The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search

การใช้งานระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ (GIS) สำหรับการบริหารจัดการที่ดิน (ปี 2562)

กองเทคโนโลยีทำแผนที่

Keywords: ด้านการรังวัดและทำแผนที่

คำนำ

กรมที่ดินมีภารกิจสำคัญในการคุ้มครองสิทธิด้านที่ดินให้แก่ประชาชนให้เป็นไปตามกฎหมาย
และการจัดการที่ดินให้เกิดประโยชน์สูงสุดด้วยการบริหารจัดการข้อมูลสารสนเทศที่ดิน เพื่อการบริการรวมถึง
การบริหารจัดการที่ดินของรัฐให้เป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ โดยการนำระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ (GIS).
มาใช้ในภารกิจดังกล่าว โดยเฉพาะข้อมูลสารสนเทศภูมิศาสตร์ของกรมที่ดินซึ่งเป็นชั้นข้อมูลหลักที่สำคัญของ
ประเทศและมีประโยชน์อย่างยิ่ง เช่น ข้อมูลแผนที่รูปแปลงที่ดินทั้งของเอกชนและของรัฐ ข้อมูลระวางแผนที่
รูปถ่ายทางอากาศ และข้อมูลหมุดหลักฐานแผนที่ เป็นต้น สามารถนำมาใช้ในการตรวจสอบพิสูจ น์
สิทธิการถือครองที่ดินในกรณีออกเอกสารสิทธิที่ดิน การแก้ไขปัญหาข้อพิพาทที่ดินระหว่างรัฐและเอกชน
การพิจารณาปัญหาการบุกรุกท่ีดินของรัฐ การพิจารณาออกใบอนุญาตดูดทราย การพิจารณาจัดที่ดินทำกิน
ให้ชมุ ชน และอนื่ ๆ

อย่างไรก็ตามเจ้าหน้าที่ของกรมที่ดินยังขาดความรู้และความเข้าใจในการใช้งานโปรแกรม
ระบบสารสนเทศภมู ิศาสตร์.(GIS) ดังนั้นคณะผูจ้ ดั ทำจึงไดจ้ ดั ทำหนังสือคู่มอื “การใช้งานระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ (GIS)
สำหรับการบริหารจัดการที่ดิน” โดยได้รวบรวมวิธีการใช้งานโปรแกรม Quantum.GIS หรือ QGIS.ซึ่งเป็นโปรแกรม
ระบบสารสนเทศภมู ิศาสตร์แบบรหสั เปิดและไม่เสียค่าใชจ้ า่ ยในการใชง้ าน (Free and Open Source Software).
เนน้ ในเร่อื งทเ่ี กีย่ วขอ้ งกับงานของกรมทดี่ ิน และบรรยายแบบทีละข้นั ตอน (Step by step) จนจบในแต่ละหัวข้อเรื่อง
เพือ่ ให้ผใู้ ช้งานเขา้ ใจไดง้ ่ายและสามารถนำไปปฏบิ ตั งิ านได้จริง

คณะผู้จัดทำหวังเป็นอย่างยิ่งว่า หนังสือคู่มือนี้จะเป็นประโยชน์ต่อเจ้าหน้าที่ของกรมที่ดิน
รวมทั้งผู้ที่สนใจ ในการนำระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์.(GIS) ไปใช้ในการบริหารจัดการที่ดินให้เกิดประโยชน์
สูงสุดแก่ประชาชนและประเทศต่อไป

คณะผู้จัดทำ
ส่วนรังวัดและมาตรฐานการวางโครงหมุดหลักฐานแผนท่ี
กองเทคโนโลยีทำแผนท่ี กรมที่ดิน กระทรวงมหาดไทย

ตุลาคม 2562

สำรบัญ

ลำดับ เร่ือง หน้ำ

1. คำนำ -
2. สำรบัญ -
3. บทนำ 1
4. กำรติดตั้งโปรแกรม (Program Installation) 3
5. กำรกำหนดค่ำเร่ิมต้นของโปรแกรม 11
6. ส่วนประกอบของโปรแกรมและเครื่องมือพนื้ ฐำนทีใ่ ช้เป็นประจำ 25
7. กำรทำงำนของโปรแกรม 33
8. กำรนำเข้ำข้อมูล 41
9. กำรตรึงค่ำพิกัดภูมิศำสตร์ (Registration) 49
10. กำรสร้ำงชั้นข้อมูลและกำรดิจิไทซ์รูปแปลงทีด่ ิน (Digitizing) 59
11. กำรจัดทำรูปแผนท่ี 1 : 50,000 (Layout 1 : 50,000 Creating) 73
12. กำรจัดทำรูปแผนที่ 1 : 4,000 (Layout 1 : 4,000 Creating) 103
13. ภำคผนวก (Appendix) 117
ก (1)
- กำรส่งออกข้อมูล Shape File ออกจำกโปรแกรม DOLCAD เพ่ือใช้ในโปรแกรม QGIS ข (1)
- กำรแปลง Shape File เป็น ไฟล์ *.kml เพ่ือใช้ใน Google Earth ค (1)
- มำตรฐำนระวำงแผนทีแ่ ละแผนท่รี ูปแปลงที่ดินในทดี่ ินของรัฐ ง (1)
- สัญลักษณ์ และสีเส้นแนวเขตท่ีดินของรัฐ

การใชง้ านระบบสารสนเทศภูมศิ าสตร์ (GIS) สำหรับการบรหิ ารจัดการท่ีดิน
กองเทคโนโลยีทำแผนที่ กรมทด่ี นิ

บทนำ

ทราบหรอื ไม่วา่ ในชวี ิตประจำวนั ของเรานั้น ได้ใช้ GIS หรือระบบสารสนเทศทางภูมิศาสตรอ์ ยทู่ ุกวัน
ตัวอยา่ งเชน่ การใชร้ ะบบแผนที่นำทางไปสถานที่ต่าง ๆ หรอื เวลาทีเ่ ราใช้โทรศัพท์เพอ่ื ส่ังอาหารจากร้านใกล้ตัว
ข้อมลู ที่ใช้ในระบบเหล่าน้ีล้วนนำมาจาก GIS ทั้งสิ้น แลว้ GIS คอื อะไร ? และสามารถนำมาใชใ้ นการบริหารจัดการ
ท่ีดนิ ได้อย่างไร ?

