The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search

ระบบภูมิสารสนเทศเพื่อการบริหารจัดการ กรมที่ดิน (ปี 2562)

ศูนย์ข้อมูลแผนที่รูปแปลงที่ดิน (KM ปี 2562)

Keywords: ด้านการรังวัดและทำแผนที่

ระบบภมู ิสารสนเทศเพอ่ื การบรหิ ารจัดการ กรมท่ีดิน
-----------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------

คำนำ

ศูนย์ข้อมูลแผนที่รูปแปลงที่ดิน เป็นหน่วยงานตามประกาศกฎกระทรวงแบ่งส่วนราชการ
กรมที่ดิน ของกระทรวงมหาดไทย พ.ศ. ๒๕๕๗ ในราชกิจจานุเบกษาฉบับฎีกา เล่มท่ี ๑๓๒ ตอนที่ ๑ ก
วันท่ี ๙ มกราคม ๒๕๕๘ ซึง่ ได้ปรับปรุงการแบ่งสว่ นราชการ และอานาจของกรมที่ดินเพื่อสอดคล้องกับภารกิจ
ท่ีเพ่ิมขึ้น และเหมาะสมกับสภาพของงานท่ีเปลี่ยนแปลงไป ศูนย์ข้อมูลแผนที่รูปแปลงท่ีดินมีหน้าที่
และความรับผิดชอบในการดาเนินการเก่ียวกับการกาหนดหลักเกณฑ์และมาตรฐานการจัดทาระวางแผน ที่
และแผนท่ีรูปแปลงที่ดินในที่ดินของรัฐ จัดทาฐานข้อมูลแผนท่ีรูปแปลงที่ดินในท่ีดินของรัฐ ในระบบ
ภู มิ ส า ร ส น เท ศ ต า ม ห ลั ก เก ณ ฑ์ แ ล ะ วิ ธี ก า ร ที่ ค ณ ะ ก ร ร ม ก าร ก า ห น ด ม า ต ร ฐ า น ร ะ ว า งแ ผ น ที่ แ ล ะ แ ผ น ที่
รปู แปลงทดี่ ินของรฐั (กมร.) กาหนด จดั ทาฐานข้อมูลแผนท่ใี นภารกิจของกรมทด่ี ิน

ศูนย์ข้อมูลแผนที่รูปแปลงท่ีดิน ได้จัดทาคู่มือระบบภูมิสารสนเทศเพ่ือการบริหารจัดการ
กรมที่ดิน เพื่อให้เจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบและผู้ที่สนใจ สามารถใช้งานระบบภูมิสารสนเทศท่ีกรมที่ดิน
ได้พัฒนาขึ้นตามโครงการต่าง ๆ ของกรมที่ดิน และระบบสารสนเทศแบบรหัสเปิด เช่น ระบบงานให้บริการสอบถาม
ข้อมูลที่ดินในสานักงานที่ดินและผ่านเครือข่าย Internet (GIS/LIS) โครงการพัฒนาระบบสารสนเทศระยะท่ี ๑
ระบบให้บริการข้อมูลท่ีดินและแผนท่ี โครงการศูนย์ข้อมูลที่ดินและแผนท่ีแห่งชาติ กรมที่ดิน โปรแกรม
ศูนย์ข้อมูลแผนท่ีรูปแปลงท่ีดิน (http://nlpc.dol.go.th) และระบบภูมิสารสนเทศเพ่ือการบริหารจัดการของ
กรมท่ีดิน (DOL Portal) ของศูนย์ข้อมูลแผนท่ีรูปแปลงที่ดิน ระบบสารสนเทศแบบรหัสเปิดโปรแกรม QGIS
สาหรับเป็นองค์ความรู้ “ระบบภูมิสารสนเทศเพ่ือการบริหารจัดการ กรมที่ดิน” โดยได้รับการคัดเลือก
จากคณะกรรมการจัดการความรู้ของกรมท่ีดิน ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2562 โดยระบบภมู ิสารสนเทศ
เพื่อการบริหารจัดการ กรมที่ดิน ดังกล่าว จะประกอบไปด้วยฐานข้อมูลการถือครองท่ีดิน ท้ังในส่วนของข้อมูล
ทะเบียนที่ดิน ข้อมูลรูปแปลงที่ดิน ข้อมูลเอกสารภาพลักษณ์ของเอกสารสิทธิ ข้อมูลท่ีดินของรัฐ และข้อมูลแผนท่ี
ที่เป็นข้อมูลพื้นฐานต่าง ๆ เช่น ข้อมูลภาพถ่ายทางอากาศเชิงเลข ข้อมูลระวางแผนท่ีขีดเขตป่า ขอบเขตการปกครอง
ท่ีอยู่ในรูปฐานข้อมูลในระบบภูมิสารสนเทศ (GIS) และ Web Application เพื่อการนาข้อมูลไปใช้ประกอบ
การตัดสินใจ เพิ่มประสิทธิภาพการบริหารจัดการด้านท่ีดินและอสังหาริมทรัพย์อื่น ๆ สาหรับสานักงานท่ีดิน
สนบั สนุนการทางานของกรมทด่ี ิน และรัฐบาล

ศนู ย์ขอ้ มูลแผนท่ีรปู แปลงท่ดี ิน
กองฝึกอบรม
กรมทีด่ นิ กระทรวงมหาดไทย



ระบบภมู สิ ารสนเทศเพื่อการบริหารจดั การ กรมที่ดิน
-----------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------

