The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search

คำอธิบายระเบียบกรมที่ดินว่าด้วยการสร้างและการใช้ระวางแผนที่ พ.ศ. 2547 (ปี 2557)

สำนักเทคโนโลยีทำแผนที่

Keywords: ด้านการรังวัดและทำแผนที่



คาํ นํา

หนงั สือคาํ อธิบายระเบียบกรมที่ดิน ว่าดว้ ยการสร้างและการใชร้ ะวางแผนท่ี พ.ศ. ๒๕๔๗ เล่มน้ี
ผเู้ ขียนต้งั ใจเพื่อเตือนจาํ บอกเล่าเหตุผล แนวความคิด ของคณะผยู้ กร่างซ่ึงผเู้ ขียนมีฐานะเป็ นผชู้ ่วยเลขานุการ
และมีตาํ แหน่งขณะยกร่างเป็ นหวั หนา้ ฝ่ ายตรวจสอบหลกั ฐานและสร้างระวางแผนที่ สาํ นกั เทคโนโลยีทาํ -
แผนท่ี การอธิบายกรอบแนวคิดของคณะผยู้ กร่าง จะช่วยใหผ้ ใู้ ชร้ ะเบียบไดเ้ ขา้ ถึงจุดประสงคท์ ่ีแทจ้ ริงของ
ระเบียบฯ และสามารถตีความไปในทิศทางเดียวกนั ผูเ้ ขียนจึงหวงั ว่าหนงั สือเล่มน้ีจะเป็ นประโยชน์ต่อ
ชาวดินทุกท่านท่ีตอ้ งเกี่ยวพนั กบั เร่ืองของระวางแผนท่ี

สาคร รุ่งเรือง
วิศวกรรังวดั ๘ว
สาํ นกั เทคโนโลยที าํ แผนท่ี

สารบญั ๓

เรื่อง หน้า
คาํ อธิบายระเบียบกรมที่ดิน วา่ ดว้ ยการสร้างและการใชร้ ะวางแผนที่ พ.ศ. ๒๕๔๗ ๑
หมวดที่ ๑ การควบคุมการสร้างระวางแผนท่ี ๔
หมวดท่ี ๒ หลกั เกณฑก์ ารสร้างระวางแผนท่ี ๘
หมวดท่ี ๓ การสร้างและขยายมาตราส่วนระวางแผนที่ ๑๓
หมวดที่ ๔ การสร้างระวางแผนท่ีข้ึนใหมแ่ ทนระวางแผนท่ีเดิม ๑๕
หมวดที่ ๕ ระวางแผนท่ีระบบพิกดั ฉาก ยู ที เอม็ ๑๗
หมวดท่ี ๖ การใชร้ ะวางแผนที่ ๒๐
ภาคผนวก ก. ระบบพกิ ดั ฉาก ยู ที เอม็ ๒๔
ภาคผนวก ข. แสดงรูปและแบบพิมพต์ ่างๆ ๒๗



คาํ อธิบาย

ระเบียบกรมทด่ี นิ ว่าด้วยการสร้างและการใช้ระวางแผนที่ พ.ศ. ๒๕๔๗

------------------------------------

โดยท่ี ระเบียบทเี่ กยี่ วข้องกบั การสร้างและการใช้ระวางแผนท่ี มีหลายฉบับกระจัดกระจายไม่เป็ น
หมวดหมู่ ไม่สะดวกต่อการใช้งาน และค้นคว้าอ้างอิง ประกอบกับปัจจุบันได้มีการนําเทคโนโลยีสมัยใหม่
มาใช้ในการรังวดั และทาํ แผนท่ี กรมทด่ี นิ จงึ กาํ หนดระเบียบไว้ดงั ต่อไปนี้

ข้อ ๑ ระเบียบนี้เรียกว่า “ระเบียบกรมที่ดิน ว่าด้วยการสร้างและการใช้ระวางแผนท่ี พ.ศ.
๒๕๔๗”

ข้อ ๒ ระเบยี บนี้ให้ใช้บังคบั ต้ังแต่วันที่ ๑ พฤษภาคม ๒๕๔๗ เป็ นต้นไป
ข้อ ๓ ให้ยกเลกิ
(๑) ระเบียบกรมทด่ี ิน ว่าด้วยการสร้างและใช้ระวางแผนที่ที่ทําขึ้นใหม่ เพอ่ื ใช้แทนระวางแผนท่ี
เดิม พ.ศ. ๒๕๑๗
(๒) ระเบียบกรมทดี่ นิ ว่าด้วยการลงรูปแผนทใ่ี นระวางแผนทร่ี ูปถ่ายทางอากาศ ออกโฉนดทดี่ ิน
เฉพาะราย พ.ศ. ๒๕๒๓
(๓) ระเบียบกรมทดี่ นิ ว่าด้วยการลงรูปแผนทใี่ นระวางแผนทร่ี ูปถ่ายทางอากาศ ออกโฉนดทดี่ ิน
เฉพาะราย (ฉบับที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๒๔
(๔) ระเบยี บกรมทด่ี นิ ว่าด้วยการปรับปรุงมาตรฐานการสร้างระวางแผนที่ พ.ศ. ๒๕๒๖
(๕) ระเบียบกรมทด่ี นิ ว่าด้วยการสร้างระวางแผนทร่ี ะบบพกิ ดั ฉาก ยู ที เอ็ม พ.ศ. ๒๕๒๙
(๖) ระเบียบกรมที่ดิน ว่าด้วยการสร้างและการใช้ระวางแผนที่ระบบพิกัดฉาก ยู ที เอ็ม เพ่ือ
การรังวดั โดยวธิ ีแผนทชี่ ั้นหนึ่ง พ.ศ. ๒๕๔๔
ข้อ ๔ บรรดาระเบียบ คําสั่ง ประกาศ หรือหนังสือส่ังการอ่ืนใดซึ่งขัดหรือแย้งกบั ระเบียบนี้ ให้ใช้
ระเบียบน้ีแทน
ข้อ ๕ ในระเบยี บน้ี
“ระวางแผนท่ี” หมายถึง แผนท่ีระวางท่ใี ช้สําหรับการลงท่หี มายรูปแปลงท่ดี ินและรายละเอียด
ต่างๆ มีขนาด ๕๐ x ๕๐ เซนติเมตร ใช้ในการออกโฉนดท่ีดิน มี ๒ ประเภท คือ ระวางแผนท่ีภาคพื้นดิน และ
ระวางแผนทร่ี ูปถ่ายทางอากาศ
“ระวางแผนที่คาบเกี่ยว” หมายถึง ระวางแผนที่ที่สร้างข้ึนเพื่อลงท่ีหมายรูปแปลงที่ดินเพียง
บางส่วน ซึ่งเป็ นส่วนน้อยที่อยู่คาบเกี่ยวระวางแผนที่ให้มีรูปแผนที่เต็มแปลง เนื่องจากไม่สามารถสร้าง
ระวางแผนที่ ตามหลกั เกณฑ์ได้



“ระวางขยายรูปถ่ายทางอากาศ” หมายถงึ ระวางรูปถ่ายทางอากาศที่สร้างขึ้นจากการขยาย
รายละเอียดภาพให้มีขนาดใหญ่ขึ้นในขนาดมาตราส่วน ๑:๑,๐๐๐ หรือ ๑:๔,๐๐๐ โดยประมาณ โดยมิได้ทํา
การปรับแก้ความถูกต้อง เพอื่ ใช้ประกอบกบั ระวางแผนที่ภาคพ้ืนดิน สําหรับใช้พจิ ารณาตรวจสอบรูปแปลง
ทดี่ นิ เท่าน้ัน

“แผ่นทาบระวางแผนที่ภูมิประเทศ” หมายถึง แผ่นโปร่งแสงที่ทาบลงบนแผนที่ภูมิประเทศ
มาตราส่วน ๑:๕๐,๐๐๐ ลําดับชุด L7017 เพื่อแสดงข้อมูลต่างๆ ของบริเวณที่ได้สร้างระวางแผนที่ไว้ใช้ใน
ราชการแล้ว เช่น ชนิดของระวางแผนท่ี มาตราส่วน บริเวณท่ีได้กําหนดพื้นท่ีให้ทําการรังวัดโดยวิธีแผนท่ี
ชั้นหนึ่ง เป็ นต้น

“ยู ที เอ็ม” (UTM) ย่อมาจาก Universal Transverse Mercator หมายถงึ ระบบการฉายแผนที่
(Map Projection) เพือ่ ถ่ายทอดตําแหน่งจากพ้ืนผิวโลกซึ่งมีลักษณะเป็ นพื้นผิวโค้งทรงรี (Ellipsoid) ลงบน
พน้ื ผิวทรงกระบอก

“พน้ื ผิวโค้งทรงรี” (Ellipsoid) หมายถงึ รูปทรงรีซ่ึงเกดิ จากการหมุนระนาบวงรีรอบแกนสั้น
“เอเวอร์เรสสเฟี ยรอยด์ ๑๘๓๐” (Everest Spheroid 1830) หมายถึง พ้ืนผิวโค้ง ทรงรี
(Ellipsoid) ซ่ึงมีระยะกง่ึ แกนยาว (Semi-Major Axis) เท่ากบั ๖,๓๗๗,๒๗๖.๓๔๕ เมตร และอัตราการยบุ ตัว
(Flattening) เท่ากบั ๑/๓๐๐.๘๐๑๗ ซึ่งใช้เป็ นขนาดสัณฐานอ้างอิง ในการคาํ นวณงานรังวัดช้ันสูง (Geodetic
Survey)
“ระยะกง่ึ แกนยาว” (a) หมายถงึ ระยะคร่ึงหนึ่งของระยะแกนยาวของรูปวงรี
“ระยะกงึ่ แกนส้ัน” (b) หมายถงึ ระยะคร่ึงหนึ่งของระยะแกนส้ันของรูปวงรี

“อัตราการยุบตัว” (Flattening, f) หมายถงึ อัตราส่วนระหว่างผลต่างของระยะกึ่งแกน
ยาวและกง่ึ แกนส้ันต่อระยะกง่ึ แกนยาว หรือ f = (a - b)/a

“ค่าเยอื้ งศูนย์ลาํ ดบั ที่ ๑” (The First Eccentricity, e) ให้ e2 = ( a2 - b2 )/ a2
“ค่าเยอ้ื งศูนย์ลาํ ดบั ที่ ๒” (The Second Eccentricity, e′) ให้ e′2 = ( a2 - b2 )/ b2
“เมอริเดียน ณ จดุ ใดจุดหนึ่ง” (Meridian) หมายถึง แนวเหนือ-ใต้ ซึ่งเกดิ จากพื้นระนาบซึ่ง
ผ่านขั้วเหนือ-ใต้ และจดุ Zenith ของจดุ น้ัน ใช้เป็ นแนวอ้างอิงในการวัดภาคของทศิ (Azimuth)
“เมอริเดียนกลาง” (Central Meridian) หมายถึง เส้นเมอริเดียนที่แบ่งแต่ละโซนออกเป็ น
สองส่วนสมมาตรกนั สําหรับระบบพกิ ดั ฉาก ยู ที เอ็ม ใช้เส้นเมอริเดียนกลางเป็ นแกนตั้ง
“โซน” (Zone) หมายถึง แถบของพื้นที่บนผิวโลกท่ีถูกแบ่งออกโดยให้แต่ละแถบมีพ้ืนท่ีเท่ากัน
และมีเส้นเมอริเดียนกลางผ่านกลางโซน
“ค่าพิกัดตะวันออกเทียม” (False Easting) หมายถึง ค่าพิกัดราบเทียม ที่กําหนดสําหรับแนว
เมอริเดียนกลาง (เส้นแกนตั้ง) ของโซนใด ๆ ทง้ั นี้เพอ่ื ให้ค่าพกิ ดั ราบของจดุ ทุกจดุ ในโซนนั้น ๆ มคี ่าเป็ นบวก



“ค่าพกิ ดั เหนือเทียม” (False Northing) ซ่ึงใช้กรณีซีกโลกใต้ หมายถงึ ค่าพกิ ดั ต้ังเทียมท่ีกาํ หนด
สําหรับแนวเส้นศูนย์สูตร (เส้นแกนราบ) เพอื่ ให้ค่าพกิ ดั ต้ังของจดุ ทุกจดุ ในโซนน้ันๆ มีค่าเป็ นบวก

“ค่าสัมประสิทธิ์การลดทอนระยะลงสู่ระดับน้ําทะเลปานกลาง” (Coefficient for Reduction to
Mean Sea Level, C) หมายถึง ตัวคูณสําหรับทอนระยะที่วัดได้บนพื้นดินเป็ นระยะท่ีระดับน้ําทะเลปานกลาง
(พน้ื ยอี อยด์)

“ค่าตัวคูณมาตราส่วน” (Scale Factor, K) หมายถึง ตัวคูณสําหรับทอนระยะท่ีระดับน้ําทะเล
ปานกลาง เป็ นระยะบนแผนท่ี

“พื้นยีออยด์” (Geoid) หมายถึง พื้นผิวซึ่งมีค่าแรงดึงดูดของโลกเท่าๆ กนั และเท่ากับแรง
ดึงดูดที่ระดบั น้ําทะเลปานกลาง (Surface of Equi - Potential at Mean Sea Level)

“รัศมที รงรีโลก” (R) หมายถงึ รัศมที รงรีโลกทล่ี ะติจดู ใด ๆ มคี ่าดงั นี้
R = √ MN

โดยท่ี M เป็ นค่ารัศมที รงรีโลกในแนวเมอริเดยี น
M = a (1- e2)
(1- e2 sin2φ )3/2
N เป็ นค่ารัศมที รงรีโลกในแนวด่งิ หลกั
N= a
(1- e2 sin2φ )1/2
φ = ค่าละติจดู (Latitude) ณ ตําแหน่งใดๆ

“ค่าระดับเฉลยี่ ของพน้ื ท”่ี (H) หมายถงึ ค่าระดับเฉลย่ี ของบริเวณพนื้ ทที่ เ่ี ส้นโครงงาน
หมดุ หลกั ฐานแผนทผ่ี ่าน เทยี บกบั ระดับน้ําทะเลปานกลาง

“ค่ามุมสอบของแนวเมอริเดียน” (Convergence of Meridian, γ) หมายถึง มุมต่างระหว่างทิศเหนือ
จริง (True North) ซ่ึงได้จากการรังวัดทางดาราศาสตร์ กับทิศเหนือกริด (Grid North) ซ่ึงได้จาก
การฉายแผนที่

ข้อ ๖ คําอธิบายและภาคผนวกซึ่งกําหนดไว้ท้ายระเบียบให้ถอื ว่าเป็ นส่วนประกอบ ที่ใช้ใน
ระเบียบและให้ใช้เป็ นแนวทางในการปฏบิ ตั ิ