ระบบสารสนเทศภมู ิศาสตร์ หรอื Geographic Information System หรอื GIS คอื ระบบ
คอมพวิ เตอร์ซงึ่ ประกอบดว้ ย Software, Hardware และ Methods (วิธกี ารทำงาน) ที่ใช้สำหรบั นำเข้า จดั เก็บ
และปรับปรุงระบบขอ้ มลู ท่ีสัมพันธ์กับตำแหนง่ ทางภูมิศาสตร์ เพื่อใชใ้ นการจัดการ การคำนวณ การแปล การสืบค้น
การวิเคราะห์ข้อมลู และแสดงผลลัพธใ์ นรปู แบบต่าง ๆ เช่น แผนที่ ภาพสามมติ ิ ตาราง แผนภมู ิ กราฟทางสถติ ิ
ตามวัตถุประสงคท์ ตี่ อ้ งการ

GIS ประกอบด้วยส่วนประกอบท่ีสำคัญ 5 สว่ น ไดแ้ ก่
1. Software หรือโปรแกรมคอมพวิ เตอรท์ ีใ่ ชใ้ นการจัดการระบบและสั่งงานต่าง ๆ โดยในหนังสือน้ี
ได้เลอื กใชโ้ ปรแกรม Quantum GIS หรอื QGIS เน่ืองจากเปน็ โปรแกรมระบบสารสนเทศภมู ิศาสตรท์ มี่ ีประสิทธภิ าพ
และมีมาตรฐานใช้กันอย่างกว้างขวางทั่วโลก นอกจากนี้ยังเป็นโปรแกรมแบบรหัสเปิดและไม่เสียค่าใช้จ่าย
ในการใช้งาน (Free and Open Source Software) ท่ใี ชง้ านง่าย มีหลาย Version แตท่ ่ีเลือกใช้คือ Quantum
GIS Version 2.18.18 Las Palmas
2. Hardware หรือเคร่ืองคอมพวิ เตอร์และอปุ กรณ์ตา่ ง ๆ เชน่ เมาส์ คยี บ์ อร์ด จอภาพ
3. Methods หรือวธิ ีการทำงาน โดยนำเอาระบบ GIS ไปใช้งานในแตล่ ะระบบ แต่ละหน่วยงาน
หรือแต่ละวตั ถปุ ระสงค์ทม่ี ีความแตกตา่ งกันออกไป ฉะนน้ั ผใู้ ช้งานตอ้ งเลือกวิธีการในการจัดการกับปัญหาท่ีเหมาะสม
ท่ีสุด เช่น การตรวจสอบพิสูจน์สิทธิการถือครองที่ดินในกรณีออกโฉนดที่ดิน ควรต้องนำช้ันข้อมูลตำแหน่ง
รูปแผนทแี่ ปลงท่ีดิน ซ้อนทับกบั แผนทีภ่ าพถ่ายทางอากาศ แนวเขตป่าไม้และท่ีดนิ ของรฐั เปน็ ตน้
4. Data หรอื ข้อมลู ที่จะใชใ้ นระบบ GIS แบ่งเปน็ ข้อมูลเชิงพื้นที่ (Spatial Data) ซึง่ เปน็ ข้อมูล
ที่แสดงตำแหน่งท่ตี ้ังทางภมู ิศาสตร์ของรูปลักษณ์ของพื้นที่ เชน่ ข้อมูลแผนทร่ี ูปแปลงท่ีดิน แผนท่รี ูปแนวเขตทดี่ ิน
ของรัฐ แนวเขตการปกครอง ระวางแผนทีร่ ปู ถ่ายทางอากาศ และข้อมลู หมุดหลกั ฐานแผนท่ี เป็นตน้ และข้อมูล
อธิบาย (Attribute Data) เช่น ข้อมูลทะเบียนท่ีดิน และข้อมูลช่ือจังหวัด เป็นต้น ซ่ึงระบบข้อมูลจะมี
ความสมั พันธก์ นั ระหว่างข้อมูลเชิงพน้ื ทีแ่ ละข้อมลู อธิบาย โดยจดั เกบ็ เป็นชน้ั ข้อมลู แตล่ ะประเภท
5. User หรือบุคลากร หรือผู้ใชง้ าน ถือวา่ เปน็ ส่วนประกอบท่ีสำคัญทสี่ ุด เนื่องจากบุคลากรจะ
เป็นผเู้ ลือกใช้ Software, Hardware, Methods และ Data เพอื่ ให้ตรงกบั วตั ถุประสงค์และตามความตอ้ งการ
ของหน่วยงาน

(1)

การใช้งานระบบสารสนเทศภมู ศิ าสตร์ (GIS) สำหรับการบรหิ ารจดั การท่ีดนิ
กองเทคโนโลยที ำแผนที่ กรมที่ดิน

เนอื่ งจาก GIS มกี ารจดั เก็บเป็นชัน้ ข้อมลู ตา่ ง ๆ โดยอ้างอิงค่าพิกดั ทางภูมิศาสตร์ และจดั เก็บ
อยา่ งเปน็ ระบบ ดงั นัน้ เมื่อนำชนั้ ขอ้ มูลเหล่านี้มาซอ้ นทับกัน จะสามารถแสดงลักษณะหรอื สภาพพืน้ ทจี่ รงิ ได้
เพ่ือให้ผู้ใช้สามารถวิเคราะห์ และกำหนดเงือ่ นไขตา่ ง ๆ ตามวตั ถปุ ระสงค์ทต่ี ้องการ รวมทั้งใชใ้ นการวางแผน
และตัดสินใจได้อย่างถูกต้องแม่นยำ สำหรับกรมท่ีดินซึ่งมีภารกิจที่เกี่ยวข้องกับแนวเขตที่ดินและสิทธิในการ
ถือครองทดี่ นิ สามารถนำ GIS ไปใช้ในการบริหารจดั การทด่ี นิ ไดห้ ลากหลายประเภท เช่น การจัดทำรปู แผนท่ี
เพื่อประกอบการพจิ ารณาออกโฉนดทด่ี ินตามมาตรา 59 ทวิ การแก้ไขรูปแผนท่เี น้ือที่ตามมาตรา 69 ทวิ และ
การจดั ทำรปู แผนท่เี พื่อประกอบการขออนุญาตดูดทราย ตามมาตรา 9 แห่งประมวลกฎหมายท่ดี ิน เป็นต้น

