The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search

การตรวจราชการเพื่อขับเคลื่อนงานกรมที่ดิน 4.0 (ปี 2563)

สำนักงานตรวจราชการ

Keywords: ด้านทั่วไป

การตรวจราชการ

เพื่อการขบั เคลอื่ นงานกรมที่ดนิ ๔.๐

กลมุ่ ตรวจราชการ

สำนกั งานตรวจราชการ

คำนำ

สำนักงานตรวจราชการได้จัดทำองค์ความรู้เพ่ือการส่งเสริม สนับสนุนการปฏิบัติงานตาม
ภารกิจการตรวจราชการมาอย่างต่อเน่ือง และในปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๓ เพื่อให้เป็นไปตามวัตถุประสงค์
ของนโยบายกรมที่ดิน ๔.๐ และแผนยุทธศาสตร์การจัดการความรู้ของกรมที่ดินจึงได้จัดทำคู่มือ
การตรวจราชการเพ่ือการขับเคล่ือนงานกรมที่ดิน ๔.๐ ข้ึน เพ่ือให้บุคลากรกรมที่ดิน ได้ตระหนักถึง
บทบาทในบริบทของงานสนับสนุนการตรวจราชการที่สามารถสร้างคุณค่า เรียนรู้และพัฒนาตนเอง
รวมท้ังนำความเปลยี่ นแปลง ให้เกิดการพฒั นานวตั กรรมใหม่ในการทำงาน รวมถงึ ไดเ้ ขา้ ใจในนโยบาย
และองค์ประกอบของระบบราชการ ๔.๐ แนวทางในการปฏิบัติเพื่อพัฒนาตนเอง ทีมงานและต่อยอด
ไปเป็นการพัฒนานวัตกรรมระดับองค์กรตามเจตนารมณ์ของนโยบายกรมที่ดิน ๔.๐ อย่างมีคุณภาพและ
ประสทิ ธภิ าพ ตอ่ ไป

กลุ่มตรวจราชการ
สำนักงานตรวจราชการ

กรมท่ีดนิ
กันยายน ๒๕๖๓



การตรวจราชการเพ่ือการขบั เคลอ่ื นงานกรมทดี่ นิ ๔.๐

๑. หลกั การและเหตผุ ล

การตรวจราชการเป็นเคร่ืองมือสำคัญเพ่ือให้การขับเคลื่อนการปฏิบัติงานของหน่วยงาน
บังเกิดผลสำเร็จ รวมทั้งสามารถสะท้อนผลการปฏิบัติงานในภาพรวมว่ามีความเชื่อมโยงและ
สอดคล้องกันมากน้อยเพียงใดเป็นไปตามนโยบายของหน่วยงานและรัฐบาลหรือไม่ ตลอดจนได้รับรู้
รับทราบปัญหาอุปสรรคท่ีเกิดขึ้นจากการปฏิบัติงานในพ้ืนที่และการให้ข้อเสนอแนะในการแก้ไข
ปัญหาและเพิ่มประสิทธิภาพในการดำเนินงาน ซึ่งปัจจุบันรัฐบาลได้ให้ความสำคัญต่อการพัฒนาพ้ืนท่ี
ในระดับภาค และเน้นการดำเนินงานในลักษณะบูรณาการเชิงยุทธศาสตร์ ซึ่งจะครอบคลุมทงั้ งาน Agenda
งาน Area Based และงาน Function Base ส่งผลให้หน่วยงานต้องปรับทิศทางและแผนงานโครงการ
ให้สอดรับกับการขับเคล่ือนในเร่ืองของการพัฒนาพื้นท่ีระดับภาคตามภารกิจของแต่ละกรม กระทรวง
รวมท้ังบุคลากรด้านการตรวจราชการก็จะต้องพัฒนา/ปรับเปลี่ยนกระบวนการทำงานให้สอดคล้อง
กับนโยบายรัฐบาล และการปฏิรูปการบริหารราชการแผ่นดินในทุกด้าน ดังนั้นเพื่อให้การตรวจราชการ
เป็นกลไกสำคัญในการขับเคล่ือนการพัฒนาประเทศ และเป็นการเตรยี มความพร้อมด้านการพัฒนา
บุคลากรที่จะเป็นผู้สนับสนุนการขับเคลื่อนภารกจิ การตรวจราชการ สำนักงานตรวจราชการไดต้ ระหนักถงึ
ความสำคัญของการทำหน้าท่ีผู้ช่วยผู้ตรวจราชการจึงได้จัดทำองค์ความรู้ที่จำเป็นในการพัฒนาการ
ทำงานของผู้ช่วยผู้ตรวจราชการให้เป็นมืออาชีพมากขึ้น เพ่ือพัฒนาขีดสมรรถนะในเชิงการวิเคราะห์การคิด
เชิงระบบ การคิดเชิงสร้างสรรค์ รวมท้ังเสริมสร้างความรู้ในเชิงการบริหารจัดการเพื่อให้มีความพร้อม
ในการขับเคลื่อนการปฏิบัติงาน โดยยึดหลักธรรมาภิบาลของการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี
และเสริมสร้างระบบการตรวจราชการให้มีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น ประกอบกับปัจจุบันได้มีการพัฒนา
กรมท่ีดิน ได้ยกระดับการพัฒนาและการบริการให้เป็นกรมทด่ี ิน ๔.๐ โดยได้คำนึงถึงความเหมาะสม ความคุ้มค่า
และประโยชน์ของประชาชนผู้รับบริการ และได้มีการขับเคล่ือนนโยบายดังกล่าวอย่างเป็นรูปธรรม
พร้อมๆ กับปรับปรุง/ปรับตัวและริเริ่มสร้างสรรค์ คิดค้นนวัตกรรมต่างๆ ที่อยู่ในอำนาจหน้าที่ให้รองรับ
กับการเปล่ียนแปลงสู่กรมที่ดิน ๔.๐ ในขณะเดียวกันได้เน้นความเช่ือมโยงกับภาคส่วนโดยยึด
ประชาชนเป็นศูนย์กลาง และได้มุ่งเน้นให้บุคลากรในสังกัดปรับเปล่ียนแนวคิดและวิธีการปฏบิ ัติงาน
เพ่ือปรบั รูปแบบของการทำงานให้เป็นทนี่ ่าเชื่อถอื ไวว้ างใจ และเป็นทพี่ ง่ึ ของประชาชนได้อยา่ งแทจ้ ริง

องค์ความรู้ (KM)เร่ือง “การตรวจราชการเพ่ือการขับเคล่ือนงานกรมที่ดิน ๔.๐” เล่มน้ี จึงเป็นแหล่งข้อมูล
ที่ได้รวบรวมแนวนโยบายประเทศไทย ๔.๐ ของรัฐบาล แนวทางกับการปฏิบัติงานภายใต้ประเทศไทย ๔.๐
ของกรมท่ีดินและสำนักงานที่ดินจังหวัด สาขาและส่วนแยก เพื่อนำมาเป็นแนวทางการพัฒนาระบบ
การตรวจราชการของสำนักผู้ตรวจราชการกรมที่ดินและสำนักงานตรวจราชการให้เป็นองค์กร ๔.๐ และ
สามารถตอบสนองต่อนโยบายของรัฐบาล ยุทธศาสตร์ชาติ ๒๐ ปี กระทรวงมหาดไทยและกรมท่ีดินตลอดจน
สามารถยกระดับระบบการตรวจราชการ อันจะส่งผลต่อการกำกับ ดูแลการบริหารจัดการและการบริการ
ของสำนักงานที่ดินท่ัวประเทศซึ่งเป็นหน่วยรับการตรวจสู่การบริการประชาชนที่สะดวก ถูกต้อง
รวดเร็ว โปร่งใสและเป็นธรรม และทันต่อเหตุการณ์ท่ีจะเกิดข้ึนในยุคประเทศไทย ๔.๐ และท่ีสำคัญ
คอื การตรวจราชการของผู้ตรวจราชการจะสามารถนำนโยบายต่างๆของรัฐบาล กระทรวงมหาดไทย



และกรมที่ดินไปสู่การปฏิบัติได้อย่างรวดเร็วและมีประสิทธิภาพย่ิงขึ้น จึงคาดหวังว่าองค์ความรู้นี้จะส่งเสริม
ให้บุคลากรมีความรู้ เก่ียวกับระบบราชการ ๔.๐ และงาน ๔.๐ ของกรมที่ดินเพ่ือเตรียมความพร้อมในการ
ร่วมตรวจและติดตามประเมินผล พร้อมกับสนับสนุนอำนวยการข้อมูลให้กบั ผู้ตรวจราชการกรมอย่างถูกต้อง
แม่นยำอยา่ งมีเหตุและผลตอ่ ไป

๒.วัตถุประสงค์
๑) เพื่อให้บุคลากรสำนักงานตรวจราชการได้ตระหนักถึงบทบาทในบริบทของงานสนับสนุน

การตรวจราชการของผู้ตรวจราชการกรมท่ีดิน ที่สามารถสร้างคุณค่า เรียนรู้และพัฒนาตนเอง
รวมทง้ั นำความเปล่ียนแปลง ใหเ้ กิดการพฒั นานวัตกรรมใหม่ในการทำงาน

๒) เพื่อสร้างความเข้าใจและพัฒนาต้นแบบกระบวนการทำงานใหม่ๆ ให้ทนั กับยุคสมัยและ
การเปลี่ยนแปลงรวมถึงเข้าใจในนโยบายและองค์ประกอบของระบบราชการ ๔.๐ แนวทางในการปฏิบัติ
เพ่ือพัฒนาตนเอง ทีมงาน และต่อยอดไปเป็นการพฒั นานวัตกรรมระดับองค์กรตามเจตนารมณ์ของ
นโยบายกรมท่ีดนิ ๔.๐

๓) เพื่อเสริมสร้างและพัฒนาการเรียนรู้ในเชิงทฤษฎีและนำไปแนะนำ ถ่ายทอด ขยายผล
แก่หน่วยรบั การตรวจได้อย่างมีประสทิ ธภิ าพ

๔) เพื่อให้ได้คู่มือการปฏิบัติงานที่ชัดเจนและมีรูปแบบแนวทางอย่างเป็นลายลักษณ์อักษร
ที่แสดงถงึ รายละเอยี ด ขัน้ ตอน การปฏิบัตงิ านของกิจกรรมตามโครงการ ๔.๐ ของหน่วยงาน

๕) เพื่อถ่ายทอดให้กับผู้เข้ามาปฏิบัติงานใหม่ พัฒนาการทำงานให้เป็นมืออาชีพ และสร้างความรู้
ความเข้าใจใหต้ รงกันเกดิ ผลงานทไ่ี ดม้ าตรฐานบรรลุตามเปา้ หมาย

ขัน้ ตอน/กิจกรรมการตรวจราชการราชการตามแผนงาน/โครงการกรมท่ีดนิ ๔.๐
ขั้นตอน/กระบวนที่สําคัญตั้งแต่การศึกษาวิเคราะห์แผนงาน/โครงการต่างๆ ตามนโยบาย ๔.๐
ของกรมท่ีดิน กระทรวงมหาดไทยและรัฐบาล หรือท่ีเป็นปัญหาสําคัญรวมถึงมีนัยสําคัญต่อนโยบาย
หรือความเส่ียงสูง พร้อมท้ังดําเนินการคัดเลือกแผนงาน/โครงการท่ีจะตรวจติดตามเพ่ือบรรจุไว้
ในแผนการตรวจราชการ โดยอาจมีการวิเคราะห์ความเส่ียงตามหลักธรรมาภิบาล และคัดเลือก
แผนงาน/โครงการผลักดันแผนงาน/โครงการ ๔.๐ กําหนดเป็นเป้าหมาย ตัวช้ีวัด รวมทั้งจัดทําปฏิทิน
การตรวจราชการประจาํ ปี ดังน้ี

รอบ วิธีการตรวจ ระยะเวลา (ชว่ งระหวา่ งเดือน)
ที่
ต.ค พ.ย ธ.ค. ม.ค ก.พ ม.ี ค เม. พ.ค มิ.ย ก.ค ส.ค ก.ย

.. . . . ย. . . . . .

๑ นำนโยบายทสี่ ำคญั

ระเบียบ คำสงั่ ข้อสงั่

การตา่ งๆ ไปชแ้ี จงให้

หน่วยรับการตรวจทราบ

เพือ่ ถือปฏิบตั ิ (Project



รอบ วธิ ีการตรวจ ระยะเวลา (ชว่ งระหว่างเดือน)
ท่ี
ต.ค พ.ย ธ.ค. ม.ค ก.พ มี.ค เม. พ.ค ม.ิ ย ก.ค ส.ค ก.ย

.. . . . ย. . . . . .

Review) รับฟังการ

บรรยายสรุปแผนงาน/

โครงการจากหน่วยรับ

การตรวจเพื่อรับทราบ

สถานการณ์ ปัญหาของ

การดำเนนิ งานตาม

แผนงาน / โครงการใน

พน้ื ท่ีและตรวจสอบ

ทานรวมทง้ั วิเคราะห์

ปจั จัยเส่ียงทมี่ ี

ผลกระทบต่อการ

ดำเนินงานและการ

ปอ้ งกันความเสยี่ งโดย

อธิบายเหตผุ ลประกอบ

เพ่อื เป็นการตรวจ

ตดิ ตามพสิ จู นส์ อบทาน

ความเสยี่ งทเ่ี ป็นสาเหตุ

ของปจั จยั ที่มีผลกระทบ

ตอ่ การดำเนนิ งานและ

ให้ขอ้ เสนอแนะในการ

ดำเนนิ งาน

๒ ตรวจตดิ ตาม
ความก้าวหนา้ ของ
หน่วยรบั การตรวจ
(Progress Review) ใน
เรอ่ื งการนำขอ้ เสนอแนะ
ไปสู่การปฏิบัตจิ ริง
ประเมินความเสี่ยงเพม่ิ
(ถ้ามี) ตดิ ตามผลการ
ดำเนินงานตาม
แผนงาน/โครงการ



รอบ วิธีการตรวจ ระยะเวลา (ช่วงระหว่างเดือน)
ท่ี
ต.ค พ.ย ธ.ค. ม.ค ก.พ มี.ค เม. พ.ค ม.ิ ย ก.ค ส.ค ก.ย

.. . . . ย. . . . . .

วิเคราะหป์ ัจจยั ที่ทำ

ให้ผลงานสำเรจ็ หรอื ไม่

สำเร็จสรุปเหตุผล

หลักฐานสนบั สนุน โดย

พจิ ารณาจากเกณฑ์

คณุ ภาพการบริหาร

จดั การภาครัฐและให้

ขอ้ เสนอแนะแนว

ทางแก้ไขเพ่ือเพ่ิมขีด

สมรรถนะในการทำงาน

๓ เปน็ การตรวจเพอ่ื
ประเมินผลความสำเรจ็
(Monitoring and
Evaluation) สรุป
ผลสมั ฤทธ์ติ ามตัวช้ีวดั
ในแผนการตรวจ
ราชการ และแนวทาง
การดำเนนิ งาน
ตลอดจนประเมนิ ผล
การปฏิบตั งิ านของ
สำนักงานทีด่ ิน ท้ัง
กระบวนการและ
ผลลัพธ์

การใหข้ ้อเสนอแนะในการตรวจราชการ
๑) ข้อเสนอแนะระดับพื้นที่ในกรณีปัญหาท่ีตรวจพบและสามารถแก้ไขได้ในพ้ืนท่ีผู้ตรวจราชการกรม

ที่เกีย่ วข้องกบั ปญั หานั้นเสนอแนะใหแ้ ก่หน่วยรับตรวจเพอ่ื แก้ปัญหาได้ทนั ท่วงที
๒) ข้อเสนอแนะระดับนโยบายในกรณีปัญหาท่ีคณะผู้ตรวจราชการมีความเห็นว่าจำเป็นต้องแก้ไข

ระดับนโยบายจะถูกนำไปพิจารณาถึงสาเหตุของปัญหาและแนวทางการแก้ไขปัญหาท่ีเหมาะสมเพ่ือ
เสนอผู้บริหารระดับสูงพิจารณา และ/หรือผ่านกลไกของการประชุมประจำเดือนของคณะผู้ตรวจ
ราชการกรมร่วมให้ความเหน็ และสรุปนำเรยี นทป่ี ระชุมผบู้ ริหารกรมทดี่ ินประจำเดือน
ขน้ั ตอนดำเนนิ การของคณะผตู้ รวจราชการกรม



ก่อนออกตรวจราชการ ทำความเข้าใจเกี่ยวกับประเดน็ การตรวจราชการที่รับผิดชอบรวบรวม สรุป

วิเคราะห์ข้อมูลท่ีเก่ียวข้องเพื่อเตรียมการตรวจราชการในรอบต่างๆ ท่ีกำหนดตลอดจนประสาน และ

ยืนยันวัน เวลา ในการตรวจราชการของแต่ละพื้นท่ีและในแต่ละรอบการตรวจกับเจ้าหน้าที่ ที่

เกยี่ วข้องในสำนักงานที่ดนิ

ระหว่างการตรวจราชการร่วมทีมในการตรวจราชการตามกำหนดการวิเคราะห์กระบวนการทำงาน
ของสำนกั งานทีด่ ินเป้าหมายในการนำนโยบายไปสู่การปฏิบัติในพ้ืนที่และตรวจติดตามประเด็นปญั หา
อปุ สรรคและให้ขอ้ เสนอแนะ

หลังการตรวจราชการประมวลสรุปผลการวิเคราะห์จากข้อมลู ข้อสังเกตและข้อเท็จจริงท่ีพบ
ในพื้นที่เพ่ือสรุปประเด็นการตรวจราชการจัดทำบันทึกการตรวจราชการลงในสมุดตรวจราชการ
ข้อเสนอแนะที่สำคัญตอ่ หน่วยรับการตรวจและสรุปผลการตรวจราชการข้อเสนอแนะเชิงนโยบายต่อ
ผบู้ รหิ ารส่วนกลาง

ขนั้ ตอนการดำเนนิ การของหน่วยรบั การตรวจ

ก่อนรับการตรวจราชการ เตรียมข้อมูลการดำเนินงานตามแผนการตรวจราชการและ
แผนการแก้ไขปัญหาในพื้นที่ประสานและยืนยันวันเวลาในการรับการตรวจราชการกับเจ้าหน้าท่ีท่ีเก่ียวข้อง
หัวหนา้ กล่มุ /ฝา่ ยในสำนกั งานทด่ี นิ เพื่อเตรียมความพร้อมรับการตรวจราชการ

ระหว่างการตรวจราชการ รับการตรวจราชการของทีมตรวจราชการและอำนวยความสะดวก
แก่ทีมตรวจราชการในด้านข้อมูลและเอกสารอ้างอิงนำเสนอข้อมูลและตอบข้อซักถามของทีมตรวจ
ราชการในประเด็นที่ทีมตรวจราชการมีข้อสงสัยโดยมีกรอบแนวทางการนำเสนอข้อมูลในการตรวจ
ราชการรับฟัง รับทราบและร่วมอภิปรายสรุปผลการตรวจราชการและการให้ข้อเสนอแนะ
ของผูต้ รวจราชการเมอื่ เสร็จส้นิ การตรวจเพ่ือรบั ไปดำเนนิ การต่อไปในพน้ื ที่

หลังการตรวจราชการ หน่วยรับการตรวจดำเนินการตามที่ผู้ตรวจราชการกรมบันทึกไว้ใน
สมุดตรวจราชการและสรุปผลดำเนินการของหน่วยรับการตรวจ เสนอต่อผู้บังคับบัญชาและ
รีบรายงานผลดำเนินการทงั้ หมดใหผ้ ้ตู รวจราชการกรมทราบ

ตัวอย่างแผนงาน/โครงการตามแผนการตรวจราชการประจำปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๓
ท่ีขบั เคล่อื น และสนองตอบต่อการบรรลเุ ป้าหมายนโยบายกรมท่ดี ิน ๔.๐ ดังนี้

 ยทุ ธศาสตรท์ ่ี ๑ พฒั นาระบบการจัดการทด่ี ินของรัฐให้มีประสิทธิภาพเกดิ ประโยชนส์ งู สดุ
๑. โครงการรงั วัดออกและตรวจสอบหนังสอื สำคัญสำหรับท่หี ลวง (น.ส.ล.)

ยุทธศาสตรท์ ี่ ๒ พฒั นาระบบการออกเอกสารสิทธิให้เปน็ มาตรฐานเดียวกนั ทว่ั ประเทศ
๒. โครงการเดินสำรวจออกโฉนดทีด่ ินเพ่ือเสรมิ สร้างความมั่นคงในพ้นื ท่ี ๓ จังหวดั
ชายแดนภาคใต้
๓. โครงการเดนิ สำรวจรงั วดั รูปแปลงโฉนดทีด่ ินและเดินสำรวจออกโฉนดทดี่ ิน



ดว้ ยระบบ RTK GNSS Network ให้ครอบคลมุ ท่วั ประเทศ

ยทุ ธศาสตรท์ ี่ ๓ พัฒนาระบบขอ้ มลู ท่ีดินและแผนทแี่ ห่งชาติ ที่มีศักยภาพรองรับ
การพฒั นาประเทศและรองรบั การบรกิ ารในระดบั สากล

๔. โครงการเพ่ิมประสทิ ธภิ าพการรังวดั ทดี่ นิ ดว้ ยระบบดาวเทยี ม

ยทุ ธศาสตร์ที่ ๔ พัฒนาระบบการบรกิ ารประชาชนด้วยระบบออนไลน์ท่วั ประเทศ
มมี าตรฐานสากล ดว้ ยบคุ ลากรท่ีมีขีดความสามารถสงู

๕. แผนงานทะเบียนและรังวัดทด่ี ินทีใ่ ห้บริการแก่ประชาชน
๖. โครงการพฒั นาระบบสารสนเทศท่ดี นิ ระยะที่ ๒
๗. โครงการระบบสารสนเทศเพ่อื การจัดการเรื่องร้องเรยี นร้องทุกข์ (E-Contacts)

งาน/แผนงาน/โครงการทีเ่ ป็นจดุ เนน้ ของรฐั บาล กระทรวงมหาดไทย
ได้แก่การจัดที่ดินทำกินให้ชุมชนภายใต้นโยบายท่ีดินแห่งชาติ (คทช.)การพัฒนาการ

ใหบ้ รกิ ารประชาชนรองรบั ประเทศไทย ๔.๐ ฯลฯ

 งานนโยบายผู้บริหาร / งานตามหลักบริหารราชการ ๔.๐ และอ่ืนๆ ท่ีได้รับมอบหมาย
ได้แก่ งานตามแนวนโยบายอธิบดี Smart Land Changes การแก้ไขปัญหาความเดือดร้อนของ

ประชาชนการดำเนินการแก้ไขปัญหาข้อเรียกร้องของขบวนการประชาชนเพ่ือสังคม (P-Move)
การดำเนินงานตามเกณฑม์ าตรฐานการให้บริการของศนู ยร์ าชการสะดวก (GECC) ฯลฯ

พื้นทเี่ ป้าหมายการตรวจราชการ

กรมที่ดินได้กำหนดพ้ืนที่เขตตรวจราชการ เป็น ๑๘ เขตตรวจราชการ ครอบคลุม ๗๗ จังหวัด

ซึ่งสอดคล้องกับแนวทางการบริหารงานจังหวัดและกลุ่มจังหวัดแบบบูรณาการ รวมท้ังสอดคล้องกับแนวทาง

การกำหนดเขตตรวจราชการของสำนกั นายกรัฐมนตรแี ละกระทรวงมหาดไทย ประกอบดว้ ย

๑. สำนักงานท่ดี ินทว่ั ประเทศ รวม ๔๖๑ แหง่

๑.๑ สำนักงานที่ดินกรงุ เทพมหานคร / สาขา ๑๗ แห่ง

๑.๒ สำนักงานท่ีดนิ จงั หวดั / สาขา / สว่ นแยก ๔๔๔ แหง่

๒. พื้นท่เี ป้าหมายแผนงาน/โครงการ

๒.๑ โครงการรังวดั ออกและตรวจสอบหนังสือสำคญั สำหรับที่หลวง (น.ส.ล.)