ข้อ ๗ ให้ผ้อู ํานวยการสํานักเทคโนโลยที าํ แผนทรี่ ักษาการตามระเบยี บนี้



คาํ อธิบาย

ขอ้ ๑-๗ ระเบียบกรมที่ดิน ว่าดว้ ยการสร้างและการใชร้ ะวางแผนที่ พ.ศ. ๒๕๔๗ ใชบ้ งั คบั
ต้งั แต่วนั ที่ ๑ พฤษภาคม ๒๕๔๗ เป็นตน้ ไป โดยยกเลิกระเบียบกรมที่ดิน เดิม ๖ ฉบบั คือ

(๑) ระเบียบกรมท่ีดิน วา่ ดว้ ยการสร้างและใชร้ ะวางแผนที่ที่ทาํ ข้ึนใหม่ เพ่ือใชแ้ ทนระวาง
แผนที่เดิม พ.ศ. ๒๕๑๗

(๒) ระเบียบกรมท่ีดิน ว่าด้วยการลงรูปแผนท่ีในระวางแผนท่ีรูปถ่ายทางอากาศออก
โฉนดท่ีดินเฉพาะราย พ.ศ. ๒๕๒๓

(๓) ระเบียบกรมท่ีดิน ว่าดว้ ยการลงรูปแผนที่ในระวางแผนที่รูปถ่ายทางอากาศออก
โฉนดที่ดินเฉพาะราย (ฉบบั ท่ี ๒) พ.ศ. ๒๕๒๔

(๔) ระเบียบกรมท่ีดิน วา่ ดว้ ยการปรับปรุงมาตรฐานการสร้างระวางแผนท่ี พ.ศ. ๒๕๒๖
(๕) ระเบียบกรมท่ีดิน วา่ ดว้ ยการสร้างระวางแผนท่ีระบบพิกดั ฉาก ยู ที เอม็ พ.ศ. ๒๕๒๙
(๖) ระเบียบกรมท่ีดิน ว่าดว้ ยการสร้างและการใชร้ ะวางแผนท่ีระบบพิกดั ฉาก ยู ที เอ็ม
เพ่ือการรังวดั โดยวิธีแผนที่ช้นั หน่ึง พ.ศ. ๒๕๔๔
ในระเบียบน้ีมีท้งั หมด ๖ หมวด ๒๔ ขอ้ คาํ อธิบายและภาคผนวกทา้ ยระเบียบถือเป็ น
ส่วนประกอบของระเบียบและใหใ้ ชเ้ ป็นแนวทางในการปฏิบตั ิดว้ ย โดยมีผอู้ าํ นวยการสาํ นกั เทคโนโลยที าํ แผนท่ี
รักษาการตามระเบียบน้ี

หมวด ๑
การควบคมุ การสร้างระวางแผนท่ี

ข้อ ๘ ให้สํานักเทคโนโลยีทาํ แผนท่ี สร้างระวางแผนที่ไว้ใช้ในราชการ พร้อมทั้งจัดทํา ฐานข้อมูล
ไว้เพื่อควบคุมการสร้างระวางแผนที่ หากสํานักอื่น จะสร้างระวางแผนที่ ต้องทําการตรวจสอบกับ
ฐานข้อมูลของสํานักเทคโนโลยที าํ แผนทก่ี ่อนดําเนินการ และเม่ือส่งใช้ในราชการแล้วให้แจ้งสํานักเทคโนโลยี
ทาํ แผนทท่ี นั ที

ทดี่ นิ บริเวณใด ควรกระทําการรังวัดโดยวิธีแผนทชี่ ้ันหนึ่ง ให้แจ้งสํานักเทคโนโลยที าํ แผนทีจ่ ัดทาํ
ประกาศกําหนดพื้นท่ีเป็ นระวาง ๆ ไป การสร้างระวางแผนท่ีหลายมาตราส่วนในพื้นท่ีเดียวกัน ให้ประกาศ
เฉพาะช่ือระวางแผนที่มาตราส่วนเล็ก และถ้าหากภายหลังมีการสร้างระวางแผนท่ีมาตราส่วนใหญ่ขยายเพิ่มเติม
กไ็ ม่ต้องประกาศอีก และให้หมายเหตุด้วยอักษรสีแดงบริเวณมุมบนด้านขวาของระวางแผนท่ดี ้วยข้อความ
ว่า “ให้รังวัดโดยวธิ ีแผนทช่ี ้ันหนึ่ง”

ให้ สํ านั กเทคโนโลยีทําแผนท่ีลง บัญชี เพิ่มเติ มใน บัญชี คุมระวางแผนที่และแผนที่สารบัญ
คมุ ระวางแผนที่ ให้เป็ นปัจจบุ ันอย่เู สมอ



คาํ อธิบาย

ขอ้ ๘ ระเบียบกรมท่ีดินเดิมกาํ หนดให้

การสร้างระวางแผนท่ี โดยปกติเป็ นหน้าที่ของ

กองรังวดั และทาํ แผนท่ี และหน่วยงานส่วนกลางท่ี

มีหน้าที่เกี่ยวขอ้ งกบั การออกโฉนดท่ีดิน หรือออก

หนังสือสําคญั สําหรับที่หลวงเป็ นผูด้ าํ เนินการ

ซ่ึงมีหลายหน่วยงานท่ีสามารถสร้างระวางแผนที่ได้

ไดแ้ ก่สาํ นกั เทคโนโลยที าํ แผนท่ี (กองรังวดั และทาํ

แผนที่เดิม) สร้างระวางแผนที่ตามคาํ ขอของจงั หวดั

สาํ นกั มาตรฐานและส่งเสริมการรังวดั สร้างระวาง

แผนที่ตามงานปฏิรูปที่ดินเพื่อการเกษตรและงาน

จดั รูปที่ดิน สาํ นกั มาตรฐานการออกหนงั สือสาํ คญั

สร้างระวางแผนท่ีตามงานโครงการเดินสาํ รวจออก

โฉนดท่ีดิน และสาํ นักจดั การที่ดินของรัฐ สร้าง

ระวางแผนที่ตามงานออกหนังสือสําคญั สําหรับ

ท่ีหลวง สํานกั ท่ีจดั สร้างตามขอ้ น้ีไม่ใช่สํานกั งาน

ที่ดินจงั หวดั เนื่องจากเป็ นหน่วยงานที่ขอในนาม แสดงพ้นื ที่สร้างระวางแผนท่ี และพ้นื ท่ีป่ าไม้
จงั หวดั ไม่ใช่สาํ นกั ที่สร้าง ปัญหาที่พบจากการที่มี

หลายหน่วยงานสามารถสร้างระวางแผนท่ีไดก้ ค็ ือ

๑. ขาดเอกภาพในการจดั สร้างระวางแผนท่ี

๒. ระวางแผนที่ไม่เป็นมาตรฐานเดียวกนั ทาํ ใหผ้ ใู้ ชส้ บั สน

๓. มีการสร้างระวางแผนท่ีซ้าํ ซอ้ นกนั ในบางพ้ืนที่

๔. การสร้างระวางแผนที่ใชร้ ะยะเวลายาวนาน (มากกวา่ ๒ เดือน) ไม่ทนั ความตอ้ งการ

ของผขู้ อออกโฉนดที่ดิน เน่ืองจากมีข้นั ตอนที่จะตอ้ งตรวจสอบจากหน่วยงานท่ีเกี่ยวขอ้ งหลายหน่วยงาน

ในระเบียบน้ี ให้สาํ นกั เทคโนโลยีทาํ แผนที่เป็ นหน่วยงานหลกั ในการจดั สร้างระวางแผนท่ี
หน่วยงานอื่นสามารถจดั สร้างได้ แต่ตอ้ งประสานงานเพ่ือตรวจสอบฐานขอ้ มูลของสาํ นกั เทคโนโลยที าํ แผนท่ี
ก่อน ทาํ ให้การจดั สร้างะวางแผนที่มีเอกภาพ มีหน่วยงานหลกั รับผิดชอบในการจดั ทาํ ฐานขอ้ มูลเรื่องระวาง
แผนที่ สามารถลดความซ้าํ ซ้อนในเร่ืองการสร้างระวางแผนที่ได้ ซ่ึงปัจจุบนั สาํ นกั เทคโนโลยีทาํ แผนที่ได้
จดั ทาํ ขอ้ มูลระวางแผนที่เผยแพร่ทางระบบอินเตอร์เนทและอินทราเนทอยแู่ ลว้



วรรคที่สองเกี่ยวขอ้ งวรรคแรกมีวตั ถุประสงคเ์ พ่ือให้หน่วยงานท่ีจดั สร้างอ่ืนๆท่ีไม่ใช่สํานัก
เทคโนโลยีทาํ แผนท่ีจะตอ้ งปฏิบตั ิตามหลกั การเดียวกนั กบั การสร้างระวางแผนที่ กล่าวคือหากจะประกาศ
กาํ หนดพ้ืนที่ให้ทาํ การรังวดั โดยวิธีแผนที่ช้ันหน่ึง ก็ต้องแจ้งสํานักเทคโนโลยีทาํ แผนที่ก่อน เพ่ือเป็ น
หน่วยงานหลกั ในการตรวจสอบและควบคุมไม่ใหม้ ีการประกาศซ้าํ ซอ้ นกนั ท้งั น้ีเน่ืองจากเป็นหน่วยงานท่ีมี
ภารกิจหลกั ในการรังวดั หมุดหลกั ฐานแผนที่เพ่ือการรังวดั โดยวิธีแผนท่ีช้นั หน่ึง สาํ หรับจงั หวดั (สาํ นกั งาน
ท่ีดินจงั หวดั )ไม่ตอ้ งแจง้ ตามวรรคน้ี เพราะเป็ นหน่วยงานท่ีขอไม่ใช่หน่วยงานที่จดั สร้าง ยอ่ มไม่รู้ว่าระวาง
ไหนมีความหนาแน่นของหมุดหลกั ฐานแผนท่ีเพียงพอแลว้ หรือไม่ เพราะหน่วยงานส่วนกลางเป็นผจู้ ดั สร้าง
ในระเบียบน้ีการจดั ทาํ ประกาศกาํ หนดพ้ืนที่จะตอ้ งกาํ หนดเป็ นระวาง ๆ ไป การสร้างระวางแผนท่ีหลาย
มาตราส่วนในพ้ืนท่ีเดียวกนั ใหป้ ระกาศเฉพาะช่ือระวางแผนท่ีมาตราส่วนเลก็ และถา้ หากภายหลงั มีการสร้างระวาง
แผนที่มาตราส่วนใหญ่ขยายเพิ่มเติมก็ไม่ตอ้ งประกาศอีก ท้งั น้ีเนื่องจากระวางแผนท่ีมาตราส่วนเล็กไดป้ ระกาศ
ครอบคลุมพ้ืนที่ระวางแผนท่ีมาตราส่วนใหญ่ไปแลว้

ข้อ ๙ ให้สํานักเทคโนโลยที าํ แผนท่ี จัดสร้างระวางแผนทข่ี ึน้ ระวางละ ๒ ชุด สําหรับใช้ในการออก
โฉนดที่ดินเฉพาะราย ส่งให้ฝ่ ายรังวัดสํานักงานท่ีดินจังหวัด สํานักงานท่ดี ินจังหวัดสาขา หรือส่วนแยก ๑ ชุด
และส่งให้ฝ่ ายควบคุมและรักษาหลักฐานที่ดิน สํานักงานท่ีดินจังหวัด หรือสํานักมาตรฐานและส่งเสริมการ
รังวัด สําหรับในเขตกรุงเทพมหานคร ๑ ชุด พร้อมทงั้ ให้แจ้งบัญชีระวางแผนทใี่ ห้สํานักมาตรฐานและส่งเสริม
การรังวัดทราบด้วย

(๑) กรณที เี่ ป็ นระวางแผนทภี่ าคพน้ื ดนิ ระวางท่ีสร้าง แต่ละชุดเป็ นระวางแผนที่ฟิ ล์มโปร่ง
แสง ๑ แผ่น

(๒) กรณที เ่ี ป็ นระวางแผนทร่ี ูปถ่ายทางอากาศ ระวางทสี่ ร้างแต่ละชุดประกอบด้วย
(ก) ระวางแผนที่รูปถ่ายทางอากาศวัสดุทึบแสง ๑ แผ่น ซึ่งมีแผ่นทาบระวาง

(Overlay) ผนึกติดอย่ดู ้วยกนั
(ข) ระวางแผนทฟี่ ิ ล์มโปร่งแสง ๑ แผ่น

ระวางแผนที่รูปถ่ายทางอากาศวัสดุทึบแสงชุดส่งให้ฝ่ ายควบคุมและรักษาหลักฐานท่ีดิน ให้
หมายเหตุไว้ในระวางแผนทดี่ ้วยตัวอักษรสีแดงว่า “ใช้ราชการในฝ่ ายควบคุมและรักษาหลกั ฐานทีด่ ิน” ชุดส่งให้
สํานักมาตรฐานและส่งเสริมการรังวัด ให้หมายเหตุไว้ในระวางแผนท่ีด้วยตัวอักษรสีแดงว่า “ใช้ราชการใน
สํานักมาตรฐานและส่งเสริมการรังวัด” และชุดส่งให้ฝ่ ายรังวัด สํานักงานที่ดิน ให้หมายเหตุไว้ในระวาง
แผนท่ีด้วยตัวอักษรสีแดงว่า “ใช้ราชการในฝ่ ายรังวัด สํานักงานทด่ี นิ ”

กรณีที่สํานักงานที่ดินได้รับระวางแผนที่รูปถ่ายทางอากาศ สําหรับใช้ในการออกโฉนดที่ดิน
เฉพาะราย ก่อนระเบียบนี้ ให้จดั เกบ็ ตามระเบียบนี้



ข้อ ๑๐ ระวางแผนท่ที ีส่ ร้างข้ึนโดยสํานักอ่ืน เพอ่ื ใช้ในการเดินสํารวจออกโฉนดทดี่ ิน ทั้งตําบล
หรือการออกหนังสือสําคัญสําหรับที่หลวง หรือการออกโฉนดที่ดินในเขตจัดรูปที่ดิน หรือการออกโฉนดท่ีดิน
ในเขตปฏริ ูปทดี่ ิน ให้ดาํ เนินการดังนี้

(๑) กรณีท่ีเป็ นระวางแผนที่ภาคพื้นดิน ให้สร้างระวางแผนท่ี ๑ ชุด เป็ นระวางแผนที่ฟิ ล์ม
โปร่งแสง ๑ แผ่น

(๒) กรณีท่ีเป็ นระวางแผนที่รูปถ่ายทางอากาศ ให้สร้ างระวางแผนท่ี ๒ ชุด แต่ละชุด
ประกอบด้วยระวางแผนท่ีรูปถ่ายทางอากาศ วัสดุทึบแสง ๑ แผ่น ซ่ึงมีแผ่นทาบระวาง (Overlay) ผนึกติดอยู่
ด้วยกนั

