตรูพืช เมล็ดพันธุ์ข้าวเปลือก ข้าวสาร และอุปโภค บริโภค น้ ามันเชื้อเพลิง โดยในปีบัญชี สิ้นสุด 31 มีนาคม 2563 ธุรกิจจัดหาสินค้ามาจ าหน่าย จ านวน 110,400,956.64 บาท ภาพประกอบ การประชุมกลุ่มสมาชิก ของสหกรณ์การเกษตรพัฒนานิคม จ ากัด ส านักงานสหกรณ์จังหวัดลพบุรี น าโดย นายทศพร ผลบุตร สหกรณ์จังหวัดลพบุรี ประธานพิธีเปิด การประชุมใหญ่สามัญประจ าปี 2562 และนายอ านาจ ศรีข า เจ้าพนักงานส่งเสริมสหกรณ์ช านาญงาน เข้าร่วมประชุมกลุ่มสมาชิก สหกรณ์การเกษตรพัฒนานิคม จ ากัด เพื่อชี้แจงให้ค าแนะน า ระเบียบ ข้อบังคับฯ ข่าวสารข้อมูลโครงการ นโยบายของทางภาครัฐบาล ซึ่งมีกิจกรรมการประชุมครบถ้วน และมีการน าสินค้า มาจ าหน่ายให้สมาชิกที่ประชุมด้วย
๕๖ รำยงำนผลกำรด ำเนินกำรประจ ำปี ๒๕๕๓ ซื่อตรงต่อหน้ำที่ มีวินัย โปร่งใส ไร้ทุจริต ชื่อกลุ่มเกษตรกร : กลุ่มเกษตรกรท าไร่ต าบลน้ าสุด ประเภทของกลุ่มเกษตรกร : กลุ่มเกษตรกรท าไร่ ผลงาน/ความส าเร็จของสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร กลุ่มเกษตรกรท าไร่ต าบลน้ าสุด ณ 31 มีนาคม 2563 มีจ านวนสมาชิก 108 คน ผลผลิตการเกษตรหลักของกลุ่ม คือ อ้อย ธุรกิจหลักของกลุ่ม คือ ธุรกิจสินเชื่อ ผลการด าเนินงาน ที่โดดเด่นของกลุ่มเกษตรกร คือ ด้านการบริหารจัดการกลุ่มเกษตรกร โดยกลุ่มเกษตรกร ไม่มีข้อบกพร่อง และมีการบริหารจัดการกลุ่มโดยใช้ทุนภายในของกลุ่มเกษตรกรเองมาตลอด ปัจจัยแห่งความส าเร็จ กลุ่มเกษตรกร : ได้แก่ กลุ่มเกษตรกรท าไร่ต าบลน้ าสุด จดทะเบียน เมื่อวันที่ 26 มีนาคม 2544 มีสมาชิก 108 คน มีการด าเนินธุรกิจเพียงด้านเดียว ได้แก่ ธุรกิจสินเชื่อ โดยกลุ่มเกษตรกรให้เงินกู้แก่สมาชิก โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อหาปัจจัยการผลิตในการประกอบอาชีพ
ส ำนักงำนสหกรณ์จังหวัดลพบุรี http://web.cpd.go.th/lopburi ๕๗ ซื่อตรงต่อหน้ำที่ มีวินัย โปร่งใส ไร้ทุจริต ทั้งนี้มีจ านวนสมาชิกที่กู้เงินกับกลุ่มเกษตรกร ระหว่างปีบัญชี เป็นจ านวนเงิน 515,000.00 บาท จ านวน 27 รายลูกหนี้สามารถช าระหนี้ได้ตามก าหนดทั้งจ านวน การวิเคราะห์สภาวะเศรษฐกิจทางการเงินของกลุ่มเกษตรกร 1)ด้านความเพียงพอของทุน กลุ่มเกษตรกรมีทุนด าเนินงานทั้งสิ้น 558,062.51 บาท เพิ่มขึ้นจากปีก่อน ทุนด าเนินงานดังกล่าวมาจากทุนของกลุ่มเกษตรกร ร้อยละ 99.91 2)ด้านคุณภาพของสินทรัพย์ กลุ่มเกษตรกรน าสินทรัพย์ไปใช้ในการด าเนินงาน ก่อให้เกิดรายได้ซึ่งเท่ากับปีก่อน 0.06 รอบ และมีอัตราผลตอบแทนต่อสินทรัพย์ ร้อยละ 5.29 เพิ่มขึ้นจากปีก่อนที่มีร้อยละ 4.09 3)ด้านความสามารถในการบริหาร ในระหว่างปีกลุ่มเกษตรให้เงินกู้แก่สมาชิก จ านวน 515,000.00 บาท เพิ่มขึ้นจากปีก่อน ลูกหนี้สามารถช าระหนี้ได้ตามก าหนดทั้งจ านวน ณ วันสิ้นปีมีลูกหนี้เงินกู้คงเหลือ 27 ราย 4)ด้านการท าก าไร กลุ่มเกษตรกรมีรายได้ทั้งสิ้น 31,972.19 บาท มีค่าใช้จ่าย ทั้งสิ้น 3,340.00 บาท ผลการด าเนินงานมีก าไรสุทธิ จ านวน 28,632.19 บาท 5)ด้านสภาพคล่องทางการเงิน กลุ่มเกษตรกรมีสินทรัพย์หมุนเวียน จ านวน 558,062.51 บาท มีหนี้สินหมุนเวียน จ านวน 11,808.30 บาท มีอัตราส่วนสินทรัพย์หมุนเวียน ต่อหนี้สินหมุนเวียน 47.26 เท่า เพิ่มขึ้นจากปีก่อนที่มี 28.19 เท่า จากอัตราส่วนแสดงให้เห็นว่า กลุ่มเกษตรกรมีสภาพคล่องทางการเงิน มีสินทรัพย์หมุนเวียนเพียงพอที่จะช าระหนี้สินหมุนเวียนได้ ภาพประกอบ การประชุมใหญ่สามัญประจ าปี ของกลุ่มเกษตรกรท าไร่ต าบลน าสุด ส านักงานสหกรณ์จังหวัดลพบุรี น าโดย นางสาวรัชฎาวัลย์ บุญชู นักวิชาการสหกรณ์ช านาญการ เข้าร่วมการประชุมใหญ่สามัญประจ าปี กลุ่มเกษตรกรท าไร่ต าบลน้ าสุด เพื่อชี้แจงผลการด าเนินงานของ กลุ่มเกษตรกรฯ ในรอบปีบัญชีที่ผ่านมา รวมถึงให้ค าแนะน า ระเบียบ ข้อบังคับฯ ข่าวสารข้อมูลโครงการ นโยบายของทางภาครัฐซึ่งสมาชิกให้ความร่วมมือมาประชุมโดยพร้อมเพรียงกัน
๕๘ รำยงำนผลกำรด ำเนินกำรประจ ำปี ๒๕๕๓ ซื่อตรงต่อหน้ำที่ มีวินัย โปร่งใส ไร้ทุจริต ประกอบด้วย สหกรณ์ 3 แห่ง สมาชิก 2,329 คน กลุ่มเกษตรกร 8 แห่ง สมาชิก 668 คน ผลการเข้าแนะน า ส่งเสริมและแก้ไขปัญหาสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร อ าเภอบ้านหมี่ ดูแลส่งเสริมสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร จ านวน 11 แห่ง แบ่งเป็นสหกรณ์ 3 แห่ง กลุ่มเกษตรกร 8 แห่ง มีผลการเข้าแนะน า ส่งเสริม ดังนี้ ด้านการด าเนินงาน ปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 ได้แนะน าส่งเสริมสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรในด้านการบริหารธุรกิจ ให้ทุกธุรกิจมีผลการด าเนินงานให้มีก าไร และควบคุมค่าใช้จ่ายในแต่ละธุรกิจให้สอดคล้องกับธุรกิจนั้น ๆ ได้แนะน าให้สหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรท าธุรกิจสินเชื่อโดยความรอบครอบ พิจารณาวินัยทางการเงิน ของสมาชิกและความสามารถของการช าระหนี้เป็นหลัก ควบคุมการท าธุรกิจสินเชื่อให้เป็นไปตามระเบียบ และ ให้มีการติดตามเร่งรัดหนี้ก่อนถึงก าหนดช าระหนี้ของสมาชิกอย่างต่อเนื่อง ป้องกันไม่ให้มีหนี้ค้างช าระ ควบคุมค่าใช้จ่ายงบประมาณให้รัดกุม ใช้จ่ายเท่าที่มีความจ าเป็นและควบคุมค่าใช้จ่ายให้อยู่ภายใต้ วงเงินตามแผนที่ประชุมใหญ่สามัญประจ าปีอนุมัติไว้ มีการจ่ายเงินกู้ผ่านบัญชีสมาชิกรายตัว และ การช าระหนี้ของสมาชิกเริ่มให้สมาชิกช าระผ่านบัญชีธนาคารของสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรโดยตรง ขับเคลื่อนแผนงานที่ได้วางแผนไว้ คือ ขับเคลื่อนกิจกรรม 1 สหกรณ์ 1 อ าเภอ คือ สหกรณ์การเกษตรบ้านหมี่ จ ากัด ส่งเสริม แนะน าสหกรณ์ในการรักษาระดับมาตรฐานสหกรณ์ทั้ง 3 แห่ง คือ สหกรณ์การเกษตร บ้านหมี่ จ ากัด และสหกรณ์การเกษตรในเขตปฏิรูปที่ดินบ้านหมี่ จ ากัด และสหกรณ์ออมทรัพย์ โรงพยาบาลบ้านหมี่ จ ากัด ขับเคลื่อนแผนงานในการติดตามเร่งรัดหนี้ค้างช าระสมาชิกสหกรณ์ จ านวน 2 สหกรณ์ คือ สหกรณ์การเกษตรบ้านหมี่ จ ากัด และ สหกรณ์การเกษตรในเขตปฏิรูปที่ดินบ้านหมี่ จ ากัด ขับเคลื่อนกิจกรรมในการเพิ่มปริมาณธุรกิจ และเพิ่มการมีส่วนร่วมในการท าธุรกิจของสมาชิก ใน 3 สหกรณ์ และ 7 กลุ่มเกษตรกร สหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรในอ าเภอบ้านหมี่ มีผลประกอบการ ดังนี้ สหกรณ์ มีก าไรสุทธิ จ านวน 3 แห่ง กลุ่มเกษตรกร มีก าไรสุทธิ จ านวน 7 แห่ง สหกรณ์ ขาดทุนสุทธิ จ านวน - แห่ง กลุ่มเกษตรกร ปิดบัญชีไม่ได้ จ านวน 1 แห่ง สหกรณ์ที่มีผลประกอบการมีก าไร จ านวน 3 แห่ง คือ สหกรณ์การเกษตรบ้านหมี่ จ ากัด สหกรณ์ออมทรัพย์โรงพยาบาลบ้านหมี่ จ ากัด และสหกรณ์การเกษตรปฏิรูปที่ดินบ้านหมี่ จ ากัด ในส่วนกลุ่มเกษตรกร มีผลประกอบการมีก าไร 7 แห่ง คือ กลุ่มเกษตรกรท านาบ้านชี กลุ่มเกษตรกร ท านาสนามแจง กลุ่มเกษตรกรท านาบ้านกล้วย กลุ่มเกษตรกรท านาหินปัก กลุ่มเกษตรกรท านา ต าบลบ้านทราย กลุ่มเกษตรกรท านาหนองทรายขาว และกลุ่มเกษตรท านา ต าบลโพนทองพัฒนา ไม่สามารถปิดบัญชีได้ 1 แห่ง คือ กลุ่มเกษตรกรท านาหนองเต่า สาเหตุการที่ไม่สามารถปิดบัญชีได้ อ าเภอบ้านหมี่
ส ำนักงำนสหกรณ์จังหวัดลพบุรี http://web.cpd.go.th/lopburi ๕๙ ซื่อตรงต่อหน้ำที่ มีวินัย โปร่งใส ไร้ทุจริต เนื่องจากมีการด าเนินโครงการส่งเสริมการช าระหนี้ และเรียกเก็บเงินจากสมาชิกที่เข้าร่วมโครงการ หลายกรณี ท าให้สับสนในการค านวณค่าใช้จ่ายในการส่งเสริมการช าระหนี้ เป็นเหตุให้ไม่สามารถ จัดท ารายละเอียดประกอบงบการเงินให้ผู้สอบบัญชีตรวจสอบได้ ด้านการบริหารธุรกิจ ปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 ได้แนะน าส่งเสริมสหกรณ์ในด้านการบริหารธุรกิจในด้าน ต่าง ๆควบคุมค่าใช้จ่าย และเพิ่มปริมาณธุรกิจตามสภาวการณ์ของแต่ละแห่ง วางแผนการหาเงินทุน มาให้บริการสมาชิกส่งเสริมการด าเนินธุรกิจให้สหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร มีปริมาณธุรกิจเพิ่มขึ้น ดังนี้ สหกรณ์ มีปริมาณธุรกิจเพิ่มขึ้น จ านวน 2 แห่ง กลุ่มเกษตรกร มีปริมาณธุรกิจเพิ่มขึ้น จ านวน 3 แห่ง สาเหตุที่สหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรมีปริมาณธุรกิจลดลงเนื่องจาก สภาวการณ์ในฤดูการผลิตที่ผ่านมา การท าการเกษตรไม่มีน้ าเกิดภัยแล้ง พื้นที่ที่อยู่ในเขตชลประทานมีการจ ากัดการปล่อยน้ า ท าการเกษตร และประกอบกับมีโรคระบาดหนอนเจาะในข้าวโพด และมีโรคใบด่างระบาด ในมันส าปะหลัง ท าให้ผลผลิตของเกษตรกรเสียหายรายได้ลดลง ส่งช าระหนี้ไม่ได้ ของผ่อนช าระ การส่งช าระหนี้ ไม่สามารถขอกู้เงินเพิ่ม และมีการใช้ปุ๋ยน้อยลง จึงส่งผลกระทบท าให้ปริมาณธุรกิจ ของสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรลดลง ด้านการบริหารเงินทุน ปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 ได้เข้าแนะน าส่งเสริมสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร โดยเน้นการพึ่งพา ทุนภายในเป็นหลัก ลดการพึ่งพาทุนจากภายนอก จากการด าเนินงานสหกรณ์และกลุ่มเกษตร พึ่งพาทุนจากทุนของสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรเอง และมีการพึ่งพาทุนจากแหล่งภายนอก คือ กลุ่มเกษตรกรมีการขอกู้เงินกองทุนสงเคราะห์เกษตรกร จ านวน 4 แห่ง คือ กลุ่มเกษตรกรท านา บ้านชีจ านวน300,000 บาท กลุ่มเกษตรกรท านาสนามแจง จ านวน 300,000 บาท กลุ่มเกษตรกร ท านาบ้านกล้วย จ านวน 350,000 บาท และกลุ่มเกษตรกรท านาหินปัก จ านวน 600,000 บาท ในด้านของทุนภายในเพิ่มขึ้น มีดังนี้ สหกรณ์ มีทุนภายในเพิ่มขึ้น จ านวน 2 แห่ง กลุ่มเกษตรกร มีทุนภายในเพิ่มขึ้น จ านวน 7 แห่ง ด้านข้อบกพร่องที่ตรวจพบ ปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 สหกรณ์/กลุ่มเกษตร ไม่มีข้อบกพร่องร้ายแรงที่ตรวจพบใหม่ มีเพียงการติดตามแก้ไขข้อบกพร่องของกลุ่มเกษตรกรท านาหนองเต่า กรณีไม่สามารถปิดบัญชีไม่ได้ ติดต่อกันเป็นเวลา 5 ปีบัญชี ซึ่งเข้าข่ายที่นายทะเบียนกลุ่มเกษตรกรประจ าจังหวัด อาจสั่งเลิกกลุ่มเกษตรกร และอยู่ระหว่างการตรวจสอบสาเหตุแห่งการเลิกกลุ่มเกษตรกร เพื่อรายงานนายทะเบียนกลุ่มเกษตรกร ประจ าจังหวัดต่อไป ด้านปิดบัญชีภายใน ๓๐ วัน นับแต่วันสิ้นปีทางบัญชี ปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 สหกรณ์/กลุ่มเกษตร ได้เข้าแนะน าส่งเสริมสหกรณ์และ กลุ่มเกษตรกร จัดท ารายการทางบัญชีและบันทึกบัญชีให้ถูกต้องตามหลักบัญชีและเรียบร้อย เป็นปัจจุบันตามระเบียบนายทะเบียนสหกรณ์ว่าด้วยการบัญชีสหกรณ์ พ.ศ. 2542 โดยเคร่งครัด