จำนวน ๑๔ จังหวดั

๒.๒ โครงการเดินสำรวจออกโฉนดทดี่ ินเพื่อเสรมิ สร้างความมนั่ คงในพ้ืนท่ีจังหวดั

ชายแดนภาคใต้จำนวน ๓ จงั หวดั

๒.๓ โครงการเดนิ สำรวจออกโฉนดท่ีดนิ และรังวดั รูปแปลงโฉนดทดี่ นิ ใหเ้ ปน็ มาตรฐาน

เดียวกนั จำนวน ๔๖ จงั หวดั

๒.๔ โครงการพฒั นาระบบสารสนเทศที่ดนิ ระยะที่ ๒ จำนวน ๔๖๑ แห่ง



๒.๕ โครงการให้ความสำคญั ในการตรวจสอบการเช่ือมโยงฐานข้อมูลท่ดี ิน และการปรับปรงุ
แกไ้ ขฐานข้อมูลที่ดินดจิ ิทัลในระบบคอมพิวเตอรใ์ ห้มคี วามถูกต้องครบถว้ นและเป็น
ปัจจุบัน จำนวน ๔๖๑ แห่ง

๒.๖ โครงการสนบั สนนุ การใหบ้ รกิ ารทเ่ี ป็นแนวทางการเป็นศูนยร์ าชการสะดวก(GECC)
ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๔ จำนวน ๔๖๑ แห่ง

๒.๗ โครงการประกวดห้องน้ำสะอาดแหง่ ปี จำนวน ๔๖๑ แห่ง
๓. พ้ืนท่ีเป้าหมายตามแผนงาน/โครงการตามแผนการตรวจราชการแบบบูรณาการของ
ผู้ตรวจราชการกระทรวงมหาดไทยและสำนักนายกรัฐมนตรี
พ้ืนที่เป้าหมายตามนโยบายเร่งด่วนของผู้บริหารและภารกิจงานอ่ืนๆ ท่ีได้รับมอบหมาย
เช่น โครงการส่งช่างรังวัดเฉพาะกิจไปช่วยเร่งรัดงานรังวัดของสำนักงานท่ีดินการดำเนินการเร่งรัด
แก้ไขปัญหาคำขอออกโฉนดท่ีดินหรือหนังสือรับรองการทำประโยชน์จากหลักฐาน ส.ค. 1 ค้าง
ดำเนินการ ฯลฯ



สว่ นที่ ๒

ความรูเ้ ก่ียวกับไทยแลนด์ ๔.๐

เหตุผลความจำเป็นหรือสาเหตุสำคัญท่ีทำให้ต้องมุ่งเน้นเร่ืองการสร้างนวัตกรรมภาครัฐ
มาจากหลายปัจจัย กล่าวคือ

1. บริบทของโลกแห่งการเปล่ียนแปลง เช่น climate change, urbanization, aging society
เป็นต้น ทำให้เกิดความท้าทายจำเป็นต้องมีการตอบสนองอย่างรวดเร็วทันการณ์ ไม่ว่าจะเป็นการ
ปฏิวัติทางด้านดิจติ อลและเทคโนโลยีทที่ ำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงแบบฉับพลัน (disruptive change)
รวมถึงความก้าวหน้าของการสื่อสารสมยั ใหม่ (social media) ตา่ งทำใหภ้ าครฐั ต้องหนั มาปรบั ตวั และ
อาศัยเทคโนโลยีดังกล่าวน้ันเพ่ือตอบโจทย์และตอบสนองความคาดหวังของประชาชนท่ีมีต่อการให้บริการ
ของทางราชการที่จะต้องเป็นไปอย่างถูกต้อง รวดเร็ว ประหยัดค่าใช้จ่ายโดยไม่มีข้อจำกัดทางด้าน
สถานท่ีและเวลา

2. ข้อจำกัดเก่ียวกับขีดความสามารถของภาครัฐเองในการจัดการกับปัญหาและความเปล่ียนแปลง
ท่ีเกิดข้ึน โดยเฉพาะการทำงานข้ามกระทรวง กรม และภาคส่วนต่าง ๆ ซึ่งแตกต่างไปจากโครงสร้าง
การทำงานในแนวด่ิงตามสายการบังคับบัญชาแบบเดิม รวมท้ังการมีความคลอ่ งแคล่วว่องไว (agility)
และสามารถปรับตัว (adaptive) ในการทำงานร่วมกับภาคส่วนอ่ืน ๆ ในสังคมในลักษณะของการร่วมกันคิด
ออกแบบ (co-designer) และการรว่ มกนั เปน็ ผ้ผู ลติ สินค้าและบริการสาธารณะ (co-producer)

โดยสรุป ความเป็นผู้ประกอบการภาครัฐเป็นเรื่องของความพยายามในการปรับปรุงสภาพชีวิต
ความเป็นอยู่และการรับใช้ประชาชนด้วยการคิดค้นหาหนทางหรือวิธีการใหม่ ๆ ซ่ึงไม่ใช่เป็นเพียง
เรื่องของการสร้างนวัตกรรมหรือใช้ประโยชน์จากนวัตกรรมที่มีเท่าน้ัน แต่ยังเป็นเร่ืองของ
ความสามารถในการคิดค้น และสร้างบางส่ิงบางอย่างขึ้นมาจากสิ่งที่ไม่เคยมีอยู่มาก่อน โดยไม่ได้ติด



อยู่ในกรอบกับดักของทรพั ยากร (เงินทุนทรัพยากรมนุษย์และความสามารถพิเศษ) ที่มีอยู่อย่างจำกัด
หรอื ขอ้ จำกดั อนื่ ใด (กฎระเบียบ และสภาพทางกายภาพ) เปน็ ต้น

ระบบราชการ 4.0 ในการพลิกโฉม (transform) ภาครัฐหรือระบบราชการให้สอดคล้อง
กับยุทธศาสตร์ชาติและรองรับโมเดลการพัฒนาประเทศไทย 4.0 โดยยึดหลักธรรมาภิบาลของการ
บริหารกิจการบ้านเมืองที่ดีเพื่อประโยชน์สุขของประชาชน (Better governance, happier citizens)
อันจะทำให้ระบบราชการสามารถเป็นที่ไว้วางใจและเป็นท่ีพึ่งของประชาชนได้อย่างแท้จริงน้ัน
จำเป็นตอ้ งมีการปรบั เปลย่ี นแนวคดิ และวิธกี ารทำงานใหม่ กล่าวคือ

1. เปิดกว้าง และเชื่อมโยงกัน (Open & Connected Government) โดยต้องมีความเปิดเผย
โปร่งใสในการทำงาน บุคคลภายนอกสามารถเข้าถึงข้อมูลข่าวสารของทางราชการหรือมีการแบ่งปัน
ข้อมูลซ่ึงกันและกัน และสามารถเข้ามาตรวจสอบการทำงานได้ตลอดจนเปิดกว้างให้กลไกหรือ
ภาคส่วนอ่ืน ๆเช่น ภาคเอกชน ภาคประชาสังคม ได้เข้ามามีส่วนร่วม และโอนถ่ายภารกิจท่ีภาครัฐ
ไม่ควรดำเนินการเองออกไปให้แก่ภาคส่วนอ่นื ๆ เป็นผู้รับผิดชอบดำเนินการแทน โดยการจัดระเบียบ
ความสัมพันธใ์ นเชงิ โครงสร้างให้สอดรบั กับการทำงานในแนวระนาบ ในลักษณะของเครอื ข่ายมากกว่า
ตามสายการบังคบั บัญชาในแนวด่ิงขณะเดยี วกนั กย็ ังต้องเชื่อมโยงการทำงานภายในภาครฐั ดว้ ยกันเอง
ให้มีเอกภาพและสอดรับประสานกัน ไมว่ า่ จะเปน็ ราชการบริหารส่วนกลางสว่ นภูมิภาค และสว่ นทอ้ งถิน่

2. ยึดประชาชนเป็นศูนย์กลาง (Citizen-centric government) โดยต้องทำงานในเชิงรุก
และมองไปข้างหน้า ตั้งคำถามกับตนเองเสมอว่า ประชาชนจะได้อะไร มุ่งเน้นแก้ไขปัญหาความต้องการ
และตอบสนองความต้องการของประชาชน โดยไม่ต้องรอให้ประชาชนเข้ามาติดต่อขอรับบริการหรือ
รอ้ งขอความช่วยเหลือจากทางราชการ (proactive public services) รวมทั้งใช้ประโยชน์จากข้อมูล
ของทางราชการ (big government data) และระบบดิจิทัลสมัยใหม่ในการจัดบริการสาธารณะท่ีตรงกับ
ความต้องการของประชาชน (personalized หรือ tailored services) พร้อมท้ังอำนวยความสะดวก
โดยมีการเช่ือมโยงกันเองของทางราชการเพ่ือให้บริการต่าง ๆ สามารถเสร็จสิ้นในจุดเดียวประชาชนสามารถ
เรียกใช้บริการของทางราชการได้ตลอดเวลาตามความต้องการของตน และผ่านการติดต่อได้หลายช่องทาง
ผสมผสานกันไม่ว่าจะมาติดต่อด้วยตนเองอินเตอร์เน็ต เว็บไซต์โซเชียลมีเดีย หรือแอปพลิเคชั่นทาง
โทรศัพท์มอื ถือ

3. มีขดี สมรรถนะสงู และทันสมัย (Smart & high performance government) โดยตอ้ งทำงาน
อย่างเตรียมการณ์ไว้ลว่ งหน้า มีการวิเคราะหค์ วามเสยี่ งสร้างนวัตกรรมหรือความคิดริเริม่ และประยกุ ต์
องค์ความรู้ในแบบสหสาขาวิชาเข้ามาใช้ในการตอบโต้กับโลกแหง่ การเปลี่ยนแปลงอย่างฉับพลันเพื่อ
สรา้ งคุณค่า มคี วามยืดหยุ่นและความสามารถในการตอบสนองกับสถานการณ์ตา่ ง ๆ ได้อยา่ งทนั เวลา
ตลอดจนเป็นองค์การท่ีมีขีดสมรรถนะสูงและปรับตัวเข้าสู่สภาพความเป็นสำนักงานสมัยใหม่รวมท้ัง
ทำใหข้ ้าราชการมคี วามผูกพนั ต่อการปฏบิ ตั ริ าชการและปฏิบัตหิ น้าท่ีได้อย่างเหมาะสมกบั บทบาทของตน

๑๐

ยึดหลกั ธรรมาภิบาลเพื่อประโยชน์สขุ ของประชาชน
(Better Governance, Happier Citizens)

Collaboration ภาครฐั ทีÉเปิดกวา้ งและเชือÉ มโยง
กนั Open and
Connected
Government

Innovation

ภาครฐั ทีÉยดึ ประชาชนเป็น ภาครฐั ตอ้ งเป็นทีพÉ งÉึ ของ ภาครฐั ทีÉมีขีดสมรรถนะสงู และ
ศนู ยก์ ลาง Citizen-Centric ประชาชนและเชือÉ ถอื ทนั สมยั Smart and High
ไวว้ างใจได้ Credible & PerformanceGovern
Government
Trusted ment
Digitization Government

ตาราง สรุปเปรยี บเทียบระหว่างระบบราชการแบบเดมิ และระบบราชการแบบใหม่

เดิม ใหม่ (ระบบราชการ 4.0)
การทำงานแยกตามภารกิจของแต่ละหน่วยงานแม้ การทำงานรว่ มกนั แบบบรู ณาการอยา่ งแทจ้ รงิ
มกี ารทำงานประสานงานกนั ระหว่างหน่วยงานแต่ ในเชงิ ยทุ ธศาสตรต์ ้ังแต่ระดับการวางนโยบาย
ยังไมใ่ ชก่ ารบูรณาการอย่างแทจ้ ริง (Autonomy, ไปจนถึงการนำไปปฏิบตั ิ (Collaboration)
Separation)
การทำงานยังไม่อยูใ่ นรูปแบบอิเล็กทรอนกิ ส์อยา่ ง การทำงานมีความเชื่อมโยงผ่านระบบดจิ ิตอล
เตม็ รปู แบบและยังเป็นการทำงานตามสายการ อย่างเต็มรูปแบบ ตง้ั แต่ต้นจนจบกระบวนการ
บงั คับบญั ชาในแนวด่งิ (Fragmentation, เชือ่ มโยงทกุ ส่วนราชการในการบริการ
Hierarchy, Silo, Vertical approach) ประชาชนและมีการบงั คับบัญชาในแนวนอน
(End-to-end process flow, Cross-
ใหบ้ ริการเป็นมาตรฐานเดียวกนั อยา่ งตายตัวตาม boundary management,
สทิ ธพิ นื้ ฐานของบคุ คลทีร่ ฐั กำหนด Program/Project Management Office,
(Standardization) Horizontal approach)
ใหบ้ ริการตามความต้องการเฉพาะบุคคล ซึ่ง
สามารถออกแบบ/เลอื กรปู แบบ/วธิ ีการในการ
ขอรับบรกิ ารได้ (Customization,
Personalization)

๑๑

เดมิ ใหม่ (ระบบราชการ 4.0)
ระบบการทำงานในแบบอนาล็อค (Analog)
ระบบการทำงานท่ีปรบั เป็นดิจติ อลเต็มรปู แบบ
การดำเนินงานเชิงรบั ตามสถานการณ์ที่เกดิ ขึ้น (Digitization)
(Passive)
การดำเนนิ งานทต่ี อบสนองทนั ที/ทนั เวลา/เชิง
รกุ ทนั ต่อการเปล่ียนแปลง มีการคาดการณ์ไว้
ล่วงหนา้ (Pro-active)

ยึดกฎเกณฑ์ และมงุ่ เนน้ แต่การปฏบิ ตั งิ านตาม สรา้ งนวัตกรรม มีการควบคุมอย่างชาญฉลาด
เปา้ หมาย (Rule-based, Performance- มุง่ ผลสมั ฤทธ์ใิ นการปฏิบัติงาน (Innovation,
oriented) Smart regulation, Resultsoriented)

ปฏิบตั ิงานตามนโยบาย ขับเคลอ่ื นโดยภาครฐั เป็น ปฏบิ ตั งิ านโดยเนน้ ให้ประชาชนเปน็ ศนู ย์กลาง

ศูนยก์ ลาง (Government-driven) (Citizen-centric)

ระบบการทำงานทีล่ ่าช้า มตี ้นทนุ สูง (Red tape, สร้างคุณค่าในการใหบ้ ริการแก่ประชาชน ทำ
Costly) น้อยได้มาก (Creating value for the
public, Doing more and better with
less)

เปดิ เผยขอ้ มูลตามท่ีร้องขอเฉพาะราย/เปิดเผย เปดิ เผยข้อมลู เป็นปกติ (default) ในรูปแบบท่ี
ข้อมูลจำกัด (Close system, Upon request สามารถนำไปใชไ้ ดท้ ันที โดยไมต่ ้องร้องขอ
only) (Open system, Open access)

การปฏิบัตงิ านตามขัน้ ตอนแบบเดิม ๆ (Routine สามารถแก้ไขปัญหาโดยไม่จำเป็นต้องใช้วิธกี าร
work) ทำงานรปู แบบเดมิ และสามารถตอบสนองได้
ทันที (Non-routine problem solving, Real
time capability)

ต่างหนว่ ยงานต่างทำงานกนั ตามลำพัง โดยไม่มีการ แบ่งปันทรัพยากรในการทำงานร่วมกัน เพ่ือลด

แบ่งปันทรัพยากรเพือ่ ใช้งานร่วมกัน (Stand ต้นทุนเพ่ิมประสิทธิภาพในการปฏิบัติงาน

alone) (Shared services)

วางนโยบาย และปฏบิ ัติงานโดยใช้ความรสู้ กึ และ ปฏบิ ตั ิงานบนพน้ื ฐานของขอ้ มลู ความต้องการ

คาดเดาเอาเอง (Intuition) ของประชาชน และวางนโยบายท่ีสามารถนาไป

ปฏิบัตใิ หเ้ กดิ ผลได้จริง (Data-driven, Demand-

driven, Actionable policy solutions)

๑๒

เดมิ ใหม่ (ระบบราชการ 4.0)

บริการประชาชนเฉพาะในเวลาราชการ (Office- บริการประชาชนตลอดเวลา (On-demand
hours only) services)

มีความเช่ยี วชาญ/ชำนาญเฉพาะทาง (Expert/ มคี วามสามารถในการใช้ความรู้ สตปิ ญั ญา
Specialist) และข้อมลู สารสนเทศเพื่อแก้ไขปญั หาและสร้าง
คุณค่า (Knowledge worker) มคี วามสามารถ
ในการเรยี นรู้ (Educability) มีเหตุผลในเชงิ
จรยิ ธรรม (Ethicability)

ข้าราชการแบบดั้งเดมิ (Public administrator) มคี วามเป็นผู้ประกอบการสาธารณะ (Public
Entrepreneurship)

ท้ังน้ี ปัจจัยแห่งความสำเร็จของการปรับไปสู่ระบบราชการ 4.0 ได้แก่ การสร้างนวัตกรรม
(innovation) บนพนื้ ฐานของการสานพลังความรว่ มมือกนั (collaboration) ระหวา่ งภาครฐั และภาค
ส่วนอื่น ๆ ในสังคม รวมท้ังใช้ประโยชน์จากความเป็นระบบดจิ ิตอล ในการคิดค้นและแสวงหาหนทาง
หรอื วิธีการ (solutions) ใหม่ ๆ อันจะก่อให้เกิดผลกระทบสูง (big impact) เพื่อทำการปรับปรุงและ
ออกแบบนโยบายสาธารณะและการจัดบริการสาธารณะให้สามารถตอบโจทย์ความท้าทายของ
ประเทศหรือตอบสนองปัญหาความต้องการของประชาชนที่แปรผันไปตามสภาพพลวัตของการ
เปลี่ยนแปลงไดอ้ ย่างมคี ุณภาพในทกุ เวลา ทุกสถานท่ี ทุกอุปกรณ์และชอ่ งทาง ได้อย่างมั่นคงปลอดภัย
และประหยัด

คุณลักษณะของผู้ประกอบการภาครัฐมีอะไรบ้าง? จากระบบราชการ 4.0 ดังกล่าว
ข้าราชการในฐานะเป็นผู้นำการเปลี่ยนแปลง (change Leader) มีความจำเป็นตอ้ งปรบั เปลี่ยนวิธีการ
คิดและทำตนให้เหมือนกับเป็นผู้ประกอบการภาครัฐมากข้ึน โดยเฉพาะต้องสามารถเก็บเก่ียวโอกาส
และทำงานในเชิงรุกให้บังเกิดผลอย่างรวดเร็ว มคี วามสามารถในการสานพลังของทุกฝ่ายที่เก่ียวข้อง
และทำงานข้ามหน่วยงานหรือภาคส่วนตนเอง รวมทั้งแสวงหาและเพิ่มทรัพยากรให้อยู่ในระดับ
ท่ีเพียงพอ เป็นต้น ซ่ึงทักษะท่ีจำเป็น (skill sets) ของผู้ประกอบการภาครัฐดังกล่าวน้ีก็อาจจะ
ไมแ่ ตกต่างกบั ผู้ประกอบการในภาคธุรกจิ มากนัก กล่าวคือ

1. การสานพลังจากทุกภาคส่วนและสร้างเครือข่าย (collaborating and networking)
เพอ่ื ขับเคลือ่ นการเปลี่ยนแปลงไปด้วยกนั

2. การทำงานในแนวระนาบผ่านระบบงานที่มีความแตกต่างกันและข้ามหน่วยงานต่างๆ
(working across systems) ได้

3. การพรรณนาให้เห็นภาพของการเปลี่ยนแปลง (building narratives for change)
เพือ่ โนม้ น้าวหรอื ชักจูงใหท้ ุกฝา่ ยท่เี กยี่ วข้องยอมรับและดาเนินการในสง่ิ ท่ีแตกต่างไปจากเดมิ

๑๓

4. การปรบั ตวั และการเรียนรู้ (adapting and learning) อย่างรวดเร็วและทันสถานการณ์
5. การแสวงหาหรือการระดมสรรพกำลังและทรัพยากร (leveraging new resources)
เพ่ือยกระดับให้สูงขึ้นและเพียงพอต่อการดำเนินงาน ไม่ว่าจะเป็นการแบ่งปันหรือรวมงบประมาณ
เข้าดว้ ยกนั การประยุกต์ใช้เทคโนโลยแี ละทดลองใชโ้ มเดลการทำงานแบบใหม่
6. การให้ความสำคัญต่อผลลัพธ์สุดท้าย (focusing on outcomes) ของการเปลี่ยนแปลง
ที่คาดหวังจะให้เกดิ ขน้ึ อย่างไรกด็ ี โจทยค์ วามทา้ ทายที่ต้องเอาชนะกค็ ือ เราจะพัฒนาขีดความสามารถ
(capacity) ของระบบราชการในการสร้างนวตั กรรมภาครัฐ (public innovation) ได้อย่างไร? เราจะ
สามารถปลดล๊อคเพ่ือดึงเอาศักยภาพของประชาชนผ้ใู ชบ้ รกิ ารและภาคสว่ นต่างๆ ให้เข้ามาร่วมคิดค้น
(co-designer) และสร้างด้วยกัน (co-producer) กับภาครัฐได้อย่างไร? ในทางตรงข้าม เราจะสร้าง
ความพรอ้ มของภาครัฐในการทำงานแบบร่วมมือกับประชาชนผใู้ ช้บริการและภาคส่วนต่างๆ ในสังคม
ได้อยา่ งไร? เพราะประเด็นดังกลา่ วน้เี ปน็ สิง่ ท่ีคอ่ นข้างจะขดั กบั ธรรมชาติของความเป็นระบบราชการ

การคิดเชิงออกแบบน้นั เปน็ การเชอ่ื มโยงการคิดรเิ รม่ิ (creativity) และนวตั กรรม (innovation)
การคิดเชิงออกแบบน้ันเป็นการเช่ือมโยงการคิดริเร่ิม (creativity) และนวัตกรรม

(innovation) เข้าด้วยกันโดยเน้นในเรื่องของการกระตุ้นความคิด หรือการสร้างความคิดใหม่ ๆ ซ่ึง
อาจจะเป็นเรื่องของการแสวงหาหนทางใหม่ๆ ให้แก่ปัญหาที่มีอยู่ หรือการแสวงหาโอกาสใหม่ โดย
การใช้ประโยชนจ์ ากเทคโนโลยีหรอื สถานการณต์ ่าง ๆทเ่ี ปลย่ี นแปลงไป รวมทงั้ สร้างนวัตกรรมอันเป็น
กระบวนการที่จะนำไปสู่ผลิตภัณฑ์หรือบริการใหม่ หรือวิธีการใหม่ๆในการทำหรือประกอบธุรกิจ
กล่าวอีกนัยหน่ึง การคิดเชิงออกแบบช่วยทำให้ความคิดริเริ่มต่าง ๆ สามารถนำไปปฏิบัติจนเกิดผล
ลพั ธ์สดุ ทา้ ยได้จริงกระบวนการการคิดเชิงออกแบบมกั จะประกอบดว้ ย 3 - 4 ขน้ั ตอนใหญ่ๆ ดังน้ี

1. การสร้างความเข้าใจในบริบทภาพรวม (understand the broad context) เพื่อเร่ิมต้นรับรู้
เก่ียวกับความรู้สึกนึกคิด ประสบการณ์ในการรับบริการ ความไม่พึงพอใจ และความต้องการของ
ประชาชนผู้ใช้บรกิ าร

2. การเข้าถึงสภาพปัญหาและความต้องการท่ีแท้จริงของผู้มีส่วนได้ส่วนเสียฝ่ายต่างๆ
(gain empathy for stakeholder’s real needs) โดยอาจจัดให้ข้าราชการได้มีโอกาสเข้ามา
สังเกตการณ์ สัมผัสและเผชิญหน้ากับสถานการณ์ท่ีเกิดข้ึนจริง เพ่ือให้เห็นถึงปัญหาช่องว่างระหว่าง
ฝ่ายผู้กำกับควบคุมดูแล/ผู้ให้บริการ (regulator/service provider) กับฝ่ายผู้รับบริการ (user) ตลอดจน
เรม่ิ ต้นมองหาโอกาสในการปรับปรงุ

3. การทดลองด้วยความคิดทีห่ ลายหลาย (experiment with diverse ideas) อันเป็นการ
ระดมสมองเพ่ือสำรวจค้นหา (explore) หรือสร้างจินตนาการทางความคิด (ideate) การสร้างต้นแบบ
(prototype) รวมทง้ั การทดลอง/การทดสอบ (testing) ความเปน็ ไปได้ในการนำไปปฏิบตั ิจรงิ