สำหรบั เนื้อหาในหนงั สือเลม่ น้ีจะกล่าวถงึ เริ่มตั้งแต่วธิ กี ารติดตง้ั โปรแกรม QGIS การกำหนดค่า
เร่ิมต้นของโปรแกรมฯ ที่เปน็ พน้ื ฐานในการใช้งานของกรมที่ดิน เชน่ การติดตั้ง Plugins หรือโปรแกรมเสรมิ การ
ใชง้ าน และการตั้งค่าภาษาไทย ส่วนประกอบของโปรแกรมฯ และเครื่องมือพน้ื ฐานทีใ่ ชง้ านเป็นประจำ เชน่ เมนู
และปุ่มทำงานต่าง ๆ การทำงานของโปรแกรมฯ เชน่ วิธีการปรบั เปลยี่ นสัญลักษณแ์ ละการแสดงป้ายข้อมลู บน
แผนที่ การนำเข้าข้อมูลทั้งในรูปแบบเชิงเส้น เชิงภาพ และแบบไฟล์อักษร (Text File) การตรึงค่าพิกัด
ภูมิศาสตร์ (Registration) เพอื่ อา้ งองิ รูปภาพกับค่าพิกัดภมู ศิ าสตร์ การสร้างชน้ั ข้อมูลและการดจิ ไิ ทซร์ ูปแปลงทด่ี นิ
(Digitizing) การจัดทำรูปแผนท่ี 1 : 50,000 และการจัดทำรูปแผนท่ี 1 : 4,000 พร้อมท้ังการลงที่หมายและ
สัญลกั ษณแ์ ผนท่ี นอกจากน้ีในส่วนของภาคผนวก จะเป็นวิธีการประยุกต์ใชก้ บั โปรแกรมฯ ดา้ นแผนที่อืน่ ๆ เช่น
การส่งออกข้อมูลรูปแปลงที่ดินแบบ Shape File ออกจากโปรแกรม DOLCAD เพ่ือนำมาใช้ในโปรแกรม QGIS
และสุดทา้ ยคือการแปลง Shape File เป็นไฟล์ *.kml เพื่อนำไปใชใ้ น Google Earth เม่ือผใู้ ชศ้ ึกษาหนงั สือเล่มนี้
จนครบถว้ นแล้ว ก็สามารถนำไปประยุกต์เพือ่ ใชก้ บั งานอื่น ๆ ของกรมทดี่ นิ ทเี่ กย่ี วข้องตอ่ ไป

(2)

การใช้งานระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ (GIS) สาหรับการบริหารจัดการทดี่ นิ
กองเทคโนโลยที าแผนท่ี กรมทด่ี นิ

การตดิ ตั้งโปรแกรม
(Program Installation)

(๓)

การใช้งานระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ (GIS) สาหรับการบริหารจดั การท่ีดนิ
กองเทคโนโลยีทาแผนที่ กรมทด่ี นิ

การตดิ ต้ังโปรแกรม (Program Installation)

3
1

2

1. ตรวจสอบชนิดของระบบปฏิบัติการเครื่องคอมพิวเตอร์โดย คลิกขวาท่ี This PC
เลือกคาส่ัง Properties

2. ดูชนิดของระบบปฏิบัติการ เช่น Window64bit, 32bit หรือ Mac หรือ Linux
3. จากนั้นปิดหน้าต่าง

4

4. จากน้ันเข้าโปรแกรม Explorer เลือก Drive และ Folder ที่เก็บข้อมูลโปรแกรม
ในการอบรมอยู่ในโฟลเดอร์ ฐานข้อมูล GIS เลือกโฟลเดอร์ 03-Program and Plugin
(5)

การใช้งานระบบสารสนเทศภมู ศิ าสตร์ (GIS) สาหรับการบริหารจัดการทดี่ นิ
กองเทคโนโลยที าแผนท่ี กรมที่ดนิ

การติดตั้งโปรแกรม (Program Installation)

5

5. เลือก โฟลเดอร์ WIN-QGIS 2.18.18
(โปรแกรม QGIS 2.18 สาหรับระบบปฏิบัติการ Window)

6

6. กดเลือก ไฟล์ QGIS-OSGeo4W-2.18.18-1-Setup-x86 สาหรับคร่ืองคอมพิวเตอร์ระบบ
ปฏิบัติการ 32-bit หรือ กดเลือก ไฟล์ QGIS-OSGeo4W-2.18.18-1-Setup-x86_64
สาหรับคร่ืองครื่องคอมพิวเตอร์ระบบปฏิบัติการ 64-bit โดยดูได้จากข้อ 2
ไฟล์โปรแกรมน้ีสามารถ Download ได้จาก Website : https://qgis.org/en/site/
โดยเลือก เวอร์ชั่น 2.18 และทาการติดตั้ง ตามขั้นตอนที่ 7 เป็นต้นไป
(6)

การใช้งานระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ (GIS) สาหรับการบริหารจัดการท่ดี นิ
กองเทคโนโลยที าแผนที่ กรมท่ีดนิ

การตดิ ต้ังโปรแกรม (Program Installation)

7

7. จะปรากฏหน้าต่าง Setup ขึ้นมา ให้ทาการ กด Next

8. กด I Agree 8

(7)

การใช้งานระบบสารสนเทศภมู ศิ าสตร์ (GIS) สาหรับการบริหารจดั การท่ีดนิ
กองเทคโนโลยีทาแผนท่ี กรมทด่ี นิ

การตดิ ต้ังโปรแกรม (Program Installation)

9

9. กด Next

10. กด Install 10

(8)

การใช้งานระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ (GIS) สาหรับการบริหารจดั การท่ีดนิ
กองเทคโนโลยีทาแผนท่ี กรมทีด่ นิ

การตดิ ต้ังโปรแกรม (Program Installation)

11

11. ระบบจะทาการติดต้ังโปรแกรม

12

12. เมื่อทาการติดตั้งโปรแกรมเสร็จเรียบร้อย ให้กด Finish
(9)

การใช้งานระบบสารสนเทศภมู ิศาสตร์ (GIS) สาหรับการบริหารจดั การที่ดนิ
กองเทคโนโลยที าแผนที่ กรมที่ดนิ

การตดิ ต้ังโปรแกรม (Program Installation)

13

13. เมื่อทาการติดตั้งโปรแกรมเรียบร้อยทหี่ น้า Desktop จะแสดง Icon GRASS GIS

และโฟลเดอร์ QGIS ขึ้นมา ให้คลิกเข้าโฟลเดอร์นี้

14

14. เมื่อเข้ามาในโฟลเดอร์แล้ว ให้คลิกท่ี QGIS Desktop 2.18.18 เพอ่ื เร่ิมใช้งานโปรแกรม
(10)

การใช้งานระบบสารสนเทศภมู ิศาสตร์ (GIS) สาหรับการบริหารจัดการท่ีดนิ
กองเทคโนโลยที าแผนท่ี กรมท่ดี นิ

การกาหนดค่าเร่ิมตน้ ของโปรแกรม

(๑๑)

การใช้งานระบบสารสนเทศภมู ศิ าสตร์ (GIS) สาหรับการบริหารจดั การที่ดนิ
กองเทคโนโลยีทาแผนที่ กรมท่ดี นิ