เมื่อทําระวางแผนท่ีต้นร่างเสร็จเรียบร้อยแล้ว ให้พิมพ์เป็ นระวางแผนที่แผ่นพิมพ์ ๒ ชุด และ
ทําบัญชีรวบรวมหลักฐานแผนท่ีท่ีเก่ียวข้องท้ังหมดส่งให้ฝ่ ายรังวัดสํานักงานท่ีดินจังหวัด สํานักงานท่ีดิน
จังหวัดสาขา หรือส่วนแยก ๑ ชุด และส่งให้ฝ่ ายควบคมุ และรักษาหลักฐานที่ดิน สํานักงานท่ีดินจังหวัด หรือ
สํานักมาตรฐานและส่งเสริมการรังวัด สําหรับในเขตกรุงเทพมหานคร อีก ๑ ชุด พร้อมท้ังแจ้งบัญชีระวางแผนท่ี
ให้สํานักเทคโนโลยที าํ แผนทแี่ ละสํานักมาตรฐานและส่งเสริมการรังวัดทราบด้วย

คาํ อธิบาย

ขอ้ ๙–๑๐ การสร้างระวางแผนที่ของ
แต่ละหน่วยงานจะมีขอ้ แตกต่างกนั กล่าวคือ สาํ นกั
เทคโนโลยที าํ แผนที่จะจดั สร้างเป็นระวางเปล่าไม่
ปรากฏรูปแปลงที่ดิน ส่วนสาํ นกั อื่นจะตอ้ งมีการ
สร้างระวางแผนที่ตน้ ร่างที่มีรูปแปลงท่ีดิน และ
สร้างระวางแผ่นพิมพส์ ่งใชใ้ นราชการ ระเบียบ
กรมท่ีดินเดิมกไ็ ม่ไดร้ ะบุแน่ชดั วา่ จะตอ้ งสร้างก่ีชุด
แต่ละชุดแตกต่างกันอย่างไร ส่งเก็บหน่วยงาน
ไหนบา้ ง ในระเบียบขอ้ ๙ น้ี จะกล่าวถึงการสร้าง
ระวางแผนที่ของสาํ นกั เทคโนโลยีทาํ แผนที่ส่วน
ข้อ ๑๐ จะกล่าวถึงการสร้างระวางแผนที่ของ
สาํ นกั อ่ืนๆ ท้งั น้ียงั ระบุอย่างชดั เจนดว้ ยว่าระวาง
แต่ละชุดใชร้ าชการท่ีใดบา้ งเพื่อให้สาํ นกั งานท่ีดินไม่สบั สนในการแยกเกบ็ เม่ือไดร้ ับระวางจากกรมท่ีดิน

ข้อ ๑๑ ถ้าพื้นที่ท่ีจะจัดสร้างระวางแผนที่เป็ นพ้ืนที่คาบเกี่ยวหลายสํานักงานที่ดินให้สร้าง
ระวางแผนทเี่ พม่ิ เติมได้



คาํ อธิบาย

ขอ้ ๑๑ น้ีสอดคลอ้ งกบั ระเบียบกรมท่ีดิน ว่าดว้ ยการสร้างระวางแผนท่ีระบบพิกดั ฉาก ยู ที เอม็
และการใหเ้ ลขท่ีดินในระวางแผนที่คาบเก่ียวเขตจงั หวดั หรือสาํ นกั งานที่ดิน พ.ศ.๒๕๓๔โดยการสร้างระวาง
แผนที่คาบเก่ียวกบั เขตจงั หวดั ใหส้ ร้างระวางแผนที่ข้ึนในพ้ืนที่แต่ละจงั หวดั ถึงแมจ้ ะมีช่ือหมายเลขแผน่ และ
หมายเลขระวางซ้าํ กนั ก็จะไม่มีปัญหา เน่ืองจากการสร้างระวางแต่ละระวางน้นั จะมีชื่อจงั หวดั ของระวางแผนท่ี
น้นั ๆ กาํ กบั ไวท้ ่ีเหนือชื่อระวางแผนที่ การลงที่หมายแผนท่ีให้ลงในพ้ืนท่ีของจงั หวดั น้นั ๆ ส่วนจงั หวดั ที่มี
เขตติดต่อให้แสดงเคร่ืองหมายจงั หวดั และชื่อจงั หวดั ดว้ ยหมึกสีดาํ การให้เลขท่ีดินให้ตามระวางแผนท่ีท่ี
สร้างข้ึนและมาตราส่วนของจงั หวดั น้นั ๆ โดยไม่ตอ้ งคาํ นึงว่าเขตจงั หวดั ที่ติดต่อน้นั จะมีพ้ืนที่อย่ใู นระวาง
เดียวกนั ถา้ จะลงท่ีหมายแผนที่ในจงั หวดั ที่มีเขตติดต่อกใ็ หส้ ร้างระวางแผนท่ีข้ึนอีกต่างหาก การต่อเลขท่ีดิน
กใ็ หข้ อต่อในระวางของจงั หวดั น้นั ๆ โดยเร่ิมจากเลขท่ีดิน 1 ของแต่ละจงั หวดั และระวางท่ีสร้างข้ึนใหม่

กรณีที่เขตติดต่อจงั หวดั น้ันๆ ไม่มีสาธารณประโยชน์เป็ นเขต แต่มีรูปแปลงที่ดินเป็ นเขตติด
ต่อเม่ือสร้างระวางแผนท่ีในแต่ละจงั หวดั แลว้ จะตอ้ งส่งระวางแผนที่ไปใหจ้ งั หวดั ท่ีมีเขตคาบเก่ียวน้นั ๆ ไว้
ใชใ้ นราชการดว้ ย เมื่อจงั หวดั ใดมีการรังวดั ท่ีดินทุกประเภทท่ีทาํ ให้เครื่องหมายท่ีดินเปล่ียนแปลงในแปลง
ท่ีดินที่มีเขตติดต่ออีกจงั หวดั หน่ึงและไดแ้ จกโฉนดท่ีดินไปแลว้ ให้ส่งรูปแผนท่ีกระดาษบางพร้อมท้งั แจง้
หมายเลขโฉนดท่ีดินส่งใหจ้ งั หวดั ท่ีคาบเกี่ยว เพื่อลงในระวางแผนท่ีของจงั หวดั ท่ีมีแปลงท่ีดินคาบเกี่ยวน้นั
ดว้ ย

การจดั สร้างระวางแผนท่ีเพิ่มเติมในพ้ืนที่คาบเก่ียวต่างสาํ นกั งานที่ดิน ในทอ้ งท่ีจงั หวดั เดียวกนั
จะดาํ เนินการไดต้ อ้ งเป็นทอ้ งท่ีท่ีไดก้ าํ หนดเขตอาํ เภอท่ีรับผดิ ชอบแน่นอนแลว้ โดยใหแ้ สดงเคร่ืองหมายเขต
อาํ เภอและเขียนช่ืออาํ เภอท่ีขอบดา้ นนอกระวางแผนที่ดว้ ยหมึกสีดาํ และส่งระวางแผนท่ีแผ่นพิมพใ์ ห้
สาํ นักงานที่ดินคาบเก่ียวใชใ้ นราชการดว้ ย การให้เลขท่ีดินประจาํ แปลงให้ถือตามระวางแผนท่ีที่สร้างข้ึน
ใหม่แต่ละระวาง ไม่วา่ ระวางน้นั จะเป็นระวางแผนท่ีมาตราส่วนเดียวกนั หรือต่างมาตราส่วน การใหเ้ ลขท่ีดิน
ให้เริ่มตน้ จากเลขท่ีดิน ๑ ตามลาํ ดบั ไปทุกระวาง กรณีสร้างระวางแผนท่ีต่างมาตราส่วนที่มีการให้เลขที่ดิน
โดยยดึ ระวางแผนท่ีมาตราส่วน ๑:๔,๐๐๐ เป็ นหลกั ไวแ้ ลว้ เมื่อจะขอต่อเลขท่ีดินในระวางแผนท่ีน้นั ๆใหต้ ่อ
จากเลขที่ดินสุดทา้ ย หรือเลขท่ีดินท่ียงั วา่ งอยขู่ องระวางแผนที่น้นั ๆทุกระวาง

หมวด ๒
หลกั เกณฑ์การสร้างระวางแผนท่ี

ข้อ ๑๒ การสร้างระวางแผนท่ีภาคพ้ืนดิน จะต้องทําการวางเส้นโครงงานหมุดหลักฐานแผนที่
หรือสร้างหมุดดาวเทียมให้มีจํานวนเพียงพอเสียก่อน โดยปกติจะต้องมีเส้นโครงงานหมุดหลักฐานแผนที่วาง
ผ่าน ๓ เส้น คือ ริมระวางด้านละ ๑ เส้น และกลางระวางอีก ๑ เส้น หรือมีหมุดดาวเทียม จํานวน ๑๖ หมุด
กระจายครอบคลมุ พน้ื ทท่ี สี่ ร้างระวาง น้ัน



ในกรณีท่ีมีเหตุผลความจําเป็ น เช่น บางส่วนของระวางแผนท่ีครอบคลุมพ้ืนท่ีหนองนํ้า แม่นํ้า
หรือในเขตชุมชนที่มีสิ่งก่อสร้างหนาแน่น หรือสภาพพื้นที่บังคับ เป็ นต้น จํานวนเส้นโครงงานหมุด
หลักฐานแผนทหี่ รือหมดุ ดาวเทยี ม อาจลดลงหรือเพมิ่ ข้ึนได้ตามความเหมาะสมแก่สภาพพน้ื ทแ่ี ละการใช้งาน

คาํ อธิบาย

ขอ้ ๑๒ น้ีเพ่ิมเติมจากระเบียบกรมท่ีดินเดิมตรงท่ีการสร้างระวางแผนที่ภาคพ้ืนดินไม่จาํ เป็นตอ้ งมี
เส้นโครงงานผา่ นในระวางเพียงอยา่ งเดียวหากมีหมุดดาวเทียม จาํ นวน ๑๖ หมุด กระจายครอบคลุมพ้ืนท่ีที่
สร้างระวางก็สามารถสร้างระวางแผนท่ีได้ ท้งั น้ีเพื่อใหส้ อดคลอ้ งกบั เทคโนโลยใี หม่ในเรื่องการรับสัญญาณ
ดาวเทียมแบบจลน์ ณ เวลาทาํ การรังวดั (RTK)

วรรคสองเป็ นขอ้ ยกเวน้ เช่นบางส่วนของระวางแผนท่ีครอบคลุมพ้ืนท่ีหนองน้าํ แม่น้าํ หรือใน
เขตชุมชนท่ีมีสิ่งก่อสร้างหนาแน่น หรือสภาพพ้ืนที่บงั คบั จาํ นวนเส้นโครงงานหมุดหลกั ฐานแผนที่หรือ
หมุดดาวเทียม อาจลดลงหรือเพมิ่ ข้ึนไดต้ ามความเหมาะสมแก่สภาพพ้ืนท่ีและการใชง้ าน

ข้อ ๑๓ การสร้ างระวางแผนท่ีภาคพื้นดินด้วยหมุดดาวเทียม ต้องเป็ นไปตามเง่ือนไขข้อใด
ข้อหนึ่งดังต่อไปนี้

(๑) เป็ นพน้ื ทท่ี ม่ี สี ภาพภูมิประเทศไม่เหมาะสมทจ่ี ะวางเส้นโครงงานหมดุ หลกั ฐานแผนที่
(๒) ในพน้ื ทที่ ไี่ ม่มเี ส้นโครงงานหมุดหลักฐานแผนที่ หรือมีเส้นโครงงานหมุดหลักฐานแผน
ท่แี ต่สูญหายไปเป็ นจํานวนมาก ต้องตรวจสอบและพสิ ูจน์ให้ได้ว่า ค่าพกิ ดั ท่ีได้จากหมุดดาวเทียมและค่าพกิ ัด
ทไี่ ด้จากเส้นโครงงานหมุดหลกั ฐานแผนทบ่ี ริเวณใกล้เคยี งมีความสัมพนั ธ์กนั
(๓) ในพ้นื ท่ีที่มีเส้นโครงงานหมุดหลักฐานแผนท่ีอยู่แล้ว แต่ไม่หนาแน่น ค่าพกิ ัดที่ได้จาก
หมุดดาวเทียม ต้องมีความสัมพันธ์กับค่าพิกัดของหมุดหลักฐานแผนท่ีที่มีอยู่ และจํานวนหมุดดาวเทียม
อาจลดลงได้ตามความเหมาะสม

คาํ อธิบาย

ขอ้ ๑๓ น้ีเป็ นการกาํ หนดเงื่อนไขของการสร้างระวางแผนท่ีภาคพ้ืนดิน ดว้ ยหมุดดาวเทียมไว้
สาเหตุที่ตอ้ งกาํ หนดเงื่อนไขไว้ เพราะโดยปกติหมุดดาวเทียมจะใชเ้ ป็ นหมุดเขา้ ออกเส้นโครงงานฯเท่าน้นั
บางพ้ืนที่ที่มีเส้นโครงงานอยแู่ ลว้ ค่าพิกดั อาจไม่สัมพนั ธ์กบั ค่าพิกดั หมุดดาวเทียมการจดั สร้างระวางแผนท่ี
ดว้ ยหมุดดาวเทียมจึงตอ้ งเป็ นพ้ืนท่ีที่มีสภาพภูมิประเทศไม่เหมาะสมที่จะวางเส้นโครงงานฯจริงๆ หากเป็ น
บริเวณที่มีเสน้ โครงงานฯแลว้ กจ็ ะตอ้ งตรวจสอบและพิสูจนใ์ หไ้ ด้ว่าค่าพิกัดที่ไดจ้ ากหมุดดาวเทียมและค่า
พิกัดที่ได้จากเส้นโครงงานฯบริเวณดงั กล่าวมีความสัมพนั ธ์กัน

ข้อ ๑๔ การสร้างระวางแผนทร่ี ูปถ่ายทางอากาศ จะต้องมจี ดุ บงั คบั ภาพ อย่างน้อย ๔ จดุ ใน

๑๐

บริเวณมุมระวางแผนที่ และเป็ นจุดท่ีมีความคมชัด สามารถชี้ตําแหน่งบนรูปถ่ายทางอากาศ และเป็ น
ตําแหน่งที่สามารถมองเห็นรายละเอียดบนพนื้ ดินได้อย่างชัดเจน มาใช้ในการปรับแก้ความเอียงและมาตราส่วน
ของรูปถ่ายทางอากาศ เพอ่ื สร้างเป็ นระวางแผนทรี่ ูปถ่ายทางอากาศ

การปรับแก้ความเอียงและมาตราส่วนของรูปถ่ายทางอากาศ เพ่ือสร้างระวางแผนท่ีรูปถ่าย
ทางอากาศ ให้ดําเนินการตามหลกั วิชาการทาํ แผนทร่ี ูปถ่ายทางอากาศ โดยมวี ิธีการดาํ เนินการดังต่อไปนี้

(๑) วิธีการปรับแก้ความเอียงและมาตราส่วนจากรูปถ่ายเดีย่ ว (Single Photo Rectification)
ใช้ในบริเวณพนื้ ราบหรือพนื้ ทที่ มี่ คี วามแตกต่างทางระดบั ของภูมปิ ระเทศไม่มากนัก