๖๐ รำยงำนผลกำรด ำเนินกำรประจ ำปี ๒๕๕๓ ซื่อตรงต่อหน้ำที่ มีวินัย โปร่งใส ไร้ทุจริต โดยเมื่อสิ้นปีของสหกรณ์/กลุ่มเกษตร จัดท างบดุล งบก าไรขาดทุนและงบประกอบต่าง ๆ รวมทั้ง รายละเอียดประกอบงบการเงินตามแบบที่กรมตรวจบัญชีสหกรณ์ก าหนด พร้อมทั้งตรวจนับทรัพย์สิน สินค้าคงเหลือ วัสดุคงเหลือ ณ วันสิ้นปีให้เรียบร้อยพร้อมที่จะรับบริการตรวจสอบบัญชีภายใน 30 วัน นับแต่วันสิ้นปีทางบัญชี โดยสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรสามารถปิดบัญชีได้ภายใน 30 วัน สหกรณ์ จ านวน 3 แห่ง กลุ่มเกษตรกร จ านวน 7 แห่ง และคงเหลือกลุ่มเกษตรกรที่ยังไม่สามารถปิดบัญชี ไม่ได้ 5 ปีติดต่อกัน คือ กลุ่มเกษตรกรท านาหนองเต่า ด้านมาตรฐานสหกรณ์ ปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 ได้เข้าแนะน าส่งเสริมสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรด าเนินงาน โดยยึดหลักเกณฑ์ตามเกณฑ์มาตรฐานสหกรณ์ 7 ข้อ และเกณฑ์มาตรฐานกลุ่มเกษตรกร 5 ข้อ เป็นแนวทางในการด าเนินงาน ผลการจัดชั้นมาตรฐาน มีดังนี้ สหกรณ์: ผ่านเกณฑ์มาตรฐาน จ านวน 2 แห่ง ไม่ผ่านมาตรฐาน จ านวน 1 แห่ง กลุ่มเกษตรกร: ผ่านเกณฑ์มาตรฐาน จ านวน 7 แห่ง ไม่ผ่านมาตรฐาน จ านวน 1 แห่ง ด้านระเบียบข้อบังคับ ปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 ได้แนะน าให้สหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร ศึกษาข้อบังคับ ให้สอดคล้องกับการด าเนินงาน เหมาะสมกับสภาพการณ์ของสหกรณ์ในปัจจุบัน และเพื่อให้ง่าย ในการถือปฏิบัติงาน โดยน าเสนอรายละเอียดการศึกษา ผ่านที่ประชุมคณะกรรมการด าเนินการ พิจารณา มีการขอแก้ไขถือใช้ระเบียบ คือ กลุ่มเกษตรกรท านาบ้านชี กลุ่มเกษตรกรท านาโพนทอง พัฒนา สหกรณ์การเกษตรบ้านหมี่ จ ากัด และสหกรณ์ออมทรัพย์โรงพยาบาลบ้านหมี่ จ ากัด และ สหกรณ์มีการขอแก้ไขข้อบังคับ จ านวน 2 สหกรณ์ คือ สหกรณ์การเกษตรบ้านหมี่ จ ากัด และ สหกรณ์ออมทรัพย์โรงพยาบาลบ้านหมี่ จ ากัด เรื่อง คุณสมบัติของสมาชิกสามัญ และผู้ตรวจสอบ กิจการสหกรณ์ เพื่อให้สอดคล้องกับกฎหมาย และค าสั่งนายทะเบียนสหกรณ์ ปัญหา/อุปสรรคในการด าเนินงานของสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร จากการเข้าแนะน าส่งเสริม อ าเภอบ้านหมี่เป็นอ าเภอ มีปัญหาอุปสรรคในการด าเนินงาน ของสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร โดยแยกออกเป็นแต่ละด้าน ดังนี้ 1. ด้านบุคลากร ประกอบด้วย ฝ่ายบริหาร สหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร คณะกรรมการยังขาดความรู้ในการบริหาร จัดการธุรกิจ และขาดความรู้ความเข้าใจในเรื่องอุดมการณ์และวิธีการสหกรณ์ ขาดความรู้ความเข้าใจ ในการบริหารงานซึ่งต้องบริการงานภายใต้ระเบียบ ข้อบังคับ พระราชบัญญัติสหกรณ์ ค าแนะน าของ นายทะเบียนสหกรณ์ และกฎหมายอื่นที่เกี่ยวข้องกับการด าเนินธุรกิจของสหกรณ์ และมีการปล่อย สินเชื่อให้กับสมาชิกโดยอาศัยความคุ้นเคยมากกว่าที่จะดูศักยภาพในการส่งช าระหนี้ ฝ่ายจัดการ สหกรณ์มีการจัดจ้างเจ้าหน้าที่ จ านวน 2 แห่ง คือ สหกรณ์การเกษตร บ้านหมี่ จ ากัด และสหกรณ์ออมทรัพย์โรงพยาบาลบ้านหมี่ จ ากัด มีการก าหนดระเบียบ ว่าด้วย ข้อบังคับเกี่ยวกับการท างานของเจ้าหน้าที่ มีการจัดท าสัญญาจ้าง และเรียกหลักประกันการท างาน
ส ำนักงำนสหกรณ์จังหวัดลพบุรี http://web.cpd.go.th/lopburi ๖๑ ซื่อตรงต่อหน้ำที่ มีวินัย โปร่งใส ไร้ทุจริต ครบถ้วน ถูกต้อง และสหกรณ์การเกษตรปฏิรูปที่ดินบ้านหมี่ จ ากัด ไม่มีการจัดจ้างเจ้าหน้าที่ มีการมอบหมาย ให้กรรมการด าเนินการเป็นผู้รับผิดชอบในการด าเนินการของสหกรณ์ และเก็บรักษาเงินสด ซึ่งมิได้ เป็นบุคคลเดียวกัน ส่วนการจัดท าบัญชีได้รับการสนับสนุนพนักงานราชการจากส านักงานสหกรณ์ จังหวัดลพบุรี ด้านกลุ่มเกษตรกรส่วนใหญ่ไม่มีเจ้าหน้าที่ คณะกรรมการด าเนินการท าหน้าที่ผู้จัดการ ซึ่งขาดความรู้ความเข้าใจการบันทึกรายการทางบัญชี ท าให้มีปัจจัยเสี่ยงในการควบคุมภายใน และ ขาดประสิทธิภาพในการบริหารงาน สมาชิก สมาชิกสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรส่วนใหญ่มีหนี้ค้างนาน ไม่ยอมมาติดต่อกับ สหกรณ์ สหกรณ์มีการติดตามเร่งรัดหนี้โดยตลอด แต่ไม่ได้รับความร่วมมือจากสมาชิกที่เป็นลูกหนี้ค้างนาน และสมาชิกมีความซ้ าซ้อนกับสถาบันการเงิน/กลุ่มอื่น ๆ ท าให้มีดอกเบี้ยค้างและค่าปรับค้างเพิ่มขึ้น ทุกปีในการติดตามเร่งรัดหนี้ตามบ้านสมาชิกก็ติดต่อไม่ได้ ไม่เจอตัวสมาชิกที่เป็นหนี้ หลบหนี ท าให้ ไม่ทราบข้อมูลว่าจะมีการช าระหนี้ได้เมื่อใด ประกอบกับไม่สามารถวางแผนการควบคุมต้นทุน การผลิตได้ สมาชิกขายผลผลิตไม่ได้ราคา รายได้ไม่เพียงพอกับค่าใช้จ่าย ส่งผลให้สมาชิกบางส่วน ไม่สามารถส่งช าระหนี้ต่อสหกรณ์ได้ทันตามก าหนดเวลา สมาชิกบางส่วนมีหนีหลายทาง และมีหนี้ซ้ าซ้อน 2. ด้านการบริหารจัดการ สหกรณ์การเกษตรบ้านหมี่ จ ากัด และสหกรณ์ออมทรัพย์โรงพยาบาลบ้านหมี่ จ ากัด มีการควบคุมภายในอยู่ในระดับดี สามารถบริหารจัดการสหกรณ์ได้อย่างมีประสิทธิภาพ โดยเฉพาะ สหกรณ์ออมทรัพย์โรงพยาบาลบ้านหมี่ จ ากัด ในปีที่ผ่านมาได้รับการประเมินผลการด าเนินงานของ สหกรณ์อยู่ในขั้นดีเด่นระดับจังหวัด ส่วนสหกรณ์การเกษตรปฏิรูปที่ดินบ้านหมี่จ ากัด และกลุ่มเกษตรกรยัง ขาดการควบคุมภายในที่ดี ส่งเผลให้มีข้อสังเกตของผู้สอบบัญชีแต่ก็สามารถให้ค าแนะน าในการแก้ไข ข้อสังเกตในทุกประเด็นเรียบร้อยแล้ว และได้ให้ค าแนะน าแนวทางป้องกันไม่ให้มีข้อสังเกตในปีต่อไป 3. ด้านการบริหารธุรกิจ สหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรขาดความเป็นมืออาชีพในการบริหารธุรกิจ ด าเนินธุรกิจด้านเดียว แต่ยังขาดความเชี่ยวชาญ มีการด าเนินธุรกิจสินเชื่อเป็นหลัก แต่ขาดการวางแผนในการติดตามเร่งรัดหนี้ สมาชิกอย่างเป็นระบบ ส่งผลให้สมาชิกมีหนี้ค้างนานและค่าปรับค้างจ านวนมาก ธุรกิจจัดหาสินค้ามา จ าหน่าย ไม่สามารถจัดหาสินค้าที่สมาชิกต้องการในราคายุติธรรมที่จะจูงใจสมาชิกให้มาใช้บริการได้ ท าให้มียอด จ าหน่ายต่ า ไม่คุ้มกับค่าใช้จ่ายเฉพาะธุรกิจในทุก ๆ ปี ในส่วนของสหกรณ์ออมทรัพย์โรงพยาบาลบ้านหมี่ จ ากัด ด าเนินธุรกิจสินเชื่อ และรับฝากเงินจากสมาชิก สหกรณ์ก าหนดให้สมาชิกได้กู้เงินค่อนข้างสูง และงวด ช าระหนี้หลายงวดท าให้ไม่สามารถขยายวงเงินกู้ให้แก่สมาชิกได้ เนื่องจากความเสี่ยงจากการด าเนินธุรกิจนี้ ค่อนข้างสูงแล้ว ประกอบกับนโยบายของสหกรณ์ต้องการเป็นสถาบันการเงินของสมาชิกจึงไม่มีการจ ากัด สกัดกั้นเงินฝากจากสมาชิก เป็นเหตุให้สหกรณ์มีสภาพคล่องเงินส่วนเกินสูง และไม่สามารถหาประโยชน์ จากเงินจ านวนดังกล่าว สหกรณ์จึงเสียโอกาสในการท ารายได้จากเงินส่วนนี้ ข้อเสนอแนะ/แนวทางแก้ไขปัญหา 1. ด้านบุคลากร ควรมีการถ่ายทอดความรู้แก่คณะกรรมการ ฝ่ายจัดการและสมาชิกอย่างสม่ าเสมอ ให้มีความรู้ ความเข้าใจและตระหนักถึงความส าคัญในการมีส่วนร่วมทางธุรกิจของสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร
๖๒ รำยงำนผลกำรด ำเนินกำรประจ ำปี ๒๕๕๓ ซื่อตรงต่อหน้ำที่ มีวินัย โปร่งใส ไร้ทุจริต 2. ด้านการบริหารจัดการ ควรด าเนินการโดยยึดหลักการควบคุมภายในที่ดีทั้งด้านระบบการเงิน การบัญชี การปฏิบัติงาน และคณะกรรมการควรมีการตรวจสอบการปฏิบัติงานของฝ่ายจัดการอย่างต่อเนื่อง และเสนอแนะการแก้ไขวิธีการปฏิบัติในที่ประชุมประจ าเดือนทุกครั้ง 3. ด้านการบริหารธุรกิจ สหกรณ์และกลุ่มเกษตรต้องมีแผนงานในการจัดหามาตรการในการเร่งรัดหนี้ค้างนาน พร้อมทั้งติดตามเร่งรัดหนี้เพื่อให้สมาชิกสามารถส่งช าระหนี้ได้ตามก าหนดให้คณะกรรมการจัดท าแผน ในการติดตามข้อบกพร่อง เพื่อเพิ่มสภาพคล่องทางการเงินให้กับสหกรณ์ จัดท าแผนเพิ่มปริมาณธุรกิจ ให้รอบการหมุนของเงินให้มากขึ้นเพื่อให้บริการสมาชิกมากขึ้นให้เพียงพอกับค่าใช้จ่ายที่เพิ่มขึ้นด้วย และสหกรณ์ต้องมีการวางระบบการควบคุมภายในที่สามารถตรวจสอบได้ และมีความโปร่งใส เพื่อป้องกันปัญหาและมีระบบการแก้ไขปัญหาเฉพาะหน้าที่อันอาจเกิดขึ้นตลอดเวลา สหกรณ์ควรมี แผนงานที่ชัดเจนในการบริหารเงินไม่ว่าจะเป็นธุรกิจสินเชื่อ ธุรกิจจัดหาสินค้ามาจ าหน่าย เพื่อให้ สอดคล้องกับความต้องการของสมาชิก อีกทั้งสหกรณ์ต้องควบคุมค่าใช้จ่ายให้รัดกุม เพิ่มปริมาณธุรกิจ ให้เพียงพอกับค่าใช้จ่ายเพื่อให้ผลประกอบการมีก าไร และให้สหกรณ์ปฏิบัติงานภายใต้ระเบียบ ข้อบังคับ และกฎกติกาของส่วนรวม ไม่มีการแยกอภิสิทธิ์คณะกรรมการกับสมาชิกทั่วไป สหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรที่สะท้อนผลส าเร็จของการปฏิบัติงานตามภารกิจของ ส านักงานสหกรณ์จังหวัดลพบุรี ในปีงบประมาณ พ.