สารบญั

เรอื่ ง หนา้

บทที่ ๑ ความรเู้ บ้ืองต้นเก่ียวกบั ระบบภมู ิสารสนเทศ 1
๑.๑ ระบบภูมสิ ารสนเทศ (Geographic Information System) GIS 1
๑.2 องคป์ ระกอบของ GIS (Components of GIS) ๓
๑.3 หน้าของระบบภมู ิสารสนเทศ (How GIS Works) ๔
๑.4 ลกั ษณะข้อมูลในระบบภูมสิ ารสนเทศ (Geographic Features) 9
๑.5 ประเภทการใช้งานระบบภมู สิ ารสนเทศ ๑๒
๑.6 ตวั อย่างการประยุกต์ใช้งานระบบภูมสิ ารสนเทศ ๑๔
บทท่ี 2 ระบบงานใหบ้ รกิ ารสอบถามขอ้ มลู ทด่ี ินในสานกั งานทด่ี นิ และผ่านเครอื ข่าย Internet (GIS/LIS)
โครงการพัฒนาระบบสารสนเทศระยะท่ี ๑ 19

2.1 หลกั การและเหตุผล 19
๒.2 วตั ถปุ ระสงค์ 21
๒.3 ลกั ษณะของโปรแกรมระบบงานใหบ้ ริการสอบถามขอ้ มลู ท่ดี นิ 22
๒.4 ขอ้ มูลท่ีใหบ้ ริการ 22
๒.5 การเขา้ ใชง้ านระบบ 22
2.๖ หนา้ ตา่ งโปรแกรมและเมนกู ารใช้งาน 23
2.7 การใช้งานระบบ 25

บทท่ี ๓ ระบบใหบ้ รกิ ารข้อมูลทีด่ ินและแผนที่ โครงการศนู ย์ขอ้ มลู ท่ดี ินและแผนทแ่ี หง่ ชาติ กรมท่ดี ิน 33

๓.๑ หลกั การและเหตุผล 33
๓.๒ วัตถปุ ระสงค์ 33
๓.๓ ลักษณะการทางานของระบบใหบ้ รกิ ารข้อมลู ที่ดินและแผนที่ 33
๓.๔ ขอ้ มูลทใี่ ห้บรกิ าร 34
๓.๕ การเข้าใช้งานระบบ 34
๓.๖ หนา้ ต่างโปรแกรมและเมนกู ารใชง้ าน 36
๓.7 การใช้งานระบบ 37

บทท่ี ๔ โปรแกรมศูนย์ข้อมูลแผนท่รี ปู แปลงทดี่ ิน (http://nlpc.dol.go.th) 45

4.๑ หลักการและเหตุผล 45
4.๒ วัตถุประสงค์ 45
4.๓ ลกั ษณะการทางานของโปรแกรมศูนยข์ ้อมลู แผนที่รปู แปลงท่ดี ิน 45
4.4 ขอ้ มลู ท่ีใหบ้ รกิ าร 46
๔.5 การเข้าใช้งานระบบ 47
๔.6 หน้าต่างโปรแกรมและเมนูการใชง้ าน 48
๔.7 การใชง้ านระบบ 49

ระบบภูมิสารสนเทศเพอ่ื การบริหารจดั การ กรมทีด่ ิน
-----------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------

สารบญั

เรือ่ ง หนา้
บทที่ 5 โปรแกรมระบบภูมสิ ารสนเทศ เพื่อการบรหิ ารจัดการของกรมที่ดนิ DOL Portal 55
55
๕.๑ หลักการและเหตผุ ล 56
5.๒ วัตถุประสงค์ 56
5.3 ลักษณะการทางาน 56
5.4 ขอ้ มูลทใี่ ห้บรกิ าร 57
๕.5 การเขา้ ใชง้ านระบบ DOL Portal 63
๕.6 หน้าตา่ งโปรแกรมและเมนกู ารใชง้ าน 65
๕.7 การเขา้ ใชง้ านชัน้ ข้อมลู และชดุ แผนทใี่ นระบบ DOL Portal 95
บทท่ี 6 โปรแกรม Quantum GIS 95
6.1 ความรทู้ ัว่ ไปเกีย่ วกบั โปรแกรม Quantum GIS 96
๖.2 สว่ นประกอบต่าง ๆ ของโปรแกรม 97
๖.3 การเพ่ิมช้นั ข้อมลู 99
๖.4 การเปลยี่ นสัญลักษณ์ 100
๖.5 การแสดงป้ายข้อมูล 102
๖.6 การตรึงค่าพิกดั ภมู ศิ าสตร์ (Registration) 103
๖.7 การสรา้ งชั้นข้อมลู Layer สามารถที่จะสรา้ งชนั้ ข้อมูลได้ ๓ ประเภท 107
๖.8 การนาเข้าขอ้ มลู (Feature Class) ประเภทต่าง ๆ 110
๖.9 การ Digitizing รูปแปลงท่ดี นิ 114
๖.10 การทางานเกีย่ วกับตารางขอ้ มลู คุณลกั ษณะ (Attribute Table) 121
๖.๑1 Spatial Query 122
๖.๑2 การใหบ้ รกิ ารผา่ นเครอื ขา่ ย Internet 126
๖.๑3 การจดั ทาแผนที่ Layout (Layout Creating)
บรรณานกุ รม

ระบบภูมสิ ารสนเทศเพ่อื การบรหิ ารจัดการ กรมที่ดิน



ระบบภมู ิสารสนเทศเพอื่ การบรหิ ารจดั การ กรมท่ีดนิ 1
-----------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------