(๒) วิธีการปรับแก้ความเอียงและมาตราส่วนจากรูปถ่ายคู่ (Ortho Photo Rectification)
ใช้ทง้ั ในบริเวณพนื้ ราบและพน้ื ทที่ มี่ ีความแตกต่างทางระดับของภูมปิ ระเทศมาก และต้องนําข้อมลู ระดบั ของ
ภูมิประเทศที่ได้จากการรังวัดจริงมาใช้ ในกระบวนการสร้ างระวางแผนท่ีรูปถ่ายทางอากาศตาม
ความเหมาะสมของพนื้ ท่ี

ความละเอียดถูกต้ องของการต่ อริมระวางแผนท่ีรูปถ่ายทางอากาศ ให้ มีเกณฑ์ความ
คลาดเคลอื่ นในการต่อริมระวางแผนทไี่ ม่เกนิ ๓ มิลลเิ มตร

คาํ อธิบาย

ขอ้ ๑๔ เป็นหลกั เกณฑก์ ารสร้างระวางแผนที่รูปถ่ายทางอากาศ ก่อนท่ีจะสร้างเป็นระวางแผนท่ี
รูปถ่ายทางอากาศไดน้ ้นั จาํ เป็นจะตอ้ งมีหมุดบงั คบั ภาพเพ่อื ใชใ้ นการปรับแกค้ วามเอียงของรูปถ่าย ซ่ึงแต่ก่อน
กรมท่ีดิน ไดห้ มุดบงั คบั ภาพมาโดยวิธีการเดินสาํ รวจทางภาคพ้ืนดินซ่ึงเสียเวลาและเสียค่าใชจ้ ่ายสูง ดงั น้นั
กรมท่ีดินจึงนาํ วิธีการขยายหมุดบงั คบั ภาพดว้ ยรูปถ่ายทางอากาศมาดาํ เนินงาน โดยวิธีการทาํ โครงข่าย
สามเหลี่ยมทางอากาศ (AERIAL TRIANGULATION) เพื่อเพ่ิมปริมาณการสร้างระวางแผนที่รูปถ่าย
ทางอากาศใหท้ นั ต่อการใชง้ าน

ส่วนรูปถ่ายทางอากาศท่ีมีรายละเอียด ส่วนไปจนทว่ั ตลอดท้งั รูปถ่ายทางอากาศรูปน้นั ๆ
ของภูมิประเทศที่มีความสูงต่าํ จะปรากฏความสูง ความคิดด้งั เดิมอนั เป็นองคป์ ระกอบสาํ คญั ในการ
ของรายละเอียดแตกต่างกนั ถา้ ตอ้ งการจะสร้างให้
เป็ นแผนท่ีภาพถ่ายที่มีคุณลกั ษณะ เช่นเดียวกบั ภาพ
RECTIFIED จะตอ้ งทาํ การขจดั ความคลาดเคล่ือน
ทางตาํ แหน่งอนั เน่ืองมาจากความสูงของรายละเอียด
เหล่าน้ันให้หมดไปเสียก่อนโดยทาํ การปรับแก้
ทีละส่วนเล็กๆ หรือเป็ นส่วนน้อยๆโดยทาํ การ
ปรับแกท้ ีละส่วนเล็กๆ หรือเป็ นส่วนน้อยๆทีละ

๑๑

ออกแบบสร้างเครื่องมือ เพ่ือใชใ้ นการทาํ ORTHO PHOTO ก็เพื่อตอ้ งการท่ีจะปรับคุณภาพของโทนสีของ
รายละเอียดของภูมิประเทศท่ีปรากฏบนรูปถ่ายทางอากาศ ใหก้ ลมกลืนกนั โดยไม่เก่ียวขอ้ งกบั สัดส่วนของ
รายละเอียดที่มีมาตราส่วนท่ีถูกตอ้ งแลว้ และในสมยั ต่อมาก็ไดพ้ ฒั นาในดา้ นความเร็ว ความสามารถ และ
ความถูกตอ้ งของรายละเอียดทางพ้ืนราบท่ีรวมอยใู่ นข้นั ตอนของการสร้างและทาํ แผนที่เขา้ ไปดว้ ย อีกท้งั ยงั
สามารถแสดงเสน้ ช้นั ความสูงใหเ้ ห็นไดใ้ นรูปลกั ษณะต่างๆ เพื่อใหก้ ารทาํ แผนท่ีสมบูรณ์แบบยงิ่ ข้ึนอีกส่วน
หน่ึง

ข้อ ๑๕ การจะสร้างระวางแผนทปี่ ระเภทใด ให้พจิ ารณาตามหลกั เกณฑ์ ดังน้ี
(๑) บริเวณใดมีเส้นโครงงานหมุดหลกั ฐานแผนทหี่ รือมีหมุดดาวเทยี มหนาแน่นเพยี งพอและ

ไม่สามารถสร้ างระวางแผนที่รูปถ่ายทางอากาศได้ ให้สร้ างระวางแผนท่ีภาคพื้นดิน และถ้ามีรูปถ่าย
ทางอากาศให้สร้างระวางขยายรูปถ่ายทางอากาศ สําหรับใช้ประกอบการพจิ ารณาตรวจสอบรูปแปลงทดี่ นิ

(๒) บริเวณใดอยู่ในหลักเกณฑ์ที่สามารถสร้างระวางแผนที่ภาคพื้นดิน และระวางแผนที่
รูปถ่ายทางอากาศได้ ให้สร้างระวางแผนท่ีภาคพืน้ ดินและให้สร้างระวางแผนที่รูปถ่ายทางอากาศ สําหรับใช้
ประกอบการพจิ ารณาตรวจสอบรูปแปลงทดี่ ิน

(๓) บริเวณใดไม่มีเส้นโครงงานหมุดหลักฐานแผนที่และหมุดดาวเทียมหนาแน่นเพียงพอ
แต่สามารถสร้างระวางแผนทรี่ ูปถ่ายทางอากาศได้ ให้สร้างระวางแผนทรี่ ูปถ่ายทางอากาศ

(๔) บริเวณใดทไี่ ม่อย่ใู นหลกั เกณฑ์ทส่ี ร้างระวางแผนทไี่ ด้ แต่จาํ เป็ นต้องสร้างระวางแผนที่
คาบเกย่ี ว ห้ามนําไปใช้ในการออกโฉนดทดี่ นิ

คาํ อธิบาย

ขอ้ ๑๕ (๑)-(๓) เป็นหลกั เกณฑใ์ นการเลือกประเภทระวางแผนท่ีท่ีจะจดั สร้างใชใ้ นราชการใน
กรณีต่างๆ ระวางแผนที่ของกรมท่ีดิน มี ๒ ประเภทคือ

๑. ระวางแผนท่ีภาคพ้นื ดิน เป็นระวางแผนที่ที่สร้างจากการรังวดั หมุดหลกั ฐานแผนที่ ภาคพ้ืนดิน
(Cadastral Survey) แบ่งยอ่ ยออกตามวธิ ีการรังวดั อีก ๒ รูปแบบคือ

๑.๑ ระวางแผนท่ี เพือ่ การรังวดั โดยวิธีแผนท่ีช้นั หน่ึง เป็นระวางแผนท่ีซ่ึงกรมท่ีดินไดจ้ ดั ทาํ
ประกาศกาํ หนดบริเวณให้ตอ้ งทาํ การรังวดั โดยวิธีแผนท่ีช้นั หน่ึง ตามกฎกระทรวงฉบบั ท่ี ๖ ออกตามความ
ในพระราชบญั ญตั ิใหใ้ ชป้ ระมวลกฎหมายท่ีดิน พ.ศ. ๒๔๙๗ เท่าน้นั

๑.๒ ระวางแผนที่เพื่อการรังวดั โดยวิธีอื่น เป็ นระวางแผนที่ซ่ึงกรมที่ดินยงั ไม่ไดจ้ ดั ทาํ
ประกาศกาํ หนดบริเวณใหต้ อ้ งทาํ การรังวดั โดยวธิ ีแผนท่ีช้นั หน่ึง

๑๒

๒. ระวางแผนที่รูปถ่ายทางอากาศ เป็นระวางแผนที่ที่ไดจ้ ากการรังวดั ทาํ แผนที่โดยใชแ้ ผนท่ี
รูปถ่ายทางอากาศ (Photogrammetry) การรังวดั โดยใชร้ ะวางแผนที่รูปถ่ายทางอากาศ ถือเป็นการรังวดั โดยวิธี
แผนท่ีช้นั สอง

(๔) เป็ นหลกั เกณฑก์ ารสร้างระวางแผนท่ีคาบเก่ียวซ่ึงไม่อยใู่ นหลกั เกณฑท์ ี่จะสร้างระวาง
แผนที่ตามปกติได้ ตามระเบียบน้ีห้ามนาํ ไปใชใ้ นการออกโฉนดท่ีดินเพ่ิมเติมภายหลงั ซ่ึงทางปฏิบตั ิจะ
แตกต่างจากระเบียบเดิม ท่ีสามารถออกโฉนดท่ีดินเพิ่มเติมได้ แต่จะตอ้ งดาํ เนินการตามระเบียบกรมท่ีดิน
วา่ ดว้ ยการปรับปรุงมาตรฐานการสร้างระวางแผนท่ี พ.ศ. ๒๕๒๖ ขอ้ ๘.๑-๘.๓ ดงั น้ี

“๘.๑ ถ้าบริเวณดงั กล่าวมรี ะวางแผนทจ่ี ากรูปถ่ายทางอากาศ ให้ขอเบกิ ระวางแผนทจ่ี ากรูปถ่าย
ทางอากาศมาใช้ดําเนินการตามระเบียบ เพื่อให้ทราบว่าบริเวณใดมีระวางแผนที่จากรูปถ่ายทางอากาศ
ให้กองรังวดั และทาํ แผนท่ี จดั ทาํ แผนทส่ี ารบญั ระวางแจ้งให้จังหวดั ทราบทุกปี

๘.๒ ถ้าไม่มีระวางแผนท่ีจากรูปถ่ายทางอากาศให้รังวัดออกจากเส้นโครงงานหมุดหลกั ฐาน
แผนทท่ี ม่ี อี่ ย่เู ดิม โดยปฏิบัติตามระเบียบกรมทดี่ ิน ว่าด้วยการรังวัดและการสร้างระวาง แผนท่ี พ.ศ. ๒๕๓๒
ลงวันท่ี ๔ กรกฎาคม ๒๕๓๒ หมวดที่ ๑ หมวดท่ี ๒ และหมวดที่ ๓ แต่ทง้ั นี้ จะต้องไม่เกนิ ออกนอกระวาง
แผนที่

๘.๓ กรณีตาม ๘.๒ แต่ทด่ี ินอย่หู ่างจากเส้นโครงงานหมุดหลกั ฐานแผนที่เกนิ กว่าทีจ่ ะรังวัด
โดยตรงได้ (ห่างเกิน ๙ เส้น) ให้ทําการรังวัดบรรจบหมุดให้มีหมุดหลักฐานโครงงานแผนท่ี ในระวางน้ัน
เพมิ่ ขึน้ ให้เพยี งพอหรือให้ถูกต้องตามหลกั วิชาเสียก่อน ”

เหตุผลที่ตอ้ งห้ามออกโฉนดที่ดินเพิ่มเติม เน่ืองจากหากมีระวางแผนท่ีรูปถ่ายทางอากาศ
กส็ ามารถสร้างระวางตามหลกั เกณฑไ์ ดอ้ ยแู่ ลว้ หากอนุญาตใหด้ าํ เนินการไดต้ ามขอ้ ๘.๒-๘.๓ อาจทาํ ใหม้ าตรฐาน
ของระวางแผนท่ีต่าํ ลงเนื่องจากระวางดงั กล่าวจะมีเสน้ โครงงานฯไม่หนาแน่นตามหลกั เกณฑ์ เม่ือระยะเวลา
เน่ินนานไปเจา้ หนา้ ท่ีอาจละเลยท่ีจะโยงยดึ จากเสน้ โครงงานฯโดยไม่ทราบว่าเป็ นระวางคาบเกี่ยว อาจมีการ
รังวดั โดยวิธีแผนท่ีช้นั สอง โดยโยงยดึ จากหลกั เขตท่ีดินแปลงขา้ งเคียง เพ่ือแกป้ ัญหาดงั กล่าวคณะกรรมการ
ร่างระเบียบจึงกาํ หนดใหร้ ะวางแผนที่คาบเกี่ยวเป็นระวางแผนท่ีที่สร้างข้ึนเพื่อลงท่ีหมายรูปแปลงที่ดินเพียง
บางส่วน ซ่ึงเป็ นส่วนนอ้ ยที่อยูค่ าบเกี่ยวระวางแผนที่ให้มีรูปแผนที่เตม็ แปลงเท่าน้ัน ซ่ึงยงั ไม่ถือว่าเป็ น
ระวางแผนที่เพอื่ การออกโฉนดที่ดินแต่อยา่ งใด

๑๓

ข้อ ๑๖ เมื่อมคี าํ ขอออกโฉนดทด่ี นิ ในบริเวณทยี่ งั ไม่มรี ะวางแผนท่ี ให้ดาํ เนินการดงั น้ี
(๑) ให้จงั หวัดส่งเรื่องขอสร้างระวางแผนท่ี ให้กรมทด่ี นิ ดําเนินการสร้างระวางแผนท่ี
(๒) หากบริเวณดังกล่าวยังไม่สามารถสร้างระวางแผนที่ได้ ให้กรมที่ดินดําเนินการสร้างหมุด
หลกั ฐานแผนทใ่ี ห้เพยี งพอสําหรับสร้างระวางแผนที่
(๓) จังหวดั อาจขอดําเนินการสร้างหมุดหลกั ฐานแผนที่ เพอ่ื สร้างระวางแผนที่ โดยส่งแผนงาน
ให้กรมทดี่ ินพจิ ารณาเห็นชอบก่อนดําเนินการ

คาํ อธิบาย

ขอ้ ๑๖ ระเบียบกรมที่ดินเดิมไม่ไดก้ ล่าวถึงวิธีดาํ เนินการของจงั หวดั ในการขอสร้างระวางแผนท่ี
ทาํ ให้แต่ละจงั หวดั ดาํ เนินการไม่เหมือนกนั จึงกาํ หนดระเบียบขอ้ น้ีไวเ้ พ่ือให้เกิดความชดั เจน ในขอ้ น้ียงั
เปิ ดช่องใหจ้ งั หวดั ดาํ เนินการวางโครงหมุดหลกั ฐานแผนท่ีไดเ้ อง แต่ตอ้ งส่งแผนงานใหก้ รมที่ดินตรวจสอบ
ก่อนท้งั น้ีเพื่อใหเ้ สน้ โครงงานหมุดหลกั ฐานแผนท่ีเป็นไปตามหลกั วิชาและเป็นมาตรฐานเดียวกนั ทวั่ ประเทศ

หมวด ๓
การสร้ างและขยายมาตราส่ วนระวางแผนท่ี

ข้อ ๑๗ การสร้างและขยายมาตราส่วนระวางแผนที่ให้เหมาะสม ก็เพื่อให้สามารถบรรจุ
รูปแผนทล่ี งในระวางและเขยี นรายละเอียดได้อย่างครบถ้วนและชัดเจน จึงให้ถอื หลกั เกณฑ์ ดงั นี้