การกาหนดคา่ เร่ิมตน้ ของโปรแกรม

2
1

การตดิ ต้ัง Plugins
1. คลิกเข้า โฟลเดอร์ QGIS 2.18
2 เมื่อเข้ามาในโฟลเดอร์แล้ว ให้คลิกท่ี QGIS Desktop 2.18.18 เพอ่ื เริ่มใช้งานโปรแกรม

3

3. โปรแกรมจะสร้างโฟลเดอร์ Python ข้ึนมา
(13)

การใช้งานระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ (GIS) สาหรับการบริหารจดั การท่ีดนิ
กองเทคโนโลยที าแผนที่ กรมท่ีดนิ

การกาหนดค่าเร่ิมต้นของโปรแกรม

4

4. เมื่อเข้าโปรแกรมมาแล้ว ให้ปิดโปรแกรมลง

5

5. มาทโ่ี ฟลเดอร์ ฐานข้อมูล GIS กดเลือกโฟลเดอร์ 03-Program and Plugin
(14)

การใช้งานระบบสารสนเทศภมู ิศาสตร์ (GIS) สาหรับการบริหารจัดการทีด่ นิ
กองเทคโนโลยีทาแผนที่ กรมทีด่ นิ

การกาหนดค่าเร่ิมตน้ ของโปรแกรม

6

6. เม่ือเข้ามาในโฟลเดอร์ 03-Program and Plugin แล้ว
ให้คลิกเม้าส์ด้านขวาท่ีโฟลเดอร์ Plugins แล้วเลือกคาสั่ง Copy

7

7. มาที่ This PC กดเลือกเข้าท่ไี ดร์ฟ C
(15)

การใช้งานระบบสารสนเทศภมู ศิ าสตร์ (GIS) สาหรับการบริหารจัดการที่ดนิ
กองเทคโนโลยีทาแผนท่ี กรมทด่ี นิ

การกาหนดค่าเริ่มตน้ ของโปรแกรม

8

8. กดเข้าโฟลเดอร์ User

9

9. กดเข้าโฟลเดอร์ท่เี ป็นทช่ี ื่อ Computer
(โฟลเดอร์นี้แต่ละเครื่องจะไม่เหมือนกัน เช่น เป็นชื่อยี่ห้อเครื่อง Dell, Acer, HP, …
หรืออาจจะเป็น Administrator, Admin, … เป็นต้น)
(16)

การใช้งานระบบสารสนเทศภูมศิ าสตร์ (GIS) สาหรับการบริหารจัดการทด่ี นิ
กองเทคโนโลยีทาแผนที่ กรมที่ดนิ

การกาหนดค่าเริ่มตน้ ของโปรแกรม

10

10. คลิกเข้าโฟลเดอร์ .qgis2

11

11. คลิกเข้าโฟลเดอร์ Python
(17)

การใช้งานระบบสารสนเทศภมู ศิ าสตร์ (GIS) สาหรับการบริหารจัดการท่ีดนิ
กองเทคโนโลยที าแผนที่ กรมทีด่ นิ

การกาหนดคา่ เร่ิมตน้ ของโปรแกรม

12
13

12. เมื่อเข้ามาทโ่ี ฟลเดอร์ Python แล้ว ให้คลิกขวาท่เี ม้าส์ แล้วเลือกคาส่ัง Paste
13. ใน Python จะมีเพ่มิ เป็น 2 โฟลเดอร์ คือ Expressions และ Plugins ดังรูป

14

15

14. เปิดโปรแกรม QGIS ข้ึนมาอีกครั้ง
ไปทแ่ี ถบ Menu Bar เลือกแถบ Plugins จากน้ันเลือก Manage and Install Plugins...

15. จะปรากฏหน้าต่าง Plugins ขึ้นมา
(18)

การใช้งานระบบสารสนเทศภูมศิ าสตร์ (GIS) สาหรับการบริหารจัดการท่ีดนิ
กองเทคโนโลยที าแผนท่ี กรมทีด่ นิ

การกาหนดค่าเริ่มตน้ ของโปรแกรม

16 17

16. ทาเครื่องหมายหน้า Plugins เพม่ิ 4 ตัว
17. กด Close เพือ่ ปิดหน้าต่าง Plugins

(19)

การใช้งานระบบสารสนเทศภมู ศิ าสตร์ (GIS) สาหรับการบริหารจัดการทีด่ นิ
กองเทคโนโลยีทาแผนที่ กรมท่ดี นิ

การกาหนดคา่ เริ่มต้นของโปรแกรม

1

การเปล่ียนภาษาของโปรแกรม
1. ไปที่แถบ Menu Bar กดเลือกที่ Settings จากน้ันเลือกที่ Options…

3 4
2

5

2. จะปรากฏหน้าต่าง Option ข้ึนมา เลือกแถบ Locale
3. ทาเครื่องหมายหน้า Override system locale
4. เลือกภาษาทตี่ ้องการ (แนะนา U.S. English)
5. กด OK

(20)

การใช้งานระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ (GIS) สาหรับการบริหารจดั การทด่ี นิ
กองเทคโนโลยีทาแผนท่ี กรมที่ดนิ

การกาหนดคา่ เร่ิมตน้ ของโปรแกรม

1

กาหนดระบบพกิ ัดอ้างอิง (CRS)
1. ไปทแ่ี ถบ Menu Bar กดเลือกที่ Settings จากนั้นเลือกท่ี Options…

3
2
4

5

2. จะปรากฏหน้าต่าง Option ขึ้นมา เลือกแถบ CRS
3. กดท่คี าสั่ง Select CRS
4. เลือกระบบพิกัดอ้างอิงทต่ี ้องการ หรือพิมพ์รหัสมาตรฐานในช่อง Filter
5. กด OK

(21)

การใช้งานระบบสารสนเทศภมู ศิ าสตร์ (GIS) สาหรับการบริหารจดั การท่ีดนิ
กองเทคโนโลยที าแผนที่ กรมทดี่ นิ

การกาหนดค่าเริ่มตน้ ของโปรแกรม

7 6

9
8

6. ทาเคร่ืองหมายหน้า Use a default CRS แล้วกดทค่ี าสั่ง Select CRS
7. เลือกระบบพิกัดอ้างอิงทตี่ ้องการ หรือพิมพ์รหัสมาตรฐานในช่อง Filter
8. กด OK
9. กด OK

10

10. ไปทแี่ ถบ Menu Bar กดเลือกท่ี Project จากน้ันเลือกที่ Project Properties…
(22)

การใช้งานระบบสารสนเทศภมู ิศาสตร์ (GIS) สาหรับการบริหารจดั การทดี่ นิ
กองเทคโนโลยีทาแผนที่ กรมทีด่ นิ