4. การวางกลยุทธ์ขยายผล (strategize the rollout) อันเป็นการนำผลการทดลองไป
การปฏิบัตใิ นวงกว้างตอ่ ไป

๑๔

การคิดเชิงออกแบบดังกล่าวน้ีสามารถนำมาประยุกต์ใช้เพ่ือช่วยสร้างนวัตกรรมภาครัฐได้ในหลาย
รูปแบบ ดังน้ี

๑. นวัตกรรมบริการ (services innovation) อันเป็นการปรับปรุงคุณภาพบริการหรือ
สร้างบริการใหม่ (new or improved service) ทำให้เกิดการเปล่ียนแปลงในคุณลักษณะของตัว
ผลติ ภัณฑ์ และบรกิ าร เช่น การใหบ้ ริการสขุ ภาพเคล่อื นท่ี health care at home เปน็ ต้น

๒. นวัตกรรมการส่งมอบบริการ (service delivery innovation) อันเป็นการให้บริการ
ในรูปแบบใหม่หรือที่แตกต่างไปจากเดิม (new or different way of providing a service) เช่น
การจดทะเบียนนิติบุคคลทางอิเล็กทรอนิกส์การยื่นและชำระประกันสังคมแบบออนไลน์หรือผ่านทาง
mobile app เปน็ ตน้

๓. นวัตกรรมการบริหาร/องค์การ (administrative or organizational innovation) อันเป็น
การเปล่ียนแปลงโครงสร้างองค์การใหม่ ตลอดจนการสร้างระบบงานหรือกระบวนงานใหม่ (new
process) เช่น การตรวจสอบอาคารตามความเสย่ี ง เป็นต้น

๔. นวัตกรรมทางความคิด (conceptual innovation) อันเป็นการสร้างมุมมองใหม่หรือ
การแสวงหาหนทางใหม่ในการวิเคราะห์และแก้ไขปัญหา รวมทั้งการโต้แย้งสมมติฐานเดิม ตลอดจน
การเปลีย่ นแปลงตัวแสดงท่เี กีย่ วขอ้ งเพอ่ื ผลักดนั ความคิดใหม่ เชน่ smart farmer เปน็ ตน้

๕. นวัตกรรมเชิงนโยบาย (policy innovation) อันเป็นการออกแบบนโยบายหรือ
ประยุกตใ์ ช้เคร่ืองมือนโยบายแบบใหม่ซ่ึงส่งผลก่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงในสภาพการณ์หรอื พฤติกรรม
บางอย่ าง เช่ น การทำให้ กั ญชาเป็ นสิ่ งที่ ถู กต้ องตามกฎหมาย (decriminalization/legalization)
การอนุญาตให้มีการซื้อขาย (tradable permits) เก่ียวกับอนุพันธ์ล่วงหน้าสภาพอากาศ (weather
derivatives) เป็นต้น

๖. นวัตกรรมเชิงระบบ (systemic innovation) อันเป็นการวางระบบใหม่หรอื เปลี่ยนแปลงระบบ
ท่ีมีอยู่ในปัจจุบัน อันก่อให้เกิดผลการเปล่ียนแปลงในวงกว้างหรือในระดับข้ันพ้ืนฐาน (system wide
change/fundamental transformation) หรือส่งผลกระทบตอ่ การปรบั โครงสร้างหรือเปล่ยี นแปลง
แบบแผนความสัมพันธ์เชื่อมโยงระหว่างผู้มีส่วนได้ส่วนเสียฝ่ายต่าง ๆ เช่น การแยกส่วนระหว่าง
ผู้ซื้อบรกิ าร (purchaser) และผู้ใหบ้ รกิ าร (provider) ทางด้านสาธารณสุข เป็นตน้

โดยสรุป หากมีการประยุกต์ใช้ห้องปฏิบัติการนวัตกรรมภาครัฐได้อย่างถูกต้องเหมาะสม
ก็จะช่วยก่อให้เกิดประโยชน์หลายประการ ไม่เพียงแต่เป็นการสร้างนวัตกรรมให้เกิดคุณค่าต่อ
สาธารณะ (public value) เทา่ นั้นแต่ยังเป็นการเปิดให้ประชาชนเข้ามีส่วนร่วมในการบริหารกิจการ
บ้านเมืองและตอบสนองความต้องการจำเป็นของประชาชนผู้ใช้บริการ (end-users needs) ได้แม่นตรง
ลดความเสี่ยงของความผิดพลาด มีความครอบคลุมครบถ้วนทุกมิติ (comprehensive, holistic view)
มากขึ้น นอกจากน้ียังเป็นการแก้ไขปัญหาการขาดบูรณาการของหน่วยงานภาครัฐ ลดปัญหาความ
ซ้ำซ้อนสิ้นเปลือง รวมทั้งเป็นการเปลี่ยนกระบวนการทางความคิด (mindset) ของข้าราชการและ
เจ้าหนา้ ท่ขี องรัฐได้อกี ดว้ ย

๑๕

ส่วนที่ ๓

แนวทางการขับเคลอ่ื นมหาดไทย ๔.๐

๑. กลไกการขบั เคล่ือน
๑.๑ กระทรวงมหาดไทยได้มีคำสั่ง มท. ที่ ๘๑/๒๕๖๑ ลงวันที่ ๑๗ มกราคม พ.ศ. ๒๕๖๑

เรื่องแต่งต้ังคณะทำงานขับเคลื่อนมหาดไทย ๔.๐ โดยมีนายเริงศักดิ์ มหาวินิจฉัยมนตรี คณะทำงาน
รัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย เป็นท่ีปรึกษาคณะทำงานฯ รองปลดั กระทรวงมหาดไทย (หัวหน้า
กลมุ่ ภารกิจด้านพัฒนาชุมชนและส่งเสรมิ การปกครองทอ้ งถ่ิน) เป็นประธาน โดยมีผู้แทนจากกรมและ
หน่วยงานในรัฐวิสาหกิจในสงั กัด มท.รว่ มเปน็ คณะทำงาน และมีผูอ้ ำนวยการสถาบันดำรงราชานุภาพ
สป. และหัวหน้ากลุ่มพัฒนาระบบบริหาร สป. เลขานุการร่วมมีอำนาจหน้าท่ีกำหนดแนวทางและ
รูปแบบการขับเคลื่อนนโยบาย Thailand ๔.๐ และพิจารณาคัดเลือกแผนงานหรือโครงการต้นแบบ
ในการขับเคล่ือนที่สอดคล้องกับการดำเนินการตามนโยบาย Thailand ๔.๐ ให้เป็นรูปธรรม และ
กำกับ ติดตาม ประสานงานร่วมกับหน่วยงาน ท่ีเก่ียวข้องในการขับเคล่ือนมหาดไทย ๔.๐ เพื่อ
รายงานใหผ้ บู้ ังคับบญั ชาหรอื ผู้บรหิ ารของกระทรวงมหาดไทย ทราบเป็นระยะๆ

๑.๒ คำสั่ง มท. ที่๖๑๙/๒๕๖๑ เรื่องแต่งตั้งทีมปฎิบัติการขับเคลื่อนมหาดไทย ๔.๐
ประกอบดว้ ยจำนวน ๓ คณะ ไดแ้ ก่

๑) ทีมปฏิบัติการบูรณาการข้อมูลด้านการพัฒนา โดยมี ผอ.สบจ.สป. เป็นหัวหน้าทีม
มีอำนาจหน้าท่ีในการศึกษา/วิเคราะห์ข้อมูลเพ่ือการพัฒนาหน่วยงานตามแนวทางการดำเนินงานขับเคลื่อน
มหาดไทย ๔.๐ โดยกำหนดรูปแบบบูรณาการผลักดันการดำเนินงานด้านข้อมูล และรายงานผล
ดำเนินงานใหค้ ณะทำงานขบั เคลอ่ื นมหาดไทย ๔.๐

๒) ทีมปฏิบัติการเตรียมคนมหาดไทย โดยมี ผอ.สดร.สป. เป็นหัวหน้าทีม มีอำนาจ
หน้าท่ีศึกษาวิเคราะห์ข้อมูลเก่ียวกับการพัฒนาบุคลากร เพื่อกำหนดรูปแบบแนวทางการพัฒนา
บุคลากรและรายงานผลดำเนนิ งานใหค้ ณะทำงานขบั เคล่ือนมหาดไทย ๔.๐

๓) ทีมปฏิบัติการพัฒนาระบบงานและการบริการของกระทรวงมหาดไทย โดยมี
ผอ.ศสส.สป. เปน็ หัวหนา้ ทีม มีอำนาจหนา้ ที่ศึกษาวเิ คราะหข์ ้อมูลเพอ่ื พัฒนาระบบงานและการบริการ
ของกระทรวงมหาดไทยและรายงานผลดำเนินงานให้คณะทำงานขับเคล่ือนมหาดไทย ๔.๐ ทุกกรม
และหน่วยงานรฐั วสิ าหกจิ ในสงั กัดกระทรวงมหาดไทย ตอ้ งมโี ครงการทเ่ี ป็นนวตั กรรมหรือรูปแบบของ
การให้บริการใหม่ๆ ท่ีโดดเด่นอย่างน้อย ๑ โครงการ เพื่อสนับสนุนการขับเคล่ือนมหาดไทย ๔.๐ และนโยบาย
Thailand 4.0 และให้ทีมปฏิบัติการขับเคล่ือนมหาดไทย ๔.๐ ท้งั ๓ ทีม ที่กล่าวมานั้น ดำเนินการขับเคล่ือนงาน
ท่ไี ด้รบั มอบโดยมีเป้าหมาย ๑ ผลงาน ต่อ ๑ ทีม เพ่อื ใหเ้ กิดผลผลิตท่ีเป็นรูปธรรมและนำไปสู่การปฏบิ ัติได้

การปลกู พลังความคดิ สรา้ งสรรค์ใหข้ ้าราชการรนุ่ ใหม่
๑) เพอ่ื สรา้ งความเขา้ ใจในหลกั คิดเชิงนวัตกรรมสผู่ ลงานท่เี ป็นรปู ธรรมและกระตุน้ ให้

บุคลากร เกดิ ความคิดสร้างสรรค์ กลา้ คดิ ตัดสนิ ใจ กล้าทำ และกลา้ นำเสนอ เพอ่ื พัฒนาองคก์ รให้มี ความ
เป็นเลิศ และส่งเสริมให้เกิดความคิดแบบนอกกรอบอย่างมีเหตุผล สามารถต่อยอดการพัฒนา
นวัตกรรมทีเ่ ป็นประโยชนต์ อ่ การปฏิบตั ิงานและพัฒนาองค์กรได้ และตระหนักถงึ บทบาทของภาครัฐท่ี

๑๖

สามารถสร้างคุณค่าจากการพัฒนานวัตกรรมในการทำงาน และส่งมอบให้กับประชาชนให้เป็น
ทางเลือกใหม่ในการบริการสาธารณะ

๒) เพ่ือสร้างเครือข่ายบุคลากรผู้มีศักยภาพสูงของกระทรวงมหาดไทยในการ
แลกเปลี่ยนความรู้ ประสบการณ์รวมทั้งสามารถประสานงาน และทำงานเป็นทีมร่วมกันได้ตาม
ภารกิจต่างๆสามารถสรา้ งแรงบันดาลใจและวัฒนธรรมแห่งการเรียนรู้ในการทำงานเชิงรุกตอบสนอง
ต่อการแก้ไขปัญหาตามสถานการณ์ปจั จบุ ันและสภาพความต้องการที่แทจ้ ริงของประชาชนได้

๑๗

สว่ นท่ี ๕

นโยบายกรมทดี่ นิ ๔.๐

จากการท่ีได้มีการกำหนดยุทธศาสตร์ชาติข้ึนเพ่ือใช้เป็นเป้าหมายในการพัฒนาประเทศ
อย่างย่ังยืนตามหลักธรรมาภิบาลภาครัฐจึงต้องปรับตัวให้สามารถอำนวยความสะดวกในการดำเนิน
กิจกรรมทางเศรษฐกิจและสังคมยุคดิจิทัลท่ามกลางความเปล่ียนแปลงที่รวดเร็วและไม่สามารถคาดเดาได้
จึงต้องมุ่งเน้นความคล่องตัวเพื่อขับเคลื่อนภารกิจพิเศษ และนำเทคโนโลยีดิจิทัลมาพลิกโฉมระบบราชการ
สู่ Government ๔.๐ ด้วยวิสัยทัศน์ของประเทศไทยที่ว่า “ประเทศมีความม่ันคง ม่ังคั่ง ย่ังยืน เป็น
ประเทศพัฒนาแล้ว ด้วยการพัฒนาตามปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง” เพือ่ ให้บรรลุวิสัยทัศน์ดังกล่าว
รัฐบาลจึงมีนโยบายท่ีจะใช้โมเดลการขับเคลื่อนเศรษฐกิจด้วยนวัตกรรมเพ่ือพัฒนาประเทศไทยไปสู่
ความมั่นคง มั่งค่ัง และย่ังยืน ดังน้ัน ระบบราชการก็จะต้องมีการปรับเปลี่ยนเพื่อให้สอดรับและ
ส่งเสริมไทยแลนด์ ๔.๐ จึงจําเป็นต้องมีการปฏิรูประบบราชการและข้าราชการ ซ่ึงเป็นฟันเฟืองสําคัญ
ในการขับเคลือ่ นนโยบายรัฐบาลใหส้ ามารถปฏิบัตงิ านได้สอดคล้องกบั ทิศทางการบริหารของประเทศ

อย่างไรก็ตาม การพัฒนาภาครัฐภายใต้บริบทระบบราชการ ๓.๐. ไปสู่ระบบราชการ ๔.๐
กส็ ่งผลใหเ้ กิดความทา้ ทายใหมๆ่ เช่น

(๑) จะทำอย่างไรให้การบริการภาครัฐสามารถตอบโจทย์ได้ตามความต้องการเฉพาะบุคคล
มากขึ้น ในขณะท่ีการพัฒนาภาครัฐในบริบท 3.0 เป็นเพียงแค่ต้องการยกระดับการบริการให้มี
มาตรฐานเทา่ นนั้

(๒) จะทำอย่างไรให้หน่วยงานภาครัฐสามารถทำงานแบบบูรณาการร่วมกันได้อย่าง
มีประสิทธิภาพ เพ่ือให้เกิดการบริการท่ีล่ืนไหล ซึ่งต่างจากเดิมที่มุ่งเน้นพัฒนาให้แต่ละหน่วยงาน
สามารถใหบ้ ริการไดต้ ามมาตรฐาน

(๓) จะทำอย่างไรให้ภาครัฐขับเคลื่อนประเทศได้ด้วยการยึดภารกิจเชิงประเดน็ โดยไม่เกิด
ความซ้ำซ้อน ซ่ึงตา่ งจากเดมิ ทสี่ ง่ เสริมให้บุคลากรมคี วามเช่ยี วชาญเฉพาะสาขา

(๔) จะทำอยา่ งไรใหภ้ าครัฐขับเคล่ือน IT เพ่ือพลิกโฉมทุกสว่ นของภาครัฐอย่างเป็นองคร์ วม
ซึง่ ต่างจากเดมิ ที่ IT มีบทบาทเพยี งแคส่ นบั สนนุ การพัฒนาเป็นครัง้ คราว

(๕) จะทำอย่างไรให้ภาครัฐใช้เทคโนโลยีในการปรับสมดุลระหว่างความมีประสิทธิภาพและ
ความโปร่งใส ซ่ึงต่างจากเดิมท่ีภาครัฐต้องการเพียงแค่การสร้างกลไกการปฏิบัติงานให้มีความรัดกุม
เพอ่ื ป้องกนั ชอ่ งโหวข่ องการทุจรติ

สรุปโดยรวมอาจกล่าวได้ว่า ความท้าทายของระบบราชการในบริบทไทยแลนด์ ๔.๐ คือ
ทําอย่างไรการบริหารราชการจึงจะมีธรรมาภิบาล เพื่อให้ประชาชนมีความสุขจากการได้รับการ
บริการของภาครัฐ โดยมกี ารนาํ นวัตกรรมและเทคโนโลยมี าใชใ้ นการบรกิ ารประชาชน

ดังนั้น ในปัจจุบันสำนักงาน กพร. ได้จัดทำกรอบแนวทางการปฏิรูประบบราชการเพ่ือ
รองรบั ไทยแลนด์ ๔.๐ ดงั น้ี

(๑) การวางระบบและวิธีการทำงานใหม่ (โดยยึดหลักคุณลักษณะท่ีพึงประสงค์ในการ
บริหารงานภาครัฐหรือหลักการบริหารราชการแผ่นดินที่ดี กล่าวคือ ภาครัฐท่ีเปิดกว้างและเชื่อมโยงกัน

๑๘

ภาครัฐที่ยึดประชาชนเป็นศูนย์กลางการบริการและเข้าถึงความต้องการในระดับปัจเจก และ
ภาครัฐอัจฉรยิ ะ)

(๒) การปรับเปลี่ยนวฒั นธรรมการทำงานใหม่ (โดยการสร้างจติ สำนึกและความรับผิดชอบในการ
ปฏิบตั ิหน้าท่ี มงุ่ เนน้ ความซ่ือสตั ยส์ จุ ริตและประโยชนส์ ่วนรวม)

(๓) การจัดระเบียบโครงสร้างใหม่ (เพอื่ สร้างสมดุลและจัดการความสมั พันธ์ระหวา่ งกลไกภาครัฐ
ภาคเอกชน และภาคส่วนอืน่ ๆ ใหเ้ ป็นไปอย่างเหมาะสม รวมทั้งออกแบบโครงสร้างภายในภาครัฐ
เองใหก้ ระชับและไม่เกิดความซบั ซอ้ น)

สำหรับการวางระบบและวิธีการทำงานใหม่ โดยยึดหลักคุณลักษณะที่พึงประสงค์ในการ
บรหิ ารงานภาครฐั หรอื หลกั การบรหิ ารราชการแผน่ ดนิ ที่ดีใหส้ ามารถเป็นท่ีเชอื่ ถอื ไว้วางใจ และเป็นที่
พ่งึ ของประชาชนไดอ้ ยา่ งแทจ้ รงิ มอี งค์ประกอบอยู่ ๓ ด้าน คือ

(๑) ภาครฐั ที่เปดิ กว้างและเชอื่ มโยงกนั สรุปสาระสำคัญได้ ดังนี้
- การทำงานต้องเปิดเผยและโปรง่ ใส โดยบคุ คลภายนอก
- เข้าถงึ ขอ้ มลู ขา่ วสารของทางราชการได้
- มีการแบง่ ปันขอ้ มลู ซึ่งกนั และกนั
- สามารถเข้ามาตรวจสอบการทำงานได้
- เปดิ กว้างใหก้ ลไกหรือภาคสว่ นอนื่ ๆ เชน่ ภาคเอกชน ภาคประชาสงั คมเขา้ มามสี ว่ นรว่ ม
- โอนถ่ายภารกจิ ทภี่ าครัฐไมค่ วามดำเนนิ การเองไปใหภ้ าคสว่ นอนื่ ดำเนินการแทน
- จัดโครงสร้างให้สอดรับกับการทำงานแนวระนาบ ในลกั ษณะเครือข่ายมากกว่าสาย

การบงั คับบัญชาในแนวดงิ่
- เชื่อมโยงการทำงานราชการบริหารส่วนกลาง ส่วนภูมิภาค และส่วนท้องถิ่น ให้มี

เอกภาพและสอดรบั ประสานกัน
(๒) ภาครัฐที่ยึดประชาชนเป็นศูนย์กลางการบริการและเข้าถึงความต้องการในระดับ

ปัจเจก สรปุ สาระสำคัญได้ ดังน้ี
- ทำงานในเชิงรกุ และมองไปขา้ งหน้า ต้ังคำถามกับตนเองเสมอว่าประชาชนจะได้อะไร
- มงุ่ เนน้ แก้ไขปัญหาให้ประชาชน
- ให้บริการเชิงรุก ตอบสนองความต้องการของประชาชนโดยไม่ต้องรอให้เข้ามา

ติดต่อหรอื รอ้ งขอ
- ใช้ประโยชน์จากข้อมูลภาครัฐในการจดั การบริการสาธารณะทต่ี รงกบั ความต้องการ

ของประชาชน
- ใช้ระบบดิจิทัลสมัยใหม่ในการจัดการบริการสาธารณะที่ตรงกับความต้องการ

ประชาชน

(๓) ภาครัฐอจั ฉรยิ ะมีขีดสมรรถนะสงู และทันสมัย สรปุ สาระสำคญั ได้ ดังน้ี
- ตอ้ งทำงานอยา่ งเตรยี มการไว้ล่วงหนา้ มีการวเิ คราะห์ความเสีย่ ง
- สร้างนวัตกรรมหรือมีความคิดริเริ่มและประยุกต์องค์ความรู้ในแบบสหสาขาวิชา

เพือ่ ตอบสนองกบั การเปลี่ยนแปลงในสถานการณต์ ่างๆ ไดอ้ ย่างทนั เวลา

๑๙

- เปน็ องค์กรทีม่ ีขดี สมรรถนะสูง ปรับตวั ให้เปน็ สำนักงานท่ที นั สมยั
- ทำให้ขา้ ราชการมคี วามผูกพนั ตอ่ การปฏิบตั งิ านไดเ้ หมาะสมกบั บทบาทของตนเอง

ปัจจัยสำคัญต่อความสำเร็จของการพัฒนาไปสู่ ระบบราชการ ๔.๐ สำนักงาน กพร. ได้กำหนด
ปัจจยั สำคญั อยา่ งนอ้ ย ๓ ประการ ต่อความสำเร็จของการพฒั นาไปสู่ ระบบราชการ ๔.๐ ดงั น้ี

(๑) การสานพลังระหว่างภาครัฐและภาคสว่ นอื่นๆ ในสังคม เป็นการยกระดับการทำงาน
จากการประสานงานกันหรือทำงานด้วยกัน ไปสู่การร่วมมือกันเป็นการบริหารกิจการบ้านเมือง
ในรปู แบบประชารัฐ

(๒) การสร้างนวัตกรรม เป็นการคิดค้นและหาวิธีการ หรือศึกษาเร่ืองใหม่ เพื่อให้เกิด
ผลกระทบใหญ่ต่อการตอบสนองความต้องการของประชาชนได้อย่างมีคุณภาพ โดยให้ประชาชน
เขา้ มามีส่วนร่วมเพ่ือสรา้ งความเขา้ ใจ การเขา้ ถึงความร้สู กึ นึกคดิ

(๓) การปรับเข้าสู่ความเป็นดิจิทัล เป็นการผสมผสานการจัดเก็บและประมวลผลข้อมูลผ่าน
ระบบคลาวด์ อปุ กรณ์สมาร์ทโฟน และเคร่อื งมือท่ีใช้ในการทำงานร่วมกัน เพื่ออำนวยความสะดวกใหก้ ับการ
ดำเนินการการให้บริการของราชการ สามารถตอบสนองความต้องการของประชาชนได้ในทุกเวลาทุกสถานที่
ทกุ อปุ กรณแ์ ละทุกชอ่ งทางได้อย่างมัน่ คง ปลอดภยั และประหยัด

สำหรับข้าราชการและเจ้าหน้าท่ีของรัฐ ต้องได้รับการปรับเปล่ียนกระบวนการทางความคิด
ให้ตนเองมีความเป็นผู้ประกอบการสาธารณะ เพ่ิมทักษะ สมรรถนะท่ีจำเป็น และเปล่ียนแปลงพฤติกรรม
ซึ่งจะส่งผลต่อการแสดงบทบาทของการเป็นผู้นำการเปล่ียนแปลง เพ่ือสร้างคุณค่าและประโยชน์สุข
ให้แก่ประชาชน

สำนักงาน กพร. ได้จัดทำกรอบแนวทางการปฏิรูประบบราชการในรูปแบบระบบราชการ ๔.๐
เพ่ือรองรับไทยแลนด์ ๔.๐ น้ันเพ่ือเป็นการต่อยอดจากแนวทางดังกล่าวเม่ือวันท่ี ๑ ตุลาคม ๒๕๖๒
ท่านอธิบดกี รมที่ดิน (นายนสิ ติ จนั ทรส์ มวงศ์) ได้โปรดมอบนโยบาย Smart Land Changes ใหก้ บั ผูบ้ ริหาร
กรมท่ีดิน เพ่ือใช้เป็นแนวทางในการปรับปรุงและพัฒนาระบบการให้บริการให้ทันต่อสถานการณ์ที่
เปล่ยี นแปลงไป ซึง่ ประกอบดว้ ย ๘ แนวทาง ดังน้ี