(๑) มาตราส่วนระวางแผนทร่ี ะบบพกิ ดั ฉาก ยู ที เอ็ม
(ก) มาตราส่วน ๑:๔,๐๐๐ ควรใช้ในบริเวณทมี่ เี น้ือทส่ี ่วนมากแปลงละ ๑๖ ไร่ขน้ึ ไป
(ข) มาตราส่วน ๑:๒,๐๐๐ ควรใช้ในบริเวณทม่ี ีเนื้อทสี่ ่วนมากแปลงละ ๔ ไร่ถงึ ๑๖ ไร่
(ค) มาตราส่วน ๑:๑,๐๐๐ ควรใช้ในบริเวณทมี่ ีเนื้อทส่ี ่วนมากแปลงละ๑ ไร่ ถงึ ๔ ไร่
(ง) มาตราส่วน ๑:๕๐๐ ควรใช้ในบริเวณทม่ี เี นื้อทส่ี ่วนมากแปลงละ๑ ไร่ลงมา

สําหรับทดี่ นิ แปลงใหญ่กว่าทก่ี ล่าวข้างต้น ใช้มาตราส่วนตามความเหมาะสม
(๒) การให้หมายเลข “แผ่น” ของระวางแผนที่มาตราส่วนต่างๆ ให้เป็ นไปตามภาคผนวก ข.
ท้ายระเบยี บนี้
(๓) ในระวางแผนที่มาตราส่วน ๑:๔,๐๐๐ อาจครอบคลุมพื้นที่ ทั้งประเภทที่อยู่อาศัยและที่
เกษตรกรรม ดังน้ัน การขยายมาตราส่วนระวางแผนที่ จึงควรขยายตามความเหมาะสมกับขนาดเน้ือที่แปลง
ที่ดิน เป็ นส่วน ๆ ไป โดยใช้เขตสาธารณประโยชน์ เช่น ถนน ทางเดิน แม่น้ํา และลําคลอง ในพ้ืนท่ีน้ัน เป็ น
ขอบเขตแบ่งส่วนระวางแผนท่ี ทม่ี ีมาตราส่วนต่างกนั

50 เซน ิตเมตร ๑๔

คาํ อธิบาย

ขอ้ ๑๗ (๑)ขอ้ น้ียงั คงตามระเบียบกรมท่ีดินเดิมไว้ ระวางแผนที่ปกติจะใชม้ าตราส่วน ๑:๔,๐๐๐
เป็ นหลกั ถา้ ปรากฏว่าในทอ้ งถิ่นใดมีความเจริญ มีประชาชนอยู่หนาแน่น ท่ีดินแบ่งเป็ นแปลงเล็กจนไม่
สามารถเขียนรายละเอียดได้ และมีราคาแพง ขนาดของระวางแผนท่ีระบบพกิ ดั ฉาก ยู ที เอม็ มีดงั น้ี

• มาตราส่วน ๑:๔,๐๐๐ ควรใชใ้ นบริเวณท่ีมีเน้ือที่ส่วนมากแปลงละ ๑๖ ไร่ข้ึนไปคลุมพ้ืนท่ี
ในท่ีดินกวา้ งยาวดา้ นละ ๒,๐๐๐ เมตร การลงท่ีหมายในระวางแผนที่ความยาว ๑ เซนติเมตรเท่ากบั ๔๐ เมตร
ในที่ดิน

• มาตราส่วน ๑:๒,๐๐๐ ควรใชใ้ นบริเวณท่ีมีเน้ือที่ส่วนมากแปลงละ ๔ ไร่ ถึง ๑๖ ไร่ ระวาง
แผนท่ีมาตราส่วน ๑:๔,๐๐๐ หน่ึงระวางแบ่งเป็ นมาตราส่วน ๑:๒,๐๐๐ ๔ แผน่ ตามรูป การเขียนหมายเลข
ระวางตอ้ งรวมมาตราส่วนและหมายเลขแผน่ ไวด้ ว้ ยระวางแผนที่แต่ละแผน่ คลุมพ้ืนที่ในที่ดินกวา้ งยาวดา้ น
ละ ๑,๐๐๐ เมตร ความยาวในแผนท่ี ๒ เซนติเมตรเท่ากนั ระยะในท่ีดิน ๔๐ เมตร

• มาตราส่วน ๑:๑,๐๐๐ ใชส้ ร้างระวางแผนท่ีในบริเวณที่มีเน้ือท่ีส่วนมากแปลงละ ๑ ไร่ ถึง ๔ ไร่
ระวางแผนที่มาตราส่วน ๑:๔,๐๐๐ หน่ึงระวางแบ่งเป็นมาตราส่วน ๑:๑,๐๐๐ ๑๖ แผน่ ตามรูป ระวางแต่ละ
แผน่ คลุมพ้ืนที่ในท่ีดินกวา้ งยาวดา้ นละ ๕๐๐ เมตร การเขียนหมายเลขระวางตอ้ งระบุมาตราส่วนและหมายเลขแผน่
ไวด้ ว้ ย ความยาวในแผนที่ ๔ เซนติเมตรเท่ากบั ระยะในท่ีดิน ๔๐ เมตร

• ระวางมาตราส่วน ๑:๕๐๐ ควรใชใ้ นบริเวณท่ีมีเน้ือท่ีส่วนมากแปลงละ ๑ ไร่ลงมา ระวาง
แผนที่มาตราส่วน ๑:๔,๐๐๐ หน่ึงระวางแบ่งเป็นมาตราส่วน ๑:๕๐๐ ๖๔ ระวาง ตามรูป ระวางแต่ละแผน่
คลุมพ้ืนที่ในดินกวา้ งยาวดา้ นละ ๒๕๐ เมตร การเขียนหมายเลขระวางตอ้ งระบุมาตราส่วนและหมายเลข
แผน่ ไวด้ ว้ ย ความยาวในแผนท่ี ๘ เซนติเมตรเท่าระยะในที่ดิน ๔๐ เมตร

การใหห้ มายเลขแผน่ ระวางแผนที่

12

34

50 เซนติเมตร ๑๕
มาตราส่วน ๑:๔,๐๐๐
มาตราส่วน ๑:๒,๐๐๐
จากระวางแผนที่มาตราส่วน ๑:๔,๐๐๐ ขยายเป็น ๔ แผน่

1 2 34 12345678
9 10 11 12 13 14 15 16
5 6 78 17 18 19 20 21 22 23 24
25 26 27 28 29 30 31 32
9 10 11 12 33 34 35 36 37 38 39 40
41 42 43 44 45 46 47 48
13 14 15 16 49 50 51 52 53 54 55 56
57 58 59 60 61 62 63 64
มาตราส่วน ๑:๑,๐๐๐
จากระวางแผนท่ีมาตราส่วน ๑:๔,๐๐๐ ขยายเป็น ๑๖ แผน่ มาตราส่วน ๑:๕๐๐
จากระวางแผนท่ีมาตราส่วน ๑:๔,๐๐๐ ขยายเป็น ๖๔ แผน่

หมวด ๔
การสร้างระวางแผนทขี่ น้ึ ใหม่แทนระวางแผนทเี่ ดมิ

ข้อ ๑๘ การสร้างระวางแผนทขี่ ึ้นใหม่ เน่ืองจากระวางแผนทเี่ ดมิ ชํารุด มีมาตราส่วน ไม่เหมาะสม
รายละเอียดในระวางแผนทเี่ ดมิ คลาดเคลอ่ื น หมุดหลกั ฐานแผนทใี่ นระวางแผนท่ชี ํารุดสูญหายหรือถูกทาํ ลาย
หรือมีความจาํ เป็ นอย่างอ่ืน ให้จงั หวัดรายงานกรมทดี่ ิน ตามแบบรายละเอียดประกอบการขอสร้างระวางแผนที่
ขึ้นใหม่เพ่ือใช้แทนระวางแผนที่เดิม ในภาคผนวก ข. ท้ายระเบียบนี้ เพอ่ื ทีก่ รมที่ดินจะได้พจิ ารณาดําเนินการ
สร้างระวางแผนทขี่ ้ึนใหม่

๑๖

ในกรณีที่มีการปรับแก้ค่าพิกัดหมุดหลักฐานแผนที่ หรือมีการสร้างระวางแผนท่ีเพื่อการรังวัด
โดยวิธีแผนทช่ี ั้นหน่ึง กรมทดี่ นิ จะได้สร้างระวางแผนทข่ี ้นึ ใหม่แทนระวางแผนทเ่ี ดิม

การสร้างระวางแผนทข่ี นึ้ ใหม่แทนระวางแผนทเี่ ดมิ ถ้ามไิ ด้มีการขยายมาตราส่วนของระวาง
แผนทเี่ ดมิ การต่อเลขทด่ี ินให้ถอื ตามระวางแผนทเ่ี ดมิ หรือเลขทดี่ นิ ทย่ี งั ว่างอย่ขู องระวางแผนทแ่ี ผ่นนั้นๆ โดย
ไม่ต้องสร้างสารบัญทด่ี ินขน้ึ ใหม่ แต่ถ้าได้มีการขยายมาตราส่วนของระวางแผนทเ่ี ดิม ให้สร้างสารบญั ทด่ี นิ
แยกเป็ นเล่มตามระวางแผนทที่ ส่ี ร้างข้นึ ใหม่ และให้หมายเหตุไว้ในระวางแผนทท่ี ส่ี ร้างข้ึนใหม่ ให้ทราบว่า
เลขทดี่ นิ สุดท้ายในระวางแผนทเ่ี ดมิ คอื เลขท่ดี ินเท่าใด ถ้ามีการขอต่อเลขทด่ี ินในระวางแผนทท่ี สี่ ร้างขึน้ ใหม่ ก็
ให้ต่อจากเลขสุดท้ายทไี่ ด้หมายเหตุไว้ในระวางแผนที่

การเขยี นชื่อระวางแผนทแี่ ละมาตราส่วน ลงในหลกั ฐานแผนทหี่ รือเอกสารสําคญั ทเี่ กย่ี วข้องทไ่ี ด้
ทาํ การรังวดั และลงทห่ี มายรูปแผนทใี่ นระวางแผนทท่ี ส่ี ร้างข้ึนใหม่แล้ว ให้เขียนช่ือตามระวางแผนทท่ี สี่ ร้าง
ขน้ึ ใหม่

คาํ อธิบาย

ขอ้ ๑๘ วรรคแรกขอ้ น้ียงั คงตามระเบียบกรมท่ีดิน วา่ ดว้ ยการสร้างและใชร้ ะวางแผนที่ที่ทาํ ข้ึน
ใหม่ เพ่ือใชแ้ ทนระวางแผนที่เดิม พ.ศ. ๒๕๑๗ ไว้ แต่เพิ่มเน้ือหาสาระเป็ นเหตุผลให้จงั หวดั ใชใ้ นการขอ
สร้างระวางใหม่ อีกหลายประการเช่น

• ระวางแผนที่เดิมชาํ รุด
• ระวางแผนท่ีเดิมมีมาตราส่วนไม่เหมาะสม
• รายละเอียดในระวางแผนที่เดิมคลาดเคลื่อน
• หมุดหลกั ฐานแผนที่ในระวางแผนท่ีชาํ รุดสูญหายหรือถกู ทาํ ลาย
• มีความจาํ เป็นอยา่ งอ่ืน

วรรคสอง กาํ หนดหนา้ ที่ของสาํ นกั เทคโนโลยีทาํ แผนท่ี ไวใ้ นกรณีท่ีมีการปรับแกค้ ่าพิกดั หมุด
หลกั ฐานแผนที่ หรือเมื่อมีการสร้างระวางแผนที่เพ่ือการรังวดั โดยวิธีแผนท่ีช้นั หน่ึง สาํ นกั เทคโนโลยที าํ แผนท่ี
จะสร้างระวางแผนที่ข้ึนใหม่แทนระวางแผนท่ีเดิมโดยไม่ตอ้ งมีคาํ ขอจากจงั หวดั

๑๗

หมวด ๕
ระวางแผนทร่ี ะบบพกิ ดั ฉาก ยู ที เอ็ม

ข้อ ๑๙ ระวางแผนทค่ี าบเกยี่ วโซน คอื ระวางแผนทท่ี ม่ี เี ส้นเมอริเดียน ๑๐๒ องศาตะวนั ออก ผ่านใน
ระวางนั้น

(๑) ในบริเวณพ้ืนที่คาบเกี่ยวโซนให้สร้างระวางแผนท่ีเป็ น ๒ แผ่น คือระวางแผนที่โซน
๔๗ และระวางแผนทโี่ ซน ๔๘ โดยใช้ค่าพกิ ดั ฉากของโซนน้ันๆ

(๒) ให้ขีดเส้นเมอริเดียน ๑๐๒ องศาตะวันออก ด้วยเส้นทึบสีแดงในระวางแผนท่ี คาบ
เกยี่ วโซนทุกๆ ระวาง

(๓) ให้เขียนหรือพมิ พ์หมายเหตุในระวางแผนทบี่ ริเวณนอกโซนดงั นี้
(ก) ระวางแผนทโี่ ซน ๔๗ เขียนว่า “บริเวณนี้ให้ลงทห่ี มายในระวางแผนทโ่ี ซน ๔๘”
(ข) ระวางแผนทโ่ี ซน ๔๘ เขยี นว่า “บริเวณน้ีให้ลงทห่ี มายในระวางแผนทโ่ี ซน ๔๗”

(๔) ท่ีดินแปลงใดอยู่ในระวางแผนท่ีโซนใด ให้ลงที่หมายในระวางแผนท่ีของโซนนั้น
สําหรับแปลงที่ดินซึ่งมีพ้ืนที่คาบเก่ียวโซน พ้นื ที่ส่วนใหญ่อยู่ในโซนใดให้ลงท่ีหมายในระวางแผนที่โซนนั้น
และลงทหี่ มายให้เต็มแปลง

คาํ อธิบาย

ขอ้ ๑๙ ขอ้ น้ียงั คงตามระเบียบกรมที่ดิน ว่าดว้ ยการสร้างระวางแผนที่ระบบพิกดั ฉาก ยู ที เอ็ม
พ.ศ. ๒๕๒๙

ระวางแผนที่คาบเก่ียวโซนหมายถึง ระวางแผนที่ระบบ ยู ที เอม็ มาตราส่วนใดๆ กต็ าม ที่มีเส้น
Longitude 1020E ผา่ นในระวาง โดยกาํ หนดหลกั เกณฑไ์ ว้ ดงั น้ี

๑. ในบริเวณพ้ืนท่ีคาบเก่ียวโซนให้สร้างระวางเป็ น ๒ แผ่น คือระวางแผนท่ีโซน ๔๗
และระวางแผนท่ีโซน ๔๘ โดยระวางแผนที่ของโซนใด กใ็ ชค้ า่ พกิ ดั ของโซนน้นั