การกาหนดค่าเร่ิมต้นของโปรแกรม

12
11

13

14

11. จะปรากฏหน้าต่าง Project Properties ขึ้นมา เลือกแถบ CRS
12. ทาเคร่ืองหมายด้านหน้า Enable 'on the fly' CRS transformation (OTF)
13. เลือกระบบพิกัดอ้างอิงทตี่ ้องการ หรือพิมพ์รหัสมาตรฐานในช่อง Filter
14. กด OK

(23)

การใช้งานระบบสารสนเทศภูมศิ าสตร์ (GIS) สาหรับการบริหารจดั การที่ดนิ
กองเทคโนโลยที าแผนท่ี กรมทีด่ นิ

ส่วนประกอบของโปรแกรมและเคร่ืองมือพนื้ ฐานที่ใช้เป็นประจา

(๒๕)

การใช้งานระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ (GIS) สาหรับการบริหารจัดการทดี่ นิ
กองเทคโนโลยีทาแผนท่ี กรมท่ดี นิ

ส่วนประกอบของโปรแกรม

สว่ นประกอบของโปรแกรม ประกอบด้วย Menu Bar, Tools Bar, Layers Panel, Browser Panel,
Map Display, Map Coordinate, Map Scale และ Project Properties ซึ่งทุกรายการน้ีสามารถเคลอ่ื นย้าย
เปลี่ยนขนาดตามความเหมาะสมต่อการใช้งาน เพื่ออานวยความสะดวกของผูใ้ ช้

Menu Bar Tools Bar

Browser Panel Map Display
Layers Panel Project Properties

Map Coordinate Map Scale

(27)

การใช้งานระบบสารสนเทศภมู ศิ าสตร์ (GIS) สาหรับการบริหารจดั การที่ดนิ
กองเทคโนโลยที าแผนท่ี กรมที่ดนิ

เครื่องมือพื้นฐานทีใ่ ชเ้ ป็นประจา

เมนูจัดการไฟล์ (Project Toolbar)

ประกอบไปด้วยการสร้างโครงการใหม่ เปิดโครงการเก่าทีไ่ ด้บันทึกไว้ บันทึกโครงการและสง่ ออกเพอ่ื ทาแผนท่ี

Icon ฟังก์ชัน การใช้งาน
New การสร้างเอกสารโครงการใหม่
การเปดิ เอกสารโครงการที่มีอยู่เดิม
Open การบันทึกโครงการ
การบนั ทึกโครงการเปน็ อีกช่ือหน่ึง
Save

Save As

New Print Composer การสร้างแผนทีใ่ หม่เพ่ือการพิมพ์
Composer Manager
เป็นสว่ นของหน้าจอเล็ก ๆ สาหรับให้ผู้ใช้งานสามารถจัดการกับ
Layer/Composer ที่สร้างขึ้นได้ ได้แก่ การเรียก Layout มา
แสดง การลบและสร้าง Layout ออกหรือการเปลี่ยนช่ือใหก้ ับ
Layout

(28)

การใช้งานระบบสารสนเทศภูมศิ าสตร์ (GIS) สาหรับการบริหารจดั การทดี่ นิ
กองเทคโนโลยที าแผนท่ี กรมทด่ี นิ

เคร่ืองมือพื้นฐานทใ่ี ชเ้ ป็นประจา

เมนจู ัดการชั้นข้อมูล (Manage Layer Toolbar)

ประกอบไปด้วยการเพม่ิ ชั้นข้อมูลเชิงเส้น ข้อมูลเชิงภาพ ช้ันข้อมูลจากฐานข้อมูลสร้างช้ันข้อมูลใหม่ และเพม่ิ ข้อมูล
จาก GPS

Icon ฟงั ก์ชนั การใช้งาน
Add Vector Layer การเพม่ิ ข้อมูลเชิงเส้น ในรูปแบบการจดั เก็บ Format ต่าง ๆ

Add Raster Layer การเพมิ่ ข้อมูลภาพเชิงตัวเลข ในรูปแบบการจดั เก็บ Format ต่าง ๆ

Add SpatialLite Layer การเพิ่มข้อมูลเชิงเสน้ จากฐานข้อมูลเชิงพื้นที่ SpatialLite

Add PostGIS Layers การเพม่ิ ข้อมูลเชิงเสน้ จากฐานข้อมูลเชิงพนื้ ท่ี PostGIS
การเพิ่มข้อมูลชนดิ Oracle GeoRaster
Add Oracle GeoRaster การเพมิ่ ข้อมูลชนิด WCS
Layer

Add WCS Layer

Add WFS Layer การเพม่ิ ข้อมูลชนดิ WFS

Add Delimited Text Layer การนาเข้าข้อมูลพิกัดจากเอกสาร

Add/Edit Virtual Layer การเพิ่ม/แก้ไขชั้นข้อมูล Virtual

New Shape File Layer การสร้าง Shape File ใหม่

Create New GPX Layer การสร้าง GPX Layer ใหม่
การนาเข้า GeoRaster Layer จากฐานข้อมูล Oracle
Add Oracle GeoRaster
Layer

(29)

การใช้งานระบบสารสนเทศภมู ศิ าสตร์ (GIS) สาหรับการบริหารจดั การทีด่ นิ
กองเทคโนโลยีทาแผนท่ี กรมท่ดี นิ

เคร่ืองมอื พื้นฐานทีใ่ ชเ้ ป็นประจา

เมนูแสดงรายละเอียด (Attribute Toolbar)

จะใช้สาหรับดูรายละเอียดต่าง ๆ ของแผนที่ โดยการเลอื กดูท่แี ผนท่ีโดยตรงหรือจากการเปิดตารางข้อมูล การวัด
ระยะทาง

Icon ฟงั ก์ชัน การใชง้ าน
Run Feature Action คาสง่ั ในการดูข้อมูลบรรยายของจดุ เสน้ รูปปดิ ที่คลิกเลือก

Identify Features คาสง่ั การดาเนินการทางานข้อมูล

Select Features by คาสงั่ ในการเลอื กข้อมูล
Area/Radius

Select feature using an คาสงั่ การเลือกใช้การแสดงข้อมูล
expression

Deselect Feature from All คาสงั่ ยกเลกิ การเลอื กข้อมูลจากทุกชั้นข้อมูล
Layers

Open Attribute Table คาสง่ั ในการเปิดตารางคุณลกั ษณะชุดข้อมูลท้งั หมด

Open Field Calculator คาสัง่ ในการเปิดตารางคาบรรยายของชุดข้อมูลทั้งหมด

Show Statistical summary คาส่ังในการคานวณค่าของตารางคุณลกั ษณะชุดข้อมูล

Measure Line การวัดระยะทางในแผนที่
Map Tips
Text Annotation คาสั่งในการนาข้อมูลในตารางแสดงผลที่แผนทใี่ นลกั ษณะของ
Balloon