๑. People Centric : One Knowledgeประกอบดว้ ย
- ประชาชนเปน็ ศูนยก์ ลาง
- ประชาชนต้องมีความรู้เรือ่ งทดี่ ิน
- จัดทำ Application “ทีด่ ินประชาชน”
- เอกชนเขา้ ใจกระบวนการ
- เจา้ หน้าทีม่ คี วามรู้/เปน็ ท่ีปรึกษาใหป้ ระชาชน
สรุป งานท่ีดิน คือ งานบริการ ดังนั้น “ประชาชนต้องเป็นศูนย์กลาง”ในการบริการ

ประชาชนต้องมีความรู้ความเข้าใจเร่ืองท่ีดิน เอกชนมีความเข้าใจข้ันตอนกระบวนการตามกฎหมาย
เจา้ หน้าท่ใี หค้ ำปรกึ ษาท่ีถกู ตอ้ ง แมน่ ยำ

ท้ังนี้ แม้ท่านอธิบดีจะสั่งการให้สำนักงานเลขานุการกรม ประสานศูนย์ดำรงธรรมกรมที่ดิน
สำนัก/กอง ท่ีเก่ียวข้อง และสำนักงานที่ดินทุกแห่ง จัดทำแผนการประชาสัมพันธ์งานของกรมท่ีดิน
เชงิ รกุ โดยใชส้ ่ือสังคมออนไลน์เปน็ ช่องทางเผยแพร่ข้อมลู ขา่ วสาร รวมถงึ ข้อมูลเชิงความรูต้ ามภารกิจ

๒๐

ที่เป็นประโยชน์ต่อประชาชน สัปดาห์ละ ๑ เรื่อง และมอบหมายท่ีปรึกษาด้านวิศวกรรมสำรวจ
(นายวราพงษ์ เกียรตินิยมรุ่ง) และสำนักงานเลขานุการกรม พิจารณาจัดต้ังคณะทำงานในการจัดทำ
สารานุกรมอิเล็กทรอนิกส์ เพื่อเผยแพร่ความรู้เกี่ยวกับงานของกรมท่ีดิน โดยนำเสนอในรูปแบบ
วดี ิทัศนพ์ ร้อมจัดทำคำบรรยายภาษาองั กฤษเผยแพร่ในช่องทาง Youtube

๒. Governance Management ประกอบด้วย
- Service Mind
- ความรวดเรว็ การบริการ
- การอำนวยความสะดวก
- การลดขน้ั ตอนการบริการ/คมู่ ืออำนวยความสะดวก
- จัดระบบการบริการ (ง่าย/ยาก)

สรุป งานท่ีดินต้องมีการบริหารจัดการทมี่ ีประสิทธิภาพ เจ้าหน้าท่ีทุกคนต้องยิ้มแย้มแจ่มใส
ต้อนรับขับสู้ เต็มใจบริการ อำนวยความสะดวก ลดขั้นตอนการทำงาน ตามคู่มืออำนวยความสะดวก
แก่ประชาชน และลดภาระของประชาชนในการทำธุรกรรมตามนโยบาย Thailand ๔.๐ ซ่ึงใน
ปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๓ กลุ่มพัฒนาระบบบรหิ ารพิจารณาจัดทำโครงการ ๑ จังหวัด ๑ สำนักงาน พร้อม
จดั ทำคู่มือการขอรับรองมาตรฐานการให้บริการของศูนยร์ าชการสะดวก GECC(Government Easy Contact
Center) เพอ่ื ใหส้ ำนักงานทด่ี ิน ไดใ้ ชเ้ ปน็ แนวทางในการดำเนนิ การ

๓. Credibility & Accuracyประกอบด้วย
- เอกสารสทิ ธท์ิ ุกฉบบั คอื ความถูกตอ้ ง ประชาชนเชอ่ื ม่ัน/ธุรกิจมนั่ ใจ
- ขั้นตอนการออกเอกสารสทิ ธ์ิ
- ขอ้ มูลการออกเอกสารสิทธถ์ิ ูกต้อง/ครบถว้ น

สรุป งานที่ดินต้องดำเนินการตามระเบียบกฎหมาย และตามข้ันตอนอย่างถูกต้อง หนังสือ
แสดงสิทธิในท่ีดิน ทุกฉบับถูกต้อง ประชาชนเชื่อมั่น ธุรกิจม่ันใจ ต้องมีการพัฒนากฎหมายให้ทันสมัย
สอดคล้องกับสถานการณ์ของประเทศเพื่อให้เกิดความมั่นคงและส่งเสริมเศรษฐกิจของประเทศ สำนัก
มาตรฐานการออกหนังสือสำคัญจะจัดทำคู่มือการปฏิบัติงานของเจ้าหน้าที่และเผยแพร่ทางเว็บไซต์กรมท่ีดิน
กำหนดมาตรฐานการเดินสำรวจออกหนังสือแสดงสิทธิในที่ดนิ ให้เป็นมาตรฐานเดียวกัน กำหนดข้ันตอนการ
ดำเนินงานให้ละเอยี ดชดั เจน และจัดทำในรปู แบบเอกสารอิเลก็ ทรอนิกส์ จึงขอใหเ้ จ้าพนกั งานที่ดินจังหวดั /
สาขา/ส่วนแยก พิจารณาการออกหนังสือแสดงสิทธิในท่ีดนิ ใหถ้ ูกต้องตามระเบียบกฎหมาย ดำเนินการ
ใหเ้ ป็นไปตามข้ันตอนที่กำหนดครบถว้ น

๔. Problem / Opportunity ประกอบด้วย
- ศนู ยด์ ำรงธรรม (หมอดิน) หมายถงึ ศูนย์
- มาตรฐานการแกไ้ ขปญั หา : บทบาทเรื่อง/เวลา
- ฎกี าเรอื่ งรอ้ งเรียน : ความสำคัญลำดบั แรก
- ปัญหาทดี่ ิน/ Social media

๒๑

- มขี อ้ มูลที่ครบถว้ น แม่นตรง/รายงานรวดเร็ว
- รายงานผบู้ ังคับบญั ชาทนั เวลา
- เรอื่ งที่อยู่ในศาลทต่ี ้องดูแลเอาใจใสม่ ีระบบ Warming

สรุป งานที่ดินเป็นงานท่ียากซับซ้อนเก่ียวพันกับหลายหน่วยงาน ศูนย์ดำรงธรรม
กรมท่ีดิน หรือหมอดิน ต้องให้คำปรึกษาให้ความกระจ่างแก่ประชาชน ทำให้ประชาชนเข้าใจ
มีความรวดเร็วในการแก้ไขปัญหา สามารถช้ีแจงต่อสาธารณชน ส่ือมวลชน ตลอดจน ส่ือสังคมออนไลน์ได้
ในการลงพ้ืนที่ตรวจราชการของผู้ตรวจราชการกรม จะตรวจติดตามความคืบหน้าเร่ืองร้องเรียนร้อง
ทุกข์ที่ยังไม่ยุติอย่างต่อเนื่อง และให้ความสำคัญกับเร่ืองทูลเกล้าถวายฎีกาขอพระราชทานความเป็น
ธรรมและฎกี าขอพระราชทานความช่วยเหลือเป็นลำดับแรก และในส่วนของสำนักกฎหมาย จะตดิ ตาม
ความคืบหน้าของคดีอย่างต่อเน่ืองโดยวิธีการมีหนังสือราชการสอบถามผลคดีไปยังศาลยุติธรรม
ศาลปกครอง พนักงานอัยการ และจังหวัดท่ีเป็นเหตุแห่งการฟ้องคดี และรายงานผลของคำพิพากษาให้
อธิบดีกรมท่ีดินทราบ ท้ังนี้ มอบรองอธิบดี (นายสุรพล ศรีวิโรจน์) สำนักมาตรฐานการออกหนังสือสำคัญ
และสำนักกฎหมาย พิจารณาออกแบบระบบการเช่อื มโยงระหว่างกรมที่ดินและศาลเพ่ือติดตามและ
แจ้งเตือน (Warning) ความคืบหน้าของคดีที่มีการฟ้องร้องกรมท่ีดินเป็นจำเลย โดยเฉพาะคดีที่อยู่
ระหวา่ งการฟอ้ งรอ้ ง รายงานอธบิ ดีกรมทีด่ นิ ทราบ

๕. Promotionประกอบด้วย
- put the right man on the right job
- ตำแหน่งทมี่ ีศกั ยภาพ/เส่ยี งต้องต้ังคนเก่งและดี
- ขอ้ มลู บคุ คลที่ครบถ้วน ประวัติทด่ี ี และไมม่ ีปัญหา
- การฝกึ อบรมต้องมีมาตรฐาน
- ระบบ Knowledge Management

สรุป งานที่ดินเป็นงานที่เก่ียวข้องกับทรพั ย์สินที่มีค่าสูงของประชาชน เกย่ี วข้องกับสิทธิ
ของประชาชน เจา้ หน้าท่ผี ปู้ ฏบิ ัตงิ านจงึ ต้องมีความรคู้ วามสามารถและเปน็ คนดี ได้รับการฝกึ อบรมให้
มีความรู้ เป็นคนเก่งคนดี ท่ีจะเป็นที่ปรึกษาของประชาชนได้ และมีระบบการตรวจสอบท่ีดี ไม่ใช้อำนาจ
หน้าที่ในทางมิชอบ โดยกองฝึกอบรมและกองการเจ้าหน้าท่ีร่วมกันพัฒนาออกแบบหลักสูตรการฝึกอบรม
ข้าราชการท่ีสอดคล้องกับทุกระดับชั้น ปรับปรุงเน้ือหาให้ทันสมัยรองรับกับระเบียบกฎหมายที่มี
การปรับแก้หรือเพ่ิมแนวทางการปฏิบัติงานตามนโยบายรัฐบาลสภาพเศรษฐกิจและสังคมในปัจจุบัน
กำหนดระยะเวลาท่ีเหมาะสมในการอบรมทั้งภาคทฤษฎีและการฝึกปฏิบัติเพ่ือเตรียมความพร้อม
ก่อนลงพ้ืนท่ีปฏิบัติราชการในสำนักงานที่ดิน เพราะงานท่ีดนิ เป็นงานเฉพาะทางท่ีต้องมีการถ่ายทอด
องค์ความรู้ท่ีจำเป็น/สำคัญในการทำงาน จัดเก็บเข้าสู่คลังความรู้ของสำนัก/กอง และพัฒนาช่องทาง
การเข้าถึงความรู้ผ่านช่องทางต่างๆ เช่น เอกสาร คู่มือ เว็บไซต์การจัดการความรู้ของกรมท่ีดิน
และหน่วยงานภายใน และการอบรมผ่านส่ืออิเล็กทรอนิกส์ (E-learning) เพื่อให้นำความรู้ไปปรับใช้
ในการปฏิบัติงาน มกี ารทบทวน สรปุ บทเรียน โดยนำปญั หาอปุ สรรคท่ที ำให้ผลการดำเนินงานไม่บรรลผุ ล

๒๒

มากำหนดแนวทางแก้ไขต่อไปมีการฝึกฝนให้มีความเช่ียวชาญในขั้นพื้นฐานก่อนเพ่ือลดปัญหาความ
ผดิ พลาดในการปฏิบัตงิ านจริง โดยใหก้ องการเจ้าหนา้ ที่ ดำเนินการการดังน้ี

๑. สรุปเนื้อหา ประเด็นสำคัญจากการประชุม อกพ. กระทรวง แจ้งเจ้าพนักงาน
ท่ีดินจังหวัด/สาขา เพ่ือทราบเป็นข้อมูลและพึงใช้ความระมัดระวังในการปฏิบัติงานและจัดทำบัญชี
ควบคุมประวัติข้อมลู ขา้ ราชการให้เปน็ ระบบ

๒. สรุปความคืบหน้าการดำเนินการแต่งต้ังผู้อำนวยการสำนกั /กองจากอำนวยการ
ระดับต้น เป็นอำนวยการ ระดับสูงและดำเนินการให้เป็นไปตามเป้าหมายท่ีกำหนด ตำแหน่งใดที่มี
ความประสงค์ยกระดบั ตอ้ งจัดเตรยี มรวบรวมข้อมูลผลงานท่สี ำคญั สำหรบั เสนอพิจารณา

๓. สรุปข้อมูลสำนักงานท่ีดินที่ได้รับอนุมัติจากคณะทำงานพิจารณาจัดตั้งสำนักงาน
ที่ดินสาขาและส่วนแยก ขับเคลื่อนผลักดันให้สำเร็จ และกำหนดเป็นตัวชี้วดั การปฏิบัติงานของกลุ่มงาน
วางแผนและอตั รากำลงั ฯ

๖. Innovationประกอบดว้ ย
- ระบบ RTK มปี ระสทิ ธิภาพ ประชาชนยอมรบั
- บา้ นจดั สรร ๔.๐
- Model นติ ิบคุ คล
- ระบบการรังวัดที่มคี วามโปรง่ ใส
- สาธารณภัย VS ดแู ลเอกสารสิทธิ์
- Application ทดี่ นิ /Queueuรงั วัด
- ขอ้ มูลทดี่ นิ Big Data

สรุป งานท่ีดินเป็นงานบริการท่ีต้องการประสิทธิภาพและอำนวยความสะดวก
ให้ประชาชน ดังนั้น งานท่ีดินจงึ ต้องนำนวตั กรรมมาใชใ้ นการปฏิบัติงานเพื่อลดขัน้ ตอน ลดระยะเวลา
มีความถูกต้อง แม่นยำ และอำนวยความสะดวกให้กับประชาชน เช่น การรังวัดท่ีดินด้วยระบบ
ดาวเทียม RTK GNSS Network เข้ามาใช้ในการรังวัดที่ดินและทำแผนที่การออกโฉนดที่ดินที่มี
ความแม่นยำ การพัฒนาระบบการจดทะเบียนสิทธิและนิติกรรมต่างสำนักงาน จัดทำระบบการนัดหมาย
ทำนติ ิกรรมล่วงหนา้ เพือ่ อำนวยความสะดวกใหแ้ ก่ประชาชนให้สำนักมาตรฐานและส่งเสริมการรงั วัด
กำหนดแนวทางการควบคมุ กำกบั และบริหารจดั การระยะเวลานัดรังวดั ไมเ่ กิน 60 วัน ออกแบบระบบ
การตรวจสอบ และสรุปรวบรวมข้อมูลระยะเวลาการนัดรังวัดของสำนักงานท่ีดินทุกแห่ง เพ่ือนำมา
วิเคราะห์กำหนดมาตรการแก้ไขปัญหาในการบริหารจัดการอัตรากำลังของช่างรังวัดและปริมาณงาน
รังวัดในสำนักงานท่ีดินให้สอดคล้องกัน ท้ังน้ี ให้สำนักมาตรฐานและส่งเสริมการรังวัด และสำนัก
มาตรฐานการออกหนังสือสำคัญ ประสานการดำเนินงานร่วมกับผู้ตรวจราชการกรม (นายเสวี จิระเสวี)
ในภ ารกิจ ที่ เกี่ยวข้องกับโครงการพั ฒ นาระเบี ยงเศรษ ฐกิจพิเศษภ าคตะวัน ออก(EEC)
ซึ่งรัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทยให้ความสำคัญมาก โดยให้กองการเจ้าหน้าท่ีพิจารณาจัดตั้ง
คณะทำงานสำหรับภารกิจนี้โดยเฉพาะ และให้สำนักมาตรฐานการทะเบียนที่ดิน รับผิดชอบการ
ให้บริการจดทะเบียนต่างสำนักงานท่ีดิน และการนัดหมายจดทะเบียนล่วงหน้า ซ่ึงครอบคลุมถึง

๒๓

การยกร่างแก้ไขระเบียบกฎหมาย การออกแบบโปรแกรมการจดทะเบียน เห็นควรให้หน่วยงาน
เทคโนโลยีภาคเอกชนเขา้ มามีส่วนรว่ มด้วย และมกี ารประชมุ ติดตามผลการดำเนนิ งานเดอื นละ ๑ คร้งั

๗. Imageประกอบดว้ ย
- ประชาสมั พนั ธ์จุดแข็ง/สมำ่ เสมอ
- โฆษกกรมท่ดี นิ ใหข้ า่ ว
- การขบั เคลอ่ื นกฎหมายใหม่ๆ ให้ทนั สถานการณ์
- Ease of doing business
- เดินสำรวจที่ดนิ

สรุป งานที่ดินมีกฎหมายหลายฉบบั และเก่ียวพันกับภารกิจของกระทรวงอื่น ๆ มีความยงุ่ ยาก
ซับซ้อน ทำให้ประชาชนไม่เข้าใจ และมีปัญหาในทางปฏิบัติอยู่เสมอ โดยให้สำนักกฎหมายและสำนักงาน
บริหารโครงการพัฒนากรมที่ดินและเร่งรัดการออกโฉนดที่ดินทั่วประเทศ ร่วมกันพิจารณาปรับปรุงกฎหมาย
และกฎกระทรวงทเี่ กีย่ วข้องกับภารกจิ ของกรมที่ดนิ ให้ทนั ต่อสถานการณป์ จั จุบนั ลดขัน้ ตอนการปฏิบัตงิ าน
เพ่มิ การอำนวยความสะดวกใหก้ ับประชาชน อยา่ งน้อย 1 - 3 ฉบับ โดยจดั ทำเปน็ ฉบบั ภาษาองั กฤษดว้ ย

๘. Data & Information Baseประกอบด้วย
- 1 จังหวัด 1 ปญั หาทด่ี ินสาธารณะ
- ปญั หาทีอ่ ยู่ในความสนใจ
- การเก็บข้อมูล Digital/การสบื คน้ สะดวก

สรุป งานท่ีดินท่ีมีปญั หาในพื้นท่ี ระหว่างประชาชนกับรัฐ ในเร่ืองท่ีสาธารณะต่าง ๆ ต้องมี
การต้ังคณะกรรมการแก้ไขอย่างต่อเน่ืองโดยยกระดับเป็นวาระของจังหวัดมีผู้ว่าราชการจังหวัดและ
นายอำเภอมาช่วยบูรณาการและแก้ไขปัญหาร่วมกนั ท่ีสำคัญมีการประชุมอย่างสม่ำเสมอเพ่ือให้เกิด
ความคืบหน้า และใหร้ ายงานประชาชนท่รี ้องทุกข์รอ้ งเรียนทราบความคืบหนา้ ในการดำเนนิ การ ทั้งน้ี
ใหก้ ลุ่มพฒั นาระบบบรหิ าร ประสานสำนัก/กองท่ีเกี่ยวขอ้ ง เพื่อเตรียมการในส่วนที่เก่ียวข้องและรายงาน
ผลการดำเนินการให้กรมท่ีดินทราบเพ่ือขับเคล่ือนแนวทางการบริหารกรมท่ีดิน “Smart Land Changes”
ให้เปน็ รปู ธรรม ต่อไป

ข้ันตอนการดำเนินการและผงั ทางเดนิ (Flowchart)
1. ประชมุ สรปุ แผนงาน/โครงการ ท่ีผตู้ รวจราชการคัดเลือก
2. ศกึ ษาโครงการ/แผนงานท่ีคัดเลอื กสรปุ ประเด็นความเสี่ยง (ปัญหา/อปุ สรรค)
3. จัดทำกรอบแนวทางการตรวจ/ตดิ ตามโครงการ
4. จดั ทำรายงานการตรวจตดิ ตามโครงการ/แผนงาน
5. ทบทวนประเดน็ การตรวจตดิ ตามโครงการ/แผนงาน
6. จัดทำแนวทางการพัฒนากระบวนการในส่วนทตี่ ้องปรับปรุง

๒๔

สว่ นท่ี ๖

ตัวอย่างระบบการให้บริการของกรมที่ดิน สรู่ ะบบราชการ ๔.๐

ประเด็น ชอ่ื ระบบการใหบ้ ริการของหนว่ ยงาน

1) ระบบการพฒั นาบุคลากรออนไลน์ 1) การเรียนรผู้ ่านสื่ออเิ ล็กทรอนิกส์ (e-Learning)

2) ระบบตดิ ตามงานบริการ Tracking 1) ระบบสารสนเทศเพอ่ื การบรหิ ารจัดการเร่ืองร้องเรียน ร้อง
ทุกขศ์ นู ย์ดารงธรรมกรมทีด่ นิ (E-Contacts DC)
2) ระบบรายงานผลการปฏิบัติงานของส านักงานที่ดิน
(MIS)
3) ระบบตดิ ตามลำดบั ควิ ผา่ น QR Code
4) ระบบการใหบ้ ริการใหค้ ำปรึกษาผ่าน Application Line

3) ระบบ eLibrary 1) ระบบหอ้ งสมุดอเิ ลก็ ทรอนิกส(์ E-library)
4) ระบบบรหิ ารจดั การ
1) ระบบบริหารงานบคุ คล
5) ระบบคน้ หาขอ้ กฎหมาย 2) ระบบตรวจสอบเครอื่ งราชอิสริยาภรณ์
3) ระบบการลา (สำหรับรายบุคคล)
4) ระบบยื่นคาขอสิทธิการเข้าใช้ระบบสารสนเทศและเครือข่าย
ส่ือสารกรมที่ดิน
5) ระบบงานสารบรรณ
1) ระบบคลังข้อกฎหมาย

๒๕

รายละเอียด/ประเดน็ การตรวจและผลการตรวจติดตามแผนงาน/โครงการ
ตามนโยบายกรมทด่ี นิ ๔.๐

โครงการเดินสำรวจรังวัดรูปแปลงโฉนดทีด่ นิ ฯ ดว้ ยระบบ RTK GNSS Network
ปัญหาอุปสรรค/ข้อสงั เกตงานสอบเขต ตามมาตรา ๖๙ แห่งประมวลกฎหมายท่ีดิน ยงั ไมม่ ี

ระเบียบปฏิบัติให้ชัดเจนมีเพียงแนวทางปฏิบัติในการเดินสำรวจสอบเขตที่ดิน ตามมาตรา ๖๙ แห่ง
ประมวลกฎหมายทีด่ นิ ตามหนงั สอื กรมท่ดี ิน ที่ มท ๐๕๑๖.๕/ว ๑๑๔๕ ลงวนั ท่ี ๑๔ มกราคม ๒๕๖๒

ข้อเสนอแนะ/แนวทางการแกไ้ ข ขอให้ผูอ้ ำนวยการศูนย/์ เจา้ หน้าทเ่ี ร่งรดั ตรวจสอบ
ดำเนนิ การออกเอกสารสทิ ธิที่ดนิ ให้แก่ประชาชนดว้ ยความถกู ตอ้ งเปน็ ธรรมโดยยึดกฎหมาย
เป็นหลัก อย่าให้เกิดกรณีเรียกรับเงินจากราษฎร หรือออกเอกสารสิทธิโดยมิชอบเป็นอันขาด หากมี
อุปสรรคปัญหาใดๆเก่ียวกับการปฏิบัติหน้าที่ไม่ว่าจะเป็นข้อกฎหมายหรือข้อเท็จจริงที่ยังไม่กระจ่าง
ชัดเจน หรือกรณีที่เกิดจากการข่มขู่คุกคามจากผู้มีอิทธิพลให้ออกเอกสารสิทธิโดยมิชอบ ขอให้
พิจารณาด้วยความรอบคอบระมัดระวัง อย่าเพิ่งด่วนสรุปหรือตัดสินใจโดยพลการ ควรนำเรื่อง
ปรึกษาหารือหรือรายงานให้ผู้บังคับบัญชาพิจารณาตามลำดับชั้น เพ่ือมิให้เกิดความเสียหายใด ๆแก่
ราชการ/ประชาชน

โครงการเพม่ิ ประสทิ ธภิ าพการรังวัดท่ีดินด้วยระบบดาวเทยี ม
โดยจัดหาเคร่ืองรับสัญญาณดาวเทียมแบบเคล่ือนท่ี ขณะนี้อยู่ระหว่างกระบวนการจัดซ้ือ

จัดจ้างฯ และสนับสนุนยกระดับการรังวัดโดยวิธีแผนที่ช้ันหนึ่งด้วยระบบโครงข่ายการรังวัดด้วย
ดาวเทยี มแบบจลน์ ดำเนนิ การในพ้ืนที่ จังหวดั บรุ รี ัมย์ ราชบุรี พัทลุง ภูเกต็ สระแกว้ และอำนาจเจริญ
ได้ผลงาน จำนวน ๖ จังหวัด ๒๖ สำนักงาน คิดเป็นร้อยละ ๑๒๐ และร้อยละ ๖๕ ของเป้าหมาย ๕
จังหวดั ๔๐ สำนกั งาน