๒. ใหข้ ีดเสน้ Longitude 1020E ดว้ ยเส้นหมึกสีแดง ในระวางแผนท่ีคาบเกี่ยวโซนทุก ๆ
ระวาง

๑๘

Long 102๐E ระวางแผนท่ี UTM โซน 48

ระวางแผนท่ี พืน้ ที่ว่างบริเวณนีข้ องระวาง
UTM โซน 47 โซน 47 ที่ได้นาํ รูปแผนที่ลงใน
ระวางโซน 48 แล้วให้หมายเหตุ
ว่า “บริเวณน้ีให้ลงทห่ี มายใน
ระวางแผนที่ โซน 48”

พืน้ ท่ีว่างบริเวณนีข้ องระวาง
โซน 48 ที่ได้นาํ รูปแผนท่ีลงใน
ระวางโซน 47 แล้วให้หมายเหตุ
ว่า “บริเวณนี้ให้ลงทห่ี มายใน
ระวางแผนท่ี โซน 47”

ระวางแผนที่ UTM บริเวณคาบเกย่ี วโซน 47- 48

๓. ที่ดินแปลงใดอยใู่ นระวางโซนใด ให้ลงท่ีหมายในระวางโซนน้นั แต่สําหรับแปลง
ที่ดินท่ีคล่อมโซน พ้ืนท่ีส่วนใหญ่อยใู่ นโซนใด ใหล้ งที่หมายในโซนน้นั

๔. ใหเ้ ขียนหรือพมิ พท์ ี่หมายในระวางแผนท่ีบริเวณนอกโซน ดงั น้ี
๔.๑ ในแผน่ ระวางแผนท่ีโซน ๔๗ เขียนวา่ “บริเวณน้ีใหล้ งท่ีหมายในระวางแผนที่
โซน๔๘
๔.๒ ในแผน่ ระวางแผนท่ีโซน ๔๘ เขียนวา่ “บริเวณน้ีใหล้ งที่หมายในระวางแผนท่ี
โซน๔๗

ข้อ ๒๐ การเรียกชื่อระวางแผนที่ระบบพิกัดฉาก ยู ที เอ็ม มาตราส่วน ๑:๔,๐๐๐ ให้นํา
หมายเลขประจําแผนทีภ่ ูมิประเทศมาตราส่วน ๑:๕๐,๐๐๐ ลําดับชุด L7017 และหมายเลขแผ่น ซึ่งมีค่าพิกดั มุม
ล่างด้านซ้ายของระวางแผนที่น้ันปรากฏอยู่ แล้วตามด้วยค่าพิกัดราบหลักสิบและหลักหน่วยของกโิ ลเมตรท่ีเป็ น
เลขคู่ และค่าพกิ ดั ตั้งหลกั สิบและหลกั หน่วยของกโิ ลเมตรทเี่ ป็ นเลขค่ขู องมมุ ล่างซ้ายของระวางแผนทร่ี ะบบพกิ ดั
ฉาก ยู ที เอ็ม มาตราส่วน ๑:๔,๐๐๐ เช่น “5638 II 2606”

๑๙

ในกรณแี ผนทภ่ี ูมปิ ระเทศมาตราส่วน ๑:๕๐,๐๐๐ ทยี่ งั ไม่มีใช้ในราชการ ให้เรียกช่ือตามแผ่นแผนที่
ภูมิประเทศทม่ี มุ ล่างด้านขวาของระวางแผนทน่ี ั้นปรากฏอยู่

การเรียกชื่อระวางแผนทร่ี ะบบพกิ ดั ฉาก ยู ที เอ็ม มาตราส่วนอ่ืน ๆ ให้เริ่มต้นด้วยช่ือระวางแผนท่ี
ระบบพกิ ดั ฉาก ยู ที เอ็ม มาตราส่วน ๑:๔,๐๐๐ แล้วตามด้วย “ - ” หมายเลขแผ่น และมาตราส่วนตามลาํ ดับ เช่น
“5638 II 2606 - 5 (๑:๑,๐๐๐)”

คาํ อธิบาย

ขอ้ ๒๐ ขอ้ น้ียงั คงตามระเบียบกรมท่ีดิน ว่าดว้ ยการสร้างระวางแผนท่ีระบบพิกดั ฉาก ยู ที เอม็
พ.ศ. ๒๕๒๙ การเรียกช่ือระวางแผนท่ีระบบ ยู ที เอม็ มาตราส่วน 1:4,000 มีหลกั เกณฑ์ ดงั น้ี

เรียกชื่อแผนท่ีภูมิประเทศ มาตราส่วน 1 : 50,000 ชุด L7017 ท่ีพิกดั มุมล่างดา้ นซา้ ยของระวาง
แผนที่น้นั ปรากฎอยู่ ตามดว้ ยหมายเลขระวางแผนท่ี ซ่ึงประกอบดว้ ยเลข 2 คู่ คู่แรกเป็ นค่าพิกดั ราบท่ีเป็ น
หลกั สิบและหลกั หน่วยของกิโลเมตร(ท่ีเป็ นเลขคู่) คู่หลงั เป็ นค่าพิกดั ต้งั ที่เป็ นหลกั สิบและหลกั หน่วยของ
กิโลเมตร(ที่เป็นเลขคู่) เช่น “5439 I 2226”

การเรียกชื่อระวางแผนที่ระบบ ยู ที เอม็ มาตราส่วนใหญ่กว่า 1:4,000ให้เรียกชื่อตามมาตรา
ส่วน 1:4,000 แลว้ ขีด “_” ตามดว้ ยหมายเลขแผน่ และมาตราส่วน ตามลาํ ดบั เช่น 5439 I 4684-5(1:1,000)
ตามขอ้ ขา้ งตน้

A อยใู่ นระวาง 5349 I 2226 ซ่ึงเป็นระวาง 1:4,000 แต่ถา้ เป็นระวางมาตราส่วนใหญ่
A อยใู่ นระวาง 5349 I 2226-1(1:2,000) เป็นตน้
ในกรณีท่ีมุมล่างดา้ นซา้ ยของระวางแผนท่ี ปรากฎในแผนท่ีภูมิประเทศ 1: 50,000 ท่ียงั ไม่มีใช้
ในราชการ ใหใ้ ชช้ ่ือตามแผน่ แผนที่ภูมิประเทศท่ีมุมล่างดา้ นขวาของระวางแผนที่น้นั ปรากฎอยู่ เช่น ที่ดิน
แปลงหน่ึงอย่ใู น ระวาง 2226 ซ่ึงมีมุมล่างดา้ นซา้ ยอยใู่ นแผน่ แผนที่ภูมิประเทศ 1:50,000 ชุด L7017 หมายเลข
5439 IV ที่ไม่มีใชใ้ นราชการ แต่มุมล่างดา้ นขวาอยใู่ นแผน่ แผนที่ภูมิประเทศ 1:50,000 ชุด L 7017 หมายเลข
5439 I จะเรียกระวางแผนที่น้ีวา่ “5439 I 2226”

5439 IV 5439 I 29 A อยู่ในระวาง 5349 IV 2226 แต่
28 ถ้าแผนทฯ่ี 5349 IV ไม่มีใช้ใน
A 27 ราชการ ให้ใช้แผนทแี่ ผ่นซึ่ง
26 มุมล่างด้านขวาปรากฏอย่แู ทน
25 ชื่อระวางจะเป็ น 5349 I 2226

19 20 21 22 23 24

๒๐

หมวด ๖
การใช้ระวางแผนท่ี

ข้อ ๒๑ เมื่อสํานักงานท่ีดิน ได้รับระวางแผนทแ่ี ล้ว ให้ลงบัญชีคมุ ระวางแผนท่ีว่า “ระวางแผน
ที่….. ได้รับตามหนังสือกรมที่ดินท่ี……. ลงวันท่ี……” ตามตัวอย่างในภาคผนวก ข. ท้ายระเบียบนี้และ
หมายเหตุลงในแผ่นทาบระวางแผนที่ภูมิประเทศ มาตราส่วน ๑:๕๐,๐๐๐ ลําดับชุด L7017 เพิ่มเติม ให้
เป็ นปัจจบุ นั อย่เู สมอ

การประกาศกําหนดให้ท่ีดินบริเวณใด ต้องทําการรังวัดโดยวิธีแผนท่ีชั้นหนึ่ง ให้ปิ ดประกาศใน
สํานักงานที่ดินที่รับผิดชอบ พร้อมระบุชื่อระวางแผนท่ี เมื่อได้ประกาศแล้ว ให้ทําเครื่องหมายแสดงบริเวณ
ระวางแผนที่ดังกล่าว ในแผ่นทาบระวางแผนที่ภูมิประเทศ มาตราส่วน ๑:๕๐,๐๐๐ เพือ่ ให้ทราบว่าบริเวณใด
ต้องทาํ การรังวดั โดยวธิ ีแผนทช่ี ั้นหน่ึง

คาํ อธิบาย

ขอ้ ๒๑ ขอ้ น้ียงั คงตามระเบียบกรมท่ีดิน วา่ ดว้ ยการสร้างระวางแผนที่ระบบพิกดั ฉาก ยู ที เอม็
พ.ศ. ๒๕๒๙ แต่มีการแกไ้ ขแบบพิมพบ์ ญั ชีคุมระวางแผนที่ใหม่ดงั น้ี

- แบบพมิ พ์ ร.ว. ๗๔ ก. เป็นบญั ชีคุมระวางแผนที่ระบบพิกดั ฉาก ยู ที เอม็ มาตราส่วน
๑:๔,๐๐๐ ๑:๒,๐๐๐ และ ๑:๑,๐๐๐

- แบบพมิ พ์ ร.ว. ๗๔ ข. เป็นบญั ชีคุมระวางแผนท่ีระบบพิกดั ฉาก ยู ที เอม็ มาตราส่วน
๑:๕๐๐

นอกจากน้ีระเบียบยังกําหนดให้สํานักงานที่ดิน หมายเหตุลงในแผ่นทาบระวางแผนท่ี
ภูมิประเทศ มาตราส่วน ๑:๕๐,๐๐๐ ลาํ ดบั ชุด L7017 เพ่ิมเติม ใหเ้ ป็ นปัจจุบนั อยเู่ สมอ ท้งั น้ีกเ็ พื่อสาํ นกั งาน
ท่ีดินจะไดท้ ราบวา่ พ้นื ที่ท่ีรับผดิ ชอบมีระวางเตม็ พ้ืนที่แลว้ หรือยงั เป็นการป้ องกนั ไม่ใหม้ ีการขอสร้างระวาง
แผนท่ีซ้าํ ซอ้ นกนั

วรรคสอง เป็นการกาํ หนดวิธีการปิ ดประกาศกรมที่ดิน เร่ืองการกาํ หนดใหท้ ี่ดินบริเวณใดตอ้ งทาํ
การรังวดั โดยวิธีแผนท่ีช้นั หน่ึง แกไ้ ขความบกพร่องของระเบียบกรมท่ีดิน ว่าดว้ ยการสร้างและการใชร้ ะวาง
แผนที่ระบบพิกดั ฉาก ยู ที เอ็ม เพื่อการรังวดั โดยวิธีแผนที่ช้นั หน่ึง พ.ศ. ๒๕๔๔ ซ่ึงเดิมไม่ไดก้ ล่าวไวว้ ่าจะ
ติดประกาศอย่างไรและท่ีใดบา้ ง ตามระเบียบน้ีกาํ หนดให้ติดประกาศในสํานักงานที่ดินที่มีพ้ืนท่ีรับผิดชอบ
ไม่วา่ จะเป็นสาํ นกั งานท่ีดินจงั หวดั หรือสาขาหรือส่วนแยก

ข้อ ๒๒ เม่อื ได้มีประกาศกาํ หนดพน้ื ทที่ าํ การรังวดั โดยวธิ ีแผนทช่ี ั้นหนึ่งบริเวณใดแล้ว ถ้ามีการ
ปรับปรุงระวางแผนทใี่ นภายหลงั ให้ถอื ว่าระวางแผนทจ่ี ากการปรับปรุงระวางแผนท่ี เป็ นระวางแผนทเี่ ดมิ

๒๑

คาํ อธิบาย

ขอ้ ๒๒ ขอ้ น้ียงั คงตามระเบียบกรมที่ดิน ว่าดว้ ยการสร้างและการใชร้ ะวางแผนท่ีระบบพิกดั
ฉาก ยู ที เอ็ม เพื่อการรังวดั โดยวิธีแผนที่ช้นั หน่ึง พ.ศ. ๒๕๔๔ กาํ หนดไวเ้ พื่อไม่ให้ผูใ้ ชร้ ะวางสับสนแม้
ระวางที่ไดจ้ ากการปรับปรุงจากระบบศูนยก์ าํ เนิดเดิมจะสร้างข้ีนทีหลงั ก็ยงั ถือว่าเป็ นระวางแผนที่เดิมห้าม
ไม่ใหล้ งที่หมายเพม่ิ เติม

ข้อ ๒๓ การรังวัดท่ีดินและลงรูปแผนท่ใี นระวางแผนทร่ี ูปถ่ายทางอากาศ กรณีออกโฉนดท่ีดิน
เฉพาะราย ให้ดาํ เนินการดังน้ี

(๑) การใช้ระวางแผนทรี่ ูปถ่ายทางอากาศในการรังวดั ปักหลกั เขตทด่ี ิน
(ก) เมื่อสํานักงานทด่ี นิ ได้รับระวางแผนท่รี ูปถ่ายทางอากาศแล้ว ให้ขีดเส้นขอบระวาง

บนแผ่นทาบระวางให้ตรงกับขอบระวางแผนที่รูปถ่ายทางอากาศ วัสดุทึบแสง ก่อนจะขีดเขตรอบแปลงท่ีดิน
บนแผ่นทาบระวางทุกครั้ง ต้องตรวจสอบให้เส้นขอบระวางของแผ่นทาบระวางทับกับเส้นขอบระวางของ
แผนท่ีรูปถ่ายทางอากาศวัสดุทึบแสง เพ่ือป้ องกันไม่ให้ตําแหน่งรูปแผนท่ีบนแผ่นทาบระวางเคลอ่ื น

(ข) ทําสําเนาระวางแผนท่ีรูปถ่ายทางอากาศวัสดุทึบแสง บริเวณที่จะใช้งาน เพื่อใช้
ตรวจสอบแนวเขตและมุมเขตที่ดินที่ผู้ขอนําชี้เพื่อออกโฉนดที่ดิน ถ้าลวดลายตรงกัน ให้วงหมุดหลัก
เขต เขียนเลขหมายหลกั เขต และขีดเขตรอบแปลงด้วยหมึกสีดํา ถ้ามุมเขตใดไม่สามารถมองเห็นในระวางแผนท่ี
รูปถ่ายทางอากาศ ให้ทาํ การรังวัดยดึ โยงจากมมุ คนั นา หลกั เขตทด่ี ิน วัตถุถาวร หรือลวดลายท่ีปรากฏในระวาง
แผนทร่ี ูปถ่ายทางอากาศอย่างน้อย ๓ จดุ และให้แสดงระยะยดึ โยงไว้ในต้นร่างแผนทด่ี ้วย