กล่มุ เครื่องมือในการสร้าง ปรับปรุง และแก้ไขกลอ่ งข้อความ

(30)

การใช้งานระบบสารสนเทศภูมศิ าสตร์ (GIS) สาหรับการบริหารจัดการทด่ี นิ
กองเทคโนโลยีทาแผนที่ กรมท่ดี นิ

เคร่ืองมอื พื้นฐานท่ีใชเ้ ป็นประจา
เมนูจัดการมุมมองแผนที่ (Map Navigation Toolbar)

จะควบคุมการแสดงผลของแผนท่ี เช่น การขยายแผนที่ การเล่อื นแผนที่ การขยายเต็มจอ หรือการย้อนกลับไป
มุมมองเดิม เปน็ ต้น

Icon ฟังก์ชนั การใชง้ าน
Touch Zoom and Pan
ใช้คลิกบริเวณที่ต้องการให้กลายเป็นจดุ ศูนย์กลางของแผนทีโ่ ดย
ยังคงรักษามาตราสว่ นเดิมไว้

Pan Map ใช้เล่อื นแผนท่ีไปด้านอื่น ๆ โดยยังคงรักษามาตราส่วนเดิมไว้

Pan Map to Selection ใช้เล่ือนแผนทไี่ ปยังข้อมูลทเี่ ลือกไว้ โดยยังคงรักษามาตราส่วนเดิม

Zoom In ใช้ขยายมาตราส่วนใหใ้ หญ่ขึ้นด้วยการคลิกบริเวณท่ีต้องการขยาย
จะขยายทีละเท่าตัว หรือใช้วิธีลากกรอบ
Zoom Out สเ่ี หลย่ี มผืนผ้าเพ่ือขยายแผนท่ีใหม้ ีขนาดพอดีกรอบ
Zoom to Native Pixel ใช้ย่อมาตราส่วนให้เล็กลงด้วยการคลิกบริเวณท่ีต้องการย่อจะย่อ
Resolution ทีละครึ่งหน่ึง
Zoom Full ใช้เปลี่ยนมาตราสว่ นใหค้ วามละเอียดข้อมูลราสเตอร์ทเี่ ปดิ อยู่
Zoom to Selection เท่ากับความละเอียดของหนา้ จอ (ภาพจะไม่แตก)
Zoom to Layer
เปลย่ี นมุมมองเป็นสว่ นทม่ี องเหน็ ข้อมูลทุกช้ันได้ครบทงั้ หมด

เล่อื นไปยังข้อมูลทีเ่ ลอื กไว้และเปลีย่ นมาตราสว่ นให้เหน็ ข้อมูลท่ี
เลือกไว้ทัง้ หมดพอดี

เปลย่ี นมุมมองเปน็ ส่วนทีม่ องเห็นข้อมูลช้ันทเ่ี ลอื กได้ครบทั้งหมด

Zoom Last กลับไปมุมมองก่อนหน้า
Zoom Next กลบั ไปมุมมองหลงั
New Bookmark การสร้างมาตราสว่ นทต่ี าแหน่งใด ๆ ในแผนทีไ่ ว้
Show Bookmarks การกลบั ไปยังตาแหนง่ ท่สี ร้างท่สี ร้างมาตราสว่ นใด ๆ ในแผนท่ีไว้

Refresh การเคลียร์ค่าให้เป็นปัจจบุ ัน

(31)

การใช้งานระบบสารสนเทศภูมศิ าสตร์ (GIS) สาหรับการบริหารจัดการทด่ี นิ
กองเทคโนโลยที าแผนท่ี กรมท่ีดนิ

เคร่ืองมอื พื้นฐานท่ีใชเ้ ป็นประจา

เมนูแก้ไขข้อมลู (Digitizing Toolbar)

จะใช้สาหรับแก้ไขข้อมูล เช่น การเพม่ิ ข้อมูล การเล่ือนข้อมูล การแก้ไขข้อมูล การลบข้อมูล การตัดข้อมูล
การสาเนา ข้อมูล การวางข้อมูลสาเนา

Icon ฟงั ก์ชัน การใช้งาน
Current Edits คาสง่ั เลือกแก้ไขข้อมูลปัจจุบนั
Toggle editing
Save Layer Edits คาสั่งเริ่มเข้าสู่ การปรับปรุง แก้ไข หรือสร้างข้อมูล
Add Feature
Add circular string คาสง่ั การบันทึกชั้นข้อมูลท่แี ก้ไข
Move Feature
Node Tool คาสง่ั การนาเข้าข้อมูล
Delete Selected
คาสั่งในการสร้างเสน้ โค้ง
Cut Feature
คาส่งั ในการย้ายตาแหนง่ ทเี่ ลอื กท้ังหมดของ จดุ เสน้ หรือรูปปดิ
Copy Feature คาสงั่ ในการย้าย Node ใน จดุ เสน้ หรือรูปปดิ เพอ่ื แก้ไขรูปร่าง
Paste Feature ของ Feature
คาส่ังในการลบ จดุ เสน้ หรือรูปปดิ ทไ่ี ด้เลอื กไว้
คาส่ังในการลบและจัดเก็บในหน่วยความจาเพอ่ื รอการนาไปวาง
ของ จดุ เสน้ หรือรูปปดิ ท่ีได้เลือกไว้
คาสง่ั ในการทาสาเนา จดุ เสน้ หรือรูปปิด ท่ีได้เลอื กไว้
คาส่งั ในการวาง จุด เสน้ หรือรูปปิด ทไ่ี ด้เลือกไว้ จากสาเนาทเี่ ก็บ
ไว้ในหน่วยความจา

(32)

การใช้งานระบบสารสนเทศภูมศิ าสตร์ (GIS) สาหรับการบริหารจัดการทด่ี นิ
กองเทคโนโลยีทาแผนท่ี กรมทดี่ นิ

การทางานของโปรแกรม

(๓๓)

การใช้งานระบบสารสนเทศภมู ศิ าสตร์ (GIS) สาหรับการบริหารจดั การทด่ี นิ
กองเทคโนโลยที าแผนที่ กรมท่ดี นิ

การทางานของโปรแกรม

1

การเปล่ียนสัญลักษณ์
1. ไปทชี่ ้ันข้อมูลทเ่ี ราต้องการ กดคลิกขวาและเลือก Properties

3
2

2. จะปรากฏหน้าต่าง Layer Properties ข้ึนมา กดท่ีแถบ Style
3. เลือกรูปแบบสัญลักษณ์ทเ่ี ราต้องการ