ปญั หาอุปสรรค/ขอ้ สังเกตการรับสัญญาณดาวเทียม RTK ในบางพ้ืนที่ โดยเฉพาะสำนักงานที่ดิน
จังหวัดตาก สาขาแม่สอด และส่วนแยกแม่ระมาด สำนักงานที่ดินจังหวัดสุโขทัย สาขาสวรรคโลก และสาขา
ศรีสัชนาลัย เขตติดต่อระหว่างจงั หวัด อำเภอ จะใช้เวลาในการรับสัญญาณนานมากหรือรับสัญญาณไม่ได้เลย
ในบางวัน ทำให้ช่างรังวัดต้องออกไปพ้ืนที่อีกคร้ัง และเคร่ืองรับสัญญาณดาวเทียม ไม่เพียงพอต่อช่างรังวัด
ซ่ึงต้องสลบั กนั ใช้ มีผลทำให้ทำงานยงั ไมแ่ ล้วเสร็จ ตอ้ งรอเครอื่ งรบั สัญญาณดาวเทยี ม

ข้อเสนอแนะ/แนวทางการแก้ไข เห็นควรให้กองเทคโนโลยีทำแผนที่พิจารณาเร่งแก้ไขปัญหา
อุปสรรคและเหน็ ควรจดั หาเคร่ืองรับสัญญาณดาวเทียมให้เพียงพอแกก่ ารใชง้ านของช่างรังวัดและใหส้ ำนกั งาน
ท่ีดินจังหวัด/สาขา/ส่วนแยก ของจังหวัดตามพ้ืนท่ีดังกล่าว เตรียมความพร้อมโดยให้ศึกษา ทำความ
เข้าใจการใช้งานระบบโครงข่ายkRTKkGNSSkNetworkkและเครื่องมืออุปกรณ์ท่ีเก่ียวข้องมาใช้กับ
งานรงั วัดในสำนักงานทีด่ ินให้ถูกตอ้ งไดม้ าตรฐานและมีประสิทธิภาพ พร้อมท้ังการจดั สร้างระวางแผน
ท่ีช้ันหน่ึง เพื่อเป็นมาตรฐานสากลสามารถเชื่อมโยงระบบเดียวกันท่ัวประเทศ และศึกษาการนำงาน
รังวัดไปใชป้ รับปรุงข้อมลู แผนทร่ี ปู แปลงทดี่ ิน ใหม้ คี วามถูกตอ้ งตามหลกั วิชาการแผนทแ่ี ละเป็นสากล

๒๖

โครงการพฒั นาระบบสารสนเทศทีด่ นิ ระยะที่ ๒
- ดำเนนิ การขยายระบบสารสนเทศทดี่ ินเพอ่ื การบรกิ าร โดยสำนกั งานทดี่ นิ จังหวัด/สาขา/

ส่วนแยก ใหบ้ รกิ ารดว้ ยระบบสารสนเทศท่ดี ิน ขณะนี้อย่รู ะหว่างดำเนนิ การตามสัญญา
- เพิ่มประสิทธิภาพระบบให้บริการค้นหาตำแหน่งรูปแปลงที่ดินด้วยระบบภูมิสารสนเทศ ทาง

อินเตอร์เน็ต Lands Maps โดยติดตั้งระบบและอุปกรณ์ ณ ศูนย์สารสนเทศท่ีดิน สำนักเทคโนโลยี
สารสนเทศ กรมที่ดินและให้บรกิ ารประชาชนฟรใี นรปู แบบ Web Based Application และ Mobile
Application ได้ทุกท่ีประชาชนมีช่องทางเข้าถึงการให้บริการข้อมูลรูปแปลงท่ีดินไม่น้อยกว่า
๔ ช่องทาง อยู่ระหว่างดำเนินการตามพระราชบัญญัติ การจัดซ้ือจัดจ้างและการบริหารพัสดุภาครัฐ
พ.ศ. ๒๕๖๐

ปญั หาอุปสรรค/ขอ้ สังเกต สำนักงานบางแห่งได้ปรบั ปรุงขอ้ มลู เป็นปัจจบุ ันเสร็จเรียบร้อยแล้ว
ในวันรุ่งข้ึนได้เรียกข้อมูลดังกล่าวมาตรวจสอบ ปรากฏว่า ข้อมูลกลับสู่สภาพเดิมเหมือนไม่มีการปรับปรุง
แต่อย่างใด ทำให้ต้องดำเนินการซ้ำ เป็นปัญหาในการเตรียมข้อมูลในการนำเข้าและถ่ายโอนข้อมูลตาม
ขอบเขตของงาน(TOR) ส่วนท่ี ๘ และบางพื้นท่ีขณะเข้าตรวจราชการ พบว่า กรมท่ีดินได้มีหนังสือแจ้ง
แผนการเข้าดำเนินงาน ส่วนท่ี ๖ งานปรับปรุงระบบไฟฟ้าและสายสัญญาณระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ของบริษัท สามารถคอมเทค จำกัด ผู้รับจ้างให้จังหวัดทราบ และบริษัทสามารถคอมเทค จำกัด ได้ส่ง
เจ้าหน้าท่ีเข้าดำเนินการแล้ว ส่วนบางจังหวัดบริษัทฯ จะเข้าดำเนินการในเดือนมีนาคม ๒๕๖๓ ทั้งน้ี
ได้สุ่มตรวจการบันทึกข้อมูลหลักฐานทางทะเบียน พบว่า มีสำนักงานท่ีดินบันทึกข้อมูลถูกต้อง
ครบถ้วน สมบูรณ์ และยังมีบางสำนักงานไม่ถูกต้อง ครบถ้วน สมบูรณ์บางรายการ โดยภาพรวม
สำนักงานท่ีดินมผี ลการเชอื่ มโยงข้อมูลทะเบียนทด่ี นิ และรูปแปลงทด่ี ินอยู่ในเกณฑเ์ ฉล่ียร้อยละ ๙๕ ขึน้ ไป

ข้อเสนอแนะ/แนวทางการแก้ไข
ให้คณะกรรมการตรวจรับพัสดุในสำนักงานท่ีดินจังหวัด/สาขา/ส่วนแยก ในจังหวัดดำเนินการ
ไปตามอำนาจหน้าท่ี พร้อมทั้งให้เจ้าพนักงานที่ดินจังหวัด/สาขา/ส่วนแยก จัดให้มีเจ้าหน้าท่ี กำกับ ควบคุม
ดูแล การเข้าดำเนินงานการติดตั้งระบบไฟฟ้าและสายสัญญาณฯ ของบริษัท สามารถคอมเทค จำกัด ให้เป็นไป
ตามเง่ือนไขในสัญญาจ้าง ภาพรวมสำนักงานท่ีดินได้ให้ความสำคัญในการตรวจสอบความถูกต้องของ
ขอ้ มูลทด่ี นิ และการเช่ือมโยงข้อมูลที่ดนิ ทัง้ ๓ ดา้ น (ข้อมูลทะเบยี นทด่ี ิน ขอ้ มลู ภาพลักษณ์เอกสารสิทธิ และ
ข้อมูลรูปแปลงที่ดิน) ให้ถูกต้อง ครบถ้วน และเป็นปัจจุบัน โดยส่วนใหญ่สามารถเช่ือมโยงข้อมูลได้ครบ
๓ ด้าน พร้อมท้ังทำการสำรองข้อมูลให้เป็นปัจจุบันทุกวัน เพื่อเตรียมการนำเข้าและถ่ายโอนข้อมูล
ตามขอบเขตของงาน (TOR) ส่วนท่ี ๘ ตอ่ ไป

โครงการเดินสำรวจออกโฉนดทด่ี นิ เพอื่ เสรมิ สร้างความมน่ั คงในพ้นื ท่ี ๓ จังหวัดชายแดนภาคใต้
เดินสำรวจออกหนังสือแสดงสิทธิในท่ีดินในบริเวณพ้ืนที่ ๓ จังหวัดชายแดนภาคใต้และใน

พื้นที่บริเวณนอกเขตอุทยานแห่งชาติบูโด-สุไหงปาดี และพ้ืนที่โดยรอบรัศมี ๒ กิโลเมตร นอกเขตอุทยานฯ
ได้ผลงาน จำนวน ๑๒,๘๓๐แปลง คิดเป็นร้อยละ ๙๖.๐๓ ของเป้าหมาย ๑๓,๓๖๐ แปลง มีผลการ
ดำเนินงานสงู กว่าเป้าหมาย

๒๗

ปัญหาอปุ สรรค/ขอ้ สังเกต
- สภาพอากาศไม่เอ้ืออำนวยต่อการปฏิบัติงานเน่ืองจากมีฝนตกชุกในพ้ืนที่ความปลอดภัยใน
พื้นที่มีเหตุการณ์ก่อความไม่สงบในพื้นที่เป็นระยะ ทำให้ไม่สามารถเข้าพ้ืนท่ีได้ทุกวันเจ้าของท่ีดินอยู่
ต่างประเทศ บางแปลงช่างเดินสำรวจฯ รังวัดแล้วต้องรอเอกสาร ไม่มาพบเจ้าหน้าที่สอบสวนสิทธิตามนัด
บางรายตดิ ตอ่ ไมไ่ ด้ บางรายมอบอำนาจ ทำให้เกิดความล่าช้าในการปฏิบัติงาน เจ้าของท่ดี ินบางรายมกี าร
ซื้อขายเปลี่ยนมือ ไม่มีการจดทะเบียนโอนให้ถูกต้อง และเป็นที่มรดกตกทอดไปยังทายาทหลายลำดับช้ัน
การเรียกเก็บเอกสารการเป็นทายาท ต้องใชร้ ะยะเวลาและเขา้ พ้นื ที่หลายครงั้
- พ้ืนทีท่ ่ีเดินสำรวจออกโฉนดทด่ี นิ มแี นวเขตท่ีสาธารณประโยชน์ไม่ชัดเจน การกนั แนวเขต
ที่ดินต้องใช้เวลาและการประสานงานหลายหน่วยงานเพื่อดำเนินการ รวมถึงปัญหาด้านความ
ปลอดภัย เนื่องจากมีเหตุการณ์ความไม่สงบในพื้นท่ีบ่อย ๆ ในทุกสายสำรวจปฏิบัติงานในพ้ืนที่เสี่ยง
ภัยแทบท้ังสิน้
- เน่ืองจากมีการระบาดของโรคติดเช้ือไวรัสโคโรน่า 2019 (COVID-19) รัฐบาลได้มีประกาศ
สถานการณ์ฉุกเฉินในทุกเขตท้องท่ีทั่วราชอาณาจักร มีผลใช้บังคับตั้งแต่วันท่ี ๒๖ มีนาคม ๒๕๖๓
และบางจังหวัดมีการปิดพื้นที่เพ่ือควบคุมมิให้มีการระบาดของเชื้อโรคเพ่ิมมากขึ้น ทำให้เจ้าหน้าที่
ศนู ย์อำนวยการเดนิ สำรวจฯ ไมส่ ามารถปฏิบตั งิ านภาคสนามได้
ขอ้ เสนอแนะ/แนวทางการแก้ไข
- มีการขอความร่วมมือจากหน่วยงานต่าง ๆ ท่ีเก่ียวข้อง ผู้นำท้องถ่ิน ประชาชนให้ความ
ร่วมมือและมีมาตรการในเร่ืองการจัดชุดคุ้มครองหมู่บ้านให้ดูแลเรื่องความปลอดภัยและประสานกับ
ผู้นำศาสนา ผู้นำทอ้ งถิ่น ทำให้เจา้ หนา้ ทีส่ ามารถปฏิบตั งิ านไดอ้ ยูใ่ นระดับทนี่ า่ พอใจ
- ให้ศูนย์อำนวยการเดินสำรวจออกโฉนดที่ดินฯ หยุดการปฏิบัติงาน ในภาคสนามในเดือน
เมษายน ๒๕๖๓ เพื่อเป็นการตอบสนองนโยบายของรัฐบาลในการประกาศสถานการณ์ฉุกเฉิน และ
เพ่อื ไม่ใหส้ ่งผลกระทบกบั เปา้ หมาย จึงใหไ้ ปฏบิ ัติงานภาคสนามทดแทน
- ให้ผู้อำนวยการศูนย์ฯ/เจ้าหน้าที่เร่งรัดตรวจสอบ ดำเนินการออกเอกสารสิทธิท่ีดินให้แก่
ประชาชนด้วยความถูกต้องเป็นธรรมโดยยึดกฎหมายระเบียบเป็นหลัก ตามนโยบายของกระทรวงฯ
อย่างเคร่งครดั อย่าใหเ้ กดิ กรณเี รียกรับเงินจากราษฎร หรอื ออกเอกสารสทิ ธโิ ดยมิชอบเปน็ อันขาด หากมี
อุปสรรคปัญหาใด ๆ เกี่ยวกับการปฏิบัติหน้าที่ไม่ว่าจะเป็นข้อกฎหมาย หรือข้อเท็จจริงที่ยังไม่กระจ่าง
ชัดเจน หรือกรณีท่ีเกิดจากการข่มขู่คุกคามจากผู้มีอิทธิพลให้ออกเอกสารสิทธิโดยมิชอบ ขอให้
พิจารณาด้วยความรอบคอบระมัดระวังหากมีเร่ืองใดท่ีเกินอำนาจหน้าที่ ควรนำเร่ืองปรึกษาหารือหรือ
รายงานให้ผูบ้ งั คบั บัญชาพิจารณาตามลำดับช้ันเพื่อมิใหเ้ กิดความเสียหายใด ๆ แกร่ าชการ/ประชาชน
- ให้ความสำคัญกับภาคประชาชนในพื้นที่ โดยการประชาสัมพันธ์สร้างการรับรู้เกี่ยวกับ
แผนดำเนินงานทั้งในส่วนของประชาชน ผู้ปกครองท้องท่ี ผู้นำองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นเก่ียวกับ
การปฏิบัติงานตามโครงการฯ ระเบียบ กฎหมาย และหลักเกณฑ์ ข้ันตอนการเดินสำรวจรังวัดออก
โฉนดท่ีดินและสอบเขตโฉนดท่ีดินด้วยระบบ RTK GNSS Network เพ่ือการมีส่วนร่วมเก่ียวกับการ
เตรยี มการ และการแก้ไขปัญหารว่ มกัน

๒๘

- ให้ตระหนักถึงผลดำเนินการออกโฉนดที่ดิน เนื่องจากเป็นการสร้างความเชื่อมั่น
ความคาดหวัง ความต้องการอย่างยั่งยืนของพ่ีน้องประชาชน ๓ จังหวัดชายแดนภาคใต้ ในการมี
เอกสารสิทธใิ นท่ีดนิ เพื่อประโยชน์สุขตอ่ การพัฒนาคุณภาพชีวิต ความเป็นอยู่ ความมนั่ คงอยา่ งยั่งยืน
ในการถือครองทรัพยส์ ิน รวมท้ังการแก้ไขปัญหาขอ้ ขดั แยง้ มีแนวเขตที่ดินท่แี น่นอน สรา้ งความชดั เจน
เกย่ี วกบั การถือครองทีด่ ินระหว่างรัฐกบั ประชาชน และประชาชนดว้ ยกันเอง

- กรณีพื้นที่ดำเนินการของผู้ขอมีแนวเขตที่ดินติดตอ่ คาบเกี่ยวกับท่ีดินสาธารณประโยชน์
ท่ีดินราชพัสดุ ให้ใช้ความระมัดระวัง รอบคอบ โดยคำนึงถึงมาตรการการคุ้มครองป้องกันท่ีดินของรัฐด้วย
และส่งข้อมูลศูนย์อำนวยการเดินสำรวจออกโฉนดที่ดินฯ ให้สำนักมาตรฐานการออกหนังสือสำคัญ
เพือ่ เป็นข้อมูล

โครงการระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการเรื่องร้องเรียนร้องทุกข์(E-Contacts) /การแก้ไขปัญหา
งานรอ้ งเรยี นรอ้ งทกุ ขด์ ้านที่ดนิ

ปัญหาอุปสรรค/ข้อสังเกต ไดต้ ิดตามเร่ืองร้องเรียน/ร้องทุกข์ และเรื่องทูลเกล้าฯ ถวายฎีกา
ขอพระราชทานความเป็นธรรมและฎีกาขอพระราชทานความช่วยเหลือ ในระบบสารสนเทศเพ่ือการ
จัดการเร่ืองร้องเรียนร้องทุกข์ (E-Contacts) ของศูนย์ดำรงธรรมกรมที่ดิน พบว่า หลายแห่งได้มีการ
จัดการเรื่องจนเป็นท่ียุติและเร่งดำเนินการทำให้สัดส่วนลดลงในระดับยอมรับได้ เช่น สำนักงานท่ีดิน
จังหวัดชุมพร มีเร่ืองร้องเรียน/ร้องทุกข์ ตามบัญชีของ ศูนย์ดำรงธรรมกรมท่ีดิน จำนวน ๔๕ เร่ือง
ยุติ จำนวน ๑๕ เรื่องอยู่ระหว่างดำเนินการของสำนัก/กอง จำนวน ๒๒ เรื่อง อยู่ระหว่างดำเนินการของ
จังหวัด จำนวน ๘ เรื่อง และไม่มีเร่ืองทูลเกล้าฯ ถวายฎีกาขอพระราชทานความเป็นธรรมและฎีกา
ขอพระราชทานความช่วยเหลือแต่อย่างใดและพบว่า บางแห่งข้อมูลตามระบบของศูนย์ดำรงธรรม
กรมท่ีดินกับระบบของจังหวัดมีจำนวนเรื่องไม่ตรงกัน เช่น จังหวัดมหาสารคามและจังหวัดร้อยเอ็ด
ส่วนการปฏิบัติงานร้องเรียน/ร้องทุกข์ดังกล่าว เจ้าหน้าที่ได้เร่งรัดดำเนินการและมีความเคล่ือนไหว
อยา่ งตอ่ เนอื่ ง

ขอ้ เสนอแนะ/แนวทางการแก้ไข
ได้เร่งรัดและให้คำแนะนำแนวทางการปฏิบัติงานเร่ืองร้องเรียนที่อยู่ระหว่างดำเนินการ
ท้ังหมด โดยเฉพาะเรื่องร้องเรียนท่ีค้างนานกว่า ๒ ปี ให้เสร็จสิ้นตามข้อกฎหมาย และระเบียบ
ทเ่ี กยี่ วข้องโดยเร่งด่วน รวมท้ัง ให้เจ้าพนักงานที่ดินจังหวัดท้ังสองจังหวัดให้ความสำคัญกับการบริหาร
จัดการเร่ืองร้องเรียน/ร้องทุกข์ และการแก้ไขปัญหา โดยให้แสดงสถานะของเร่ืองร้องเรียน/ร้องทุกข์
ในระบบ E-Contacts ให้ถูกต้อง ครบถ้วน เปน็ ปจั จุบนั กรณีเร่อื งทูลเกล้าฯ ถวายฎีกาขอพระราชทาน
ความเป็นธรรมและฎีกาขอพระราชทานความช่วยเหลือ ขอให้เจา้ พนักงานที่ดินจังหวัดทั้งสองจังหวดั
ให้ความสำคัญพิจารณาดำเนินการโดยเร่งด่วนหรือหาข้อยุติให้ได้โดยเร็ว โดยถือปฏิบัติตามรูปแบบ
แนวทางและกรอบระยะเวลาตามท่ีสำนักงานองคมนตรีกำหนดอย่างเคร่งครัด ตามหนังสือกรมที่ดิน
ท่ี มท ๐๕๒๗.๓/ว ๒๕๖๕๘ ลงวันที่ ๑๒ พฤศจิกายน ๒๕๖๒ ตลอดจนกำชับเจ้าหน้าที่ในสำนักงาน
ที่ดินให้ปฏิบัติงานด้วยความระมัดระวัง รอบคอบ ถูกต้องตามกฎหมาย อย่าให้เกิดมีกรณีร้องเรียน
การปฏิบัติงาน และหากมีให้สกัดปัญหาในพื้นที่สร้างความรับรู้ ความเข้าใจท่ีถูกต้องโดยเร็วและ
ถอื ปฏิบัติตามหนงั สือกรมท่ีดิน ที่ มท ๐๕๒๗.๓/ว ๒๔๓๐๒ ลงวันที่ ๒๒ ตุลาคม ๒๕๖๒ เร่ือง แก้ไข

๒๙

ปัญหางานร้องเรียนร้องทุกข์ด้านที่ดิน และรายงานผลการดำเนินการให้จังหวัดทราบ พร้อมสำเนา
ให้กรมที่ดินทราบ ภายในวันที่ ๕ ของทุกเดือนรวมท้ังสำนัก/กองท่ีได้รับเร่ืองร้องเรียน/ร้องทุกข์
จากระบบของศูนย์ดำรงธรรมกรมที่ดิน จะต้องลงรับในระบบทุกเร่ืองที่ได้รับ และจะต้องแสดงความ
คืบหนา้ ในระบบทกุ คร้งั ทม่ี ีความเคลื่อนไหวของงาน

๓๐

สว่ นที่ ๗

ความเสย่ี งของแผนงาน/โครงการ ๔.๐

นยิ ามความเสย่ี ง
ความเสี่ยง คือ โอกาสที่จะเกิดความผิดพลาด ความเสียหายการรั่วไหล ความสูญเปล่า

หรือเหตุการณ์ที่ไม่พึงประสงค์ที่ทำให้งานไม่ประสบความสำเร็จตามวัตถุประสงค์และเป้าหมายที่
กำหนด

ความเสี่ยง คือ เหตุการณ์/การกระทำใดๆ ท่ีอาจเกิดขึ้นภายใต้สถานการณ์ท่ีไม่แน่นอน
การเปล่ียนแปลง และส่งผลกระทบ หรือสร้างความเสียหายหรือความล้มเหลว หรือลดโอกาสที่จะ
บรรลุวตั ถุประสงค์ท้งั ในระดับองคก์ ร ระดบั หนว่ ยงาน และระดบั บคุ คลได้

ความเสี่ยงด้านปฏิบัติการ หมายถึง ความเสี่ยงท่ีจะเกิดความเสียหายอันเน่ืองมาจากการ
ขาดการกํากับดูแลกิจการที่ดี หรือขาดธรรมาภิบาลในองค์กร และการขาดการควบคุมที่ดี โดยอาจ
เก่ียวข้องกับกระบวนการปฏิบัติงานภายใน คน ระบบงาน หรอื เหตุการณ์ภายนอก และส่งผลกระทบ
ตอ่ รายไดแ้ ละเงินกองทุนขององค์กร

แหลง่ ท่ีมาของความเสี่ยง
เหตแุ ห่งความเส่ยี งด้านปฏิบัติการ เปน็ ความเส่ยี งทีจ่ ะเกิดความเสยี หายโดยตรงหรือโดยอ้อม
เนื่องจากการขาดระบบงาน การขาดการควบคุมท่ีดี การจัดการภายในล้มเหลวจนทำให้เกิดความสญู เสีย
และความผิดพลาดในการปฏิบตั ิงาน โดยมสี าเหตุต่าง ๆ ดังนี้
1. ความเส่ียงทีเ่ กิดจากบุคลากร (People Risk) ได้แก่

• ความด้อยศักยภาพของเจ้าหน้าที่
– การขาดความรคู้ วามชำนาญในงานทรี่ ับผดิ ชอบ
– การขาดความสามารถในการทำงานเปน็ ทมี
– การละเลยไมใ่ ห้ความสำคัญกับผ้รู ับบรกิ าร
– การขาดการทำงานแบบมืออาชีพ
– การขาดความสามารถในการวเิ คราะห์หรือใชว้ จิ ารณญานในการตัดสนิ ใจ
– การตคี วามข้อมลู ที่ใชใ้ นการปฏิบัตงิ านผิดพลาด

• การทุจรติ
– การทุจริตหรือกระทำผดิ จรรยาบรรณ
– การใชต้ ำแหน่งหน้าท่ขี องตนเพื่อประโยชนส์ ว่ นตวั
• ความผดิ พลาดของเจา้ หน้าที่ (Human Error)
– ความผิดพลาดของเจ้าหนา้ ทใี่ นการปฏบิ ตั งิ าน โดยมไิ ด้มีเจตนาจะกระทำผดิ หรอื ทจุ ริต
– ความประมาท เลนิ เลอ่ หรอื ไมร่ อบคอบ