บทที่ ๑
ความรเู้ บอื้ งต้นเกยี่ วกบั ระบบภมู สิ ารสนเทศ

๑.๑ ระบบภมู ิสารสนเทศ ( Geographic Information System ) GIS

ระบบภูมิสารสนเทศ หรือ Geographic Information System : GIS คือกระบวนการทางานเกี่ยวกับ
ข้อมูลในเชิงพ้ืนท่ีด้วยระบบคอมพิวเตอร์ ท่ีใช้กาหนดข้อมูลและสารสนเทศ ท่ีมีความสัมพันธ์
กับตาแหน่งในเชิงพ้ืนที่ เช่น ที่อยู่ บ้านเลขท่ี สัมพันธ์กับตาแหน่งในแผนที่ ตาแหน่ง เส้นรุ้ง เส้นแวง ข้อมูล
และแผนที่ใน GIS เป็นระบบข้อมูลสารสนเทศที่อยู่ในรูปของตารางข้อมูล และฐานข้อมูลที่มีส่วนสัมพันธ์
กับข้อมูลเชิงพ้ืนท่ี (Spatial Data) ซึ่งรูปแบบและความสัมพันธ์ของข้อมูลเชิงพ้ืนท่ีทั้งหลาย จะสามารถนา
มาวิเคราะห์ดว้ ย GIS และทาให้ส่ือความหมายในเร่ืองการเปล่ยี นแปลงที่สัมพันธ์กับเวลาได้ เชน่ การแพรข่ ยาย
ของโรคระบาด การเคลื่อนย้ายถิ่นฐาน การบุกรกุ ทาลาย การเปล่ียนแปลงของการใช้พื้นที่ ฯลฯ ข้อมูลเหล่าน้ี
เม่ือปรากฏบนแผนทท่ี าให้สามารถแปลและสอ่ื ความหมายใชง้ านไดง้ า่ ย

ทม่ี า http://www.gisthai.org/about-gis/gis.html

2-ร-ะ-บ-บ-ภ--มู -ิส-รา-ะร-บส-น-บ-เภท-มู-ศ-ิสเ-พา-รอ่ื -สก-นา-ร-เทบ--ศร-ิหเ-พา-ือ่ร-จก-ัด-า-กร-บา-รร-ิหก--าร-รม-จท-ัด่ดี-ก-นิ า-ร--ก-ร--ม-ท-่ดี--ิน-------------------------------------------------2
-----------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------

GIS เป็นระบบข้อมูลข่าวสารที่เก็บไว้ในคอมพิวเตอร์ แต่สามารถแปลความหมายเชื่อมโยงกับสภาพ
ภูมิศาสตร์อ่ืน ๆ สภาพท้องท่ี สภาพการทางานของระบบสัมพันธ์กับสัดส่วนระยะทางและพ้ืนที่จริงบนแผนที่
ข้อแตกต่างระหว่าง GIS กับ MIS นั้นสามารถพิจารณาได้จากลักษณะของข้อมูล คือ ข้อมูลที่จัดเก็บใน GIS
มีลักษณะเป็นข้อมูลเชิงพื้นที่ (Spatial Data) ที่แสดงในรูปของภาพ (Graphic) แผนที่ (Map) ท่ีเชื่อมโยง
กับข้อมูลเชิงบรรยาย (Attribute Data) หรือฐานข้อมูล (Database) การเช่ือมโยงข้อมูลทั้งสองประเภท
เข้าด้วยกัน จะทาใหผ้ ู้ใช้สามารถท่ีจะแสดงข้อมลู ทงั้ สองประเภทได้พร้อม ๆ กนั เช่นสามารถจะค้นหาตาแหน่ง
ของจุดตรวจวัดควันดา - ควันขาวได้โดยการระบุชื่อจุดตรวจ หรือในทางตรงกันข้าม สามารถท่ีจะสอบถาม
รายละเอียดของจุดตรวจจากตาแหน่งท่ีเลือกขึ้นมา ซ่ึงจะต่างจาก MIS ท่ีแสดงภาพเพียงอย่างเดียว โดยจะขาด
การเชื่อมโยงกับฐานข้อมูลท่ีเช่ือมโยงกับรูปภาพน้ัน เช่นใน CAD (Computer Aid Design) จะเป็นภาพ
เพยี งอยา่ งเดียว แต่แผนทใ่ี น GIS จะมคี วามสัมพันธ์กับตาแหน่งในเชิงพ้ืนท่ีทางภูมศิ าสตร์ คือค่าพิกัดท่ีแน่นอน
ข้อมูลใน GIS ท้ังข้อมูลเชิงพ้ืนที่และข้อมูลเชิงบรรยาย สามารถอ้างอิงถึงตาแหน่งที่มีอยู่จริงบนพื้นโลกได้
โดยอาศัยระบบพิกัดทางภูมิศาสตร์ (Geocode) ซึ่งจะสามารถอ้างอิงได้ทั้งทางตรงและทางอ้อม ข้อมูลใน GIS
ที่อ้างอิงกับพ้ืนผิวโลกโดยตรง หมายถึง ข้อมูลท่ีมีค่าพิกัดหรือมีตาแหน่งจริงบนพื้นโลกหรือในแผนท่ี
เชน่ ตาแหนง่ อาคาร ถนน ฯลฯ สาหรับข้อมูล GIS ที่จะอ้างอิงกับขอ้ มูลบนพื้นโลกไดโ้ ดยทางออ้ ม ไดแ้ ก่ ข้อมูล
ของบ้าน (รวมถึงบ้านเลขท่ี ซอย เขต แขวง จังหวัด และรหัสไปรษณีย์) โดยจากข้อมูลท่ีอยู่ เราสามารถทราบ
ไดว้ า่ บา้ นหลงั นีม้ ตี าแหนง่ อยู่ ณ ท่ใี ดบนพ้ืนโลก เน่ืองจากบ้านทกุ หลงั จะมที ่ีอย่ไู มซ่ ้ากนั