ศ.2563 ชื่อสหกรณ์ : สหกรณ์การเกษตรบ้านหมี่ จ ากัด ประเภทของสหกรณ์ : สหกรณ์ภาคการเกษตร ผลงาน/ความส าเร็จของสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร สหกรณ์การเกษตรบ้านหมี่ จ ากัด เลขทะเบียนที่ ก ๐๐๘๕๓ จดทะเบียนเมื่อวันที่ 1 เมษายน ๒๕18 มีจ านวนสมาชิกสหกรณ์ ณ วันที่ 30 มีนาคม 2563 จ านวน 2,511 ราย ผลผลิต การเกษตรหลักของสหกรณ์ ข้าว ธุรกิจที่สหกรณ์ด าเนินการ ได้แก่ ธุรกิจสินเชื่อ ธุรกิจจัดหาสินค้ามา จ าหน่ายธุรกิจเงินฝาก โดยธุรกิจหลักของสหกรณ์ คือ ธุรกิจเงินฝาก จ านวน 110,101,632.38 บาท ผลการด าเนินงานที่โดดเด่นของสหกรณ์การเกษตรบ้านหมี่ จ ากัด ปัจจุบันมีสมาชิก 2,511 ราย มีการด าเนินธุรกิจ ๓ ด้าน ได้แก่ ธุรกิจสินเชื่อ 80,290,199.52 บาท ธุรกิจรับฝากเงิน 110,101,632.38 บาท และธุรกิจจัดหาสินค้ามาจ าหน่าย 3,285,758.06 บาท สิ้นทรัพย์รวม 182,700,725.61 บาท ทุนเรือนหุ้น 28,356,571.00 บาท ทุนส ารอง 22,173,406.36 บาท สมาชิกมีส่วนร่วมในการด าเนินธุรกิจร้อยละ 65 ของสมาชิกทั้งหมด คณะกรรมการด าเนินการ จ านวน 15 ราย มีความเข้าใจในบทบาทหน้าที่และมีการประชุมทุกเดือน ไม่มีข้อบกพร่องทางการเงิน และการบัญชีสหกรณ์ด าเนินธุรกิจสินเชื่อ สหกรณ์สามารถติดตามเร่งรัดหนี้จากสมาชิกให้มาช าระหนี้ได้ ตามก าหนด ท าให้สหกรณ์มีผลการด าเนินงานก าไร 286,700.61 บาท
ส ำนักงำนสหกรณ์จังหวัดลพบุรี http://web.cpd.go.th/lopburi ๖๓ ซื่อตรงต่อหน้ำที่ มีวินัย โปร่งใส ไร้ทุจริต ปัจจัยแห่งความส าเร็จ สหกรณ์: ได้แก่ สหกรณ์การเกษตรบ้านหมี่ จ ากัด ได้เข้าร่วมโครงการพัฒนา ศักยภาพสหกรณ์การเกษตรระดับอ าเภอ ร่วมกับส านักงานสหกรณ์จังหวัดลพบุรี ในการจัดท าแผนพัฒนา ความเข้มแข็งและแผนการเนินธุรกิจ ในการขับเคลื่อนให้เป็นสหกรณ์การเกษตรระดับอ าเภอ และสหกรณ์ มีการก าหนดแผนงาน น าแผนการด าเนินงานและการขับเคลื่อนกิจกรรมการขับเคลื่อนให้สหกรณ์เป็นองค์กร หลักระดับอ าเภอเสนออนุมัติแผนงานในการประชุมคณะกรรมการประจ าเดือน ได้เข้าร่วมประชุม คณะกรรมการด าเนินการการประชุมกลุ่มสมาชิก การประชุมใหญ่สามัญประจ าปีของสหกรณ์ เพื่อร่วมขับเคลื่อนสหกรณ์การเกษตรบ้านหมี่ จ ากัด ให้เป็นสหกรณ์การเกษตรหลักระดับอ าเภอ ภาพประกอบ การประชุมใหญ่สามัญประจ าปี ของสหกรณ์การเกษตรบ้านหมี่ จ ากัด ส านักงานสหกรณ์จังหวัดลพบุรีโดย นายทศพร ผลบุตร สหรณ์จังหวัดลพบุรีพร้อมเจ้าหน้าที่ ของส านักงานสหกรณ์จังหวัดลพบุรีร่วมประชุมใหญ่สามัญประจ าปีของสหกรณ์การเกษตรบ้านหมี่ จ ากัด เพื่อแนะน าส่งเสริมงานของสหกรณ์ รวมทั้งชี้แจงแผนพัฒนาการด าเนินธุรกิจของสหกรณ์ และ แผนพัฒนาความเข้มแข็งของสหกรณ์ เพื่อขับเคลื่อนสหกรณ์ตามแนวทางพัฒนาสหกรณ์ให้เป็นองค์กร ระดับอ าเภอ การเข้าร่วมประชุมคณะกรรมการด าเนินการในการขับเคลื่อนกิจกรรมตามแผนงานสหกรณ์ งานโครงการตามแผนงานกรมส่งเสริมสหกรณ์ งานนโยบายของรัฐบาล และงานร่วมกับหน่วยงาน บูรณาการร่วมกับหน่วยงานอื่นๆ ในการขับเคลื่อนงานสหกรณ์
๖๔ รำยงำนผลกำรด ำเนินกำรประจ ำปี ๒๕๕๓ ซื่อตรงต่อหน้ำที่ มีวินัย โปร่งใส ไร้ทุจริต ภาพประกอบ การประชุมคณะกรรมการ สหกรณ์การเกษตรบ้านหมี จ ากัด ส านักงานสหกรณ์จังหวัดลพบุรีโดย นายวรสรร แก่นจันทร์เจ้าพนักงานส่งเสริมสหกรณ์อาวุโส พร้อมเจ้าหน้าที่ของส านักงานสหกรณ์จังหวัดลพบุรีร่วมประชุมคณะกรรมการสหกรณ์เพื่อแนะน า ส่งเสริมงานของสหกรณ์ รวมทั้งชี้แจงแผนพัฒนาการด าเนินธุรกิจของสหกรณ์ และแผนพัฒนา ความเข้มแข็งของสหกรณ์ เพื่อขับเคลื่อนสหกรณ์ตามแนวทางพัฒนาสหกรณ์ให้เป็นองค์กรระดับอ าเภอ
ส ำนักงำนสหกรณ์จังหวัดลพบุรี http://web.cpd.go.th/lopburi ๖๕ ซื่อตรงต่อหน้ำที่ มีวินัย โปร่งใส ไร้ทุจริต ภาพประกอบ การลงพื นที่ประเมินธรรมาภิบาลสหกรณ์ ร่วมกับกลุ่มส่งเสริมและพัฒนาการบริหารการจัดการสหกรณ์ ส านักงานสหกรณ์จังหวัดลพบุรีโดย นางอภันตรี เดชศิริ ผู้อ านวยการกลุ่มส่งเสริมและพัฒนาการ บริหารการจัดการสหกรณ์ พร้อมเจ้าหน้าที่ส่งเสริมสหกรณ์2 ของส านักงานสหกรณ์จังหวัดลพบุรี ลงพื้นที่ประเมินธรรมาภิบาลสหกรณ์ร่วมกับกลุ่มส่งเสริมและพัฒนาการบริหารการจัดการสหกรณ์ เพื่อให้การบริหารกิจการของสหกรณ์ให้เป็นไปอย่างซื่อสัตย์ โปร่งใสมีความรับผิดชอบ สร้างการมีส่วนร่วม และ มีการใช้กระบวนการบริหารจัดการ เพื่อให้การใช้ทรัพยากรเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพเกิดประสิทธิผล ภาพประกอบ การเข้าร่วมประชาสัมพันธ์โครงการกองทุนการออมแห่งชาติ กอช. ส านักงานสหกรณ์จังหวัดลพบุรีโดย นายวรสรร แก่นจันทร์ เจ้าพนักงานส่งเสริมสหกรณ์อาวุโส พร้อมเจ้าหน้าที่กลุ่มส่งเสริมสหกรณ์ 2 ของส านักงานสหกรณ์จังหวัดลพบุรี ได้ด าเนินกิจกรรมตาม โครงการของกรมส่งเสริมสหกรณ์ ในการเข้าร่วมประชาสัมพันธ์โครงการกองทุนออมแห่งชาติ กอช. ให้แก่สมาชิกสหกรณ์การเกษตรบ้านหมี่ จ ากัด เพื่อเชิญชวนและสนับสนุนให้สมาชิกได้มีโอกาส ออมเงินเก็บไว้ใช้หลังอายุ 60 ปี ซึ่งจะช่วยให้การใช้ชีวิตในวัยสูงอายุมีความสุขขึ้น
๖๖ รำยงำนผลกำรด ำเนินกำรประจ ำปี ๒๕๕๓ ซื่อตรงต่อหน้ำที่ มีวินัย โปร่งใส ไร้ทุจริต ชื่อสหกรณ์ : สหกรณ์ออมทรัพย์โรงพยาบาลบ้านหมี่ จ ากัด ประเภทของสหกรณ์ : สหกรณ์นอกภาคการเกษตร ผลงาน/ความส าเร็จของสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร สหกรณ์ออมทรัพย์โรงพยาบาลบ้านหมี่ จ ากัด ได้รับการโอนหุ้นและหนี้จากกิจการ ออมทรัพย์ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2543เริ่มด าเนินธุรกิจสหกรณ์ตั้งแต่วันที่ 1 พฤษภาคม ๒๕43 ปัจจุบันมีจ านวน 644 ราย สมาชิกสามัญ 589 ราย สมาชิกสบทบ 75 ราย ธุรกิจที่สหกรณ์ ด าเนินการ จ านวน 2 ธุรกิจได้แก่ ธุรกิจสินเชื่อ ธุรกิจเงินฝาก โดยธุรกิจหลักของสหกรณ์ คือ ธุรกิจสินเชื่อ ผลการด าเนินงานที่โดดเด่นของสหกรณ์ออมทรัพย์โรงพยาบาลบ้านหมี่ จ ากัด สหกรณ์ด าเนินการ จ านวน 2 ธุรกิจได้แก่ ธุรกิจสินเชื่อ ธุรกิจเงินฝาก โดยธุรกิจหลักของสหกรณ์ คือ ธุรกิจสินเชื่อ ระหว่างปี 379,012,095.31 บาท ธุรกิจรับฝากเงิน 152,421,675.36 บาท แก่สมาชิกในการด าเนินธุรกิจสมาชิกมีส่วนร่วมร้อยละ 80 มีทุนเรือนหุ้น 206,121,050 บาท ทุนส ารอง 12,236,799.02 บาท สินทรัพย์รวม 390,418,525.04 บาท ทุนของสหกรณ์ 236,663,749.68 บาท มีคณะกรรมการด าเนินการ จ านวน 9 ราย มีความเข้าใจในบทบาทหน้าที่ และมีการประชุมทุกเดือน ไม่มีข้อบกพร่องทางการเงินและการบัญชีสหกรณ์ด าเนินธุรกิจสินเชื่อ สหกรณ์ สามารถติดตามเร่งรัดหนี้จากสมาชิกให้มาช าระหนี้ได้ตามก าหนด ท าให้สหกรณ์มีผลการด าเนินงาน ก าไร 17,162,245.96 บาท ปัจจัยแห่งความส าเร็จ สหกรณ์นอกภาค: สหกรณ์ออมทรัพย์โรงพยาบาลบ้านหมี่ จ ากัด ได้รับการคัดเลือก เป็นสหกรณ์ดีเด่น ประเภทสหกรณ์ออมทรัพย์ ระดับจังหวัด ส่งเข้าประกวดสหกรณ์ดีเด่นกรมส่งเสริม สหกรณ์ สหกรณ์มีผลประกอบการมีก าไร ผ่านเกณฑ์มาตรฐานสหกรณ์กรมส่งเสริมสหกรณ์ ระดับ ดีเด่น ใช้บริการผู้สอบบัญชีเอกชน ผลการด าเนินงานไม่มีหนี้ค้างช าระ มีสมาชิกมาใช้บริการ ร้อยละ 80 ของสมาชิกทั้งหมด มีระบบการควบคุมภายในที่ดีไม่มีข้อสังเกตจากผู้สอบบัญชี มีโครงการและ กิจกรรมให้ความช่วยเหลือสมาชิกและครอบครัวสมาชิก มีความเอื้ออาทรต่อชุมชนในการร่วม กิจกรรมต่างๆ กับชุมชน และหน่วยงานราชการต่าง ๆ ร่วมท าบุญกฐิน ผ้าป่า บริจาคโคหิต ฯลฯ ภาพประกอบ การประชุมใหญ่สามัญประจ าปี ของสหกรณ์ออมทรัพย์โรงพยาบาลบ้านหมี่ จ ากัด ส านักงานสหกรณ์ จังหวัดลพบุ รีโดย นายวรสรร แก่นจันทร์ เจ้าพนักงาน ส่งเสริมสหกรณ์อาวุโส พร้อมเจ้าหน้าที่ของส านักงานสหกรณ์จังหวัดลพบุรีร่วมประชุมใหญ่สามัญ ประจ าปีของสหกรณ์ออมทรัพย์โรงพยาบาลบ้านหมี่ จ ากัด เพื่อแนะน าส่งเสริมงานของสหกรณ์ รวมทั้งชี้แจงแผนพัฒนาการด าเนินธุรกิจของสหกรณ์ และแผนพัฒนาความเข้มแข็งของสหกรณ์ เพื่อขับเคลื่อนสหกรณ์ตามแนวทางพัฒนาสหกรณ์ให้เป็นองค์กรระดับอ าเภอ การเข้าร่วมประชุม คณะกรรมการด าเนินการในการขับเคลื่อนกิจกรรมตามแผนงานสหกรณ์ งานโครงการตามแผนงาน กรมส่งเสริมสหกรณ์ งานนโยบายของรัฐบาล และงานร่วมกับหน่วยงานบูรณาการร่วมกับหน่วยงาน อื่นๆ ในการขับเคลื่อนงานสหกรณ์
ส ำนักงำนสหกรณ์จังหวัดลพบุรี http://web.cpd.go.th/lopburi ๖๗ ซื่อตรงต่อหน้ำที่ มีวินัย โปร่งใส ไร้ทุจริต ภาพประกอบ การลงพื นที่ประเมินธรรมาภิบาลสหกรณ์ ร่วมกับกลุ่มจัดตั งและส่งเสริมสหกรณ์ และกลุ่มตรวจการสหกรณ์ณ สหกรณ์ออมทรัพย์โรงพยาบาลบ้านหมี่ จ ากัด ส านักงานสหกรณ์จังหวัดลพบุรีโดย นางละม่อม สุขพงษ์ ผู้อ านวยการกลุ่มจัดตั้งและ ส่งเสริมสหกรณ์ พร้อมเจ้าหน้าที่กลุ่มตรวจการสหกรณ์ เจ้าหน้าที่กลุ่มส่งเสริมสหกรณ์ 2 ของส านักงานสหกรณ์จังหวัดลพบุรีลงพื้นที่ประเมินธรรมาภิบาลสหกรณ์เพื่อให้การบริหารกิจการ ของสหกรณ์ให้เป็นไปอย่างซื่อสัตย์ โปร่งใสมีความรับผิดชอบ สร้างการมีส่วนร่วม และมีการใช้ กระบวนการบริหารจัดการ เพื่อให้การใช้ทรัพยากรเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพเกิดประสิทธิผล
๖๘ รำยงำนผลกำรด ำเนินกำรประจ ำปี ๒๕๕๓ ซื่อตรงต่อหน้ำที่ มีวินัย โปร่งใส ไร้ทุจริต ภาพประกอบ การร่วมกิจกรรมต่าง ๆ ในปี 2563 ของสหกรณ์ออมทรัพย์โรงพยาบาลบ้านหมี่ จ ากัด ส านักงานสหกรณ์จังหวัดลพบุรีโดย นายมาโนช วรรณบุตร ผู้อ านวยการกลุ่มส่งเสริมสหกรณ์ 2 พร้อมเจ้าหน้าที่กลุ่มส่งเสริมสหกรณ์2 ของส านักงานสหกรณ์จังหวัดลพบุรีได้เข้าร่วมด าเนินกิจกรรม ต่าง ๆ ในปี 2563 กับสหกรณ์ออมทรัพย์โรงพยาบาลบ้านหมี่ จ ากัด