• การบริหารและการจดั การบุคลากร
– การบรหิ ารทรพั ยากรบุคคลไม่เหมาะสม เช่น การมีเจ้าหนา้ ท่ีมาก-น้อยเกินไป
– การดอ้ ยประสิทธภิ าพในการสรรหา

๓๑

– การมอบหมายงานไม่ตรงตามความสามารถ
– การขาดการอบรมให้พนกั งานมีความเชี่ยวชาญหรอื เพิ่มขีดความสามารถในการปฏบิ ตั งิ าน
– การขาดเคร่ืองมือในการสรา้ งแรงจูงใจใหพ้ นักงานท่มี ีความสามารถให้คงอยู่กบั องคก์ ร
– การประเมินผลงานท่ีไมย่ ุตธิ รรม
– คา่ ตอบแทนทีไ่ มเ่ หมาะสม
– การพ่ึงพิงกับพนกั งานหลักมากเกินไป
• การบรหิ ารทรัพยากรขององคก์ ร
– การบรหิ ารทรพั ยากรขององค์กรไมเ่ หมาะสม เชน่ ไมม่ ีอุปกรณ์ที่ให้ความสะดวก

หรือมีไม่เพยี งพอต่อความจำเปน็ ในการปฏิบตั ิงาน อปุ กรณ์ไม่อยู่ในสภาพทีด่ ตี ่อการใช้งาน
– การมีโครงสรา้ งพนื้ ฐานทางเทคโนโลยีทไ่ี มเ่ หมาะสมกับงานหรือล้าสมยั

2. ความเสีย่ งทีเ่ กิดจากกระบวนการหรือขนั้ ตอนการปฏิบัตงิ าน(Process Risk)
• ความบกพร่องของการบรหิ ารองค์กรที่ไดค้ ณุ ภาพ (Model / Methodology Error)
- ความบกพร่องของการวางแผนการใชโ้ ปรแกรมเพือ่ การบริหารและการจัดการแบบ
บรู ณาการ(Plan – Do – Check – Act)
- ความผิดพลาดในการพัฒนากำหนดสูตรการคำนวณต่าง ๆ เช่นการกำหนด
นำ้ หนักของกลยทุ ธ์ พนั ธกจิ แผนงานและโครงการต่าง ๆ ของ องค์กรในการก้าว
สวู่ ิสยั ทศั นท์ ก่ี ำหนด ในกรณีท่ีเป็นสถาบันการเงินก็จะเป็นความผิดพลาดจากการ
กำหนดอัตราส่วนทางการเงิน การประเมนิ มูลค่าหลกั ทรพั ย/์ ทรัพย์สนิ /หนีส้ นิ และการ
ประเมนิ มลู คา่ หลักประกันผิดพลาด
- ข้อบกพร่องของวิธกี าร/ข้ันตอนการปฏบิ ัติงาน ซ่งึ ทำใหก้ ารปฏบิ ตั งิ านไม่มี
ประสิทธภิ าพเพียงพอ
- การรายงานผลต่าง ๆ ไมถ่ ูกต้อง และขาดการติดตาม
- ผลติ ภณั ฑ์ และบรกิ ารทีไ่ มเ่ หมาะสม
- การกำหนดน้ำหนักของงบประมาณเพ่อื ขับเคลือ่ นแผนงานของการบรรลเุ ป้าหมาย
- ที่ไมส่ ัมพนั ธก์ บั วสิ ัยทัศน์และเปา้ ประสงค์ขององค์กร
- การออกแบบ/พฒั นาและส่งเสริมผลิตภณั ฑแ์ ละบริการไม่สอดคล้องกบั ทิศทาง
ของพันธกิจและวสิ ัยทศั น์
- ผลิตภัณฑ์/บรกิ ารมีความซับซ้อนหรอื มีข้อบกพร่อง หรือไม่อาจวัดผลความสำเร็จ
ทช่ี ดั เจนเปน็ รปู ธรรม ทำใหผ้ ูม้ ผี ลประโยชน์รว่ มไม่พึงพอใจ
• การปฏิบัตติ ามกฎหมาย กฎเกณฑ์ ของผู้กำกับเกดิ จากการกำกับดแู ลและกฎระเบยี บ

ทอ่ี งค์กรเผชิญอยู่ หากองค์กรวางแผนการปฏบิ ัติต่าง ๆ ไม่สอดคลอ้ งกับขอ้ กำหนดของทางการหรือหน่วยงาน
ทก่ี ำกบั ดูแลความเส่ยี งจากการตคี วามขอ้ กฎหมายท่เี ออ้ื อำนวยตอ่ การดำเนนิ ธุรกิจขององคก์ ร

• การส่อื สารเพ่ือสร้างความเข้าใจ (Communication)
– การเขา้ ใจไมต่ รงกนั ในการสือ่ ขอ้ ความทำให้ตคี วามผิดพลาด
– การส่อื สารทีไ่ มท่ ว่ั ถงึ ทุกฝา่ ยงานที่เกย่ี วข้อง

๓๒

– การขาดการประสานงาน/ร่วมมือทด่ี ีระหว่างฝา่ ยงาน
– ขอ้ มูลทเ่ี ผยแพร่ภายนอกองคก์ รไมถ่ ูกต้อง ไมส่ อดคล้องกันก่อให้เกดิ ความ

ไม่น่าเชอื่ ถือ โดยเฉพาะกรณีท่มี ีการนำข้อมูลไปใชอ้ ้างอิง
• ระบบงานขาดมาตรฐานและการควบคมุ ที่ดี

– การขาดมาตรฐาน/ค่มู ือ/แนวทางและรายละเอียดในการปฏบิ ัติงาน
– การขาดระบบการตรวจสอบ/การควบคมุ /การรกั ษาความปลอดภยั ทดี่ หี รือมี

ไม่เพียงพอความเสีย่ งที่เกดิ จากการใช้เทคโนโลยี (Technology Risk)
• การรักษาความปลอดภยั ตามมาตรฐานทีด่ ี

– การขาดระบบรักษาความปลอดภัยของขอ้ มลู หรือระบบคอมพิวเตอร์ ตลอดจน
การสำรองข้อมลู หรือมีแตด่ อ้ ยประสิทธภิ าพ

– การขาดมาตรการควบคมุ และตรวจสอบระบบอยา่ งสม่ำเสมอ
– การขาดแผนสำรองฉุกเฉิน
• ระบบงานมีข้อผิดพลาดหรือลม้ เหลว
– ความผดิ พลาด/ความสูญเสยี ของระบบ เนือ่ งจากอคั คภี ัย ภยั ธรรมชาติ
– ปัญหาดา้ นเทคนคิ กระแสไฟฟา้ ขัดขอ้ ง
– ระบบสญู เสียความสามารถบางส่วน/ทัง้ หมด จากการทำลายของไวรัสคอมพิวเตอร์
• ความบกพร่องของโปรแกรมคอมพิวเตอร์
– ความผดิ พลาด/ไมส่ มบูรณ์ของโปรแกรมคอมพิวเตอร์ทใ่ี ช้ความบกพร่องของระบบ

การส่ือสาร
– การขัดข้องของระบบการสอื่ สาร เชน่ Computer Network , โทรศพั ท์ , โทรสาร
• สารสนเทศทีใ่ ช้ในการบริหารและปฏบิ ตั ิงานไมน่ ่าเชื่อถอื
– ขอ้ มูลสำหรับการปฏิบัติงานมไี ม่เพยี งพอ ไมส่ มบูรณ์ ไม่ถกู ต้อง
– ระบบข้อมูลไม่ถกู ตอ้ ง ทำให้ไมส่ ามารถนำข้อมูลไปใชง้ านได้
– การมีหลายระบบที่แสดงข้อมูลในลกั ษณะเดียวกนั แต่แสดงข้อมูลไมส่ อดคล้อง/ไม่ตรงกัน

3. ความเส่ยี งที่เกิดจากเหตุการณภ์ ายนอก (External Risk)
– ความไม่แน่นอนของนโยบายของรฐั และหน่วยงานท่ีเกี่ยวขอ้ ง
– การสญู เสียทีเ่ กิดขน้ึ กับทรัพย์สินหรอื รายไดอ้ ันเน่ืองมาจากอบุ ัติภยั ต่าง ๆ
ทไี่ ม่คาดคิด เช่นไฟไหม้ น้ำทว่ ม แผ่นดนิ ไหว
– ความเสยี หายจากการทีค่ คู่ ้าหรือคู่สัญญาขององค์กรไม่สามารถปฏบิ ตั ติ ามข้อตกลง
หรือปฏบิ ัตติ ามสญั ญาที่ใหไ้ วก้ ับองค์กรได้
– ความเสียหายจากการท่คี ู่ค้าหรือคสู่ ญั ญาขององคก์ ร ใช้องคก์ รเป็นเคร่ืองมือในการ
ฟอกเงนิ และกระทำผิดกฎหมาย
– การขาดแผนรองรับเหตกุ ารณ์ฉกุ เฉินตา่ ง ๆ
– ไมม่ กี ารทำประกนั ภัย ในธุรกรรมใด ๆ ที่มีความเส่ียง

๓๓

สว่ นท่ี ๘

ข้อสังเกตและประเดน็ การตรวจราชการและผลการพัฒนาตามตัวชวี้ ดั สู่การพัฒนา
ยุคกรมที่ดนิ 4.0 ประจำปงี บประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๓

กรอบแนวทางการประเมนิ ผลการปฏบิ ตั งิ านเพื่อสนองตอบการดำเนนิ งานกรมทีด่ ิน ๔.๐
เปน็ การประเมนิ ผลการดำเนินการทัง้ กระบวนการและผลลพั ธ์ ตามประเดน็ ท่ีได้กำหนดคลอบคลุม
๔ ดา้ น ไดแ้ ก่ ด้านระบบงานบริการ ดา้ นอาคารสถานที่และสิง่ อำนวยความสะดวก ด้านบคุ ลากร
และดา้ นอื่นๆ

ตวั ช้วี ัดที่ ๑ ระดับความสำเร็จของการจดั ทำแผนปฏบิ ัติการ (Action Plan)
การพฒั นาคุณภาพการใหบ้ ริการ

สรปุ การดำเนนิ งานเดิม
มีการจัดทำแผนปฏบิ ตั งิ าน (Action Plan) การพัฒนาคณุ ภาพการให้บริการฯ ประจำปี
งบประมาณ พ.ศ. 2563 และมีการจดั ทำโครงการ/กจิ กรรมยอ่ ย
สรุปการดำเนนิ งานตามตัวชี้วดั
1. มกี ารจัดทำแผนปฏิบตั ิงาน (Action Plan) การพฒั นาคุณภาพการใหบ้ ริการของ
สำนักงานท่ีดิน

2. มีการนำแผน Action Plan ไปสื่อสารเพ่ือถ่ายทอดให้ผู้เกี่ยวข้องนำไปปฏิบัติ ในการประชุม
ประจำเดือน ณ สำนักงานท่ีดิน และได้จัดทำคำสั่งแบ่งงานให้เจ้าหน้าที่รับผิดชอบในการปฏิบัติงาน
ตามแผนปฏบิ ัติการ

3. มีการติดตามผลการดำเนินงานตามแผน โดยหัวหน้างาน หัวหน้าฝ่ายท่ีรับผิดชอบ
โครงการ และมีการรายงานผลการดำเนินงาน พร้อมทั้งปัญหาอุปสรรคในที่ประชุมประจำเดือนของ
สำนักงานที่ดนิ ทุกเดอื น

๓๔

4. นำแนวทางฯ ไปสื่อสารเพื่อให้ผู้ท่ีเกี่ยวข้องนำไปปฏิบัติอย่างเป็นรูปธรรม และจัดทำป้าย
ประชาสัมพันธ์ให้ประชาชนทราบ การเตรียมเอกสาร ข้ันตอน และรายละเอียดในการติดต่อขอรับ
บริการ

5. มีการติดตามผลการดำเนินงานตามแผนฯ โดยหัวหน้าฝ่ายที่รับผิดชอบโครงการ และมีการ
รายงานผลการดำเนินงาน พร้อมทง้ั ปัญหาอุปสรรคในที่ประชุมประจำเดือนของสำนกั งานท่ีดินทุกเดือน

ตัวชี้วัดที่ ๒ ความสำเร็จของการเปดิ ช่องทางการใหบ้ ริการที่มคี วามหลากหลาย
ตัวชี้วดั ที่ ๒.๑ ระดับความสำเรจ็ ของการเปิดช่องทางการใหบ้ ริการที่มีความหลากหลาย
สรุปการดำเนนิ งานเดิม
ช่องทางที่ 1 การใหบ้ ริการงานทะเบียนตามลำดับควิ
ช่องทางท่ี 2 การให้บริการงานด้านรงั วัดตามควิ รังวดั
ชอ่ งทางที่ 3 การใหบ้ ริการจดทะเบียนตา่ งสำนักงาน
ชอ่ งทางท่ี 4 เปดิ บรกิ ารช่องงานด่วน (งานเบด็ เตลด็ )
ช่องทางท่ี 5 เปิดบรกิ ารนดั จดทะเบยี นสิทธิและนิติกรรมล่วงหน้า
สรปุ การดำเนินงานตามตัวชีว้ ดั
ช่องทางท่ี 1 มีการประชาสัมพันธ์การให้บริการนัดจดทะเบียนสิทธิและนิติกรรม

ลว่ งหน้า
ชอ่ งทางที่ 2 มีการใหบ้ ริการจดทะเบียนตา่ งสำนักงาน
ชอ่ งทางที่ 3 การใหบ้ ริการงานด้านรงั วดั เอกชน
ชอ่ งทางที่ 4 เปิดบรกิ ารระบบรบั ส่งข้อมลู ที่ดินตา่ งสำนักงาน (LandsFax)
ชอ่ งทางท่ี 5 การให้บรกิ ารช่องทาง Applicationline ของสำนกั งานทดี่ ินกรงุ เทพมหานคร
ชอ่ งทางท่ี 6 การให้บริการชอ่ งทาง Application Line และ Line@ ของสำนักงานทดี่ ิน
ช่องทางท่ี 7 เปิดให้บริการประเมนิ ราคาห้องชุดทางเฟซบกุ๊ (Facebook)

ตวั ชวี้ ดั ท่ี ๒.๒ จำนวนช่องทางการใหบ้ ริการ
สรปุ การดำเนนิ งานเดมิ

ชอ่ งทางที่ 1 การให้บรกิ ารงานทะเบยี นตามลำดบั ควิ
ช่องทางท่ี 2 การใหบ้ ริการงานด้านรังวดั ตามควิ รงั วัด
ช่องทางท่ี 3 การให้บริการจดทะเบียนต่างสำนกั งาน
ช่องทางที่ 4 เปดิ บริการชอ่ งงานด่วน (งานเบด็ เตลด็ )
ชอ่ งทางท่ี 5 เปดิ บริการนดั จดทะเบียนสิทธแิ ละนิตกิ รรมล่วงหน้า

สรุปการดำเนนิ งานตามตวั ชี้วัด
ช่องทางท่ี 1 มีการประชาสัมพันธ์การให้บริการนัดจดทะเบียนสิทธิและนิติกรรม
ลว่ งหน้า
ชอ่ งทางท่ี 2 มีการให้บรกิ ารจดทะเบียนตา่ งสำนกั งาน

๓๕

ชอ่ งทางท่ี 3 การใหบ้ รกิ ารงานดา้ นรงั วัดเอกชน
ชอ่ งทางที่ 4 เปิดบรกิ ารระบบรบั สง่ ขอ้ มลู ทดี่ นิ ตา่ งสำนกั งาน (LandsFax)
ชอ่ งทางที่ 5 การใหบ้ รกิ ารชอ่ งทาง Application line ของสำนกั งานท่ดี ิน
ชอ่ งทางที่ 6 การใหบ้ ริการช่องทาง Application Line และ Line@ ของ

สำนักงานทดี่ นิ
ช่องทางท่ี 7 เปิดใหบ้ รกิ ารประเมนิ ราคาห้องชดุ ทางเฟซบ๊กุ (Facebook)

ตวั ชีว้ ดั ท่ี ๓ ระดับความสำเร็จของการยกระดับมาตรฐานการใหบ้ ริการ
สรุปการดำเนินงานเดิม
ชอ่ งทางที่ 1 การให้บรกิ ารงานทะเบยี นตามลำดบั ควิ
ชอ่ งทางท่ี 2 การให้บริการงานด้านรังวดั ตามคิวรงั วัด
ช่องทางท่ี 3 การใหบ้ ริการจดทะเบยี นตา่ งสำนักงาน
ช่องทางที่ 4 เปิดบริการช่องงานดว่ น (งานเบด็ เตล็ด)
ช่องทางท่ี 5 เปิดบรกิ ารนดั จดทะเบียนสิทธิและนติ กิ รรมล่วงหนา้
ช่องทางท่ี 6 ขยายเวลาการปฏบิ ัติงาน เชน่ จากเดมิ 08.30 น. เป็นเวลา 08.00 น. – 16.30 น.

โดยไม่หยดุ พักเที่ยง
สรปุ การดำเนินงานตามตวั ชีว้ ดั
1. จัดให้มีโครงการจดทะเบียนแบ่งแยกไม่เกิน 9 แปลงให้รับโฉนดภายในวันเดียว เพ่ือลด
ขั้นตอนการปฏิบัติงาน เพิ่มประสิทธิภาพในการให้บริการและสร้างความพึงพอใจ ประหยัดเวลาและ
ค่าใช้จา่ ยใหก้ ับประชาชนในการจดทะเบียนแบง่ แยกแปลงย่อยไมเ่ กิน 9 แปลง
2. จดั ให้มีโครงการขอทราบราคาประเมินห้องชดุ ผา่ นทางเวบ็ ไซต์สำนักงานที่ดิน
3. จัดให้มีโครงการนำเข้าภาพลักษณ์เอกสารการจดทะเบียนอาคารชดุ และนิติบุคคลอาคารชุด
4. จัดใหม้ โี ครงการแจ้งเตือนงานผ่านทางApplication line

ตัวชี้วดั ที่ ๔ ความสำเรจ็ ของการนำเทคโนโลยสี ารสนเทศและการสือ่ สารมาใชใ้ นการให้บรกิ าร
ตวั ชี้วดั ท่ี ๔.๑ จำนวนระบบเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารทนี่ ำมาใช้ในการให้บริการ
สรปุ การดำเนนิ งานเดมิ
ระบบท่ี ๑ การนำระบบคอมพวิ เตอรม์ าใช้ในการรับคิวอัตโนมัติ
ระบบท่ี ๒ การนำระบบคอมพวิ เตอร์มาใชใ้ นการจดทะเบยี น
ระบบท่ี ๓ การนำระบบคอมพิวเตอรม์ าใชใ้ นการตรวจสอบหลักทรัพย์
ระบบที่ 4 การนำระบบคอมพวิ เตอรม์ าใช้ในออกใบเสร็จรบั เงิน
ระบบที่ 5 การเขยี นแผนท่ดี ้วยระบบคอมพวิ เตอร์

สรปุ การดำเนินงานตามตวั ชี้วดั
ระบบที่ ๑ การเชื่อมต่อข้อมลู ทะเบยี นราษฎรข์ องกรมการปกครอง
ระบบที่ 2 การเช่ือมตอ่ กับกรมธุรกิจการคา้

๓๖

ระบบที่ 3 การนำระบบคอมพวิ เตอร์มาใชใ้ นการจดทะเบียน
ระบบที่ 4 การนำระบบคอมพิวเตอร์มาใช้ในการตรวจสอบหลกั ทรัพย์
ระบบท่ี 5 การนำระบบคอมพิวเตอรม์ าใชใ้ นการรบั ควิ อตั โนมตั ิ

ตวั ชีว้ ัดที่ ๔.๒ ระดับความสำเรจ็ ของการจดั ระบบตรวจสอบและปรบั ปรุงฐานขอ้ มลู
ทะเบยี นท่ีดนิ ประจำวัน

สรุปการดำเนินงานเดิม
1. มกี ารกำหนดแนวทางระบบตรวจสอบและปรบั ปรุงฐานข้อมูลทะเบียนที่ดินประจำวันโดย

กำหนดให้เจ้าหน้าที่ฝ่ายทะเบียนดำเนินการปรับปรุงฐานข้อมูลทะเบียนท่ีดินเป็นประจำ
ทกุ วนั
2. มีคำส่งั กำหนดหนา้ ทกี่ ารตรวจสอบฐานขอ้ มูล
3. มกี ารนำแนวทางฯ ไปส่ือสารใหผ้ ้เู กีย่ วข้องนำไปปฏบิ ัตติ ามคำสัง่ แบง่ งานของฝา่ ยทะเบยี น
4. มีการติดตามผลการดำเนนิ งานอยา่ งตอ่ เน่อื งโดยเจา้ หน้าท่ีรายงานผลการดำเนนิ การทุกวัน
5. มกี ารรายงานผลการดำเนนิ งาน โดยเจ้าหน้าที่รายงานหัวหน้าฝ่ายและเสนอเจ้าพนักงานที่ดิน
ทราบทุกวนั

สรุปการดำเนินงานตามตวั ช้ีวัด
1. มีคำสงั่ กำหนดหนา้ ทีก่ ารตรวจสอบฐานขอ้ มูล
2. มกี ารกำหนดแนวทางระบบตรวจสอบและปรับปรุงฐานขอ้ มูลทะเบียนทดี่ นิ ประจำวนั
3. โดยกำหนดให้เจ้าหน้าที่ฝ่ายทะเบียนดำเนินการปรับปรุงฐานข้อมูลทะเบียนท่ีดินเป็น

ประจำทกุ วัน
4. มีการนำแนวทางฯ ไปสื่อสารใหผ้ เู้ กย่ี วขอ้ งนำไปปฏิบัติตามคำสั่งแบ่งงานของฝา่ ยทะเบียน
5. มกี ารตดิ ตามผลการดำเนินงานอยา่ งตอ่ เนือ่ งโดยเจา้ หนา้ ท่ีรายงานผลการดำเนินการทุกวนั
6. มีการรายงานผลการดำเนินงาน โดยเจ้าหน้าที่รายงานหัวหน้าฝ่าย และเสนอเจ้าพนักงานท่ีดิน

ทราบทุกวัน

ตัวชี้วัดที่ ๔.๓ ระดับความสำเร็จของระบบการตรวจสอบและปรับปรุงฐานข้อมูลทะเบียน
ท่ดี ินในภาพรวม

สรปุ การดำเนินงานเดิม
1. กำหนดแนวทางระบบตรวจสอบและปรับปรุงฐานข้อมูลทะเบียนที่ดินในภาพรวม

โดยการให้เจ้าหน้าที่ฝ่ายทะเบียนตรวจสอบการปรับปรุงข้อมูลจากฐานข้อมูล และ
เสนอหัวหนา้ งานตรวจสอบเปน็ ประจำทุกวนั
2. มีการนำแนวทางฯ ไปส่ือสารให้ผู้เกี่ยวข้องนำไปปฏิบัติ ตามคำส่ังสำนักงานที่ดิน
กำหนดหนา้ ท่ีความรบั ผดิ ชอบและมอบหมายงานให้เจ้าหน้าท่ีในฝ่ายทะเบียน
3. มีการติดตามผลการดำเนินงานอย่างต่อเนื่องโดยเจ้าหน้าที่รายงานให้หัวหน้าฝ่าย
ทะเบยี นทราบ
4. มกี ารสรปุ ผลการดำเนินงานเพ่อื เสนอรายงานใหเ้ จา้ พนักงานท่ดี นิ ทราบ

๓๗

5. มีการรายงานผลการดำเนนิ งานโดยหวั หน้าฝ่ายทะเบียนรายงานใหเ้ จ้าพนักงานท่ีดิน
ทราบและสง่ั การ

สรุปการดำเนนิ งานตามตัวชีว้ ัด
1. มีคำส่ังให้เจา้ หนา้ ท่ีการตรวจสอบฐานและปรับปรุงฐานข้อมลู ทะเบียนที่ดิน
2. มีการกำหนดแนวทางระบบการตรวจสอบและปรับปรุงฐานข้อมูล โดยยึดถือตาม