(ค) ทําการรังวัด เพ่ือนํามาขึ้นรูปต้นร่างแผนท่ี ตามหลักวิชาและระเบียบการรังวัด
เฉพาะราย

ระวางแผนท่ีรูปถ่ายทางอากาศ ห้ามนําออกจากสํานักงานท่ีดิน นอกจากมีความจําเป็ นและต้อง
ได้รับอนุญาตจากเจ้าพนักงานทดี่ นิ จงั หวดั เจ้าพนักงานทดี่ ินจงั หวดั สาขา หรือส่วนแยกก่อน

(๒) การปฏิบัติงานในฝ่ ายรังวัดสํานักงานท่ดี ินจังหวัด สํานักงานทด่ี ินจังหวัดสาขา หรือส่วน
แยก

(ก) ถ่ายทอดรายละเอียดทั้งหมด ตามข้อ (๑)(ข) ลงบนระวางแผนที่รูปถ่ายทาง
อากาศวัสดุทบึ แสง

(ข)ขดี เขตรอบแปลงลงบนแผ่นทาบระวาง (Overlay) โดยไม่ต้องวงหมุดหลักเขต และ
เขยี นระยะจากหลกั เขตถงึ หลกั เขต ตามทวี่ ดั ได้ในภูมิประเทศด้วย

(ค)การจําลองแผนที่ ให้พลิกแผ่นทาบระวางข้ึนจากระวางแผนท่ีรูปถ่ายทางอากาศ
วัสดุทึบแสง แล้วนําระวางแผนท่ีฟิ ล์มโปร่งแสงมาทาบ โดยให้มุมระวางและพิกัดฉากตั้งและพิกัดฉากราบ

๒๒

ส่วนย่อยทับกัน แล้วทําการจําลองรูปแผนที่ลงในระวางแผนที่ฟิ ล์มโปร่งแสงเพื่อใช้เป็ นระวางแผนที่
ต่อไป

(ง) ข้ึนรูปต้นร่างแผนที่ จากรายการทีร่ ังวัดมาได้ ตามระเบียบกรมที่ดิน และคํานวณ
เน้ือทโ่ี ดยวิธีคณติ ศาสตร์

(จ) จําลองรูปแผนที่จากต้ นร่ างแผนที่ ลงในกระดาษบาง (ร.ว. ๙) เพ่ือนําไป
ประกอบการเขียนรูปแผนทใ่ี นโฉนดทด่ี ิน

(ฉ)จาํ ลองรูปแผนทจ่ี ากระวางแผนทฟี่ ิ ล์มโปร่งแสง ลงบนกระดาษบาง (ร.ว. ๙) พร้อม
ทั้งแสดงค่าพกิ ัดฉากตั้งและพิกดั ฉากราบส่วนย่อยของระวางแผนที่ และหมายเหตุให้ทราบด้วยว่าเป็ น
ระวางแผนที่แผ่น และมาตราส่วนใด พมิ พ์หรือใช้ราชการ เมื่อวัน เดือน ปี ใด เพอ่ื ส่งไปลงท่ีหมายในระวาง
แผนทฟ่ี ิ ล์มโปร่งแสง ทฝี่ ่ ายควบคมุ และรักษาหลกั ฐานทด่ี นิ สํานักงานทดี่ นิ จังหวัด

(๓) การปฏิบัติงานในฝ่ ายควบคมุ และรักษาหลกั ฐานทด่ี นิ สํานักงานทดี่ นิ จงั หวัด
นํารูปแผนท่ีกระดาษบาง (ร.ว. ๙) ครอบลงที่หมายในระวางแผนท่ฟี ิ ล์มโปร่งแสงทีเ่ ป็ น

ค่ฉู บับ โดยไม่ต้องลงทหี่ มายบนระวางแผนทรี่ ูปถ่ายทางอากาศวสั ดุทบึ แสงและแผ่นทาบระวาง
(๔) หมึกท่ใี ช้เขียนรูปแผนที่ในระวางแผนท่ีฟิ ล์มโปร่งแสง และระวางแผนทีร่ ูปถ่ายทางอากาศ

วสั ดุทบึ แสงให้ใช้นํ้าหมึกชนิดทถี่ ูกน้ําแล้วไม่ลบเลอื น

คาํ อธิบาย

ขอ้ ๒๓ เป็นการนาํ ระเบียบกรมท่ีดิน ว่าดว้ ยการลงรูปแผนที่ในระวางแผนท่ีรูปถ่ายทางอากาศ
ออกโฉนดที่ดินเฉพาะราย พ.ศ. ๒๕๒๓ และฉบบั ท่ี๒ พ.ศ. ๒๕๒๔ มาปรับปรุงใหม่ใหม้ ีความชดั เจนข้ึน

ข้อ ๒๔ การนํารูปแผนท่ีทีร่ ังวัดใหม่ ลงท่ีหมายในระวางแผนที่ทส่ี ร้างข้ึนใหม่แทนระวางแผนที่
เดิม ให้พิจารณาเปรียบเทียบรูปแผนท่ีน้ัน กับรูปแผนท่ีในระวางเดิมเสียก่อน โดยอาศัยหลักเกณฑ์ดงั น้ี

(๑) กรณีที่เป็ นรูปแผนที่รังวัดสอบเขต แบ่งแยก หรือรวมโฉนดที่ดิน หากต้องดําเนินการ ตาม
มาตรา ๖๑ มาตรา ๖๙ ทวิ หรือมาตรา ๗๙ แห่งประมวลกฎหมายท่ีดิน แล้วแต่กรณี ให้ดําเนินการให้เสร็จก่อน
แล้วจึงนํารูปแผนท่ีนั้นลงระวางแผนที่ท่ีสร้างข้ึนใหม่ โดยถือปฏิบัติตามระเบียบกรมท่ีดิน ว่าด้วยแผนที่ใน
โฉนดทดี่ นิ แตกต่างจากเดิม เนื่องจากมกี ารรังวดั ใหม่และทบั แผนที่ ในโฉนดทด่ี ินแปลงข้างเคยี ง พ.ศ. ๒๕๒๕

เมือ่ ได้นํารูปแผนทลี่ งระวางแผนทแ่ี ล้ว ให้หมายเหตุด้วยอักษรสีแดงในรูปแผนทร่ี ะวางแผนที่
เดิมว่า “ร.ว.ม. ดูระวางใหม่” และหากมกี ารนํารูปแผนทใี่ นระวางแผนทเ่ี ดิมมาลงใน ระวางแผนที่ใหม่ ยังไม่
ครบถ้วนทุกแปลง ให้หมายเหตุในระวางแผนท่ีเดิมด้วยอักษรสีแดง เหนือขอบระวางด้านซ้ายมือไว้ว่า
“ห้ามใช้ลงที่หมายรูปแผนที่ของแปลงท่ีดิน” ในระวางนับต้ังแต่วันท่ีสํานักงานที่ดินได้รับระวางใหม่มา

๒๓

ใช้ในราชการแล้ว พร้อมทง้ั ให้หัวหน้าฝ่ ายรังวดั ลงชื่อกาํ กบั และเมอ่ื ลงทห่ี มายครบทุกแปลงแล้ว จงึ หมาย
เหตุยกเลกิ ในระวางแผนทตี่ ่อจากข้อความดงั กล่าว

(๒) กรณีท่ีเป็ นรูปแผนท่ีรังวัดออกโฉนดท่ีดิน และได้ดาํ เนินการตามระเบียบกรมทด่ี นิ ว่าด้วย
การรังวดั และการลงรูปแผนทใี่ นระวางแผนทก่ี รณอี อกโฉนดทดี่ ินเฉพาะราย พ.ศ. ๒๕๒๗ แล้ว ให้นํารูป
แผนทน่ี ั้นลงระวางแผนท่ี ทส่ี ร้างขนึ้ ใหม่ โดยไม่ต้องนํารูปแผนทน่ี ั้น ลงทห่ี มายในระวางแผนทเี่ ดมิ

คาํ อธิบาย

ขอ้ ๒๔ ขอ้ น้ีปรับปรุงระเบียบกรมที่ดิน ว่าดว้ ยการสร้างและการใชร้ ะวางแผนที่ระบบพิกดั
ฉาก ยู ที เอม็ เพือ่ การรังวดั โดยวธิ ีแผนที่ช้นั หน่ึง พ.ศ. ๒๕๔๔ โดยกาํ หนดวธิ ีดาํ เนินการกรณีที่เป็นรูปแผนท่ี
รังวดั สอบเขต แบ่งแยก หรือรวมโฉนดที่และกรณีท่ีเป็ นรูปแผนที่รังวดั ออกโฉนดท่ีดิน ทาํ ใหผ้ ใู้ ชร้ ะวางแผน
ที่ไม่สับสน

ประกาศ ณ วนั ที่ ๙ เมษายน พ.ศ. ๒๕๔๗

นายบัญญัติ จันทน์เสนะ

(นายบัญญตั ิ จันทน์เสนะ)
อธิบดีกรมทดี่ นิ

๒๔

ภาคผนวก ก.
ระบบพกิ ดั ฉาก ยู ที เอม็
-----------------------------------------
๑. ศูนย์กาํ เนิดและการแบ่งโซน
ระบบพกิ ดั ฉาก ยู ที เอม็ ท่ีใชใ้ นการคาํ นวณสร้างระวางแผนท่ี ใชส้ ณั ฐานโลกเอเวอร์เรสสเพยี รอยด์
๑๘๓๐ โดยคาํ นวณบนพ้นื หลกั ฐานอินเดียน ๒๕๑๘ (Indian 1975 Datum)
๑.๑ ขอบเขตพ้นื ท่ีซ่ึงครอบคลุมดว้ ยระบบพิกดั ฉาก ยู ที เอม็ คือพ้ืนท่ีทุกจุดบนผวิ โลก
ระหวา่ งละติจดู ที่ ๘๔ องศาเหนือ และละติจูดท่ี ๘๐ องศาใต้
๑.๒ หน่วย การวดั ระยะ ใหม้ ีหน่วยเป็น เมตร (Meter)
๑.๓ การแบ่งโซนใหแ้ บ่งดงั น้ี
๑.๓.๑ การแบ่งโซนใหแ้ บ่งลองจิจูดออกเป็นโซนละ ๖ องศา
๑.๓.๒ โซนท่ี ๑ จะอยรู่ ะหวา่ งเสน้ ลองจิจูด ๑๘๐ องศาตะวนั ตก ถึงเสน้ ลองจิจูด
๑๗๔ องศาตะวนั ตก โซนต่อไปจะถดั ไปทางตะวนั ออกโซนละ ๖ องศา เรื่อยไปจนถึงโซนที่ ๖๐ ซ่ึงจะอยู่
ระหวา่ งเสน้ ลองจิจูด ๑๗๔ องศาตะวนั ออก ถึงเสน้ ลองจิจูด ๑๘๐ องศาตะวนั ออก
๑.๔ พ้นื ท่ีประเทศไทยอยใู่ น ๒ โซน คือ
๑.๔.๑ โซนท่ี ๔๗ เร่ิมจากเสน้ ลองจิจูด ๙๖ องศาตะวนั ออกถึงเสน้ ลองจิจูด ๑๐๒
องศาตะวนั ออก และมีเสน้ ลองจิจูด ๙๙ องศาตะวนั ออก เป็นเสน้ เมอริเดียนกลาง
๑.๔.๒ โซนท่ี ๔๘ เร่ิมจากเสน้ ลองจิจูด ๑๐๒ องศาตะวนั ออกถึงเสน้ ลองจิจูด ๑๐๘
องศา ตะวนั ออก และมีเสน้ ลองจิจูด ๑๐๕ องศาตะวนั ออก เป็นเสน้ เมอริเดียนกลาง
๑.๕ ศนู ยก์ าํ เนิดของแต่ละโซน เป็นจุดตดั ของเสน้ เมอริเดียนกลางของโซนน้นั ๆ กบั เสน้
ศูนยส์ ูตร
๑.๖ ระบบพกิ ดั ฉากของโซน เพอื่ ใหร้ ะบบพกิ ดั ฉากมีคา่ เป็นบวกท้งั พกิ ดั ราบและพกิ ดั ต้งั จึง
กาํ หนดใหค้ า่ พิกดั ฉาก ยู ที เอม็ ของศูนยก์ าํ เนิด ในแต่ละโซนมีคา่ พกิ ดั ตะวนั ออกเทียม (False Easting) เท่ากบั
๕๐๐,๐๐๐ เมตร และคา่ พกิ ดั เหนือเทียม (False Northing) เท่ากบั ๐ เมตร สาํ หรับซีกโลกเหนือ และเท่ากบั
๑๐,๐๐๐,๐๐๐ เมตร สาํ หรับซีกโลกใต้
การนบั ค่าพกิ ดั ใหน้ บั เนื่องจากศูนยก์ าํ เนิดของแต่ละโซน ดงั น้ี
๑.๖.๑ การนบั ค่าพกิ ดั ราบ ถา้ นบั ค่าพกิ ดั ไปทางตะวนั ออกของศูนยก์ าํ เนิด ค่าพกิ ดั จะมี
ค่าเพิ่มข้ึนจาก ๕๐๐,๐๐๐ เมตร ถา้ นบั คา่ พิกดั ไปทางตะวนั ตกของศนู ยก์ าํ เนิด คา่ พกิ ดั จะมีคา่ ลดลงจาก
๕๐๐,๐๐๐ เมตร
๑.๖.๒ การนบั คา่ พิกดั ต้งั ถา้ นบั ค่าพกิ ดั ไปทางทิศเหนือของศูนยก์ าํ เนิด ค่าพกิ ดั จะมี
ค่าต้งั แต่ ๐ เมตรข้ึนไป สาํ หรับซีกโลกเหนือ

๒๕

๒. การคาํ นวณ

๒.๑ การคาํ นวณเส้นโครงงานหมุดหลกั ฐานแผนที่ จะตอ้ งลดทอนระยะที่วดั ไดจ้ ริงบน

พ้ืนดินเสียก่อน ดงั น้ี

๒.๑.๑ ทอนระยะที่วดั ได้บนพ้ืนดินเป็ นระยะที่ระดบั น้าํ ทะเลปานกลาง โดยมีค่า
สมั ประสิทธ์ิ การลดทอนระยะลงสู่ระดบั น้าํ ทะเลปานกลาง

C= R
(R + H)

๒.๑.๒ ทอนระยะที่ระดบั น้าํ ทะเลปานกลางเป็นระยะบนแผนท่ี ซ่ึงมีค่าเท่ากบั ระยะที่
ระดบั น้าํ ทะเลปานกลางคูณดว้ ยคา่ ตวั คูณมาตราส่วน (Scale Factor)

๒.๒ คา่ ตวั คูณมาตราส่วน, K (Scale Factor) ใหใ้ ชด้ งั น้ี

๒.๒.๑ ค่าตวั คูณมาตราส่วนของระวางแผนท่ีแผน่ ใด ๆ ใหใ้ ชค้ ่าตวั คูณมาตราส่วนท่ี

จุดก่ึงกลางของระวางแผนที่มาตราส่วน ๑:๔,๐๐๐ แผน่ น้นั ซ่ึงอ่านค่าไดจ้ ากบญั ชีแสดงค่าตวั คูณมาตราส่วนทา้ ย