ส ำนักงำนสหกรณ์จังหวัดลพบุรี http://web.cpd.go.th/lopburi ๖๙ ซื่อตรงต่อหน้ำที่ มีวินัย โปร่งใส ไร้ทุจริต กลุ่มเกษตรกร: ได้แก่ กลุ่มเกษตรกรท านาหินปัก เลขทะเบียนที่ ลบ 7/๒๕4๑ จดทะเบียนเมื่อวันที่ ๒๙ เมษายน ๒๕41 เป็นกลุ่มเกษตรกรที่ได้มาตรฐาน ปัจจุบันมี่สมาชิก 195 คน มีการด าเนินธุรกิจ ๒ ด้าน ได้แก่ ธุรกิจสินเชื่อ 3,350,000.00 บาท และธุรกิจจัดหา สินค้ามาจ าหน่ายให้แก่สมาชิก 600,000 บาท ในการด าเนินธุรกิจสมาชิกมีส่วนร่วมร้อยละ 70 คณะกรรมการด าเนินการมีความเข้าใจในบทบาทหน้าที่และมีการปรึกษาหารือกันเป็นประจ า ไม่มีข้อบกพร่องทางการเงินและการบัญชี ในการด าเนินธุรกิจใช้เงินทุนในการให้บริการแก่สมาชิก ตามเงินทุนที่จัดหามาของกลุ่ม คือ ธุรกิจสินเชื่อ ใช้เงินจากการระดมทุนภายในของกลุ่มคือเงินทุน เรือนหุ้น และทุนที่เกิดจากผลประกอบการ การระดมทุนภายใน กลุ่มได้มีการท าข้อตกลงกับสมาชิก ใหม่ที่ประสงค์จะใช้บริการจากกลุ่ม ต้องมีทุนเรือนหุ้นไม่น้อยกว่าสมาชิกที่มีหุ้นน้อยที่สุดของกลุ่ม ณ วันสิ้นปีทางบัญชีของกลุ่ม ก่อนที่สมาชิกรายนั้น ๆ จะเข้ามาเป็นสมาชิก ส่วนธุรกิจจัดหาสินค้า มาจ าหน่าย กลุ่มใช้เงินที่จัดหาจากทุนภายนอก คือเงินกู้กองทุนสงเคราะห์เกษตรกร คณะกรรมการ ด าเนินการมีการติดตามเร่งรัดหนี้ และสามารถส่งช าระหนี้เงินกู้กองทุนสงเคราะห์เกษตรกรได้ ตามสัญญ า กลุ่มมีการเรียกเก็บค่าธรรมเนียมการออกจากการเป็นสมาชิกรายละ 2 บาท ท าให้สามารถรับทราบจ านวนสมาชิกเข้าและออกจากกลุ่มในแต่ละปีว่ามีจ านวนเท่าใด ภาพประกอบ การร่วมประชุมใหญ่สามัญประจ าปี ของกลุ่มเกษตรกรท านาหินปัก ส านักงานสหกรณ์จังหวัดลพบุรี โดย นายวรสรร แก่นจันทร์ เจ้าพนักงานส่งเสริม สหกรณ์อาวุโส พร้อมด้วยเจ้าหน้าที่กลุ่มส่งเสริมสหกรณ์ 2 ของส านักงานสหกรณ์จังหวัดลพบุรี ได้ร่วมประชุมใหญ่สามัญประจ าปีของกลุ่มเกษตรกรท านาหินปัก ณ ที่ท าการกลุ่มเกษตรกร ท านาหินปัก โดยกลุ่มเกษตรกร มีก าไรสุทธิประจ าปี 285,050.98 บาท
๗๐ รำยงำนผลกำรด ำเนินกำรประจ ำปี ๒๕๕๓ ซื่อตรงต่อหน้ำที่ มีวินัย โปร่งใส ไร้ทุจริต ภาพประกอบ การเข้าแนะน า ส่งเสริม การจัดท าบัญชีเบื องต้น และเอกสารที่เกี่ยวข้อง ส านักงานสหกรณ์จังหวัดลพบุรี โดย นายวรสรร แก่นจันทร์ เจ้าพนักงานส่งเสริม สหกรณ์อาวุโส พร้อมด้วยเจ้าหน้าที่กลุ่มส่งเสริมสหกรณ์ 2 ของส านักงานสหกรณ์จังหวัดลพบุรี ได้แนะน า ส่งเสริม การจัดท าบัญชีเบื้องต้น ทะเบียนคุม และเอกสารที่เกี่ยวข้องให้แก่คณะกรรมการ ด าเนินการของกลุ่มเกษตรกรท านาหินปัก เพื่อให้กลุ่มเกษตรกรท านาหินปักมีระบบบัญชีงบการเงิน และเอกสารหลักฐานต่าง ๆ ถูกต้องตามหลักการบัญชีและตรวจสอบได้
ส ำนักงำนสหกรณ์จังหวัดลพบุรี http://web.cpd.go.th/lopburi ๗๑ ซื่อตรงต่อหน้ำที่ มีวินัย โปร่งใส ไร้ทุจริต ประกอบด้วย สหกรณ์ 3 แห่ง สมาชิก 411 คน กลุ่มเกษตรกร 5 แห่ง สมาชิก 254 คน ผลการเข้าแนะน า ส่งเสริมสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร อ าเภอหนองม่วง ดูแลส่งเสริมสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร จ านวน 8 แห่ง แบ่งเป็น สหกรณ์ 3 แห่ง กลุ่มเกษตรกร 5 แห่ง มีผลการเข้าแนะน า ส่งเสริม ดังนี้ ด้านการด าเนินงาน ปีงบประมาณ พ.ศ.2563 ได้แนะน าส่งเสริมสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรในด้าน การบริหารธุรกิจให้ทุกธุรกิจมีผลการด าเนินงานให้มีก าไร และควบคุมค่าใช้จ่ายในแต่ละธุรกิจ ให้สอดคล้องกับธุรกิจนั้น ๆ และให้ผลก าไรเพียงพอกับค่าใช้จ่ายของสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร ได้แนะน าให้สหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรปล่อยสินเชื่อโดยความรอบคอบ พิจารณาวินัยทางการเงิน ของสมาชิกและความสามารถของการช าระหนี้เป็นหลัก ควบคุมการปล่อยสินเชื่อให้เป็นไปตามระเบียบ และให้มีการติดตามเร่งรัดหนี้ก่อนถึงก าหนดช าระหนี้ของสมาชิกอย่างต่อเนื่อง ป้องกันไม่ให้มีหนี้ค้างช าระ ควบคุมค่าใช้จ่ายงบประมาณให้รัดกุม ใช้จ่ายเท่าที่มีความจ าเป็นและควบคุมค่าใช้จ่ายให้อยู่ภายใต้วงเงิน ตามแผนที่ประชุมใหญ่สามัญประจ าปีอนุมัติไว้ มีการจ่ายเงินกู้ผ่านบัญชีสมาชิกรายตัว และการช าระหนี้ ของสมาชิกเริ่มให้สมาชิกช าระผ่านบัญชีธนาคารของสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรโดยตรง และได้แนะน าให้ สมาชิกสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร มีส่วนร่วมในการท าธุรกิจของสหกรณ์หรือกลุ่มเกษตร เพิ่มขึ้น แผนงานที่ได้ขับเคลื่อนไว้คือ 1. ขับเคลื่อนกิจกรรม 1 สหกรณ์ 1 อ าเภอ คือ สหกรณ์การเกษตรบ่อทอง-หนองม่วง จ ากัด 2. ส่งเสริม แนะน าสหกรณ์ในการรักษาระดับมาตรฐาน 1 แห่ง คือสหกรณ์ การเกษตรบ่อทอง-หนองม่วง เพิ่มระดับมาตรฐาน 2 แห่ง คือ สหกรณ์การเกษตรหนองม่วง และ สหกรณ์โคนมไทย-เดนมาร์ค ชอนม่วง จ ากัด 3. ขับเคลื่อนแผนงานในการติดตามเร่งรัดหนี้ค้างช าระสมาชิกสหกรณ์ จ านวน 2 สหกรณ์ คือ สหกรณ์การเกษตรหนองม่วง จ ากัด และสหกรณ์โคนมไทย-เดนมาร์ค ชอนม่วง จ ากัด 4. ขับเคลื่อนกิจกรรมในการเพิ่มปริมาณธุรกิจ และเพิ่มการมีส่วนร่วมในการท าธุรกิจของ สมาชิก ใน 3 สหกรณ์ และ 5 กลุ่มเกษตรกร 5. ขับเคลื่อนโครงการพาลูกหลานเกษตรกรกลับบ้าน คือ สหกรณ์การเกษตรบ่อทอง หนองม่วง จ ากัด สหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรในอ าเภอบ้านหมี่ มีผลประกอบการ ดังนี้ สหกรณ์ มีก าไรสุทธิ จ านวน 1 แห่ง สหกรณ์ ขาดทุนสุทธิ จ านวน 2 แห่ง กลุ่มเกษตรกร มีก าไรสุทธิ จ านวน 5 แห่ง สหกรณ์ มีผลประกอบการ มีก าไร จ านวน 1 แห่ง คือ สหกรณ์โคนมไทย-เดนมาร์ก ชอนม่วง จ ากัด สหกรณ์ มีผลประกอบการขาดทุน จ านวน 2 แห่ง คือ สหกรณ์การเกษตร หนองม่วง จ ากัดและสหกรณ์การเกษตรบ่อทอง – หนองม่วง จ ากัด อ าเภอหนองม่วง
๗๒ รำยงำนผลกำรด ำเนินกำรประจ ำปี ๒๕๕๓ ซื่อตรงต่อหน้ำที่ มีวินัย โปร่งใส ไร้ทุจริต กลุ่มเกษตรกร มีผลประกอบการ มีก าไร 4 แห่ง คือ กลุ่มเกษตรกรท าไร่บ่อทอง กลุ่มเกษตรกรท าสวนดงดินแดง กลุ่มเกษตรกรท าไร่ยางโทน กลุ่มเกษตรกรท าไร่หนองม่วง และกลุ่มเกษตรท าไร่ชอนสารเดช ด้านการบริหารธุรกิจ ปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 ได้แนะน าส่งเสริมสหกรณ์ในด้านการบริหารธุรกิจ ในด้านต่าง ๆควบคุมค่าใช้จ่าย และเพิ่มปริมาณธุรกิจตามสภาวการณ์ของแต่ละแห่ง วางแผนการหาเงินทุน มาให้บริการสมาชิกส่งเสริมการด าเนินธุรกิจให้สหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร มีปริมาณธุรกิจเพิ่มขึ้น ดังนี้ สหกรณ์ มีปริมาณธุรกิจเพิ่มขึ้น จ านวน - แห่ง กลุ่มเกษตรกร มีปริมาณธุรกิจเพิ่มขึ้น จ านวน 4 แห่ง ด้านการบริหารเงินทุน ปีงบประมาณ พ.ศ. 2562 ได้เข้าแนะน าส่งเสริมสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรโดยเน้นการพึ่งพา ทุนภายในเป็นหลัก ลดการพึ่งพาทุนจากภายนอก จากการด าเนินงานสหกรณ์และกลุ่มเกษตรพึ่งพา ทุนจากทุนของสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรเอง สหกรณ์ที่มีการพึ่งพาทุนจากแหล่งภายนอก คือ 1. สหกรณ์การเกษตรหนองม่วง จ ากัด กู้เงินกู้กองทุนพัฒนาสหกรณ์ จ านวน 1,900,000.00 บาท 2. สหกรณ์การเกษตรในเขตปฏิรูปที่ดินบ่อทอง จ ากัด กู้เงินกู้กองทุนพัฒนาสหกรณ์ จ านวน 2,000,000.00 บาท 3. สหกรณ์โคนมไทย-เดนมาร์ค ชอนม่วง จ ากัด จ ากัด กู้เงินกองทุนพัฒนาสหกรณ์ จ านวน เงิน 950,000.00 บาท กู้เงิน ธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณ์การเกษตร จ านวน 5,100,000.00 กลุ่มเกษตรกรที่มีการพึ่งพาทุนจากแหล่งภายนอก คือ 1. กลุ่มเกษตรกรท าไร่บ่อทอง จ านวน 368,000.00 บาท 2. กลุ่มเกษตรกรท าไร่ชอนสารเดช จ านวน 425,000.00 บาท 3. กลุ่มท าไร่ยางโทน จ านวน 440,000.00 บาท 4. กลุ่มเกษตรกรท าสวนดงดินแดง จ านวน 361,000.00 บาท ในด้านของทุนภายในเพิ่มขึ้น มีดังนี้ สหกรณ์ มีทุนภายในเพิ่มขึ้น จ านวน 1 แห่ง กลุ่มเกษตรกร มีทุนภายในเพิ่มขึ้น จ านวน 5 แห่ง ด้านข้อบกพร่องที่ตรวจพบ ปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 สหกรณ์/กลุ่มเกษตร ไม่มีข้อบกพร่องร้ายแรงที่ตรวจพบ มีเพียงรายงานข้อสังเกตของผู้สอบบัญชี ซึ่งได้ติดตามให้สหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรเร่งแก้ไข ด้านปิดบัญชีภายใน 30 วัน นับถัดจากวันสินปีทางบัญชี ปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 สหกรณ์/กลุ่มเกษตร ได้เข้าแนะน าส่งเสริมสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร จัดท ารายการทางบัญชีและบันทึกบัญชีให้ถูกต้องตามหลักบัญชีและเรียบร้อยเป็นปัจจุบันตามระเบียบ