แนวทางที่กรมที่ดินได้กำหนดวิธีการไว้ โดยมีคำสั่งแต่งตั้งเจ้าหน้าที่รับผิดชอบ
ดำเนินการตามแนวทาง
3. มีการวางแนวทางระบบตรวจสอบและปรับปรุงฐานข้อมูลทะเบียนท่ีดินในภาพรวมโดย
การให้เจ้าหน้าท่ีฝา่ ยทะเบียนตรวจสอบการปรับปรุงขอ้ มลู จากฐานข้อมูล และเสนอหัวหน้า
งานตรวจสอบเป็นประจำทุกวนั
4. มีการนำแนวทางฯ ไปส่ือสารให้ผู้เก่ียวข้องนำไปปฏิบัติ ตามคำส่ังสำนักงานที่ดิน
กำหนดหนา้ ทค่ี วามรับผดิ ชอบและมอบหมายงานใหเ้ จ้าหนา้ ท่ใี นฝ่ายทะเบยี น
5. มีการติดตามผลการดำเนินงานอย่างต่อเนื่องโดยเจ้าหน้าท่ีรายงานให้หัวหน้าฝ่าย
ทะเบยี นทราบ
6. มกี ารสรุปผลการดำเนนิ งานเพอ่ื เสนอรายงานให้เจ้าพนักงานท่ดี นิ ทราบ
7. มีผลการเช่ือมโยงข้อมูลที่ดิน ข้อมูลทะเบียน ข้อมูลรูปแปลง ได้ มากกว่า ๙๕-99
เปอรเ์ ซ็นต์
ตัวช้ีวัดท่ี ๔.๔ รอ้ ยละความถูกต้องของข้อมลู ทะเบยี นที่ดนิ *
สรปุ การดำเนนิ งานเดิม-
สรปุ การดำเนนิ งานตามตวั ชี้วัด
จากการสมุ่ ตรวจทะเบยี นท่ดี นิ จากโฉนดท่ีดนิ /น.ส.๓ก จำนวน............................ฉบับ
ปรากฏวา่ ข้อมูลถกู ต้องตรงกัน จำนวน....................................ฉบบั (คิดเป็นร้อยละ............................)
ตวั ชี้วัดที่ ๕ ระดับความสำเร็จของการนำหลกั ระบบการประกนั คุณภาพมาตรฐาน

การให้บริการมาใช้
สรุปการดำเนนิ งานเดมิ
ไม่มีการนำหลกั ระบบการประกันคุณภาพมาตรฐานการให้บรกิ ารมาใชใ้ นสำนักงานท่ีดินแต่
อยา่ งใด
สรุปการดำเนนิ งานตามตัวชว้ี ัด
1. มกี ารใหบ้ รกิ ารจดทะเบยี นแบง่ แยกไม่เกิน 9 แปลง สามารถรับโฉนดท่ีดนิ ได้ในวนั จดทะเบยี น
2. มีการกำหนดแนวทางในการดำเนินการตามพระราชบัญญัติการอำนวยความสะดวกใน
การพิจารณาอนุญาตของทางราชการ พ.ศ. 2558 มาใช้อย่างเคร่งครัด และกำหนดแนวทางในการ
นำหลกั ประกันคณุ ภาพมาตรฐานการใหบ้ รกิ ารมาใชจ้ ำนวน 3 กระบวนงานคือ

2.1 กระบวนงานจำนอง ไถถ่ อนจำนอง
2.2 กระบวนงานลงชื่อผู้จัดการมรดก
2.3 กระบวนงานรังวัดสอบเขตท่ีดิน

๓๘

3. นำแนวทางในการดำเนินการตามพระราชบัญญัติการอำนวยความสะดวกในการ
พิจารณาอนุญาตของทางราชการ พ.ศ. 2558 ไปส่ือสารให้เจ้าหน้าที่นำไปปฏิบัติ โดยจัดให้มีการ
ประชมุ ชแี้ จงเจ้าหนา้ ที่ทเี่ ก่ยี วข้อง

ตัวชี้วัดที่ ๖ ความสำเร็จของการเปิดช่องทางให้ประชาชนได้เข้าถึงข้อมูลข่าวสารที่มีความ
หลากหลาย

ตัวชี้วัดท่ี ๖.๑ระดับความสำเร็จของการเปิดช่องทางให้ประชาชนเข้าถึงข้อมูลข่าวสารที่
มีความหลากหลาย

สรปุ การดำเนินงานเดมิ
มกี ารกำหนดแนวทางในการเปดิ ช่องทางใหป้ ระชาชนได้เข้าถึงดังนี้
ชอ่ งทางท่ี 1 บริการตอบข้อซักถามผ่านทางเบอร์โทรศัพท์สำนกั งานที่ดิน
ช่องทางท่ี 2 คู่มือแนะนำประชาชน
ชอ่ งทางที่ 3 ผ่านทางศนู ย์ขอ้ มลู ข่าวสารของสำนกั งานทด่ี นิ
ช่องทางที่ 4 ผา่ นทาง www.fecebook.com/สนง.ทีด่ ิน
ชอ่ งทางท่ี 5 ผา่ นทาง E-mail Address
ช่องทางที่ 6 ผา่ นทาง application line ของสำนักงานที่ดิน

สรุปการดำเนนิ งานตามตวั ชวี้ ดั
ชอ่ งทางที่ 1 ป้ายประกาศประชาสัมพนั ธ์
ชอ่ งทางท่ี 2 จัดทำ Line@ สำนักงานท่ีดิน ให้บริการปรึกษาและคำแนะนำ เกี่ยวกับ

ทด่ี นิ ผา่ นไลน์
ช่องทางท่ี 3 ตอบขอ้ ซกั ถามโดยพบเจา้ หนา้ ท่ีประชาสมั พนั ธ์
ช่องทางท่ี 4 บรกิ ารตอบขอ้ ซักถามผ่านทางเบอรโ์ ทรศัพท์สำนกั งานท่ดี ิน
ช่องทางที่ 5 คมู่ อื แนะนำประชาชน
ช่องทางท่ี 6 ผ่านทางศูนย์ขอ้ มูลขา่ วสารของสำนกั งานท่ดี ิน
ช่องทางท่ี 7 แผน่ พับประชาสัมพนั ธ์ของสำนักงานท่ีดนิ

มีการนำแนวทางการให้บริการไปส่ือสารให้เจ้าหน้าท่ีท่ีเกี่ยวข้องทราบ และปฏิบัติอย่าง
เป็นรูปธรรมมากยิ่งขึ้น และประชาสัมพันธ์ให้ประชาชนทราบ โดยจัดทำป้ายประชาสัมพันธ์ มีการ
ติดตามผลการดำเนินงานอย่างต่อเนื่องโดยหัวหน้าฝ่ายผู้รับผิดชอบ และมีการสรุปประเด็นปัญหา-
อปุ สรรคแจง้ ในการประชุม

ตวั ชว้ี ัดที่ ๖.๒ จำนวนชอ่ งทางทีใ่ ห้ประชาชนเข้าถึงข้อมูลข่าวสาร
สรปุ การดำเนนิ งานเดิม
ช่องทางท่ี ๑ ติดต่อสอบถามกบั เจา้ หน้าท่ีไดโ้ ดยตรง
ชอ่ งทางที่ 2 ผ่านทางเบอรโ์ ทรศัพท์สำนกั งานที่ดิน
ชอ่ งทางท่ี 3 ผา่ นทาง application line ของสำนักงานทดี่ นิ

๓๙

ชอ่ งทางท่ี 4 ผา่ นทางเว็บไซตข์ องกรมท่ดี นิ www.dol.go.th
ช่องทางท่ี 5 ผ่านทาง www.fecebook.com/ สำนักงานทีด่ นิ
ช่องทางที่ 6 ผา่ นทาง E-mail Address ของสำนักงานทดี่ นิ
ชอ่ งทางท่ี 7 ผ่านทางศูนย์ขอ้ มูลข่าวสารของ สำนักงานทีด่ นิ
ช่องทางท่ี 8 ผ่านทางเวบ็ ไซต์ http://dolwms.dol.go.thตรวจค้นหาตำแหน่งทีด่ ินฟรี
ชอ่ งทางที่ ๙ ผ่านทาง application line ของสำนกั งานทด่ี นิ

สรุปการดำเนินงานตามตวั ชีว้ ดั
ช่องทางท่ี ๑ สอบถามเจ้าหน้าท่ปี ระชาสัมพันธแ์ ละเจา้ หน้าที่ตามช่องบรกิ ารได้โดยตรง
ชอ่ งทางที่ 2 สอบถามปัญหาข้อข้องใจผ่านทางเบอรโ์ ทรศัพทส์ ำนกั งานทด่ี ิน
ชอ่ งทางที่ 3 ปา้ ยประกาศประชาสมั พนั ธ์
ชอ่ งทางที่ 4 คู่มือแนะนำประชาชน/แผ่นพับประชาสมั พันธ์
ช่องทางท่ี 5 ผา่ นทางเบอร์โทรศัพท์ Call Center ของสำนักงานท่ีดนิ
ช่องทางท่ี 6 ผา่ นทาง application line ของสำนักงานที่ดนิ
ช่องทางท่ี 7 ผา่ นทาง www.fecebook.com/ สนง.ทีด่ นิ
ช่องทางที่ 8 ผ่านทาง E-mail Address ของสำนกั งานทีด่ ิน
ช่องทางที่ 9 ผ่านทางเวบ็ ไซต์ http://dolwms.dol.go.th ตรวจค้นหาตำแหน่งท่ีดินฟรี
ช่องทางท่ี 10 ผ่านทางบริการขอ้ มลู โฉนดท่ดี ิน ดรู าคาประเมนิ ค่าใช้จา่ ยในการรังวัด

คดิ ค่าธรรมเนยี ม ภาษี อากรฟรี
ตัวชวี้ ัดท่ี ๗ ความสำเรจ็ ของการเปิดโอกาสใหป้ ระชาชนเข้ามามีส่วนรว่ มในการปรับปรงุ คุณภาพ
การให้บริการทม่ี คี วามหลากหลาย

ตัวช้ีวัดท่ี ๗.๑ ระดับความสำเร็จของการเปิดโอกาสให้ประชาชนเข้ามามีส่วนร่วมในการ
ปรับปรุงคณุ ภาพการใหบ้ ริการทีม่ คี วามหลากหลาย

สรปุ การดำเนินงานเดมิ
ช่องทางที่ ๑ ผา่ นทางเบอรโ์ ทรศพั ท์ของสำนกั งานทด่ี ิน
ชอ่ งทางท่ี ๒ ผ่านทาง www.fecebook.com ของสำนักงานท่ดี ิน
ชอ่ งทางที่ ๓ ผา่ นทาง E-mail Address ของสำนักงานท่ดี ิน
ชอ่ งทางที่ ๔ ผา่ นทางตู้รบั ความคดิ เหน็
ชอ่ งทางที่ 5 ผา่ นการทอดแบบแบบสำรวจความพึงพอใจและความเช่ือมน่ั ใน

คณุ ภาพการใหบ้ รกิ าร
ชอ่ งทางท่ี 6 ผ่านทาง application line ของสำนักงานท่ีดนิ

สรปุ การดำเนนิ งานตามตัวชวี้ ัด
ชอ่ งทางท่ี ๑ เข้าพบเจา้ พนกั งานทด่ี นิ ไดโ้ ดยตรง
ชอ่ งทางที่ 2 ผา่ นทางโทรศัพท์เคลือ่ นทีข่ องเจ้าพนักงานทีด่ นิ
ช่องทางท่ี 3 กดกริ่งรบั ฟงั ความคดิ เห็น เพอื่ ขอพบเจ้าพนักงานที่ดิน หรือผ้แู ทน

๔๐

ชอ่ งทางที่ 4 จัดทำ Line@ ทด่ี ิน ใหบ้ รกิ ารปรึกษาและคำแนะนำเกย่ี วกบั ทด่ี นิ ผ่านไลน์
ชอ่ งทางท่ี 5 ผา่ นทางหมายเลขโทรศัพท์ของสำนักงานที่ดนิ ฯ
1. มีการนำชอ่ งทางการให้บรกิ ารไปส่ือสารให้เจา้ หนา้ ที่ทีเ่ กี่ยวข้องทราบ และปฏิบตั ิ
อยา่ งเป็นรูปธรรมมากยงิ่ ขน้ึ และประชาสมั พนั ธใ์ ห้ประชาชนทราบ โดยการจัดทำปา้ ยประชาสัมพันธ์
2. มกี ารติดตามผลการดำเนินงานอยา่ งต่อเนอ่ื งโดยหวั หนา้ ฝ่ายผู้รบั ผิดชอบ
3. รายงานผลการทอดแบบแบบสำรวจความพึงพอใจและความเชื่อม่ันในคุณภาพ
การใหบ้ ริการ
ตวั ชี้วัดท่ี ๗.๒ จำนวนชอ่ งทางที่ให้ประชาชนเขา้ มามีส่วนร่วมในการปรับปรงุ คุณภาพ
การใหบ้ ริการ
สรุปการดำเนินงานเดิม
ชอ่ งทางที่ ๑ เข้าพบเจา้ พนักงานทด่ี นิ ได้โดยตรง
ชอ่ งทางที่ 2 ผา่ นทางโทรศัพท์เคล่อื นทข่ี องเจา้ พนกั งานที่ดิน
ช่องทางท่ี 3 ผา่ นทางหมายเลขโทรศัพท์ของสำนักงานท่ดี ิน
ช่องทางท่ี ๔ ผา่ นทาง www.fecebook.com/ สำนกั งานทดี่ นิ
ชอ่ งทางท่ี 5 ผา่ นทาง E-mail Address ของสำนกั งานทด่ี ิน
ชอ่ งทางที่ 6 ผา่ นทางตู้รับความคดิ เห็น
ชอ่ งทางท่ี 7 ผ่านการทอดแบบแบบสำรวจความพึงพอใจและความเชื่อมน่ั ใน

คณุ ภาพการใหบ้ ริการ
ชอ่ งทางท่ี ๘ ผ่านทาง application line ของสำนกั งานที่ดนิ

สรปุ การดำเนนิ งานตามตวั ชีว้ ดั

ช่องทางที่ ๑ เข้าพบเจ้าพนักงานทีด่ ินได้โดยตรง
ช่องทางท่ี 2 ผา่ นทางโทรศัพท์เคลอื่ นทข่ี องเจา้ พนักงานทดี่ นิ
ชอ่ งทางท่ี 3 กดกริ่งรับฟงั ความคดิ เหน็ เพอ่ื ขอพบเจ้าพนกั งานทดี่ ิน หรอื ผ้แู ทน
ชอ่ งทางที่ 4 จดั ทำ Line@ ทีด่ ิน ใหบ้ ริการปรึกษาและคำแนะนำเกี่ยวกับทดี่ นิ ผ่านไลน์
ชอ่ งทางที่ 5 ผา่ นทางหมายเลขโทรศพั ท์ของสำนกั งานที่ดนิ ฯ

ตวั ช้วี ัดที่ ๘ ระดับความสำเรจ็ ของการจำแนกกลุม่ ผรู้ บั บริการ
สรุปการดำเนินงานเดิม
ไมม่ ีการกำหนดแนวทางในการจำแนกกลุม่ ผู้รับบริการแต่อยา่ งใด
สรุปการดำเนนิ งานตามตวั ชวี้ ดั
1. มีการกำหนดแนวทางในการจำแนกกลมุ่ ผรู้ ับบรกิ าร 6 ช่องทาง ดังนี้
1.1 ช่องบรกิ ารเบด็ เตลด็ ถ่ายเอกสาร ประเมินราคา ถ่ายระวาง ตรวจสอบกรรมสทิ ธ์ิ
1.2 ชอ่ งบริการสำหรบั ประชาชนที่นดั จดทะเบียนล่วงหนา้
1.3 ชอ่ งบรกิ ารทว่ั ไป
1.4 ช่องบรกิ ารงานดว่ น ไถถ่ อน จำนอง

๔๑

1.5 ช่องบริการดว้ ยระบบรบั ส่งข้อมูลท่ีดินต่างสำนักงาน (LandsFax)
1.6 ช่องบรกิ ารขอ้ มลู โฉนดที่ดินฟรี ดรู าคาประเมิน ค่าใชจ้ ่ายในการรังวัด

คิดคา่ ธรรมเนียมภาษีอากร
2. มีการนำช่องทางการจำแนกกลุ่มผู้รับบริการไปสื่อสารให้เจ้าหน้าที่ท่ีเกี่ยวข้องทราบ
และปฏิบัติอย่างเป็นรูปธรรมมากยิ่งขึ้น และประชาสัมพันธ์ให้ประชาชนทราบโดยการจัดทำป้าย
ประชาสัมพันธ์
3. มีการรายงานผลการดำเนนิ งานใหเ้ จา้ พนักงานท่ดี ินทราบ
ตัวชี้วัดที่ ๙ ความสำเร็จของการเปิดช่องทางให้ประชาชนร้องเรียนขอความเป็นธรรมท่ีมี
ความหลากหลาย
ตัวชี้วัดท่ี ๙.๑ ระดับความสำเร็จของการเปิดช่องทางให้ประชาชนร้องเรียนขอความ
เป็นธรรมทมี่ คี วามหลากหลาย

สรปุ การดำเนินงานเดิม
มีการกำหนดแนวทางในการเปิดช่องทางใหป้ ระชาชนร้องเรียนขอความเป็นธรรมทีม่ ี
ความหลากหลาย มีเพียงช่องทางการรอ้ งเรยี น 3 ชอ่ งทาง คอื
ช่องทางที่ ๑ กล่องรบั เรอ่ื งราวร้องทกุ ขข์ องสำนกั งานท่ีดนิ
ชอ่ งทางท่ี ๒ ร้องเรยี นต่อเจ้าพนกั งานทดี่ ินโดยตรง
ชอ่ งทางที่ 3 ตู้แสดงความคดิ เห็น

สรปุ การดำเนินงานตามตวั ชี้วดั
1. มีการกำหนดแนวทางในการเปดิ ช่องทางใหป้ ระชาชนร้องเรยี นขอความ เปน็
ธรรมทม่ี คี วามหลากหลายดังนมี้ ีจำนวน 6 ช่องทาง

ชอ่ งทางที่ ๑ เข้าพบเจ้าพนักงานท่ีดนิ ได้โดยตรง
ช่องทางท่ี 2 ผ่านทางโทรศัพท์เคลอ่ื นที่ของเจ้าพนกั งานที่ดินฯ โดยตรง
ชอ่ งทางท่ี 3 กดกรง่ิ รบั ฟังความคดิ เหน็ เพื่อพบเจ้าพนกั งานที่ดิน หรอื ผู้แทน
ช่องทางท่ี 4 ผา่ นทางไลนเ์ จ้าพนกั งานที่ดินโดยตรง
ช่องทางที่ 5 ผา่ นทางหมายเลขโทรศพั ทข์ องสำนกั งานทด่ี นิ ฯ
ชอ่ งทางท่ี 6 จดั ทำ Line@ ให้บริการปรกึ ษาและคำแนะนำเกย่ี วกบั ที่ดนิ ผา่ นไลน์
2. มีการนำช่องทางการเปิดช่องทางให้ประชาชนร้องเรียนขอความเป็นธรรมที่มี
ความหลากหลายไปสอื่ สารให้เจ้าหน้าท่ีทเ่ี กย่ี วขอ้ งทราบ และปฏิบตั ิอย่างเปน็ รูปธรรมมากยงิ่ ขึน้ และ
ประชาสัมพนั ธโ์ ดยการปิดปา้ ยประชาสัมพันธใ์ หป้ ระชาชนทราบ
3. มกี ารติดตามผลการดำเนนิ งานโดยหวั หน้าฝา่ ยอำนวยการผรู้ ับผิดชอบ
4. มกี ารสรปุ ผลการดำเนินงานเพอ่ื รายงานในทีป่ ระชมุ ประจำเดือน
5. มกี ารรายงานผลการดำเนนิ งานใหเ้ จ้าพนักงานทราบ ในทีป่ ระชุมประจำเดือน
ตัวชว้ี ัดที่ ๙.๒ จำนวนชอ่ งทางทใี่ หป้ ระชาชนร้องเรยี นขอความเปน็ ธรรม
สรปุ การดำเนนิ งานเดิม
ช่องทางที่ ๑ กล่องรบั เรื่องราวร้องทกุ ข์ของสำนกั งานทดี่ ิน

๔๒

ช่องทางท่ี ๒ ร้องเรยี นต่อเจา้ พนักงานท่ดี นิ โดยตรง
ชอ่ งทางที่ 3 ตแู้ สดงความคิดเหน็
ชอ่ งทางที่ 4 ผา่ นการทอดแบบแบบสำรวจความพงึ พอใจและความเชื่อม่ันในคณุ ภาพ

การใหบ้ รกิ าร
ชอ่ งทางท่ี 5 ผ่านทาง application lineของสำนักงานที่ดนิ
ชอ่ งทางที่ 6 ผ่านศนู ยด์ ำรงธรรมกรมท่ีดนิ
สรุปการดำเนนิ งานตามตัวชี้วดั
มชี อ่ งทางใหป้ ระชาชนร้องเรียนขอความเป็นธรรม จำนวน 6 ช่องทาง
ช่องทางท่ี ๑ เข้าพบเจา้ พนักงานทด่ี นิ ได้โดยตรง
ชอ่ งทางที่ 2 ผ่านทางโทรศัพท์เคลอ่ื นท่ขี องเจ้าพนกั งานที่ดินฯ โดยตรงที่
ช่องทางท่ี 3 กดกร่งิ รับฟังความคิดเหน็ เพื่อพบเจา้ พนกั งานที่ดนิ หรือผแู้ ทน
ชอ่ งทางท่ี 4 ผา่ นทางไลน์เจ้าพนักงานทีด่ นิ โดยตรง
ชอ่ งทางท่ี 5 ผา่ นทางหมายเลขโทรศัพทข์ องสำนกั งานทีด่ ิน
ช่องทางที่ 6 จดั ทำ Line@ ใหบ้ ริการปรกึ ษาและคำแนะนำเกี่ยวกบั ทด่ี ินผ่านไลน์

ตวั ช้ีวดั ท่ี ๑๐ ระดับความสำเร็จของการนำแผนปอ้ งกันการทุจริต ประพฤติมชิ อบของกรมทดี่ ิน
ไปสู่การปฏบิ ัติ

สรุปการดำเนนิ งานเดิม
มกี ารกำหนดแผนปฏบิ ัติการนำแผนป้องกันการทุจริต ประพฤติมิชอบของกรมท่ีดินไปสู่
การปฏบิ ตั ิประกอบด้วย 4 กจิ กรรม
1.1 ควบคมุ จัดทำบญั ชเี บิกจ่ายสารบบทดี่ ิน
1.2 จดั ทำป้ายชือ่ – สกลุ พรอ้ มตำแหน่งประจำตัวบคุ คลในสำนกั งานขณะปฏบิ ัตงิ าน
1.3 จัดทำป้ายชอ่ื – สกลุ พร้อมตำแหน่งประจำโต๊ะช่องบริการ
1.4 หากมีข้อสงสยั เขา้ พบเจา้ พนักงานทีด่ นิ ได้โดยตรง
สรุปการดำเนนิ งานตามตวั ชีว้ ดั
1. มีการกำหนดแนวทางการนำแผนป้องกันการทุจริต ประพฤติมิชอบของกรมที่ดินไปสู่การ
ปฏบิ ตั ิดังน้ี

๑.1 ปิดประกาศขั้นตอนในการปฏิบัติงาน กระบวนงาน แสดงรายการลำดับคิวผ่าน
จอภาพให้ประชาชนทราบ

1.2 จัดทำปา้ ยช่ือ – สกุล ตำแหน่ง พร้อมเบอร์โทรศัพท์ ประจำโตะ๊ ทกุ ช่องบรกิ าร
1.3 จัดทำปา้ ยแสดงตน โดยมี ชื่อ-ตำแหนง่ ของเจ้าหน้าที่ทุกคนในสำนักงานหากมี
ขอ้ สงสยั สามารกเข้าพบเจ้าพนักงานท่ีดินกรงุ เทพมหานคร สาขาห้วยขวาง ได้โดยตรง
๑.4 ในการประชุมประจำเดือนได้น้อมนำพระบรมราโชวาทมาเป็นหลักในการ
ปฏบิ ตั ิงานโดยเน้นย้ำให้เจา้ หน้าทที่ ุกคนปฏิบตั งิ านดว้ ยความถกู ต้อง รวดเรว็ และเป็นธรรม
๒. มกี ารปดิ ประกาศข้ันตอนการขอรบั บรกิ ารใหป้ ระชาชนทราบ
๓. มีการติดตามผลการดำเนนิ งานโดยเจ้าพนกั งานทีด่ นิ สาขา