ระเบียบกรมที่ดิน วา่ ดว้ ยการรังวดั และทาํ แผนท่ีเพ่อื เกบ็ รายละเอียดแปลงท่ีดินโดยวิธีแผนที่ช้นั หน่ึงในระบบ

พกิ ดั ฉาก ยู ที เอม็ พ.ศ. ๒๕๔๒

๒.๒.๒ งานคาํ นวณเส้นโครงงานหมุดหลกั ฐานแผนที่หลกั และยอ่ ยต่างๆ ค่าตวั คูณ

มาตราส่วน ให้คาํ นวณจากสูตรการคาํ นวณค่าตวั คูณมาตราส่วน ในภาคผนวกทา้ ยระเบียบกรมท่ีดิน ว่า

ดว้ ยการรังวดั หมุดหลกั ฐานแผนที่โดยระบบดาวเทียม พ.ศ. ๒๕๔๓

๒.๓ การคาํ นวณปรับแกค้ า่ มุมสอบของแนวเมอริเดียน (Convergence of Meridians, γ) ให้

คาํ นวณดงั น้ี

γ = p (XIII) + p3 (XIV) + p5 (XV)

เม่ือ XIII = sin φ x 104

XIV = sin φ cos2φ sin21″ x (1 + 3η2 + 2η4) x 1012
3

XV = sin φ cos4φ sin41″ x (2 - tan2 φ) x 1020
15

p = (ลองจิจูดของจุดต้งั กลอ้ ง - ลองจิจูดของเมอริเดียนกลาง) x 10-4

η2 = 1 - e2sin φ - 1
1- e2

๒๖

๒.๔ ให้คาํ นวณปรับแกโ้ ดยใชก้ ฎเขม็ ทิศ ซ่ึงมีสูตรการคาํ นวณแกค้ วามคลาดเคลื่อนระยะ

ต้งั หรือระยะราบตามอตั ราส่วนของดา้ นน้นั ๆ ต่อความยาวท้งั หมดของเสน้ โครงงานหมุดหลกั ฐานแผนท่ีน้นั

คา่ แกท้ างต้งั (Latitude Correction) = ค่าคลาดเคล่ือนทางต้งั x ความยาวของดา้ น
ความยาวของเสน้ โครงงานหมุดหลกั ฐานแผนที่

ค่าแกท้ างราบ (Departure Correction) = ค่าคลาดเคล่ือนทางราบ x ความยาวของดา้ น
ความยาวของเสน้ โครงงานหมุดหลกั ฐานแผนที่

๒.๕ การคาํ นวณค่าความคลาดเคล่ือนเขา้ บรรจบ (Error of Closure) ใหค้ าํ นวณดงั น้ี
๒.๕.๑ ค่าความคลาดเคลื่อนเขา้ บรรจบ (Error of Closure) เท่ากบั ค่ารากท่ีสองของ

ผลบวกของค่ากาํ ลงั สองของค่าคลาดเคลื่อนทางต้งั (Latitude Error) กบั ค่ากาํ ลงั สองของค่าความคลาดเคลื่อน
ทางราบ (Departure Error)

ค่าความคลาดเคลื่อนเขา้ บรรจบ = √ (คา่ คลาดเคลื่อนทางต้งั ) 2 + (ค่าคลาดเคล่ือนทางราบ) 2

๒.๕.๒ คา่ ความละเอียดถกู ตอ้ งของเสน้ โครงงานหมุดหลกั ฐานแผนท่ี (Relative
Accuracy) เท่ากบั อตั ราส่วนระหวา่ งค่าความคลาดเคล่ือนเขา้ บรรจบต่อ คา่ ความยาวของเสน้ โครงงานหมุด
หลกั ฐานแผนท่ี

คา่ ความละเอียดถกู ตอ้ ง = คา่ ความคลาดเคลื่อนเขา้ บรรจบ

ความยาวของเสน้ โครงงานหมุดหลกั ฐานแผนที่

๒.๖ การแปลงพ้นื ท่ีในระบบพิกดั ฉาก ยู ที เอม็ ใหเ้ ป็นพ้นื ท่ีจริง คาํ นวณดงั น้ี
ค่าพ้ืนท่ีจริงเท่ากบั อตั ราส่วนระหว่างค่าพ้ืนที่ในระบบพิกดั ฉาก ยู ที เอ็ม ต่อค่ากาํ ลงั

สองของผลคูณของค่าตวั คูณมาตราส่วน (K) และสัมประสิทธ์ิการลดทอนระยะลงสู่ระดบั น้าํ ทะเลปานกลาง
(C)

พ้นื ท่ีจริง = พ้ืนที่ในระบบพิกดั ฉาก ยู ที เอม็
(K x C)2

๒๗

ภาคผนวก ข.
แสดงรูปและแบบพมิ พ์ต่างๆ
-----------------------------------------
- รูปท่ี ๑ ตวั อยา่ งระวางแผนที่ มาตราส่วน ๑:๔,๐๐๐ (ขนาดยอ่ ส่วน)
- รูปที่ ๒ ตวั อยา่ งใบแทรกระวาง
- รูปที่ ๓ การใหห้ มายเลขแผน่ ระวางแผนท่ี
- รูปที่ ๔ ตวั อยา่ ง แผน่ ทาบระวางแผนที่ภูมิประเทศ มาตราส่วน ๑:๕๐,๐๐๐ (ขนาดยอ่ ส่วน)
- แบบพมิ พ์ ร.ว. ๗๔ ก. บญั ชีคุมระวางแผนที่ระบบพกิ ดั ฉาก ยู ที เอม็ มาตราส่วน ๑:๔,๐๐๐
๑:๒,๐๐๐ และ ๑:๑,๐๐๐
- แบบพมิ พ์ ร.ว. ๗๔ ข. บญั ชีคุมระวางแผนที่ระบบพกิ ดั ฉาก ยู ที เอม็ มาตราส่วน ๑:๕๐๐
- แบบแสดงรายละเอียดประกอบการขอสร้างระวางแผนที่ข้ึนใหม่เพื่อใชแ้ ทนระวางแผนท่ีเดิม

สุรินทร์ ๒๘
โซนท่ี 48
ระวาง 5638 II 2606

1608000 ม. น.
1607600

1607200
1606800
1606400

1606000 ม. น. 326400 326800 327200 327600 328000 ม. อ.
326000 ม. อ. ตาํ บล โคกสะอาด
สารบญั ระวางติดต่อ
เมตร 40 0 40 80 กรมทดี่ ิน อาํ เภอ ปราสาท 5638II 5638II 5638II
2408 2608 2808
มาตราส่วน ๑:๔,๐๐๐

120 160 200 240 280 320 360 400 เมตร 5638II 5638II 5638II

2406 2606 2806

คา่ ตวั คณู มาตราส่วน (K) 0.99997 5638II 5638II 5638II

2404 2604 2804

รูปที่ ๑ ตวั อย่างระวางแผนที่ มาตราส่วน ๑:๔,๐๐๐ (ขนาดย่อส่วน)

๒๙

12

50 เซน ิตเมตร

34

50 เซนติเมตร มาตราส่วน ๑:๒,๐๐๐
มาตราส่วน ๑:๔,๐๐๐ จากระวางแผนที่มาตราส่วน ๑:๔,๐๐๐ ขยายเป็น ๔ แผน่

1 2 34 12345678
9 10 11 12 13 14 15 16
5 6 78 17 18 19 20 21 22 23 24
25 26 27 28 29 30 31 32
9 10 11 12 33 34 35 36 37 38 39 40
41 42 43 44 45 46 47 48
13 14 15 16 49 50 51 52 53 54 55 56
57 58 59 60 61 62 63 64

มาตราส่วน ๑:๑,๐๐๐ มาตราส่วน ๑:๕๐๐
จากระวางแผนท่ีมาตราส่วน ๑:๔,๐๐๐ ขยายเป็น ๑๖ แผน่ จากระวางแผนท่ีมาตราส่วน ๑:๔,๐๐๐ ขยายเป็น ๖๔ แผน่

รูปที่ ๓ การใหห้ มายเลขแผน่ ระวางแผนท่ี

๓๐

ประเทศไทย : มาตราส◌วน่ 1 : 50,000 : โซน 47 อ◌เํ ภา อห◌วหั ◌นิ ล◌ดาํ ◌บชั ◌ดุ L7017 ระวาง 4934 II

ข◌อม้ ◌ลู ณ.ว◌นทั ◌4่ ีกรกฎาคม 2546

1410000 582000 584000 586000 588000 590000 592000 594000 596000 598000 600000 602000 604000 606000 608000 1410000

8008 8208 8408 8608 8808 9008 9208 9408 9608 9808 0008 0208 0408 0608

1408000 1408000

8006 8206 8406 8606 8806 9006 9206 9406 9606 9806 0006 0206 0406 0606

1406000 1406000

8004 8204 8404 8604 8804 9004 9204 9404 9604 9804 0004 0204 0404 0604

1404000 1404000

8002 8202 8402 8602 8802 9002 9202 9402 9602 9802 0002 0202 0402

1402000 1402000

8000 8200 8400 8600 8800 9000 9200 9400 9600 9800 0000 0200 0400

1400000 1400000

8098 8298 8498 8698 8898 9098 9298 9498 9698 9898 0098 0298 0498

1398000 1398000

8096 8296 8496 8696 8896 9096 9296 9496 9696 9896 0096 0296 0496

1396000 1396000

8094 8294 8494 8694 8894 9094 9294 9494 9694 9894 0094 0294 0494

1394000 1394000

8092 8292 8492 8692 8892

1392000 1392000

8090 8290 8490

1390000 1390000

8288

1388000 1388000

1386000 1386000

1384000 1384000

1382000 1382000

582000 584000 586000 588000 590000 592000 594000 596000 598000 600000 602000 604000 แผนท◌ส่ ◌งี เั ข60ป6จ0◌0งห0ั ว◌ดัเพชรบ◌ร◌ุ ี 608000

ส◌ญั ล◌กัษณ◌์ 99°00' 99°30' 100°00'
13°30'
13°30'

4935 IV 4935 I

ขอบแผนท◌ภ◌ม่ี ู◌ปริ ะเทศมาตราส◌วน่ 1 : 50,000 ล◌ดาํ ◌บชั ◌ดุ L7017 บร◌เวิณท◌ได่ี ◌สร้ ◌าง้ ระวางแผนท◌แล่ี ◌ว ้ เส◌นแ้ บ◌งเ่ขตจ◌งหั ว◌ดั 4835 III 4835 IอI.หนอง4ห9ญ3◌า5ป้ ลI◌อI้งI อ.เขาย◌อย้ อ.บ◌าน้ แหลม
บร◌เวิณท◌ได่ี ◌สร้ ◌าง้ ระวางแผนท◌เพ่ี◌อก่ื ารร◌งวั ◌ดโั ดยว◌ธ◌แิ ผี นท◌ช◌น่ี 1้ั แล◌ว ้ เส◌นแ้ บ◌งเ่ขตอ◌เภาํ อ
13°00' 4935 II 5035 III
อ.บ◌าน้ ลาด อ.เม◌องื เพชรบ◌ร◌ุ ี
13°00'

4834 IV 4834 I 4934 IV 4934 I 5034 IV
อ.แก◌งก่ ระจาน
อ.ท◌าย่ าง อ.ชะอ◌าํ

4834 II 4934 III 4934 II

12°30' 12°30'
99°00'
99°30' 100°00'

รูปท่ี ๔ ตวั อยา่ ง แผน่ ทาบระวางแผนที่ภูมิประเทศ มาตราส่วน ๑:๕๐,๐๐๐ (ขนาดยอ่ ส่วน)

๓๑

รายละเอยี ดประกอบการขอสร้างระวางแผนทข่ี ึน้ ใหม่เพอ่ื ใช้แทนระวางแผนทเ่ี ดมิ
สํานักงานทด่ี นิ จงั หวดั ..........................….…………………..

1. บริเวณที่ขอสร้างระวางแผนที่อยใู่ นทอ้ งท่ี อาํ เภอ..............…………………………...…………..........………….........
ระวางแผนท่ีเดิมชาํ รุด ไดแ้ ก่
ระวาง......……………….……………....................มาตราส่วน...………………………………..............
ระวาง......……………….……………....................มาตราส่วน...………………………………..............
ระวาง......……………….……………....................มาตราส่วน...………………………………..............
ระวางแผนที่ท่ีขอขยายมาตราส่วน ไดแ้ ก่
ระวาง…………มาตราส่วน….…...แผน่ ..……….เดิมเป็นระวางมาตราส่วน…..…….แผน่ .…………….
ระวาง…………มาตราส่วน….…...แผน่ ……......เดิมเป็นระวางมาตราส่วน……........แผน่ ……………...
ระวาง…………มาตราส่วน…..…..แผน่ ...……...เดิมเป็นระวางมาตราส่วน…….…...แผน่ ……………...
คา่ พกิ ดั ฉากไม่สัมพนั ธ์กนั หรือหมุดหลกั ฐานแผนที่ชาํ รุดสูญหาย
ระวาง......……………….……………....................มาตราส่วน...……………………........……………...
ระวาง......……………….……………....................มาตราส่วน...……………………...…………............
ระวาง......……………….……………....................มาตราส่วน...……………………..........…………….

2. ระวางแผนท่ีท่ีขอสร้างข้ึนใหม่มีเสน้ โครงงานหมุดหลกั ฐานแผนท่ีเดิมผา่ น จาํ นวน ……. เส้น ไดแ้ ก่
ชื่อเส้น …………….……… จากหมุดท่ี …………..…….. ถึงหมุดที่ ………….…………………….…………
ช่ือเส้น …………….……… จากหมุดท่ี …………..…….. ถึงหมุดท่ี ………….…………………..……………
ชื่อเส้น …………….……… จากหมุดท่ี …………..…….. ถึงหมุดที่ ……………………………………………

3. ชื่อหมุดหลกั ฐานแผนที่ท่ีจะใชใ้ นการรังวดั ออกและเขา้ บรรจบ มีดงั น้ี
(ใหร้ ะบุช่ือหมุดหลกั ฐานแผนที่ท่ีมีอยใู่ นที่ดินใหเ้ พยี งพอ)
หมุด………….....ค่าพิกดั ฉาก..N………….…….….......E………..…………......ระวาง……………...……….....
หมุด………….....ค่าพกิ ดั ฉาก..N………….…….….......E………..…………......ระวาง……………………….....

4. รายละเอียดอื่น ๆ (ถา้ มี)
…………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………

๕. ไดแ้ นบแผนท่ีแสดงบริเวณท่ีจะขอดาํ เนินการมาดว้ ย…..……….....ฉบบั

ผสู้ าํ รวจและรวบรวมขอ้ มูล …………………………….………..
วนั ที่ …………. เดือน …………………. พ.ศ. …………….


Click to View FlipBook Version