ทมี่ า http://www.gisthai.org/about-gis/gis.html

-ร-ะ-บ-บ--ภ-มู -ิส-า-ร-ส--น-เท--ศ-เ-พ-อื่ -ก--า-ร-บ-ร-ิห-า-ร-จ-ดั--ก-า-ร--ก-ร-ม-ท-ด่ี--นิ -------ร-ะ-บ-บ--ภ-ูม-ิส--า-ร-ส-น-เ-ท-ศ--เพ--อ่ื -ก-า-ร-บ--ร-หิ -า-ร-จ--ดั -ก-า-ร--ก-ร-ม--ท-ด่ี -นิ----------33
-----------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------

๑.๒ องคป์ ระกอบของ GIS ( Components of GIS )
องค์ประกอบหลักของระบบ GIS จดั แบ่งออกเป็น ๕ ส่วนใหญ่ ๆ คือ อุปกรณค์ อมพิวเตอร์ (Hardware)

โปรแกรม (Software) ข้ันตอนการทางาน (Methods) ข้อมูล (Data) และบุคลากร (People) โดยมีรายละเอียด
ของแต่ละองคป์ ระกอบดงั ต่อไปนี้

๑.๒.๑ อปุ กรณค์ อมพิวเตอร์
คือ เคร่ืองคอมพิวเตอร์รวมไปถึงอุปกรณ์ต่อพ่วงต่าง ๆ เช่น Digitizer, Scanner, Plotter,

Printer หรอื อื่น ๆ เพือ่ ใชใ้ นการนาเข้าข้อมลู ประมวลผล แสดงผล และผลติ ผลลพั ธข์ องการทางาน
๑.2.๒ โปรแกรม
คือ ชุดของคาส่ังสาเร็จรูป เช่น โปรแกรม Arc/Info, MapInfo ฯลฯ ซึ่งประกอบด้วยฟังก์ชัน

การทางานและเคร่ืองมือท่ีจาเป็นต่าง ๆ สาหรับนาเข้าและปรับแต่งข้อมูล, จัดการระบบฐานข้อมูล, เรียกค้น,
วเิ คราะห์ และ จาลองภาพ

๑.2.๓ ข้อมูล
คอื ข้อมูลต่าง ๆ ที่จะใช้ในระบบ GIS และถูกจัดเก็บในรูปแบบของฐานข้อมูลโดยได้รับการดูแล

จากระบบจดั การฐานขอ้ มลู หรือ DBMS ข้อมูลจะเป็นองค์ประกอบที่สาคญั รองลงมาจากบคุ ลากร
๑.2.๔ บุคลากร
คือ ผู้ปฏิบตั ิงานซ่ึงเก่ยี วข้องกับระบบภูมิสารสนเทศ เชน่ ผนู้ าเข้าข้อมูล ชา่ งเทคนิค ผดู้ ูแลระบบ

ฐานข้อมูล ผู้เชี่ยวชาญสาหรับวิเคราะห์ข้อมูล ผู้บริหารซึ่งต้องใช้ข้อมูลในการตัดสินใจ บุคลากรจะเป็น
องค์ประกอบที่สาคัญที่สุดในระบบ GIS เนื่องจากถ้าขาดบุคลากร ข้อมูลท่ีมีอยู่มากมายมหาศาลน้ัน ก็จะเป็น
เพียงขยะไม่มคี ณุ คา่ ใดเลยเพราะไมไ่ ด้ถูกนาไปใชง้ าน อาจจะกล่าวไดว้ า่ ถ้าขาดบคุ ลากรกจ็ ะไม่มีระบบ GIS

๑.2.๕ วิธีการหรือขนั้ ตอนการทางาน
คือ วิธีการที่องค์กรน้ัน ๆ นาเอาระบบ GIS ไปใช้งานโดยแต่ละ ระบบแต่ละองค์กรย่อมมีความ

แตกต่างกันออกไป ฉะนั้นผู้ปฏิบัติงานต้องเลือกวิธีการในการจัดการกับปัญหาท่ีเหมาะสมที่สุดสาหรับ
ของหน่วยงานน้ัน ๆ เอง

ท่ีมา http://www.gisthai.org/about-gis/gis.html

-4ร-ะ-บ-บ--ภ-มู -สิ-รา-ะร-บส--บน-ภเ-ทูม-ศ-ิสเ-าพ-ร่อื-สก-น-า-เรท-บ-ศร-เิห-พา-อื่ ร-กจ--ดัา-รก-บา-รร-หิ -ก-าร-รม-จท-ดั -ด่ี ก-ินา-ร--ก-ร--ม-ท-ดี่--ิน-------------------------------------------------4
-----------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------

๑.3 หน้าทขี่ องระบบภูมิสารสนเทศ ( How GIS Works )
ภาระหน้าท่ีหลัก ๆ ของระบบภมู สิ ารสนเทศควรจะมีอย่ดู ว้ ยกัน ๕ อยา่ ง ดังนี้
๑.3.๑ การนาเขา้ ขอ้ มลู (Input)
ก่อนท่ีข้อมูลทางภูมิศาสตร์จะถูกใช้งานได้ในระบบภูมิสารสนเทศ ข้อมูลจะต้องได้รับ