๔๓

4. รายงานผลการดำเนนิ งานใหเ้ จา้ พนกั งานทีด่ ินสาขาทราบทุกเดือนเพ่ือทราบ หรือสง่ั การ เน้น
ย้ำในทปี่ ระชุม

ตวั ชว้ี ดั ท่ี ๑๑ รอ้ ยละของผลการเรง่ รัดงานบริการดา้ นทะเบียน
ตวั ช้วี ัดที่ ๑๒ รอ้ ยละของผลการเร่งรัดงานบริการดา้ นรงั วัด
ตัวชีว้ ัดที่ ๑๓ ร้อยละของงานรงั วดั ทดี่ ำเนนิ การแล้วเสร็จเฉลี่ยต่อเดือนเปรยี บเทียบกบั
มาตรฐาน
ตวั ชีว้ ดั ท่ี ๑๔ รอ้ ยละของผลการเร่งรดั งานด้านวชิ าการทดี่ ิน
ตัวชีว้ ัดที่ ๑๕ จำนวนนวตั กรรม/รปู แบบการพฒั นาเพ่อื การบริการ

สรปุ การดำเนนิ งานเดมิ
นวัตกรรมที่ 1 โครงการนัดจดทะเบียนสิทธิและนิติกรรมล่วงหน้า โดยดำเนินการงาน

เร่ืองท่ีต้องมีการประกาศ เมื่อครบประกาศจะแจ้งผู้ขอนัดจดทะเบียน
ล่วงหน้า
นวัตกรรมที่ 2 โครงการให้บริการแต่เช้า เพอื่ บริการประชาชนและหน่วยงานของรัฐใน
การมาขอรับบริการให้ได้รับความสะดวก รวดเร็ว เพิ่มขึ้น โดยการ
กำหนดให้เจ้าหน้าท่ที ุกฝ่ายมาปฏิบัติงานให้บริการประชาชนระหว่างเวลา
08.00 น. ถึง 16.30 น. โดยไม่หยุดพักเท่ยี ง
นวัตกรรมที่ 3 บริการข้อมูลโฉนดท่ีดินฟรี ดูราคาประเมิน ค่าใช้จ่ายในการรังวัด
คดิ ค่าธรรมเนียม ภาษี อากรโดยการนำคอมพวิ เตอรม์ าใชใ้ ห้บรกิ ารประชาชน
ค้นหาตำแหนง่ รูปแปลงท่ดี นิ ด้วยระบบสารสนเทศ ทางอนิ เตอรเ์ น็ตตู้ KIOSK
นวัตกรรมที่ 4 ระบบรับสง่ ข้อมูลทด่ี ินตา่ งสำนกั งาน (Lands Fax) ในการรับคำขอตรวจสอบ
หลักทรัพย์ คำขอสำเนาภาพลักษณ์เอกสารสิทธิ และขอรับรองราคาประเมิน
ทด่ี ิน
สรุปการดำเนนิ งานตามตวั ชี้วดั
นวัตกรรมที่ ๑ การรังวัดกรณีจำกัดเน้ือที่ สามารถเห็นรูปแปลงท่ีดิน เนื้อท่ีได้ในวันรังวัดจาก
คอมพวิ เตอรโ์ น๊ตบุค๊
นวตั กรรมท่ี 2 สืบคน้ ตำแหนง่ ทด่ี นิ ดว้ ยตวั เองของฝา่ ยรังวดั ดว้ ยโปรแกรม Google map
นวตั กรรมที่ 3 การให้บรกิ ารคน้ หาตำแหนง่ รูปแปลงท่ดี นิ ดว้ ยโปรแกรม LandsMaps ใน
การสอบสวนของฝ่ายทะเบยี น
นวัตกรรมที่ 4 การใชโ้ ปรแกรม Land Mapซ่ึงประกอบการชี้ตำแหนง่ ที่ดินออกไปรงั วัด
ทด่ี ิน
นวัตกรรมท่ี 5 การใช้โปรแกรม LandMap เพ่ือประกอบการช้ีตำแหน่งที่ดินเพ่ือสอบถามการ
จดทะเบยี นสทิ ธิและนติ ิกรรมกรณีมีสงิ่ ปลกู สร้าง
นวัตกรรมท่ี 6 การเชื่อมโยงกรมการปกครอง (ทะเบียนราษฎร์) เพื่อพิจารณาการส่ัง
หนงั สือมอบอำนาจ
นวตั กรรมท่ี 7 โครงการกรมที่ดนิ ยกระดบั ดา้ นบริการสู่ “สังคมไร้เงนิ สด”

๔๔

ตัวชวี้ ดั ท่ี ๑๖ ร้อยละความพึงพอใจของผรู้ ับบริการดา้ นกระบวนงาน/ขนั้ ตอนการให้บรกิ าร
สรุปการดำเนนิ งานเดมิ
มกี ารสำรวจความพงึ พอใจ ของผู้รับบรกิ ารด้านกระบวนงาน/ขน้ั ตอนการให้บริการ

หรือความพงึ พอใจไม่เกิน รอ้ ยละ 79และไดส้ รุปประเมนิ ผลความพงึ พอใจและนำขอ้ เสนอแนะไป
ดำเนินการ นำเข้าทป่ี ระชุมประจำเดือนของสำนักงาน พรอ้ มท้ังรายงานผลการดำเนนิ งานต่อหวั หน้า
หนว่ ยงานทราบ

สรปุ การดำเนินงานตามตวั ชว้ี ัด
1. มีการทอดแบบสำรวจความพึงพอใจในการให้บรกิ ารแกป่ ระชาชนผ้มู าขอรับบริการ
2. มโี ครงการคัดเลือกเจ้าหนา้ ท่ีผู้ให้บรกิ ารประทับใจของผู้รับบรกิ ารผา่ นระบบจอสมั ผสั

(TABLET)
3. มกี ารสำรวจความพงึ พอใจของผูร้ บั บริการผา่ นระบบจอสมั ผสั (TABLET) ตามช่องที่

รบั บรกิ าร
ตวั ช้วี ัดที่ ๑๗ ระดับความสำเร็จของการกำหนดมาตรฐานพฤติกรรมบริการ

สรปุ การดำเนินงานเดมิ
มีการกำหนดมาตรฐานพฤติกรรมบริการ ตามโครงการปรับปรุงภาพลักษณ์การแต่งกาย
ของเจ้าหน้าท่ีสำนักงานที่ดินกรุงเทพมหานคร สาขาห้วยขวาง โดยกำหนดในเรื่องการแต่งกายของ
เจ้าหน้าท่ีในสำนักงาน คือกำหนดการแก่งกายตามที่รัฐบาล และกรมที่ดิน กำหนด ซึ่งมีการแจ้งในที่
ประชมุ ให้ข้าราชการรับทราบ
สรุปการดำเนนิ งานตามตัวชี้วัด
มีการกำหนดมาตรฐานพฤติกรรมบริการ โดย กำหนดไว้ 2 ด้าน ได้แก่ ด้านการบรกิ าร
และดา้ นการแตง่ กาย
1. มีการกำหนดมาตรฐานพฤติกรรมการ เพื่อสร้างความเช่ือม่นั ต่อการใหบ้ รกิ าร คอื

๑.๑ เรื่อง การกำหนดมาตรฐานพฤติกรรมในการใหบ้ ริการประชาชน ในเรอื่ งการรบั
โทรศพั ท์ และการบริการประชาชนที่มาติดต่อราชการ

๑.2 กำหนดพฤตกิ รรมการแตง่ กายในการปฏบิ ัตริ าชการข้าราชการชายและหญิงวนั จันทร์
ตอ้ งแตง่ กายด้วยชุดเครอ่ื งแบบปฏิบัตริ าชการ นอกนนั้ ต้องแต่งกายด้วยชุดสภุ าพ

2. มีโครงการส่งเสริมการแต่งกายด้วยผ้าไทย เพื่อเป็นการส่งเสริมวัฒนธรรมไทย และร่วม
สบื สานวฒั นธรรมการแต่งกายแบบไทย โดยกำหนดให้ทุกวนั ศกุ ร์ของสัปดาห์

๓. ได้มีการเน้นย้ำในเรื่องการให้บริการ การพูดจาสุภาพในการให้บริการประชาชน
และพฤติกรรมข้าราชการทด่ี ี ในการประชุมประจำเดือนทกุ ครงั้

4. มีการนำแนวทางในการกำหนดมาตรฐานพฤติกรรมบริการ ไปสื่อสารให้เจ้าหน้าที่
ทีเ่ ก่ยี วข้องทราบ

ตวั ชี้วัดท่ี ๑๘ ระดบั ความสำเรจ็ ในการเปดิ โอกาสใหป้ ระชาชนมีสว่ นรว่ มในการตรวจสอบ
คณุ ธรรม จรยิ ธรรม ธรรมาภบิ าล ของข้าราชการ และสำนักงานทด่ี นิ

๔๕

สรปุ การดำเนินงานเดมิ
มีการกำหนดแนวทางการเปิดช่องทางให้ประชาชนมีโอกาสแสดงความคิดเห็นเก่ียวกับ
การปฏบิ ตั ิงานของขา้ ราชการและสำนักงานทีด่ นิ
สรุปการดำเนินงานตามตัวชวี้ ัด
๑. จัดทำโครงการขา้ ราชการสำนักงานที่ดนิ โปร่งใส ใส่ใจบรกิ าร
๒. มีการกำหนดแนวทางการเปิดช่องทางให้ประชาชนมีโอกาสแสดงความคิดเห็นเก่ียวกับ
การปฏบิ ัตงิ านของข้าราชการและสำนกั งานท่ดี ิน ดังนี้

ช่องทางท่ี ๑ เข้าพบเจา้ พนกั งานที่ดินฯ ไดโ้ ดยตรง
ชอ่ งทางท่ี 2 ผา่ นทางโทรศัพท์เคล่อื นทีข่ องเจา้ พนักงานท่ดี ินฯโดย
ช่องทางท่ี 3 ผา่ นทางไลนเ์ จา้ พนกั งานทด่ี ินโดยตรง
ชอ่ งทางท่ี 4 ผา่ นทางหมายเลขโทรศัพท์ของสำนักงานท่ดี ิน
ช่องทางที่ 5 ผ่านทางตูร้ ับความคดิ เหน็
ชอ่ งทางที่ 6 แบบสำรวจความพงึ พอใจ
ช่องทางที่ 7 ผ่าน Application Line
ช่องทางท่ี 8 ผา่ นโทรศพั ทเ์ คลอื่ นทต่ี ามโครงการคลนิ กิ 24 ชว่ั โมง
3. มีเปิดช่องทางให้ประชาชนมีโอกาสแสดงความคิดเห็นเก่ียวกับการปฏิบัติงาน
ข้าราชการ ไปส่ือสารให้เจ้าหน้าที่ท่ีเก่ียวข้องทราบ และปฏิบัติอย่างเป็นรูปธรรมมากยิ่งขึ้น มีการ
ติดตามผลการดำเนินงานตามแผนฯ โดยหัวหน้าหัวหน้าฝ่ายท่ีรับผิดชอบโครงการ และมีการรายงาน
ผลการดำเนินงาน พรอ้ มท้ังปญั หาอุปสรรคในท่ีประชมุ ประจำเดือนของสำนักงานที่ดนิ ทุกเดอื น
4. มีการสรุปผลการดำเนินงานตามแผนฯ โดยหัวหน้าฝ่ายแต่ละฝ่ายท่ีรับผิดชอบเป็น
ผ้ดู ำเนนิ การ
5. มีการรายงานผลการดำเนินงานตามแผนฯ โดยหัวหนา้ ฝ่ายท่ีรับผดิ ชอบโครงการสรุป
รายงานเสนอเจา้ พนกั งานท่ีดินทราบในรายงานการประชมุ
ตวั ช้ีวดั ที่ ๑๙ ระดบั ความสำเรจ็ ของการพฒั นาขดี สมรรถนะของบุคลากร
สรปุ การดำเนนิ งานเดิม
มีการกำหนดแนวทางในการพฒั นาขีดสมรรถนะของบคุ ลากร
สรุปการดำเนนิ งานตามตวั ช้ีวดั
1. มกี ารกำหนดแนวทางในการพัฒนาขีดสมรรถนะของบุคลากรดงั นี้
1.1 จดั ส่งเจา้ หนา้ ทีเ่ ขา้ รับการฝึกอบรมตามโครงการของกรมทด่ี นิ หรือหน่วยงาน

ภายนอก
1.2 โครงการสอนงาน Coaching
1.3 โครงการแลกเปลย่ี นเรยี นรู้ งานบริการประชาชน
1.4 กจิ กรรมสอนแนะในทปี่ ระชุมประจำเดือน
1.5 จดั ทำแผนพัฒนารายบคุ คล (IDP1, IDP2, IDP3)

๔๖

2. มกี ารนำแนวทางในการพัฒนาขดี สมรรถนะของบคุ ลากร ไปสือ่ สารใหเ้ จ้าหน้าท่ีท่ี
เก่ยี วข้องทราบ

3. มกี ารติดตามผลและจัดทำรายงาน
4. มีการรายงานผลการดำเนินงานให้เจา้ พนักงานที่ดนิ จังหวดั
ตวั ช้ีวดั ท่ี ๒๐ รอ้ ยละความพึงพอใจของผรู้ ับบริการด้านบุคลากร
สรปุ การดำเนินงานเดิม
มีการสำรวจความพึงพอใจ ของผู้รับบริการด้านกระบวนงาน/ขั้นตอนการให้บริการ
หรือความพึงพอใจไม่เกิน ร้อยละ 79 และได้สรุปประเมินผลความพึงพอใจและนำข้อเสนอแนะไป
ดำเนินการ นำเข้าที่ประชุมประจำเดือนของสำนักงาน พร้อมท้ังรายงานผลการดำเนินงานต่อหัวหน้า
หน่วยงานทราบ

สรุปการดำเนนิ งานตามตวั ช้วี ัด
1. มีการทอดแบบสำรวจความพึงพอใจในการใหบ้ รกิ ารแก่ประชาชนผ้มู าขอรับบริการ
สรุปผลการสำรวจความพึงพอใจได้ รอ้ ยละ 95.56
2. มกี ารสำรวจความพงึ พอใจของผู้รับบรกิ ารผา่ นระบบจอสัมผสั (TABLET) ตามช่องที่
รับบริการ
3. มีการสรปุ ผลการสำรวจความพึงพอใจของผรู้ บั บรกิ ารเปน็ ประจำทกุ เดอื น
ผลการสำรวจความพงึ พอใจของผรู้ บั บรกิ ารเปน็ ประจำทุกเดือนปรากฏดังน้ี

ประจำเดือนมีนาคม 2563 ผลความพึงพอใจ 96.13 %
ประจำเดอื นเมษายน 2563 ผลความพึงพอใจ 95.75 %
ประจำเดอื นพฤษภาคม 2563 ผลความพึงพอใจ 96.00%

ตัวชี้วัดท่ี ๒๑ จำนวนข้อร้องเรียนเรื่องการทุจริต การปฏิบัติหรือละเว้นการปฏิบัติหน้าท่ี
โดยมชิ อบของบุคลากร

สรปุ การดำเนนิ งานเดิม
ไม่มีขอ้ ร้องเรียนเร่ืองการทุจริตการปฏิบัตหิ รอื ละเว้นการปฏิบตั ิหน้าทโ่ี ดยมชิ อบของ
บคุ ลากร
สรุปการดำเนนิ งานตามตวั ชีว้ ัด
ไมม่ ีขอ้ ร้องเรียนเร่ืองการทุจริตการปฏิบตั ิหรือละเวน้ การปฏบิ ัตหิ น้าทีโ่ ดยมิชอบของ
บคุ ลากร

ตัวชว้ี ัดท่ี ๒๒ จำนวนรายการสิ่งอำนวยความสะดวกตามเกณฑ์มาตรฐาน
สรปุ การดำเนินงานตามตัวชี้วัด
๑. ป้ายบอกทางแสดงที่ต้ังของสำนักงานที่ดิน/ท่ีว่าการอำเภอ กรณีสำนักงานทีด่ นิ อยู่ใน
ทีว่ ่าการอำเภอ
๒. ปา้ ยแสดงจดุ บรกิ าร เช่น จดุ ประชาสมั พันธ์ จดุ รบั บัตรคิว จุดรบั คำขอ ฯลฯ
๓. ป้ายแสดงข้ันตอนการใหบ้ ริการประชาชน

๔๗

๔. ระบบคิวอตั โนมัติ/คิวบริการรปู แบบอืน่ ๆ กรณสี ำนักงานท่ีดินอำเภอ
๕. เจ้าหนา้ ท่ีประชาสมั พันธ์
๖. เอกสารประชาสัมพนั ธเ์ กีย่ วกบั การขอรับบรกิ าร
๗. เทคโนโลยีในการใหบ้ ริการของเจ้าหนา้ ที่
๘. ท่พี ักรอสำหรบั ประชาชนที่เพยี งพอและเหมาะสม
๙. นำ้ ดืม่ /เครื่องดื่ม สำหรบั ประชาชน
๑๐. สถานท/่ี ปา้ ยบอกทางแสดงท่ตี ้งั ท่ีจอดรถสำหรบั ประชาชน
๑๑. หนงั สอื พมิ พ/์ วารสาร/สงิ่ พมิ พ์ สำหรับประชาชน
๑๒. ศนู ย์ข้อมูลขา่ วสารสำหรับประชาชน
๑๓. โทรทัศน์ หรือส่ือเพ่อื ความบนั เทงิ อืน่ ๆ
๑๔. กลอ่ งรบั ฟังความคดิ เหน็
๑๕. บัตรแสดงชื่อ-สกลุ พรอ้ มตำแหนง่ ประจำตัวบุคลากรขณะปฏบิ ัติงาน
๑๖. ป้ายช่อื -สกุล พรอ้ มตำแหนง่ ของบุคลากรประจำโตะ๊ /เคาน์เตอร์
๑๗. สถานท่ปี ระกอบศาสนกจิ (รายการใหเ้ ลอื ก)
๑๘. เครอ่ื งปรบั อากาศ/พดั ลม
๑๙. ปา้ ยแสดงวิสยั ทศั นก์ รมที่ดิน
๒๐. หอ้ งน้ำ/ป้ายบอกทางแสดงท่ีตั้งห้องน้ำสำหรับประชาชน
๒๑. เทคโนโลยีที่ใชใ้ นการเข้าถงึ ขอ้ มูลข่าวสารสำหรบั ประชาชน (รายการใหเ้ ลอื ก)
๒๒. ทางลาดสำหรับประชาชน/สงิ่ อำนวยความสะดวกอ่ืน ๆ สำหรับผู้พิการ ผสู้ งู อายุ ฯลฯ

ตัวชีว้ ดั ท่ี ๒๓ ความสำเรจ็ ของการพัฒนาอาคารสถานท่ี
ตวั ชีว้ ดั ท่ี ๒๓.๑ ระดบั ความสำเร็จของการพัฒนาอาคารสถานท่ี
สรุปการดำเนินงานเดิม
มกี ารจดั ทำโครงการพฒั นาอาคารสถานที่ จำนวน 5 โครงการ
1.1 โครงการกิจกรรม 5ส.
1.2 โครงการปรับปรงุ การจัดเก็บหนงั สอื แสดงสทิ ธใิ นทดี่ นิ
1.3 โครงการปรบั ปรงุ ภูมิทศั น์บรเิ วณรอบสำนักงาน
1.4 โครงการขยายพน้ื ท่ีใหบ้ รกิ ารประชาชน
1.5 โครงการจัดสงิ่ อำนวยความสะดวกสำหรับประชาชนผู้มาติดตอ่ และเจ้าหน้าทีเ่ พ่ือ
ปอ้ งกนั การแพรร่ ะบาดของเชื้อไวรสั โคโรนา 2019 (COVID-19)
สรปุ การดำเนนิ งานตามตัวช้วี ัด
1. มีการจดั ทำโครงการพฒั นาอาคารสถานที่ จำนวน 5 โครงการ
1.1 โครงการกิจกรรม 5ส.
1.2 โครงการปรบั ปรงุ การจัดเก็บหนังสอื แสดงสทิ ธใิ นท่ีดิน
1.3 โครงการปรับปรงุ ภมู ทิ ศั น์บริเวณรอบสำนกั งาน
1.4 โครงการขยายพน้ื ท่ีให้บริการประชาชน

๔๘

1.5 โครงการจัดสง่ิ อำนวยความสะดวกสำหรับประชาชนผูม้ าติดตอ่ และเจา้ หนา้ ท่ี
เพ่อื ป้องกันการแพรร่ ะบาดของเชื้อไวรัสโคโรนา2019 (COVID-19)

3. มีการดำเนนิ การปรับปรงุ แก้ไขตามแผน
4. มกี ารสรปุ เสนอเจา้ พนักงานที่ดินทราบ

ตัวชี้วดั ท่ี ๒๓.๒ จำนวนพน้ื ท่ี (ตามท่ีกำหนด) ทีไ่ ด้รับการพฒั นา
สรุปการดำเนินงานเดิม
พื้นท่ีที่ ๑ การพัฒนาภายนอกอาคารโดยรอบสำนักงาน
พ้ืนทท่ี ี่ ๒ การพัฒนาพนื้ ที่การให้บรกิ ารประชาชนฝา่ ยทะเบียนและฝ่ายรงั วดั
พืน้ ท่ที ี่ ๓ การพัฒนาห้องเก็บสารบบและหอ้ งเก็บหลักฐานแผนที่
พนื้ ทท่ี ี่ ๔ การพัฒนาห้องนำ้ สำหรบั ประชาชน
พน้ื ที่ที่ ๕ การพัฒนาห้องนำ้ เจา้ หนา้ ที่
พน้ื ทท่ี ี่ 6 ปรบั ปรุงโรงเกบ็ หลักเขตท่ีดิน
พน้ื ที่ที่ 7 พื้นที่ตเี ส้นจราจร
สรุปการดำเนินงานตามตวั ชีว้ ดั
พ้ืนที่ท่ี ๑ การพฒั นาภายนอกอาคารโดยรอบสำนกั งาน
พนื้ ทท่ี ่ี ๒ การพฒั นาพ้ืนทีก่ ารใหบ้ ริการประชาชน
พื้นทท่ี ี่ ๓ การพฒั นาห้องเก็บสารบบและห้องเกบ็ หลักฐานแผนที่
พื้นทีท่ ี่ ๔ การพัฒนาห้องน้ำสำหรับประชาชน
พื้นท่ที ่ี ๕ การพัฒนาห้องน้ำเจ้าหนา้ ที่

ตัวช้ีวัดท่ี ๒๔ ร้อยละความพึงพอใจของผู้รับบรกิ ารด้านอาคารสถานที่และส่ิงอำนวยความ
สะดวก

สรปุ การดำเนินงานเดิม
สำรวจความพึงพอใจผรู้ บั บริการด้านสถานท่แี ละสิ่งอำนวยความสะดวก ผู้รับบรกิ ารมี
ความพงึ พอใจ ร้อยละ 95.56 ได้สรุปประเมนิ ผลความพึงพอใจและนำข้อเสนอแนะไปดำเนนิ การ
ประกาศให้ประชาชนทราบพร้อมท้ังรายงานผลการดำเนินงานต่อหัวหน้าหนว่ ยงานทราบ

สรปุ การดำเนินงานตามตวั ชว้ี ดั
มกี ารทอดแบบสอบถามความพงึ พอใจของผู้รับบริการด้านอาคารสถานที่และสิ่งอำนวย
ความสะดวก ผลการประเมินได้ร้อยละ 94.66 ไดส้ รปุ ประเมนิ ผลความพงึ พอใจและนำข้อเสนอแนะ
ไปดำเนนิ การประกาศให้ประชาชนทราบพร้อมทง้ั รายงานผลการดำเนนิ งานต่อหน้าหน่วยงานทราบ
ตัวช้ีวดั ท่ี ๒๕ ระดับความสำเรจ็ ของการแสดงบทบาทความรับผิดชอบต่อสงั คม (CSR)
สรุปการดำเนนิ งานเดิม
มกี ารกำหนดแนวทางในการแสดงบทบาทความรับผิดชอบต่อสังคมไวจ้ ำนวน 2 โครงการ
1.1 โครงการรณรงคล์ ดภาวะโลกร้อน
1.2 โครงการประหยัดกระดาษ Reuse กระดาษมือสอง


Click to View FlipBook Version