ส ำนักงำนสหกรณ์จังหวัดลพบุรี http://web.cpd.go.th/lopburi ๗๓ ซื่อตรงต่อหน้ำที่ มีวินัย โปร่งใส ไร้ทุจริต นายทะเบียนสหกรณ์ว่าด้วยการบัญชีสหกรณ์ พ.ศ. 2542 โดยเคร่งครัด โดยเมื่อสิ้นปีของสหกรณ์/ กลุ่มเกษตร จัดท างบดุลงบก าไรขาดทุนและงบประกอบต่าง ๆ รวมทั้งรายละเอียดประกอบงบการเงิน ตามแบบที่กรมตรวจบัญชีสหกรณ์ก าหนด พร้อมทั้งตรวจนับทรัพย์สิน สินค้าคงเหลือ วัสดุคงเหลือ ณ วันสิ้นปี ให้เรียบร้อย พร้อมที่จะรับบริการตรวจสอบบัญชีภายใน 30 วันนับแต่วันสิ้นปีทางบัญชี โดยสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรสามารถปิดบัญชีได้ภายใน 30 วัน สหกรณ์จ านวน 3 แห่ง กลุ่มเกษตรกร จ านวน 5 แห่ง ด้านมาตรฐานสหกรณ์ ปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 ได้เข้าแนะน าส่งเสริมสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร ด าเนินงานโดยยึดหลักเกณฑ์ตามเกณฑ์มาตรฐานสหกรณ์ 7 ข้อ และเกณฑ์มาตรฐานกลุ่มเกษตรกร 5 ข้อ เป็นแนวทางในการด าเนินงาน ผลการจัดชั้นมาตรฐาน มีดังนี้ สหกรณ์ ผ่านมาตรฐาน จ านวน 3 แห่ง สหกรณ์ ไม่ผ่านมาตรฐาน จ านวน - แห่ง กลุ่มเกษตรกร ผ่านมาตรฐาน จ านวน 5 แห่ง กลุ่มเกษตรกร ไม่ผ่านมาตรฐาน จ านวน - แห่ง ปัญหา/อุปสรรคในการด าเนินงานของสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร จากการเข้าแนะน าส่งเสริม อ าเภอหนองม่วง ดูแลสหกรณ์ 3 แห่ง กลุ่มเกษตรกร 5 แห่ง ซึ่งมีปัญหาอุปสรรคในการด าเนินงานของสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร โดยแยกออกเป็นแต่ละด้าน ดังนี้ 1. ด้านบุคลากร ประกอบด้วย ฝ่ายบริหาร คณะกรรมการสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร ยังขาดความรู้ในการบริหาร จัดการธุรกิจ และขาดความรู้ความเข้าใจในเรื่องอุดมการณ์และวิธีการสหกรณ์ ขาดความรู้ความเข้าใจ ในการบริหารงาน ซึ่งต้องบริการงานภายใต้ระเบียบ ข้อบังคับ พระราชบัญญัติสหกรณ์ ค าแนะน าของ นายทะเบียนสหกรณ์ และกฎหมายอื่นที่เกี่ยวข้องกับการด าเนินธุรกิจของสหกรณ์ และมีการปล่อย สินเชื่อให้กับสมาชิกโดยอาศัยความคุ้นเคยมากกว่าที่จะดูศักยภาพในการส่งช าระหนี้และการติดตาม การช าระหนี้ของฝ่ายบริหารยังไม่มีประสิทธิภาพเท่าที่ควร ฝ่ายจัดการ สหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรส่วนใหญ่ไม่มีเจ้าหน้าที่ คณะกรรมการ ด าเนินการท าหน้าที่ผู้จัดการ ซึ่งขาดความรู้ความเข้าใจการบันทึกรายการทางบัญชี ท าให้มีปัจจัยเสี่ยง ในการควบคุมภายใน และขาดประสิทธิภาพในการบริหารงาน ท าให้มีปัจจัยเสี่ยงในการควบคุม ภายใน ไม่มีการตรวจสอบและเกิดการทุจริตขึ้นในสหกรณ์ ในส่วนของสหกรณ์โคนม เกิดข้อบกพร่อง ทางบัญชีจากการปฏิบัติงานของเจ้าหน้าที่ และธุรกิจรวบรวมยังขาดเจ้าหน้าที่ในการให้บริการส่งเสริม การเลี้ยงโคนม ท าให้มีปัจจัยเสี่ยงในเรื่องคุณภาพน้ านมดิบ ฝ่ายจัดการยังขาดอ านาจในการตัดสินใจ แก้ไขปัญหา ในการด าเนินงานต้องรอมติที่ประชุมคณะกรรมการด าเนินการในบางเรื่องที่ต้องแก้ไข ปัญหาเฉพาะหน้า และยังขาดความรู้ในการบริหารธุรกิจโคนม ซึ่งจะต้องอาศัยความเชี่ยวชาญ เฉพาะเรื่อง ต้องอาศัยประสบการณ์และความรู้จากสหกรณ์อื่น สมาชิก สมาชิกสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรส่วนใหญ่มีหนี้ค้างนาน ไม่ยอมมาติดต่อกับ สหกรณ์ สหกรณ์มีการติดตามเร่งรัดหนี้โดยตลอด แต่ไม่ได้รับความร่วมมือจากสมาชิกที่เป็นลูกหนี้ค้างนาน
๗๔ รำยงำนผลกำรด ำเนินกำรประจ ำปี ๒๕๕๓ ซื่อตรงต่อหน้ำที่ มีวินัย โปร่งใส ไร้ทุจริต และสมาชิกมีความซ้ าซ้อนกับสถาบันการเงิน/กลุ่มอื่น ๆ ท าให้มีดอกเบี้ยค้างและค่าปรับค้างเพิ่มขึ้นทุกปี ในการติดตามเร่งรัดหนี้ตามบ้านสมาชิกก็ติดต่อไม่ได้ ไม่เจอตัวสมาชิกที่เป็นหนี้ หลบหนี ท าให้ ไม่ทราบข้อมูลว่าจะมีการช าระหนี้ได้เมื่อใด ประกอบกับไม่สามารถวางแผนการควบคุมต้นทุนการผลิตได้ สมาชิกขายผลผลิตไม่ได้ราคา รายได้ไม่เพียงพอกับค่าใช้จ่าย ส่งผลให้สมาชิกบางส่วนไม่สามารถ ส่งช าระหนี้ต่อสหกรณ์ได้ทันตามก าหนดเวลา สมาชิกบางส่วนมีหนี้หลายทาง และมีหนี้ซ้ าซ้อน และ ในส่วนของสหกรณ์โคนมสมาชิกยังขาดความซื่อสัตย์ในการประกอบอาชีพ ท าให้คุณภาพน้ านมดิบ ยังไม่มีเท่าที่ควรส่งผลต่อราคาขายที่ถูกตัดราคาน้ านมดิบตลอด ในการบริหารจัดการฟาร์ม ไม่มี การบริหารฟาร์มให้มีจุดคุ้มทุน ไม่มีการควบคุมเรื่องของต้นทุนค่าใช้จ่ายและรายได้ของฟาร์ม ให้เหมาะสมกับความพร้อมของแรงงานและปริมาณของโคในฟาร์ม 2. ด้านการบริหารจัดการ สหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรยังขาดการควบคุมภายในที่ดี ส่งเผลให้มีข้อสังเกตของ ผู้สอบบัญชี และก็สามารถให้ค าแนะน าในการแก้ไขข้อสังเกตในทุกประเด็นเรียบร้อยแล้ว และได้ให้ ค าแนะน าแนวทางป้องกันไม่ให้มีข้อสังเกตในปีต่อไป 3. ด้านการบริหารธุรกิจ สหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรขาดความเป็นมืออาชีพในการบริหารธุรกิจ ด าเนินธุรกิจ หลายด้านแต่ยังขาดความเชี่ยวชาญ มีการด าเนินธุรกิจสินเชื่อเป็นหลัก แต่ขาดการวางแผนในการ ติดตามเร่งรัดหนี้สมาชิกอย่างเป็นระบบ ส่งผลให้สมาชิกมีหนี้ค้างนาน และค่าปรับค้างจ านวนมาก ธุรกิจจัดหาสินค้ามาจ าหน่าย ยังขาดการควบคุมภายในที่ดียังมีสินค้าขาด สินค้าช าระในทุก ๆ ปี ข้อเสนอแนะ/แนวทางแก้ไขปัญหา 1. ด้านบุคลากร ควรมีการถ่ายทอดความรู้แก่คณะกรรมการ ฝ่ายจัดการ และสมาชิกอย่างสม่ าเสมอ ให้มี ความรู้ความเข้าใจและตระหนักถึงความส าคัญในการมีส่วนร่วมทางธุรกิจของสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร 2. ด้านการบริหารจัดการ ควรด าเนินโดยยึดหลักการควบคุมภายในที่ดีทั้งด้านระบบการเงิน การบัญชี การปฏิบัติงาน และคณะกรรมการควรมีการตรวจสอบการปฏิบัติงานของฝ่ายจัดการอย่างต่อเนื่อง และเสนอแนะ การแก้ไขวิธีการปฏิบัติในที่ประชุมประจ าเดือนทุกครั้ง 3. ด้านการบริหารธุรกิจ สหกรณ์และกลุ่มเกษตรต้องมีแผนงานในการจัดหามาตรการในการเร่งรัดหนี้ค้างนาน พร้อมทั้งติดตามเร่งรัดหนี้เพื่อส่งช าระหนี้ ให้คณะกรรมการจัดท าแผนในการติดตามข้อบกพร่อง ข้อทุจริต เพื่อเพิ่มสภาพคล่องทางการเงินให้กับสหกรณ์ จัดท าแผนเพิ่มปริมาณธุรกิจให้รอบการหมุนของเงินให้มากขึ้น เพื่อให้บริการสมาชิกมากขึ้นให้เพียงพอกับค่าใช้จ่ายที่เพิ่มขึ้นด้วย และสหกรณ์ต้องมีการวางระบบ การควบคุมภายในที่สามารถตรวจสอบได้ และมีความโปร่งใส เพื่อป้องกันปัญหาและมีระบบการแก้ไข ปัญหาเฉพาะหน้าที่อันอาจเกิดขึ้นตลอดเวลา สหกรณ์ควรมีแผนงานที่ชัดเจนในการบริหารเงินไม่ว่า จะเป็นธุรกิจสินเชื่อ ธุรกิจจัดหาสินค้ามาจ าหน่าย เพื่อให้สอดคล้องกับความต้องการของสมาชิก
ส ำนักงำนสหกรณ์จังหวัดลพบุรี http://web.cpd.go.th/lopburi ๗๕ ซื่อตรงต่อหน้ำที่ มีวินัย โปร่งใส ไร้ทุจริต อีกทั้งสหกรณ์ต้องควบคุมค่าใช้จ่ายให้รัดกุม เพิ่มปริมาณธุรกิจให้เพียงพอกับค่าใช้จ่ายเพื่อให้ผล ประกอบการมีก าไร และให้สหกรณ์ปฏิบัติงานภายใต้ระเบียบ ข้อบังคับ และกฎกติกาของส่วนรวม ไม่มีการแยกอภิสิทธิ์คณะกรรมการกับสมาชิกทั่วไป สหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรที่สะท้อนผลส าเร็จของการปฏิบัติงานตามภารกิจของ ส านักงานสหกรณ์จังหวัดลพบุรี ในปีงบประมาณ พ.ศ.2562 ชื่อสหกรณ์ : สหกรณ์การเกษตรบ่อทอง – หนองม่วง จ ากัด ประเภทของสหกรณ์ : สหกรณ์ภาคการเกษตร ผลงาน/ความส าเร็จของสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร สหกรณ์การเกษตรบ่อทอง-หนองม่วง จ ากัด เลขทะเบียนที่ ก ๐๐๘๕๓ จดทะเบียน เมื่อวันที่ ๒ มิถุนายน ๒๕๓๕ เป็นสหกรณ์ที่ได้ระดับมาตรฐานดีมาก มีสมาชิก 125 คน มีการด าเนินธุรกิจ ๓ ด้าน ได้แก่ ธุรกิจสินเชื่อ มีสมาชิกร่วมท าธุรกิจ 85 ราย 105 สัญญา เป็นจ านวนเงิน 4,748,692 บาท ธุรกิจรับฝากเงิน มีสมาชิกร่วมท าธุรกิจ 57 ราย 61 บัญชี เป็นจ านวนเงิน 496,925.62 บาท และธุรกิจ จัดหาสินค้ามาจ าหน่าย มีสมาชิกร่วมท าธุรกิจที่เป็นลูกหนี้การค้า 29 ราย เป็นจ านวนเงิน 789,726 บาท ในการด าเนินธุรกิจสมาชิกมีส่วนร่วมทั้งหมด 85 คนหรือคิดเป็นร้อยละ 68 คณะกรรมการด าเนินการ มีความเข้าใจในบทบาทหน้าที่และมีการประชุมทุกเดือน ไม่มีข้อบกพร่องทางการเงินและการบัญชี ความเพียงพอของเงินทุน สหกรณ์มีทุนด าเนินงานทั้งสิ้น จ านวน 5,547,366.58 บาท ลดลงจากปีก่อน จ านวน 185,320.70 บาท ทุนด าเนินงานดังกล่าวมาจากแหล่งเงินทุนภายใน ร้อยละ 72.57 ประกอบด้วยทุนสหกรณ์ จ านวน 2,895,976.33 บาท หรือร้อยละ 52.20 เงินรับฝากจากสมาชิกจ านวน 496,925.62 บาท หรือร้อยละ 8.96 และหนี้สินอื่น จ านวน 632,846.50 บาท หรือร้อยละ 11.41 ส่วนที่เหลืออีก ร้อยละ 27.43 มาจากแหล่งเงินทุน ภายนอก ได้แก่เงินกู้ยืม จ านวน 1,519,178.08 บาท หรือร้อยละ 27.39 และหนี้สินอื่น จ านวน 2,440.05 บาท หรือร้อยละ 0.04 หากพิจารณาถึงความเข้มแข็งและความเพียงพอของเงินทุนต่อ ความเสี่ยง พบว่าเจ้าหนี้ไม่มีความเสี่ยง เนื่องจากสหกรณ์มีสัดส่วนหนี้สินทั้งสิ้นต่อทุน 0.92 เท่า ทุนของสหกรณ์ยังสามารถคุ้มครองหนี้สินได้ ปัจจัยแห่งความส าเร็จ สหกรณ์: ได้แก่ สหกรณ์การเกษตรบ่อทอง – หนองม่วง จ ากัด ได้เข้าร่วมประชุม คณะกรรมการด าเนินการ การประชุมกลุ่มสมาชิก การประชุมใหญ่สามัญประจ าปีของสหกรณ์ เพื่อร่วม ขับเคลื่อนสหกรณ์การเกษตรบ่อทอง – หนองม่วงจ ากัดให้เป็นสหกรณ์การเกษตรระดับอ าเภอ สหกรณ์ได้เข้าร่วมโครงการพัฒนาศักยภาพสหกรณ์การเกษตรระดับอ าเภอ ร่วมกับ ส านักงานสหกรณ์จังหวัดลพบุรี ในการจัดท าแผนพัฒนาความเข้มแข็งและแผนการเนินธุรกิจ ในการขับเคลื่อน ให้เป็นสหกรณ์การเกษตรระดับอ าเภอ และสหกรณ์มีการด าเนินงานตามแผนงานที่ก าหนด
๗๖ รำยงำนผลกำรด ำเนินกำรประจ ำปี ๒๕๕๓ ซื่อตรงต่อหน้ำที่ มีวินัย โปร่งใส ไร้ทุจริต ภาพประกอบ การประชุมใหญ่สามัญประจ าปี ของสหกรณ์การเกษตรบ่อทอง-หนองม่วง จ ากัด ส านักงานสหกรณ์จังหวัดลพบุรีน าโดย นายวรสรร แก่นจันทร์ เจ้าพนักงานส่งเสริมสหกรณ์อาวุโส พร้อมด้วย นางสาวกชพร เกิดโมลี นักวิชาการสหกรณ์ปฏิบัติการ ได้เข้าร่วมประชุมใหญ่สามัญประจ าปี ของสหกรณ์ เพื่อเข้าร่วมวางแผนงานและนโยบายและแผนงานด าเนินธุรกิจของสหกรณ์ ณ ที่ท าการสหกรณ์ อ.หนองม่วง จ.ลพบุรี ภาพประกอบ โครงการน าลูกหลานเกษตรกรกลับบ้าน สานต่ออาชีพการเกษตร ส านักงานสหกรณ์จังหวัดลพบุรีโดย นายวรสรร แก่นจันทร์ เจ้าพนักงานส่งเสริมสหกรณ์อาวุโส พร้อมด้วยเจ้าหน้าที่ของส านักงานสหกรณ์จังหวัดลพบุรี ได้เข้าร่วมแนะน า ส่งเสริม และลงพื้นที่ ตามโครงการน าลูกหลานเกษตรกรกลับบ้านสานต่ออาชีพการเกษตร ณ สหกรณ์การเกษตรบ่อทอง หนองม่วง จ ากัด อ.หนองม่วง จ.ลพบุรี