การแปลง ให้มาอยู่ในรูปแบบของข้อมูลเชิงตัวเลข (Digital format) เสียก่อน โดยแบ่งการนาเข้าข้อมูล
ออกเป็น ๒ ประเภท ได้แก่ การนาเข้าข้อมูลแบบ Vector และการนาเข้าข้อมูลแบบ Raster ซึ่งมีวิธีการ
ท่ีแตกต่างกัน โดยการนาเข้าข้อมูล Vector จะใช้เทคนิคการดิจิไทซ์ (Digitizer) จากแผนท่ีกระดาษไปสู่ข้อมูล
ในรปู แบบดจิ ติ อล สว่ นการนาเข้าข้อมูล Raster สามารถนาเข้าได้โดยการใช้เครือ่ งกราดภาพ

๑.3.๒ การปรับแต่งข้อมูล (Manipulation)
ข้อมูลท่ีได้รับเข้าสู่ระบบบางอย่างจาเป็นต้องได้รับการปรับแต่งให้เหมาะสมกับงาน เช่น ข้อมูล

บางอย่างมีขนาด หรือสเกล (Scale) ที่แตกต่างกัน หรือใช้ระบบพิกัดแผนที่ที่แตกต่างกัน ข้อมูลเหล่านี้จะต้อง
ไดร้ ับการปรบั ใหอ้ ยใู่ นระดับเดียวกันเสยี ก่อน

๑.3.๓ การบริหารขอ้ มลู (Management)
ระบบจัดการฐานข้อมูล หรือ DBMS จะถูกนามาใช้ในการบริหารข้อมูลเพ่ือการทางานท่ีมี

ประสิทธิภาพ ลดปัญหาการซ้าซ้อนและความขัดแย้งของข้อมูล เป็นการเก็บข้อมูลที่สัมพันธ์กันไว้ในแหล่ง
เดียวกัน สามารถใช้ข้อมูลร่วมกันได้อย่างมีระบบ เพื่อสะดวกต่อการเรียกใช้และแก้ไข สาหรับผู้ใช้จานวนมาก
เช่น การนาเอาข้อมูลอาคาร ข้อมูลแปลงท่ีดิน การใช้ประโยชน์ที่ดิน ข้อมูลราคาประเมินที่ดิน มาจัดเก็บไว้ใน
แหลง่ เดยี วกันในรปู แบบของฐานข้อมลู เป็นฐานขอ้ มูลเทศบาล เปน็ ตน้

ภาพแสดงการทางานของการจัดเกบ็ ข้อมลู แบบฐานข้อมูล
ท่มี า ดัดแปลงจากตาราเทคโนโลยีอวกาศและภูมสิ ารสนเทศศาสตร์

-ร-ะ-บ-บ--ภ-มู -ิส--า-ร-ส-น-เ-ท-ศ-เ-พ-อื่--ก-า-ร-บ-ร-ิห--าร--จ-ดั -ก-า-ร--ก-ร-ม-ท--่ีด-ิน-------ร-ะ-บ-บ--ภ-ูม-ิส--า-ร-ส-น-เ-ท-ศ--เพ--อื่ -ก-า-ร-บ--ร-ิห-า-ร-จ--ดั -ก-า-ร--ก-ร-ม--ท-่ีด-ิน----------55
-----------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------

๑.3.๔ การเรยี กคน้ ข้อมลู การแบง่ กล่มุ การวดั และการซ้อนทบั ข้อมูล (Data retrieval, Classification,
Measurement and Overlay function)

การทางานในขั้นตอนน้ีเป็นการทางานร่วมกันระหว่างข้อมูลเชิงพ้ืนที่ (Spatial data) และข้อมูล
เชิงบรรยาย (Attribute) เม่ือมีการเปลี่ยนแปลงของข้อมูลเชิงบรรยายจะส่งผลให้ข้อมูลเชิงพื้นท่ีมี
การเปล่ียนแปลงตามไปดว้ ย

• การเรียกค้นขอ้ มูล
การเรียกค้นข้อมูลเก่ียวข้องกับการค้นหาข้อมูลเชิงพื้นที่ หรือข้อมูลเชิงบรรยาย ที่ผู้ใช้สนใจ

การเรียกค้นข้อมูลสามารถเลือกพ้ืนที่ท่ีต้องการ และแสดงผลลัพธ์จากท่ีสืบค้นข้อมูลจากตารางข้อมูลเชิงบรรยาย
ในแต่ละ record หรือผลลัพธ์จากการสอบถามจากแผนท่ีท่ถี ูกเลือกในฐานขอ้ มูล เช่น การเรยี กคน้ หาตาแหน่ง
แปลงที่ดินของนาย ก สามารถทาได้โดยการเลือกช่ือนาย ก ในตาราง Attribute หรือ การเรียกค้นข้อมูล
ผู้ถือครองแปลงท่ีดิน A สามารถทาได้โดยการเลือกไปยังบริเวณแปลงท่ีดินดังกล่าว จากนั้นจะปรากฏรายละเอียด
ต่าง ๆ ของแปลงท่ีดิน A ที่ถูกเก็บไว้ในตาราง Attribute นอกจากน้ียังสามารถใช้ภาษา SQL ในการค้นหา
ข้อมูลแบบซับซ้อนมากขึ้นได้ เช่น การเรียกค้นข้อมูลประเทศในทวีปเอเชียที่มีจานวนประชากรท่ีมากกว่า
๑๐๐ ล้าน, การเรียกค้นข้อมูลอาเภอแม่ริมในพื้นท่ีจังหวัดเชียงใหม่, การเรียกค้นข้อมูลแปลงท่ีดินที่มีพ้ืนท่ี
มากกว่า ๕ ไร่ เปน็ ตน้