(35)

การใช้งานระบบสารสนเทศภมู ิศาสตร์ (GIS) สาหรับการบริหารจัดการท่ีดนิ
กองเทคโนโลยีทาแผนท่ี กรมที่ดนิ

การทางานของโปรแกรม

4

4. ปรับค่าตามทเ่ี ราต้องการ 5
5. กด OK
Unit . = หน่วย
Transparency = ความโปร่งแสง (สีพืน้ และเส้นขอบ)
Color = สี

6

6. จะได้รูปแบบสัญลักษณต์ ามทเ่ี ราต้องการ
(36)

การใช้งานระบบสารสนเทศภมู ิศาสตร์ (GIS) สาหรับการบริหารจัดการทด่ี นิ
กองเทคโนโลยที าแผนที่ กรมทีด่ นิ

การทางานของโปรแกรม

1

การแสดงป้ายขอ้ มูล
1. ไปท่ชี ้ันข้อมูลท่ีเราต้องการ กดคลิกขวาและเลือก Properties

** ในการแสดงป้ายข้อมูลทีเ่ ป็นภาษาไทย ควรเปิดตารางข้อมูลดูก่อนว่าภาษาในตาราง
แสดงออกมาเป็นภาษาไทยหรือไม่ โดยใช้คาส่ัง Open Attribute Table**

3
2

2. จะปรากฏหน้าต่าง Layer Properties ขึ้นมากดทแี่ ถบ Labels
3. ที่ช่องด้านบนสุด กดทล่ี ูกศรลง และเลือก Show labels for this layer

(37)

การใช้งานระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ (GIS) สาหรับการบริหารจัดการทีด่ นิ
กองเทคโนโลยที าแผนที่ กรมที่ดนิ

การทางานของโปรแกรม

4

4. ในช่อง Label with ให้เราเลือก Field ท่ีเราต้องการแสดงเป็นป้ายข้อมูล
ดูได้จากตาราง Attribute Table

5
6

5. ทาการจัดรูปแบบตัวอักษรของป้ายข้อมูล ตามที่เราต้องการ
Text = จัดรูปแบบ, ขนาด, สี ตัวอักษร
Buffer = เพ่ิมและจัดสี, ความหนา ของเงาหลังตัวอักษร

6. เสร็จเรียบร้อยแล้ว กด OK
(38)

การใช้งานระบบสารสนเทศภมู ิศาสตร์ (GIS) สาหรับการบริหารจัดการทีด่ นิ
กองเทคโนโลยที าแผนท่ี กรมท่ดี นิ

การทางานของโปรแกรม

7

7. จะได้ชั้นข้อมูลทไี่ ด้จัดแสดงผลป้ายข้อมูลแล้วดังรูป

(39)

การใช้งานระบบสารสนเทศภูมศิ าสตร์ (GIS) สาหรับการบริหารจัดการที่ดนิ
กองเทคโนโลยีทาแผนที่ กรมทดี่ นิ

การนาเข้าข้อมูล

(๔๑)

การใช้งานระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ (GIS) สาหรับการบริหารจัดการที่ดนิ
กองเทคโนโลยที าแผนที่ กรมทด่ี นิ

การนาเขา้ ขอ้ มูล

1

1. เปิดโปรแกรม Quantum GIS

2
3

การนาเข้าขอ้ มูล แบบเชิงเส้น (Vector)
2. ไปที่แถบ Tool Bar กดเลือกฟังก์ชัน Add Vector Layer
3. จะปรากฏหน้าต่าง Add Vector Layer ขึ้นมา ให้ทาเครื่องหมายที่หน้า File

เลือก File Encoding = TIS-620 หรือ UTF-8 เพ่ือให้อ่านภาษาไทยได้
(43)

การใช้งานระบบสารสนเทศภมู ศิ าสตร์ (GIS) สาหรับการบริหารจัดการทด่ี นิ
กองเทคโนโลยีทาแผนที่ กรมที่ดนิ

การนาเขา้ ข้อมลู

4 5
7

6

4. กด Browse
5. จะปรากฏหน้าต่าง Open an OGR Supported Vector Layer เลือกไฟล์ทตี่ ้องการนาเข้า
6. กด Open ทีห่ น้าต่าง Open an OGR Supported Vector Layer
7. กด Open ทห่ี น้าต่าง Add Vector Layer

8

8. จะได้ช้ันข้อมูลแบบเชิงเส้นทต่ี ้องการ
โดยสามารถเพม่ิ ชั้นข้อมูลได้ทัง้ ประเภท Point, Line และ Polygon
นามสกุลของไฟล์ข้อมูลแบบเชิงเส้นทีน่ าเข้า เช่น *.shp, *.xml, *.kml, *.kmz ฯลฯ
(44)

การใช้งานระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ (GIS) สาหรับการบริหารจัดการทด่ี นิ
กองเทคโนโลยีทาแผนท่ี กรมทด่ี นิ

การนาเข้าข้อมลู

1
2

3

การนาเขา้ ข้อมูล แบบเชิงภาพ (Raster)
1. ไปทีแ่ ถบ Tool Bar กดเลือกฟังก์ชัน Add Raster Layer
2. จะปรากฏหน้าต่าง Open a GDAL Supported Raster Data Source เลือกไฟล์ทตี่ ้องการ
3. กด Open ที่หน้าต่าง Open a GDAL Supported Raster Data Source

4

4. จะได้ช้ันข้อมูลแบบเชิงภาพทต่ี ้องการ
สามารถเพมิ่ ช้ันข้อมูลได้ทั้งภาพถ่ายทางอากาศ และภาพถ่ายดาวเทียม โดยเปิดภาพ

ได้หลายนามสกุล เช่น *.TIFF, *.JPG, *.SID, *.ECW ฯลฯ
(45)

การใช้งานระบบสารสนเทศภมู ศิ าสตร์ (GIS) สาหรับการบริหารจัดการท่ดี นิ
กองเทคโนโลยที าแผนท่ี กรมทดี่ นิ

การนาเขา้ ข้อมูล

12

การนาเข้าข้อมูลในรูปแบบ Text File (*.csv)
1. ทาการนาเข้า ไฟล์ csv โดยใช้ฟังก์ชัน Add Delimited Text Layer
2. จะปรากฏหน้าต่าง Create a Layer from a Delimited Text File กด Browse

เพื่อเลือกตาแหน่งท่เี ก็บไฟล์ csv

3 4
5
3. เลือกตาแหน่งทีเ่ ก็บไฟล์
4. เลือกไฟล์ csv ทีต่ ้องการ (46)
5. กด Open

การใช้งานระบบสารสนเทศภูมศิ าสตร์ (GIS) สาหรับการบริหารจัดการท่ีดนิ
กองเทคโนโลยที าแผนที่ กรมท่ีดนิ