ส ำนักงำนสหกรณ์จังหวัดลพบุรี http://web.cpd.go.th/lopburi ๗๗ ซื่อตรงต่อหน้ำที่ มีวินัย โปร่งใส ไร้ทุจริต ภาพประกอบ การประชุมคณะกรรมการประจ าเดือน ส านักงานสหกรณ์จังหวัดลพบุรีน าโดย นายวรสรร แก่นจันทร์ เจ้าพนักงานส่งเสริมสหกรณ์อาวุโส พร้อมด้วยเจ้าหน้าที่กลุ่มส่งเสริมสหกรณ์ 2 ได้เข้าร่วมประชุมคณะกรรมการประจ าเดือน เพื่อเข้าร่วมวางแผน งานตามนโยบายกรมส่งเสริมสหกรณ์และแผนงานด าเนินธุรกิจของสหกรณ์ณ อ.หนองม่วง จ.ลพบุรี ภาพประกอบ การประชุมกลุ่มสมาชิกสหกรณ์ ส านักงานสหกรณ์จังหวัดลพบุรีน าโดย นายวรสรร แก่นจันทร์ เจ้าพนักงานส่งเสริมสหกรณ์อาวุโส พร้อมด้วยเจ้าหน้าที่กลุ่มส่งเสริมสหกรณ์ 2 ได้เข้าร่วมประชุมกลุ่มสมาชิกสหกรณ์ เพื่อให้ค าแนะน า ส่งเสริมสหกรณ์การส่งเสริมอาชีพแก่สมาชิกสหกรณ์ ณ อ.หนองม่วง จ.ลพบุรี
๗๘ รำยงำนผลกำรด ำเนินกำรประจ ำปี ๒๕๕๓ ซื่อตรงต่อหน้ำที่ มีวินัย โปร่งใส ไร้ทุจริต ภาพประกอบ การตรวจสอบและป้องกันการเกิดข้อสังเกต/ข้อบกพร่อง ส านักงานสหกรณ์จังหวัดลพบุรีน าโดย นายวรสรร แก่นจันทร์ เจ้าพนักงานส่งเสริมสหกรณ์อาวุโส พร้อมด้วย นางสาวกชพร เกิดโมลี นักวิชาการสหกรณ์ปฏิบัติการ และเจ้าหน้าที่กลุ่มตรวจการสหกรณ์ ของส านักงานสหกรณ์จังหวัดลพบุรี ได้เข้าร่วมตรวจสอบและป้องกันการเกิดข้อสังเกต/ข้อบกพร่อง ของสหกรณ์ อ.หนองม่วง จ.ลพบุรี กลุ่มเกษตรกร: ได้แก่ กลุ่มเกษตรกรท าไร่บ่อทอง เลขทะเบียนที่ ลบ ๒๐/๒๕๑๙ จดทะเบียนเมื่อวันที่ ๒๙ เมษายน ๒๕๑๙ ปัจจุบันมีสมาชิก ๓3 คน เป็นกลุ่มเกษตรกรได้มาตรฐาน มีการด าเนินธุรกิจ 1 ด้าน คือ ธุรกิจสินเชื่อ 753,000.00 บาท สมาชิกมีส่วนร่วมในการด าเนินธุรกิจ 23 ราย หรือคิดเป็นร้อยละ70 ไม่มีข้อบกพร่องทางการเงินและการบัญชี คณะกรรมการด าเนินงาน มีความเข้าใจในบทบาทหน้าที่และมีการปรึกษาหารือกันเป็นประจ า กลุ่มมีการกู้เงินจากแหล่ง ภายนอก คือเงินกู้กองทุนสงเคราะห์เกษตรกร 368,000.00 บาท มีการเข้าร่วมประชุมใหญ่ และ ประชุมกลุ่มสมาชิกสม่ าเสมอ คณะกรรมการด าเนินการมีการติดตามเร่งรัดหนี้และสามารถส่งช าระหนี้ เงินกู้กองทุนสงเคราะห์เกษตรกรได้ตามสัญญา ภาพประกอบ การร่วมประชุมใหญ่สามัญประจ าปีของกลุ่มเกษตรกร ส านักงานสหกรณ์จังหวัดลพบุรีน าโดย นายวรสรร แก่นจันทร์ เจ้าพนักงานส่งเสริมสหกรณ์อาวุโส พร้อมเจ้าหน้าที่ส่งเสริมสหกรณ์ ได้เข้าร่วมประชุมใหญ่สามัญประจ าปีของกลุ่มเกษตรกรท าไร่บ่อทอง อ.หนองม่วง จ.ลพบุรีเพื่อเข้าร่วมวางแผนงานและนโยบายและแผนงานด าเนินธุรกิจของกลุ่มเกษตรกร
ส ำนักงำนสหกรณ์จังหวัดลพบุรี http://web.cpd.go.th/lopburi ๗๙ ซื่อตรงต่อหน้ำที่ มีวินัย โปร่งใส ไร้ทุจริต ภาพประกอบ การเข้าแนะน า ส่งเสริม การจัดท าบัญชีเบื องต้น และเอกสารที่เกี่ยวข้อง ส านักงานสหกรณ์จังหวัดลพบุรี โดย นายวรสรร แก่นจันทร์ เจ้าพนักงานส่งเสริม สหกรณ์อาวุโส พร้อมด้วยเจ้าหน้าที่กลุ่มส่งเสริมสหกรณ์ 2 ของส านักงานสหกรณ์จังหวัดลพบุรี ได้แนะน า ส่งเสริม การจัดท าบัญชีเบื้องต้น ทะเบียนคุม และเอกสารที่เกี่ยวข้องให้แก่คณะกรรมการ ด าเนินการของกลุ่มเกษตรกรท าไร่บ่อทอง เพื่อให้กลุ่มเกษตรกรท าไร่บอทองมีระบบบัญชีงบการเงิน และเอกสารหลักฐานต่าง ๆ ถูกต้องตามหลักการบัญชีและตรวจสอบได้ ภาพประกอบ การเข้าร่วมประชุมคณะกรรมการ กลุ่มเกษตรกรท าไร่บ่อทอง ส านักงานสหกรณ์จังหวัดลพบุรีน าโดย นายวรสรร แก่นจันทร์ เจ้าพนักงานส่งเสริมสหกรณ์อาวุโส พร้อมด้วย นางสาวกชพร เกิดโมลี นักวิชาการสหกรณ์ปฏิบัติการ ได้เข้าร่วมประชุมคณะกรรมการ กลุ่มเกษตรกรท าไร่บ่อทอง เพื่อให้ค าแนะน าส่งเสริมสหกรณ์การส่งเสริมอาชีพแก่สมาชิก และ ให้ค าแนะน างานตามภารกิจของกรมส่งเสริมสหกรณ์ ณ อ.หนองม่วง จ.ลพบุรี
๘๐ รำยงำนผลกำรด ำเนินกำรประจ ำปี ๒๕๕๓ ซื่อตรงต่อหน้ำที่ มีวินัย โปร่งใส ไร้ทุจริต ประกอบด้วย สหกรณ์ 4 แห่ง สมาชิก 4,473 คน กลุ่มเกษตรกร 7 แห่ง สมาชิก 528 คน ผลการเข้าแนะน า ส่งเสริมสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร อ าเภอท่าวุ้ง ดูแลส่งเสริมสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร จ านวน 11 แห่ง แบ่งเป็นสหกรณ์ 4 แห่ง กลุ่มเกษตรกร 7 แห่ง มีผลการเข้าแนะน า ส่งเสริม ดังนี้ ด้านการด าเนินงาน ปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 ได้แนะน าส่งเสริมสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรในด้านการบริหารธุรกิจ ให้ทุกธุรกิจมีผลการด าเนินงานให้มีก าไร และควบคุมค่าใช้จ่ายในแต่ละธุรกิจให้สอดคล้องกับธุรกิจนั้น ๆ ได้แนะน าให้สหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรท าธุรกิจสินเชื่อโดยความรอบครอบ พิจารณาวินัยทางการเงิน ของสมาชิกและความสามารถของการช าระหนี้เป็นหลัก ควบคุมการท าธุรกิจสินเชื่อให้เป็นไปตามระเบียบ และให้มีการติดตามเร่งรัดหนี้ก่อนถึงก าหนดช าระหนี้ของสมาชิกอย่างต่อเนื่อง ป้องกันไม่ให้มีหนี้ค้างช าระ ควบคุมค่าใช้จ่ายงบประมาณให้รัดกุม ใช้จ่ายเท่าที่มีความจ าเป็นและควบคุมค่าใช้จ่ายให้อยู่ภายใต้ วงเงินตามแผนที่ประชุมใหญ่สามัญประจ าปีอนุมัติไว้ ขับเคลื่อนแผนงานที่ได้วางแผนไว้ คือ ขับเคลื่อนกิจกรรม 1 สหกรณ์ 1 อ าเภอ คือ สหกรณ์การเกษตรท่าวุ้ง จ ากัด ส่งเสริม แนะน าสหกรณ์ในการรักษาระดับมาตรฐานสหกรณ์ทั้ง 4 แห่ง คือ สหกรณ์การเกษตร ท่าวุ้ง จ ากัด และ สหกรณ์การเกษตรท่าโขลง จ ากัด สหกรณ์ผู้ผลิตข้าวเพื่อสุขภาพจังหวัดลพบุรี จ ากัด และสหกรณ์เดินรถยนต์ขนาดเล็กลพบุรี จ ากัด ขับเคลื่อนแผนงานในการติดตามเร่งรัดหนี้ค้างช าระสมาชิกสหกรณ์ จ านวน 1 สหกรณ์ คือ สหกรณ์การเกษตรท่าโขลง จ ากัด ขับเคลื่อนกิจกรรมในการเพิ่มปริมาณธุรกิจ และเพิ่มการมีส่วนร่วมในการท าธุรกิจของสมาชิก ใน 4 สหกรณ์ และ 7 กลุ่มเกษตรกร มีผลการด าเนินงาน ดังนี้ สหกรณ์ มีก าไรสุทธิ จ านวน 3 แห่ง สหกรณ์ ขาดทุนสุทธิ จ านวน 1 แห่ง กลุ่มเกษตรกร มีก าไรสุทธิ จ านวน 7 แห่ง สหกรณ์ที่มีผลการด าเนินงานมีก าไร จ านวน 3 แห่ง คือ สหกรณ์การเกษตรท่าโขลง จ ากัด สหกรณ์ผู้ผลิตข้าวเพื่อสุขภาพจังหวัดลพบุรี จ ากัด และสหกรณ์เดินรถยนต์ขนาดเล็กลพบุรี จ ากัด ผลการด าเนินงานขาดทุน 1 แห่ง คือ สหกรณ์การเกษตรท่าวุ้ง จ ากัด ขาดทุนเนื่องจากการส ารองหนี้สงสัย จะสูญ และรายได้ของสหกรณ์ลดลงเมื่อเทียบกับปีแล้ว ในส่วนกลุ่มเกษตรกร มีผลการด าเนินงานก าไร 6 แห่ง คือ กลุ่มเกษตรกรท านาเขาสมอคอน กลุ่มเกษตรกรท านามุจลินท์ กลุ่มเกษตรกรท านาลาดสาลี่ กลุ่มเกษตรกร ท านาโพตลาดแก้ว กลุ่มเกษตรกรท าสวนเขาสมอคอน กลุ่มเกษตรกรท าสวนบางคู้ และกลุ่มเกษตร ท าสวนต าบลหัวส าโรง อ าเภอท่าวุ้ง
ส ำนักงำนสหกรณ์จังหวัดลพบุรี http://web.cpd.go.th/lopburi ๘๑ ซื่อตรงต่อหน้ำที่ มีวินัย โปร่งใส ไร้ทุจริต ด้านการบริหารธุรกิจ ปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖3 ได้แนะน าส่งเสริมสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรในด้านการบริหารธุรกิจ ในด้านต่าง ๆ ควบคุมค่าใช้จ่าย และเพิ่มปริมาณธุรกิจตามสภาวการณ์ของแต่ละแห่ง วางแผนการหาเงินทุน มาให้บริการสมาชิกส่งเสริมการด าเนินธุรกิจให้สหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร มีปริมาณธุรกิจเพิ่มขึ้น ดังนี้ สหกรณ์ มีปริมาณธุรกิจเพิ่มขึ้น จ านวน 2 แห่ง กลุ่มเกษตรกร มีปริมาณธุรกิจเพิ่มขึ้น จ านวน 4 แห่ง สาเหตุที่สหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรมีปริมาณธุรกิจลดลงเนื่องจาก สภาวการณ์ในฤดูการ ผลิตที่ผ่านมา การท าการเกษตรไม่มีน้ าเกิดภัยแล้ง พื้นที่ที่อยู่ในเขตชลประทานมีการจ ากัดการปล่อย น้ าท าการเกษตร ท าให้ส่งช าระหนี้ไม่ได้ ขอผ่อนช าระการส่งช าระหนี้ ไม่สามารถขอกู้เงินเพิ่ม และมี การใช้ปุ๋ยน้อยลง จึงส่งผลกระทบท าให้ปริมาณธุรกิจของสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรลดลง ด้านการบริหารเงินทุน ปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖3 ได้แนะน าส่งเสริมสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร สหกรณ์และ กลุ่มเกษตรกรในอ าเภอท่าวุ้ง โดยด้านเงินทุนมีทั้งใช้ทุนภายในและภายนอก ซึ่งภายนอกจะกู้ จากธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณ์การเกษตร ธนาคารไทยพาณิชย์ต่าง ๆ ในส่วนกลุ่มเกษตรกร ได้มีการพึ่งพาเงินทุนจากแหล่งภายนอกคือเงินกองทุนสงเคราะห์เกษตรกร จ านวน 1 แห่ง คือ กลุ่มเกษตรกรท านามุจลินท์ สหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร มีปริมาณธุรกิจเพิ่มขึ้น ดังนี้ สหกรณ์ มีทุนภายในเพิ่มขึ้น จ านวน 3 แห่ง กลุ่มเกษตรกร มีทุนภายในเพิ่มขึ้น จ านวน 7 แห่ง ด้านข้อบกพร่องที่ตรวจพบ ปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖3 ไม่พบข้อบกพร่องของสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร มีเพียงการติดตาม ข้อสังเกตของผู้สอบบัญชีเท่านั้น และได้ด าเนินการแก้ไขตามที่ผู้สอบบัญชีให้ข้อสังเกตไว้ ด้านปิดบัญชีภายใน ๓๐ วัน นับแต่วันสิ้นปีทางบัญชี ปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖3 ได้แนะน าส่งเสริมสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรจัดท ารายการทางบัญชีและ บันทึกบัญชีให้ถูกต้องตามหลักบัญชีและเรียบร้อยเป็นปัจจุบันตามระเบียบนายทะเบียนสหกรณ์ว่า ด้วยการบัญชีสหกรณ์ พ.ศ. 2542 โดยเคร่งครัด โดยเมื่อสิ้นปีของสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร จัดท า งบดุล งบก าไรขาดทุนและงบประกอบต่าง ๆ รวมทั้งรายละเอียดประกอบงบการเงินตามแบบที่ กรมตรวจบัญชีสหกรณ์ก าหนด พร้อมทั้งตรวจนับทรัพย์สิน สินค้าคงเหลือ วัสดุคงเหลือ ณ วันสิ้นปี ให้เรียบร้อยพร้อมที่จะรับบริการตรวจสอบบัญชีภายใน 30 วันนับแต่วันสิ้นปีทางบัญชี โดยสหกรณ์ และกลุ่มเกษตรกรสามารถปิดบัญชีได้ภายใน 30 วัน สหกรณ์จ านวน 4 แห่ง กลุ่มเกษตรกร จ านวน 7 แห่ง ด้านมาตรฐานสหกรณ์ ปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖3 ได้แนะน าส่งเสริมสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรด าเนินงาน โดยยึดหลักเกณฑ์มาตรฐานของสหกรณ์ 7 ข้อ เกณฑ์มาตรฐานกลุ่มเกษตรกร 5 ข้อ เป็นแนวทาง ในการด าเนินงาน ผลการจัดชั้นมาตรฐาน ดังนี้ สหกรณ์: ผ่านเกณฑ์มาตรฐาน จ านวน 4 แห่ง ไม่ผ่านมาตรฐาน จ านวน - แห่ง