ตวั อยา่ งการเรียกค้นข้อมลู แบบโดยใช้ภาษา SQL เรียกค้นแปลงทด่ี ินท่ีมีพนื้ ท่ีมากกว่า 5 ไร่

-6ร-ะ-บ-บ-ภ--มู -สิ -รา-ะร-บส-น-บ-เภท-มู-ศ-ิสเ-พา-รื่อ-สก-นา-ร-เทบ--ศร-หิเ-พา-รอื่ -จก-ดั-าก-ร-บา-รร-หิก--าร-รม-จท-ัดี่ด-กิน-า-ร--ก-ร--ม-ท-ด่ี--นิ -------------------------------------------------6
-----------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------

• การแบง่ กลมุ่ ขอ้ มลู (Classification)
เป็นกระบวนในการจัดกลุ่มของสิ่งที่มีลักษณะเดียวกัน กระบวนการแบ่งกลุ่มข้อมูลมักจะใช้

ขอ้ มูลเชิงบรรยายในการทางานเป็นส่วนใหญ่ เช่น การแบ่งกลุ่มข้อมูลขอบเขตการปกครองให้แสดงในรปู แบบ
ของขอบเขตอาเภอ การแบ่งกล่มุ ขอ้ มลู การใชป้ ระโยชนท์ ด่ี ิน หรอื การแบง่ กลุ่มขอ้ มูลความสงู ของพ้ืนที่ เปน็ ต้น

ตัวอย่างการแบ่งกลุ่มข้อมูลความสูงของพนื้ ท่ี
ท่ีมา https://www.rtsd.mi.th/main/2015/04/25/การใชโ้ ปรแกรมภมู ิสารสนเทศ

• การวัด (Measurement)
การวัดมักจะเก่ียวข้องกับข้อมูลเชิงพ้ืนท่ี เช่น การวัดระยะห่างจากตาแหน่งของจุด A และ

จุด B การคานวณของพ้ืนท่ีของแปลงท่ีดิน การวัดเส้นรอบรูปของแปลงท่ีดิน นอกจากน้ันระบบภูมิสารสนเทศ
ยังสามารถประยุกต์ใช้ในการหาเส้นทางท่ีส้ันที่สุดในการเดินจากจุดหน่ึงไปยังอีกจุดหนึ่ง เช่น การคานวณการ
เดินทางจากสานักงานท่ีดินจังหวัดนนทบุรีไปยังศูนย์ราชการ ด้วยระยะทางท่ีสั้นท่ีสุดหรือใช้เวลาเดินทาง
น้อยที่สดุ จากการวิเคราะห์โครงข่าย Network Analysis โดยเปน็ การวิเคราะห์จากปจั จัยต่าง ๆ ของเสน้ ถนน

ตัวอยา่ งแสดงการวิเคราะหก์ ารเดนิ ทางจากสานกั งานที่ดินจงั หวัดนนทบรุ ีไปยงั ศนู ยร์ าชการ

-ร-ะ-บ-บ--ภ-มู -ิส-า-ร-ส--น-เท--ศ-เ-พ-ื่อ-ก--า-ร-บ-ร-หิ -า-ร-จ-ัด--ก-า-ร--ก-ร-ม-ท-่ีด--ิน-------ร-ะ-บ-บ--ภ-มู -สิ--า-ร-ส-น-เ-ท-ศ--เพ--่ือ-ก-า-ร-บ--ร-ิห-า-ร-จ--ดั -ก-า-ร--ก-ร-ม--ท-ด่ี -ิน----------77
-----------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------

• การซ้อนทับขอ้ มลู (Overlay function)
การซ้อนทับข้อมูล คือ ข้ันตอนที่สาคัญและเป็นพ้ืนฐานทั่วไปในระบบภูมิสารสนเทศ ซึ่งเป็น

การนาเอาข้อมูลท่ีมีอยู่มาวเิ คราะห์ร่วมกันเพ่ือช่วยในการตัดสินใจแก้ปัญหา โดยรูปแบบของการซ้อนทบั ข้อมูล
ได้แก่ การสร้างแนวกันชน (Buffer), การตัดข้อมูล (Clip), การเช่ือมต่อ (Merge), การรวมข้อมูล (Dissolve),
การลบข้อมูล (Erase), การซ้อนทับข้อมูลแบบ Intersect และการซ้อนทับข้อมูลแบบ Union มีรายละเอียด
ดังนี้

- การสร้างแนวกันชน (Buffer) คือ การกาหนดระยะทางออกจากส่ิงที่ต้องการ เช่น
ระยะห่าง ๑ กิโลเมตรจากตาแหน่งโรงพยาบาล, ระยะห่าง ๒๐๐ เมตรจากเส้นทางคมนาคม, ระยะห่าง ๑๐๐ เมตร
จากอา่ งเกบ็ นา้ เปน็ ตน้

ทมี่ า http://desktop.arcgis.com/en/arcmap/10.3/tools/
- การตัดข้อมูล (Clip) คือ การตัดพ้ืนที่ใดพื้นท่ีหน่ึงตามพ้ืนที่เป้าหมาย เช่น การนาข้อมูล
แปลงทด่ี ินบริเวณภาคเหนือ มาทาการตัดเหลอื เพยี งข้อมูลแปลงทด่ี ินรายจงั หวดั เป็นต้น