การนาเขา้ ข้อมูล

6

7

8

6. คลิกทาเครื่องหมาย ในช่อง First record has field names

7. เลือก X field = X_Coor หรือ ค่า E

Y field = Y_Coor หรือ ค่า N

8. กด OK

9

9. จะปรากฏเป็นจุดข้ึน ตามค่าพิกัดที่เรานาเข้าดังรูป
(47)

การใช้งานระบบสารสนเทศภมู ศิ าสตร์ (GIS) สาหรับการบริหารจัดการทดี่ นิ
กองเทคโนโลยที าแผนท่ี กรมทดี่ นิ

การนาเข้าข้อมูล

10

10. ไปท่แี ถบ Menu Bar กดเลือกแถบ
Web > OpenLayers plugin > Bing Maps > Bing Aerial เพอ่ื นาเข้าภาพถ่ายดาวเทียม

12

11

11. เลื่อนชั้นข้อมูลภาพถ่ายดาวเทียมมาอยู่ใต้ช้ันข้อมูลค่าพิกัด
12. จะปรากฏค่าพิกัดหมุดแสดงบนภาพถ่ายดาวเทียมดังรูป
*** ถ้าจะทาการสร้างช้ันข้อมูลรูปปิด (Polygon) ต่อ

ให้ดูเร่ืองการสร้างชั้นข้อมูลโดยใช้ฟังก์ช่ัน Points2One
ในหัวข้อ การสร้างชั้นข้อมูลและการดิจิไทซ์รูปแปลงทด่ี ิน (Digitizing) หน้า 69-71

(48)

การใช้งานระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ (GIS) สาหรับการบริหารจัดการท่ดี นิ
กองเทคโนโลยีทาแผนท่ี กรมท่ดี นิ

การตรึงค่าพกิ ดั ภมู ิศาสตร์
(Registration)

(๔๙)

การใช้งานระบบสารสนเทศภมู ศิ าสตร์ (GIS) สาหรับการบริหารจัดการทีด่ นิ
กองเทคโนโลยที าแผนท่ี กรมท่ดี นิ

การตรึงค่าพกิ ัดภูมิศาสตร์ (Registration)

1

1. เปิดโปรแกรม Quantum GIS

2
3

2. ไปทแ่ี ถบ Menu Bar กดเลือกที่ Raster

3. เลือกทีแ่ ถบ Georeferencer แล้วกดท่ีการใช้งาน Georeferencer… ตามรูป

(กรณไี ม่มีฟังก์ชัน Georeferencer ให้ไปทีแ่ ถบ Menu Bar กดเลือก Plugins และเลือก

Manage and Install Plugins… จากน้ันให้ทาเคร่ืองหมายหน้า )

(51)

การใช้งานระบบสารสนเทศภมู ศิ าสตร์ (GIS) สาหรับการบริหารจดั การทดี่ นิ
กองเทคโนโลยีทาแผนท่ี กรมทด่ี นิ

การตรึงค่าพิกัดภูมิศาสตร์ (Registration)

4

4. จะปรากฏหน้าต่าง Georeferencer ให้กดทีฟ่ ังก์ชัน Open Raster
เพ่อื เปิดไฟล์รูปภาพทจ่ี ะทาการตรึงค่าพิกัด
(กรณีไม่มีฟังก์ช่ัน Open Raster ให้ไปที่ File แล้วเลือก Open raster)

6
5

7

5. จะปรากฏหน้าต่าง Open Raster ขึ้นมา ให้เลือกตาแหน่งท่เี ก็บไฟล์รูปภาพ
6. เลือกไฟล์รูปทีต่ ้องการ
7. กด Open

(52)

การใช้งานระบบสารสนเทศภมู ศิ าสตร์ (GIS) สาหรับการบริหารจดั การที่ดนิ
กองเทคโนโลยที าแผนที่ กรมทด่ี นิ

การตรึงคา่ พิกัดภูมิศาสตร์ (Registration)

8

8. ภาพจะถูกเปิดขึ้นมาให้ทาการตรึงภาพโดย กดท่ีฟังก์ชัน Add Point

9

9. ขยายภาพไปที่ตาแหน่งทีเ่ ราทราบค่าพิกัด จากน้ันเลื่อนตาแหน่งของเม้าส์ไปท่จี ุดท่ีทราบค่า
จากน้ันกดคลิกซ้ายท่เี ม้าส์
(ตาแหน่งเม้าส์จะต้องแนบสนิทกับตาแหน่งทที่ ราบค่าพิกัด)
(53)

การใช้งานระบบสารสนเทศภูมศิ าสตร์ (GIS) สาหรับการบริหารจดั การทดี่ นิ
กองเทคโนโลยที าแผนท่ี กรมทด่ี นิ

การตรึงคา่ พกิ ัดภูมิศาสตร์ (Registration)

10
11

10. ป้อนค่าพิกัด โดยป้อนค่าทิศเหนือทช่ี ่องค่า Y และค่าทิศตะวันออกทีช่ ่องค่า X
11. กด OK จากน้ันทาซ้าข้อ 9-11 จนครบจุดท่ที ราบค่าพิกัดในภาพ

(ควรมีขั้นต่าอย่างน้อย 4 จุด)

12

13

12. จุดทเ่ี ราทาการตรึงค่าพิกัดแล้ว จะปรากฏเป็นจุดสีแดง พร้อมค่าพิกัดใหม่
13. จุดทเี่ ราทาการตรึงค่าพิกัดแล้ว จะแสดงรายละเอียดการย้ายค่าพิกัด

จากพิกัดเดิม (Source X,Y) ไปเป็นพิกัดใหม่ (Dest X, Y)
(54)

การใช้งานระบบสารสนเทศภูมศิ าสตร์ (GIS) สาหรับการบริหารจดั การท่ดี นิ
กองเทคโนโลยที าแผนท่ี กรมทด่ี นิ

การตรึงคา่ พกิ ัดภูมศิ าสตร์ (Registration)

14

14. เม่ือทาการตรึงค่าพิกัดครบทุกจุดแล้ว ให้ไปทแี่ ถบ Settings จากน้ันเลือกคาส่ัง
Transformation Setting

15

15. จะปรากฏหน้าต่าง Transformation Settings ให้ทาการเลือกส่วนต่าง ๆ ดังนี้
Transformation type = Polynomail 1
Resampling method = Nearest Neighbour
Compression = None
Output raster = ให้เราเลือกท่ีจัดเก็บไฟล์ภาพใหม่ท่ีทาการตรึงค่าพิกัดแล้ว
(55)


Click to View FlipBook Version