๘๒ รำยงำนผลกำรด ำเนินกำรประจ ำปี ๒๕๕๓ ซื่อตรงต่อหน้ำที่ มีวินัย โปร่งใส ไร้ทุจริต กลุ่มเกษตรกร: ผ่านเกณฑ์มาตรฐาน จ านวน 7 แห่ง ไม่ผ่านมาตรฐาน จ านวน - แห่ง ด้านระเบียบข้อบังคับ ปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖3 ได้แนะน าส่งเสริมสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรในการจัดท าระเบียบ และข้อบังคับให้สอดคล้องกับการปฏิบัติงานในภาวการณ์ปัจจุบัน และเพื่อให้ง่ายในการถือปฏิบัติงาน โดยน าเสนอรายละเอียดการขอแก้ไขผ่านที่ประชุมคณะกรรมการด าเนินการพิจารณา และน าเสนอที่ ประชุมใหญ่สามัญประจ าปีของสหกรณ์อนุมัติ และจ าส่งเรื่องแจ้งให้นายทะเบียนสหกรณ์ภายใน 30 วันนับแต่วันประชุมใหญ่สามัญประจ าปี ปัญหา/อุปสรรคในการด าเนินงานของสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร จากการเข้าแนะน าส่งเสริม อ าเภอท่าวุ้ง ดูแลสหกรณ์การเกษตร ๓ แห่ง สหกรณ์บริการ ๑ แห่ง กลุ่มเกษตรกร ๗ แห่ง แยกเป็น ท านา ๔ แห่ง ท าสวน ๓ แห่ง โดยแยกออกเป็นแต่ละด้าน ดังนี้ 1. ด้านบุคลากร ประกอบด้วย ฝ่ายบริหาร คณะกรรมการยังขาดความรู้ในการบริหารจัดการธุรกิจ และขาดความรู้ ความเข้าใจในเรื่องอุดมการณ์และวิธีการสหกรณ์ ขาดความรู้ความเข้าใจในการบริหารงาน ซึ่งต้อง บริการงานภายใต้ระเบียบ ข้อบังคับ พระราชบัญญัติสหกรณ์ ค าแนะน าของนายทะเบียนสหกรณ์ และกฎหมายอื่นที่เกี่ยวข้องกับการด าเนินธุรกิจของสหกรณ์ และมีการปล่อยสินเชื่อให้กับสมาชิก โดยอาศัยความคุ้นเคยมากกว่าที่จะดูศักยภาพในการส่งช าระหนี้ ฝ่ายจัดการ สหกรณ์มีการจัดจ้างเจ้าหน้าที่ จ านวน 2 แห่ง คือ สหกรณ์การเกษตร ท่าวุ้ง จ ากัด และสหกรณ์การเกษตรท่าโขลง จ ากัด มีการก าหนดระเบียบ ว่าด้วย ข้อบังคับเกี่ยวกับ การท างานของเจ้าหน้าที่ มีการจัดท าสัญญาจ้าง และเรียกหลักประกันการท างานครบถ้วน ถูกต้อง ส่วนสหกรณ์ผู้ผลิตข้าวเพื่อสุขภาพจังหวัดลพบุรีจ ากัด และสหกรณ์เดินรถยนต์ขนาดเล็กลพบุรี จ ากัด ไม่มีการจัดจ้างเจ้าหน้าที่ มีการมอบหมายให้กรรมการด าเนินการเป็นผู้รับผิดชอบในการด าเนินการ ของสหกรณ์ และเก็บรักษาเงินสด ซึ่งมิได้เป็นบุคคลเดียวกัน ส่วนการจัดท าบัญชีสหกรณ์ได้มีการให้ สมาชิกเป็นผู้ท าบัญชีให้แก่สหกรณ์ โดยทางสหกรณ์จังหวัดเป็นผู้ดูแลในการจัดท าบัญชีขั้นสุดท้ายใน การออกงบทดลองและงบการเงินประจ าปีด้านกลุ่มเกษตรกรส่วนใหญ่ไม่มีเจ้าหน้าที่ คณะกรรมการ ด าเนินการท าหน้าที่ผู้จัดการ ซึ่งขาดความรู้ความเข้าใจการบันทึกรายการทางบัญชี ได้รับการ สนับสนุนพนักงานราชการจากส านักงานสหกรณ์จังหวัดลพบุรี ท าให้มีปัจจัยเสี่ยงในการควบคุม ภายใน และขาดประสิทธิภาพในการบริหารงาน สมาชิก สมาชิกสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรส่วนใหญ่มีหนี้ค้างนาน ไม่ยอมมาติดต่อกับสหกรณ์ สหกรณ์มีการติดตามเร่งรัดหนี้โดยตลอด แต่ไม่ได้รับความร่วมมือจากสมาชิกที่เป็นลูกหนี้ค้างนาน และสมาชิกมีความซ้ าซ้อนกับสถาบันการเงิน/กลุ่มอื่น ๆ ท าให้มีดอกเบี้ยค้างและค่าปรับค้างเพิ่มขึ้น ทุกปี ในการติดตามเร่งรัดหนี้ตามบ้านสมาชิกก็ติดต่อไม่ได้ ไม่เจอตัวสมาชิกที่เป็นหนี้ หลบหนี ท าให้ ไม่ทราบข้อมูลว่าจะมีการช าระหนี้ได้เมื่อใด ประกอบกับไม่สามารถวางแผนการควบคุมต้นทุนการผลิตได้ สมาชิกขายผลผลิตไม่ได้ราคา รายได้ไม่เพียงพอกับค่าใช้จ่าย ส่งผลให้สมาชิกบางส่วนไม่สามารถ ส่งช าระหนี้ต่อสหกรณ์ได้ทันตามก าหนดเวลา อีกทั้งยังขาดการมีส่วนร่วมกับสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร
ส ำนักงำนสหกรณ์จังหวัดลพบุรี http://web.cpd.go.th/lopburi ๘๓ ซื่อตรงต่อหน้ำที่ มีวินัย โปร่งใส ไร้ทุจริต 2. ด้านการบริหารจัดการ สหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรยังขาดการควบคุมภายในที่ดี ส่งเผลให้มีข้อสังเกตของผู้สอบัญชี และก็สามารถให้ค าแนะน าในการแก้ไขข้อสังเกตในทุกประเด็นเรียบร้อยแล้ว และได้ให้ค าแนะน าแนวทาง ป้องกันไม่ให้มีข้อสังเกตในปีต่อไป 3. ด้านการบริหารธุรกิจ สหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรขาดความเป็นมืออาชีพในการบริหารธุรกิจ ด าเนินธุรกิจหลายด้าน แต่ยังขาดความเชี่ยวชาญ มีการด าเนินธุรกิจสินเชื่อเป็นหลัก แต่ขาดการวางแผนในการติดตามเร่งรัดหนี้ สมาชิกอย่างเป็นระบบ ส่งผลให้สมาชิกมีหนี้ค้างนาน และค่าปรับค้างจ านวนมาก ธุรกิจจัดหาสินค้ามา จ าหน่ายไม่สามารถจัดหาสินค้าที่สมาชิกต้องการในราคายุติธรรมที่จะจูงใจสมาชิกให้มาใช้บริการได้ ท าให้มียอด จ าหน่ายต่ า ไม่คุ้มกับค่าใช้จ่ายเฉพาะธุรกิจในทุก ๆ ปี ข้อเสนอแนะ/แนวทางแก้ไขปัญหา 1. ด้านบุคลากร ควรมีการถ่ายทอดความรู้แก่คณะกรรมการ ฝ่ายจัดการ และสมาชิกอย่างสม่ าเสมอ ให้มีความรู้ความเข้าใจและตระหนักถึงความส าคัญในการมีส่วนร่วมทางธุรกิจของสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร 2. ด้านการบริหารจัดการ ควรด าเนินโดยยึดหลักการควบคุมภายในที่ดีทั้งด้านระบบการเงิน การบัญชี การปฏิบัติงาน และคณะกรรมการควรมีการตรวจสอบการปฏิบัติงานของฝ่ายจัดการอย่างต่อเนื่อง และเสนอแนะการแก้ไข วิธีการปฏิบัติในที่ประชุมประจ าเดือนทุกครั้ง 3. ด้านการบริหารธุรกิจ สหกรณ์และกลุ่มเกษตรต้องมีแผนงานในการจัดหามาตรการในการเร่งรัดหนี้ค้างนาน พร้อมทั้งติดตามเร่งรัดหนี้เพื่อส่งช าระหนี้ ให้คณะกรรมการจัดท าแผนในการติดตามข้อบกพร่อง ข้อทุจริต เพื่อเพิ่มสภาพคล่องทางการเงินให้กับสหกรณ์ จัดท าแผนเพิ่มปริมาณธุรกิจให้รอบการหมุน ของเงินให้มากขึ้นเพื่อให้บริการสมาชิกมากขึ้นให้เพียงพอกับค่าใช้จ่ายที่เพิ่มขึ้นด้วย และสหกรณ์ต้อง มีการวางระบบการควบคุมภายในที่สามารถตรวจสอบได้ และมีความโปร่งใส เพื่อป้องกันปัญหาและ มีระบบการแก้ไขปัญหาเฉพาะหน้าที่อันอาจเกิดขึ้นตลอดเวลา สหกรณ์ควรมีแผนงานที่ชัดเจน ในการบริหารเงินไม่ว่าจะเป็นธุรกิจสินเชื่อ ธุรกิจจัดหาสินค้ามาจ าหน่าย เพื่อให้สอดคล้องกับ ความต้องการของสมาชิก อีกทั้งสหกรณ์ต้องควบคุมค่าใช้จ่ายให้รัดกุม เพิ่มปริมาณธุรกิจให้เพียงพอ กับค่าใช้จ่ายเพื่อให้ผลประกอบการมีก าไร และให้สหกรณ์ปฏิบัติงานภายใต้ระเบียบ ข้อบังคับ และ กฎกติกาของส่วนรวม ไม่มีการแยกอภิสิทธิ์คณะกรรมการกับสมาชิกทั่วไป \ สหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรที่สะท้อนผลส าเร็จของการปฏิบัติงานตามภารกิจของ ส านักงานสหกรณ์จังหวัดลพบุรี ในปีงบประมาณ พ.ศ.2563 ชื่อสหกรณ์ : สหกรณ์การเกษตรท่าวุ้ง จ ากัด ประเภทของสหกรณ์ : สหกรณ์ภาคการเกษตร
๘๔ รำยงำนผลกำรด ำเนินกำรประจ ำปี ๒๕๕๓ ซื่อตรงต่อหน้ำที่ มีวินัย โปร่งใส ไร้ทุจริต ผลงาน/ความส าเร็จของสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร สหกรณ์การเกษตรท่าวุ้ง จ ากัด จดทะเบียนเมื่อวันที่ 1 กันยายน 2513 มีสมาชิก 1,859 ราย มีการด าเนินธุรกิจ ได้แก่ ธุรกิจสินเชื่อ ธุรกิจรับฝากเงิน ธุรกิจจัดหาสินค้ามาจ าหน่าย ธุรกิจรวบรวมผลผลิตการเกษตรธุรกิจแปรรูป โดยธุรกิจหลักของสหกรณ์ คือ ธุรกิจจัดหาสินค้ามา จ าหน่ายจ านวน 83,537,252.30 บาท ในการด าเนินธุรกิจสมาชิกของสหกรณ์มีส่วนร่วมร้อยละ 60 ในปีนี้สหกรณ์มีผลการด าเนินงานขาดทุน เนื่องจากการที่สหกรณ์ท าโครงการปรับปรุงโครงสร้าง หนี้เพื่อช่วยเหลือสมาชิกที่ได้รับผลกระทบจากการเกิดโรคโควิด-19 ผู้สอบบัญชีจึงตั้งค่าเผื่อหนี้สงสัย จะสูญในส่วนของโครงการนี้ คณะกรรมการด าเนินการมีความเข้าใจในบทบาทหน้าที่และมีการ ประชุมทุกเดือน ไม่มีข้อบกพร่องทางการเงินและการบัญชีสหกรณ์การเกษตรท่าวุ้ง จ ากัด เป็น สหกรณ์ที่มีความโดดเด่นในด้านการด าเนินธุรกิจที่ครบวงจร สามารถให้บริการสมาชิกและบุคคลภายนอก สถานที่ตั้งของสหกรณ์อยู่ระหว่างถนนลพบุรี-สิงห์บุรี นอกเหนือจากธุรกิจสินเชื่อ ธุรกิจเงินฝาก ธุรกิจจัดหา สินค้ามาจ าหน่าย และธุรกิจรวบรวมผลผลิตการเกษตรธุรกิจแปรรูปแล้วสหกรณ์ยังได้จัดท าโครงการส่งเสริม อาชีพให้แก่สมาชิกได้แก่ การเลี้ยงโคขุน ซึ่งท าให้สหกรณ์มีปริมาณธุรกิจเพิ่มขึ้น และสมาชิกก็มีรายได้เสริม เพิ่มรายได้ให้แก่ครอบครัว ปัจจัยแห่งความส าเร็จ สหกรณ์: ได้แก่ ได้แก่สหกรณ์การเกษตรท่าวุ้ง จ ากัดได้เข้าร่วมโครงการพัฒนา ศักยภาพสหกรณ์การเกษตรระดับอ าเภอ ร่วมกับส านักงานสหกรณ์จังหวัดลพบุรี ในปีที่ผ่านมาและสหกรณ์มี การด าเนินงานไปตามแผนโครงการพัฒนาความเข้มแข็งและการด าเนินธุรกิจ ในการขับเคลื่อนให้เป็นสหกรณ์ การเกษตรระดับอ าเภอ สหกรณ์มีการประชุมคณะกรรมการเป็นประจ าทุกเดือน และประชุมกลุ่มเป็นประจ าท าให้ สหกรณ์ได้รับฟังความคิดเห็นของสมาชิก เพื่อน ามาปรับปรุงการให้บริการเพื่อให้สมาชิกเข้ามาท าธุรกิจกับสหกรณ์ และได้เข้าร่วมประชุมคณะกรรมการด าเนินการการประชุมกลุ่มสมาชิก การประชุมใหญ่สามัญประจ าปีของ สหกรณ์เพื่อร่วมขับเคลื่อนสหกรณ์การเกษตรท่าวุ้ง จ ากัด ให้เป็นสหกรณ์การเกษตรหลักระดับอ าเภอ ภาพประกอบ การประชุมใหญ่สามัญประจ าปีของสหกรณ์ ส านักงานสหกรณ์จังหวัดลพบุรีน าโดย นางอภันตรี เดชสิริ ผู้อ านวยการส่งเสริมและพัฒนา การบริหารการจัดการสหกรณ์ และนายวรสรรแก่นจันทร์เจ้าพนักงานส่งเสริมสหกรณ์อาวุโส พร้อมเจ้าหน้าที่ ส านักงานสหกรณ์จังหวัดลพบุรี เข้าร่วมประชุมใหญ่สามัญประจ าปี สิ้นสุดบัญชี 30 มิถุนายน 2563