ที่มา http://desktop.arcgis.com/en/arcmap/10.3/tools/
- การเชื่อมต่อ (Merge) คือ การเชื่อมข้อมูลเชิงพื้นที่ประเภทเดียวกันเข้าด้วยกัน เช่น
การเช่ือมข้อมูลขอบเขตอาเภอในภาคเหนือตอนบนเข้ากับภาคเหนือตอนล่าง โดยข้อมูลในตาราง Attribute
ก็จะเชื่อมตอ่ กนั ด้วย

ทมี่ า http://desktop.arcgis.com/en/arcmap/10.3/tools/

-8ร-ะ-บ-บ-ภ--มู -สิ -รา-ะร-บส-น-บ-เภท-มู-ศ-สิ เ-พา-ร่ือ-สก-นา-ร-เทบ--ศร-ิหเ-พา-อื่ร-จก-ัด-า-กร-บา-รร-หิ ก--าร-รม-จท-ัดดี่-ก-นิ า-ร--ก-ร--ม-ท-ด่ี--ิน-------------------------------------------------8
-----------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------

- การรวมข้อมูล (Dissolve) คือ การรวมกลุ่มข้อมูลเชิงบรรยายที่เหมือนกันเข้าด้วยกัน
ผลลัพธท์ ี่ได้คือขอบเขตของข้อมูลเชิงพ้ืนท่ีใหม่ เชน่ การรวมขอบเขตจงั หวัด A จากขอบเขตอาเภอทง้ั หมดท่ีได้
จากการเลอื กจากตาราง Attribute เปน็ ตน้

ทมี่ า http://desktop.arcgis.com/en/arcmap/10.3/tools/
- การลบข้อมูล (Erase) เช่น ผู้ใช้งานต้องการข้อมูลรูปแปลงที่ดินในภาคเหนือทั้งหมด
ยกเว้นจังหวัดตาก ผู้ใช้ต้องนาเอาขอบเขตของจังหวัดตากมาทาการลบข้อมูล (Erase) กับข้อมูลรูปแปลงท่ีดิน
ภาคเหนือ

ท่มี า http://desktop.arcgis.com/en/arcmap/10.3/tools/
- การซ้อนทับข้อมูลกันแบบ Union เป็นฟังก์ชันทางคณิตศาสตร์ที่เกิดจากการสนใจ
ในพ้ืนท่ีของวัตถุที่ซ้อนกัน มากกว่า ๒ พ้ืนท่ี โดยที่เป็นการรวมข้อมูลเชิงพ้ืนที่ท้ังหมดของท้ัง ๒ พ้ืนที่ขึ้นไว้
เข้าดว้ ยกัน โดยสร้างข้นึ มาเปน็ ข้อมูลเชิงพื้นท่ีใหม่ เช่น การรวมข้อมูลขอบเขตแปลงที่ดนิ เขา้ กบั ข้อมูลแหล่งน้า
ผลลัพธท์ ี่ไดค้ อื ข้อมูลชดุ ใหมท่ ่ีประกอบด้วยข้อมูลแปลงทีด่ ินและแหล่งนา้ เป็นตน้

ทมี่ า http://desktop.arcgis.com/en/arcmap/10.3/tools/

-ร-ะ-บ-บ--ภ-มู -ิส-า-ร-ส--น-เ-ท-ศ-เ-พ-่อื -ก--า-ร-บ-ร-ิห-า-ร-จ-ัด--ก-า-ร--ก-ร-ม-ท-ี่ด--ิน-------ร-ะ-บ-บ--ภ-มู -ิส--า-ร-ส-น-เ-ท-ศ--เพ--อ่ื -ก-า-ร-บ--ร-ิห-า-ร-จ--ัด-ก-า-ร--ก-ร-ม--ท-่ดี -ิน----------99
-----------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------

- การซ้อนทับข้อมูลกันแบบ Intersect เป็นการรวมข้อมูลของพ้ืนที่ท่ีซ้อนทับกัน
เข้าด้วยกนั โดยขอบเขตของพ้ืนทจี่ ะไม่อยู่นอกเหนอื จากข้อมูลใดขอ้ มลู หนง่ึ

ที่มา http://desktop.arcgis.com/en/arcmap/10.3/tools/
๑.3.๕ การนาเสนอขอ้ มูล (Visualization)

จากการดาเนินการเรียกค้นและวิเคราะห์ข้อมูล ผลลัพธ์ที่ได้จะอยู่ในรูปของตัวเลขหรือ
ตัวอักษร ซึ่งยากต่อการตีความหมายหรือทาความเข้าใจ การนาเสนอข้อมูลท่ีดี เช่น การแสดงชาร์ต (Chart)
แบบ ๒ มิติ หรือ ๓ มิติ รูปภาพจากสถานที่จริง ภาพเคล่ือนไหว แผนท่ี หรือแม้กระท้ังระบบมัลติมีเดียสื่อต่าง ๆ
เหล่านี้จะทาให้ผู้ใชเ้ ข้าใจความหมายและมองภาพของผลลัพธ์ท่ีกาลังนาเสนอไดด้ ียิ่งขึ้น อกี ทั้งยังเปน็ การดึงดูด
ความสนใจของผฟู้ งั อีกดว้ ย