ส ำนักงำนสหกรณ์จังหวัดลพบุรี http://web.cpd.go.th/lopburi ๘๕ ซื่อตรงต่อหน้ำที่ มีวินัย โปร่งใส ไร้ทุจริต ภาพประกอบ การอบรมคณะกรรมการโดยศูนย์ถ่ายทอดเทคโนโลยีการสหกรณ์ที่ 2 ส านักงานสหกรณ์จังหวัดลพบุรี น าโดย นายมาโนชวรรณบุตรผู้อ านวยการ กลุ่มส่งเสริมสหกรณ์ 2 และและเจ้าหน้าที่ จากศูนย์ถ่ายทอดเทคโนโลยีการสหกรณ์ที่ 2 พร้อมเจ้าหน้ าที่ส านักงานสหกรณ์ จังห วั ด ลพ บุ รี เข้ าร่ วม ก ารอบ รม คณ ะกรรมการสหกรณ์ การเกษต ร ท่าวุ้งจ ากัด วันที่ 31 กรกฎาคม 2563 ณ ห้ องป ระชุมส านั กงาน สห ก รณ์ การเกษตรท่าวุ้ง จ ากัด ภาพประกอบ การร่วมมือของสหกรณ์ในการป้องกันโควิด-19 ส านักงานสหกรณ์จังหวัดลพบุรีน าโดย นายทศพร ผลบุตร สหกรณ์จังหวัดลพบุรี พร้อมเจ้าหน้าที่ส านักงานสหกรณ์จังหวัดลพบุรี และคณะกรรมการจากสหกรณ์การเกษตรท่าวุ้ง จ ากัด เข้าร่วมการพ่นยาฆ่าเชื้อเพื่อป้องกันโควิด-19 ณ ที่ท าการสหกรณ์ และหมู่บ้านในต าบลบางลี่
๘๖ รำยงำนผลกำรด ำเนินกำรประจ ำปี ๒๕๕๓ ซื่อตรงต่อหน้ำที่ มีวินัย โปร่งใส ไร้ทุจริต ภาพประกอบ เข้าร่วมงานโครงการคลินิกเกษตรเคลื่อนที่ในพระราชานุเคราะห์ ร่วมกับโครงการจังหวัดเคลื่อนที่หน่วยบ าบัดทุกข์บ ารุงสุข สร้างรอยยิ มให้ประชาชน ส านักงานสหกรณ์จังหวัดลพบุรีน าโดย นายมาโนชวรรณบุตรผู้อ านวยการกลุ่มส่งเสริมสหกรณ์ 2 พร้อมเจ้าหน้าที่ส านักงานสหกรณ์จังหวัดลพบุรี เข้าร่วมงานโครงการคลินิกเกษตรเคลื่อนที่ ในพระราชานุเคราะห์ฯ ร่วมกับโครงการจังหวัดเคลื่อนที่หน่วยบ าบัดทุกข์บ ารุงสุขสร้างรอยยิ้ม ให้ประชาชน ณ องค์การบริหารส่วนต าบลโคกส าโรงอ าเภอท่าวุ้ง เมื่อวันที่ 27 สิงหาคม 2563 ภาพประกอบ เข้าร่วมการอบรม โครงการระบบส่งเสริมการเกษตรแบบแปลงใหญ่ ส านักงานสหกรณ์จังหวัดลพบุรีน าโดย นายมาโนชวรรณบุตรผู้อ านวยการกลุ่มส่งเสริมสหกรณ์ 2 พร้อมเจ้าหน้าที่ส านักงานสหกรณ์จังหวัดลพบุรี เข้าร่วมการอบรมโครงการระบบส่งเสริมการเกษตร แบบแปลงใหญ่ ณ ที่ท าการกลุ่มแปลงใหญ่ เมื่อวันที่ 11 มิถุนายน 2563 เพื่อให้การอบรมเกษตรกรมี การรวมกลุ่มและบริหารจัดการร่วมกัน ให้เกิดการรวมกันผลิตและรวมกันจ าหน่ายโดยมีการตลาด รองรับที่แน่นอน สามารถลดต้นทุนการผลิตและมีผลผลิตต่อหน่วยเพิ่มขึ้น
ส ำนักงำนสหกรณ์จังหวัดลพบุรี http://web.cpd.go.th/lopburi ๘๗ ซื่อตรงต่อหน้ำที่ มีวินัย โปร่งใส ไร้ทุจริต กลุ่มเกษตรกร: ได้แก่กลุ่มเกษตรกรท านาลาดสาลี่ เลขทะเบียนที่ ลบ ๒/๒0 จดทะเบียน เมื่อวันที่ ๙ สิงหาคม ๒๕๑๙ ปัจจุบันมีสมาชิก 46 คน เป็นกลุ่มเกษตรกรได้มาตรฐานกลุ่มเกษตรกร มีการด าเนิน ธุรกิจ ๒ ด้าน ได้แก่ ธุรกิจสินเชื่อ จ านวน 1,340,000 บาท และธุรกิจรับฝากเงินจากสมาชิก จ านวน 15,484.33 บาท ในการด าเนินธุรกิจสมาชิกมีส่วนร่วมร้อยละ 82 และมีก าไรจากธุรกิจ จ านวน 62,548.03 บาท โดยสามารถบริหารงานให้มีผลการด าเนินงานก าไรเพิ่มขึ้น ในการด าเนินธุรกิจ สมาชิกมีส่วนร่วมอย่างมาก มีการเข้าร่วมประชุมใหญ่ทุกครั้ง คณะกรรมการ ด าเนินการมีการติดตาม เร่งรัดหนี้และสามารถส่งช าระหนี้ได้ตามสัญญา ภาพประกอบ การประชุมใหญ่สามัญประจ าปี ของกลุ่มเกษตรกรท านาลาดสาลี่ ส านักงานสหกรณ์จังหวัดลพบุรีน าโดย นายมาโนช วรรณบุตร ผู้อ านวยการกลุ่มส่งเสริมสหกรณ์ 2 พร้อมเจ้าหน้าที่ส านักงานสหกรณ์จังหวัดลพบุรี ร่วมประชุมใหญ่สามัญประจ าปี เพื่อให้ค าแนะน าส่งเสริม ให้กลุ่มเกษตรกร และแนะน าชี้แจงงานตามนโยบายของกรมส่งเสริมสหกรณ์ ณ ที่ท าการ กลุ่มเกษตรกรท านาลาดสาลี่
๘๘ รำยงำนผลกำรด ำเนินกำรประจ ำปี ๒๕๕๓ ซื่อตรงต่อหน้ำที่ มีวินัย โปร่งใส ไร้ทุจริต ประกอบด้วย สหกรณ์ 2 แห่ง สมาชิก 3,442 คน กลุ่มเกษตรกร 14 แห่ง สมาชิก 1,856 คน ผลการเข้าแนะน า ส่งเสริม และแก้ไขปัญหาสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร อ าเภอโคกส าโรง แนะน า ส่งเสริม ก ากับดูแลสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร จ านวน 16 แห่ง แบ่งเป็น สหกรณ์ 2 แห่ง กลุ่มเกษตรกร 14 แห่ง มีผลการเข้าแนะน า ส่งเสริม ดังนี้ ด้านการด าเนินงาน โดยแยกออกเป็น สหกรณ์: ในปีงบประมาณ พ.ศ.2563 ได้แนะน าส่งเสริมให้สหกรณ์ด าเนินงานให้เป็นไปตาม กฎหมาย ข้อบังคับ ระเบียบของสหกรณ์และกฎหมายอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้องในที่ประชุมคณะกรรมการ ด าเนินการของสหกรณ์เป็นประจ าทุกเดือน ประกอบด้วย สหกรณ์การเกษตรโคกส าโรง จ ากัด และ สหกรณ์เดินรถโคกส าโรง จ ากัด แนะน า ส่งเสริมการด าเนินธุรกิจเพื่อเป็นการบริการสมาชิกตาม ความต้องการ เช่น การให้บริการด้านธุรกิจสินเชื่อ ธุรกิจจัดหาสินค้ามาจ าหน่ายและธุรกิจด้านการรับ ฝากเงิน ร่วมประชุมกลุ่มสมาชิกสหกรณ์การเกษตรโคกส าโรง จ ากัด เป็นไปตามแผนงานตามตัวชี้วัด ในการปฏิบัติงานในปีที่ผ่านมา โดยมีกลุ่มสมาชิกทั้งสิ้น 78 กลุ่ม ได้ร่วมประชุมกับสหกรณ์ให้ความรู้ ด้านการสหกรณ์ สิทธิและหน้าที่ ตลอดจนการส่งเสริมการมีส่วนร่วมของสมาชิกสหกรณ์ในที่ประชุมกลุ่ม รวม 60 กลุ่มในพื้นที่แดนด าเนินงานของสหกรณ์ประกอบด้วย อ าเภอโคกส าโรง อ าเภอหนองม่วง อ าเภอโคกเจริญ และอ าเภอสระโบสถ์ ส่วนสหกรณ์เดินรถโคกส าโรง จ ากัด ซึ่งเป็นสหกรณ์ขนาดเล็ก มีผลการด าเนินงานที่ไม่เป็นผลดีเท่าที่ควร เนื่องจากสาเหตุจากหลาย ๆ ประการ เช่น การขาดรายได้ ของสมาชิกเนื่องจากเหตุการณ์ สถานการณ์โรคโควิด 2019 การวิ่งทับเส้นทางของสถาน ประกอบการเอกชน เป็นต้น ท าให้สหกรณ์มีรายได้น้อย สมาชิกไม่สามารถช าระค่าบริการเดินรถ ได้ตามก าหนด แนะน าส่งเสริมสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรในด้านการบริหารธุรกิจให้ทุกธุรกิจมีผล การด าเนินงานให้มีก าไรและควบคุมค่าใช้จ่ายในแต่ละธุรกิจให้สอดคล้องกับธุรกิจนั้น ๆ แนะน าให้สหกรณ์ และกลุ่มเกษตรกรท าธุรกิจสินเชื่อโดยความรอบครอบ พิจารณาวินัยทางการเงินของสมาชิกและ ความสามารถของการช าระหนี้เป็นหลัก ควบคุมการท าธุรกิจสินเชื่อให้เป็นไปตามระเบียบและระบบ ตลอดจนให้มีการติดตามเร่งรัดหนี้ก่อนถึงก าหนดช าระหนี้ของสมาชิกอย่างต่อเนื่อง ป้องกันไม่ให้มี หนี้ค้างช าระเหมือนรอบหลาย ๆ ปีที่ผ่านมาควบคุมค่าใช้จ่ายงบประมาณให้เป็นไปตามแผนงานประจ าปี ให้สอดคล้องกับแผนงาน งานตามนโยบายกรมส่งเสริมสหกรณ์ โครงการขับเคลื่อนสหกรณ์เป็นองค์กรหลักระดับอ าเภอ 1 สหกรณ์ 1 อ าเภอ โดยคัดเลือก สหกรณ์การเกษตรโคกส าโรง จ ากัด เป็นสหกรณ์ที่ร่วมโครงการ โดยได้สรุปแผนการด าเนินงานรวม 2 แผน ประกอบด้วย แผนการพัฒนาธุรกิจสหกรณ์และแผนการพัฒนาศักยภาพองค์กร กิจกรรมตามแผนงาน ในการพัฒนาธุรกิจของสหกรณ์ที่ได้ด าเนินการขับเคลื่อนไปแล้ว ได้แก่ การรับปรึกษาปัญหาหนี้ของ สมาชิกสหกรณ์ตามโครงการ “คลินิกสหกรณ์” ให้มีการแต่งตั้งเจ้าหน้าที่ติดตามเร่งรัดหนี้สิน หรือ อ าเภอโคกส าโรง
ส ำนักงำนสหกรณ์จังหวัดลพบุรี http://web.cpd.go.th/lopburi ๘๙ ซื่อตรงต่อหน้ำที่ มีวินัย โปร่งใส ไร้ทุจริต เรียกภาษาชาวบ้านว่า “หมอสหกรณ์”เพื่อปฏิบัติงานในพื้นที่ในการติดตามหนี้ค้างนานจากสมาชิกสหกรณ์ ตามเขตพื้นที่ต่าง ๆ ในแดนด าเนินงานของสหกรณ์ เมื่อด าเนินงานตามโครงการแล้ว ผลการด าเนินงาน ด้านธุรกิจสินเชื่อ ณ วันที่ 30 พฤศจิกายน 2563 ต้นเงินกู้ค้างคงเหลือ 95,305,212.14 บาท ดอกเบี้ยค้างคงเหลือ 47,112,676.59 บาท ค่าปรับค้างคงเหลือ 7,054,658.11 บาท การขับเคลื่อนงานในการเพิ่มปริมาณธุรกิจสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรในอ าเภอโคกส าโรงและ ส่งเสริมการมีส่วนร่วมของสมาชิก มีผลการด าเนินงานโดยสรุป ได้ดังนี้ สหกรณ์การเกษตรโคกส าโรง จ ากัด ก าไรสุทธิ จ านวน 12,127,897.87 บาท สหกรณ์เดินรถโคกส าโรง จ ากัด ขาดทุนสุทธิ จ านวน 48,714.58 บาท กลุ่มเกษตรกรท านาโคกส าโรง ก าไรสุทธิ จ านวน 14,750.26 บาท กลุ่มเกษตรกรท านาต าบลเกาะแก้ว ก าไรสุทธิ จ านวน 3,893.02 บาท กลุ่มเกษตรกรท านาดงมะรุม ก าไรสุทธิ จ านวน 7,573.49 บาท กลุ่มเกษตรกรท านาต าบลถลุงเหล็ก ก าไรสุทธิ จ านวน 3,535.81 บาท กลุ่มเกษตรกรท านาต าบลวังขอนขว้าง ขาดทุนสุทธิ จ านวน 126,296.40 บาท กลุ่มเกษตรกรท านาต าบลสะแกราบ ก าไรสุทธิ จ านวน 1,375.98 บาท กลุ่มเกษตรกรท านาต าบลหลุมข้าว ก าไรสุทธิ จ านวน 65,366.68 บาท กลุ่มเกษตรกรท าไร่ต าบลวังเพลิง ก าไรสุทธิ จ านวน 8,764.11 บาท กลุ่มเกษตรกรท าไร่ต าบลเกาะแก้ว ก าไรสุทธิ จ านวน 33,193.88 บาท กลุ่มเกษตรกรท าไร่ต าบลวังจั่น ก าไรสุทธิ จ านวน 21,001.58 บาท กลุ่มเกษตรกรท าไร่ต าบลสะแกราบ ก าไรสุทธิ จ านวน 21,963.20 บาท กลุ่มเกษตรกรท าไร่หนองแขม ขาดทุนสุทธิ จ านวน 16,339.78 บาท สหกรณ์ที่มีผลประกอบการมีก าไร จ านวน 1 แห่ง คือ สหกรณ์การเกษตรโคกส าโรง จ ากัด สหกรณ์ที่ด าเนินงานขาดทุน 1 แห่ง คือ สหกรณ์เดินรถโคกส าโรง จ ากัด สาเหตุเนื่องจากมีรายได้