ตวั อย่างการนาเสนอของระบบภูมสิ ารสนเทศ
ทมี่ า ศูนยว์ จิ ัยสารสนเทศเพอื่ ประเทศไทย
๑.4 ลักษณะข้อมูลในระบบภูมสิ ารสนเทศ (Geographic Features)
ระบบภูมสิ ารสนเทศประกอบไปดว้ ยขอ้ มลู ๒ รูปแบบ ไดแ้ ก่ ขอ้ มลู เชงิ พื้นที่ (Spatial data) และ ขอ้ มลู
ทไ่ี ม่อยู่ในเชงิ พื้นท่ี (Non-Spatial data) โดยมีรายละเอียดดังน้ี
๑.4.๑ ขอ้ มลู เชงิ พน้ื ที่ (Spatial data) คือ ข้อมลู ท่เี ก่ียวขอ้ งกับตาแหนง่ ที่ต้ังของข้อมูลแบง่ ได้ ๒ ประเภท
คือ Vector และ Raster มีรายละเอยี ดดงั นี้
๑) ขอ้ มูล Vector คอื เป็นข้อมูลแบบเชิงเส้นที่ถูกจัดเก็บในลักษณะพิกัด (X,Y) โดยแบง่ ออกเป็น
๓ รปู แบบ ได้แก่ จดุ (Point) เส้น (Line) และพน้ื ท่รี ปู ปิด (Polygon)

1-ร-ะ0-บ-บ--ภ-มู -ิส-รา-ะร-บส--บน-เภ-ทูม-ศ-ิสเ-พา-รอื่ -สก-น-า-เรท-บ-ศร-เิห-พา-่ือร-จก-ดั-า-รก-บา-รร-ิห-ก-าร-รม-จท-ัดีด่-ก-ินา-ร--ก-ร--ม-ท-ี่ด--นิ ------------------------------------------------1-0
-----------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------

- จุด (Point) เป็นตาแหน่งพิกัดท่ีไม่มีขนาดและทิศทาง จะใช้แสดงข้อมูลท่ีเป็นลักษณะ
ของตาแหน่งใด ๆ เช่น ทีต่ ั้งของวัด โรงเรียน สถานีตารวจ โรงพยาบาล เป็นต้น มักจะใช้ Point แทนตาแหน่ง
ของทีต่ ้ังเม่ือสถานที่น้ัน ๆ อยู่บนแผนที่มาตราส่วนเล็ก เชน่ แผนที่ ๑:๕๐,๐๐๐ เปน็ ต้น

ท่ีมา http://www.restore.ac.uk/geo-refer/52611cwors00y00000000.php
- เส้น (Line) ประกอบไปด้วยลักษณะของเส้นตรง เส้นหักมุม และเส้นโค้ง เช่น เส้นถนน

เส้นทางน้า ทางรถไฟ ทางดว่ น เปน็ ตน้

ท่มี า http://www.restore.ac.uk/geo-refer/52611cwors00y00000000.php
- พื้นที่รูปปิด (Polygon) มีลักษณะที่ใช้แสดงพื้นท่ีหรือขอบเขต เช่น ขอบเขตจังหวัด

ขอบเขตทะเลสาบ ความกว้างของแม่น้า ความกว้างของถนน ขอบเขตแปลงที่ดิน ขอบเขตอาคาร เป็นต้น
มักจะใช้ Polygon แทนขอบเขตของอาคารหรือพื้นที่ถนน ก็ต่อเมืองส่ิงเหล่านั้นอยู่บนแผนท่ีมาตราส่วนใหญ่
เชน่ แผนที่ ๑:๔,๐๐๐ และ ๑:๑,๐๐๐ เป็นตน้

ท่ีมา http://www.restore.ac.uk/geo-refer/52611cwors00y00000000.php

-ร-ะ-บ-บ-ภ--มู -สิ -า-ร-ส-น--เท--ศ-เ-พ-ือ่ -ก-า-ร-บ--ร-หิ -า-ร-จ-ดั--ก-า-ร-ก--ร-ม-ท-ด่ี--นิ -------ร-ะ-บ-บ--ภ-ูม-ิส--า-ร-ส-น-เ-ท-ศ--เพ--อ่ื -ก-า-ร-บ--ร-ิห-า-ร-จ--ดั -ก-า-ร--ก-ร-ม--ท-ดี่ -นิ--------1-1-11
-----------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------

๒) ข้อมูล Raster คือ มีลักษณะของข้อมูลเป็นช่องเหล่ียม เรียกว่า จุดภาพ หรือ เซลล์ตาราง
ที่เรียงต่อเน่ืองกันทั้งในแนวราบและแนวดิ่ง ในแต่ละจุดภาพสามารถเก็บค่าได้ ๑ ค่า ค่าที่เก็บในแต่ละจุดภาพ
สามารถเป็นได้ท้ังข้อมูลลักษณะสัมพันธ์หรือรหัสที่ใช้อ้างอิงถึงข้อมูลลักษณะสัมพันธ์ที่ เก็บอยู่ในฐานข้อมูล
นอกจากนข้ี ้อมูล Raster อาจแปรรูปมาจากข้อมูล Vector

ภาพแสดงข้อมูลจากภมู ิประเทศจริงทีน่ ามาจดั เกบ็ ในรปู แบบข้อมูล Vector และ Raster
ข้อมูล Vector มีข้อได้เปรียบในด้านการจัดการ เน่ืองจากใช้เน้ือที่ในการจัดเก็บข้อมูลที่ค่อนข้างน้อย

และสามารถนาเข้าระบบได้ง่าย นอกจากนี้ยังเหมาะสาหรับใช้แทนลักษณะของพื้นที่ที่มีขอบเขตคดโค้ง
แต่การนาเข้าข้อมูลต้องอาศัยวิธีการนาเข้าด้วยมือเป็นส่วนใหญ่ จึงเหมาะกับภารกิจที่มีข้อมูลท่ีต้องบริหาร
จัดการไม่มากจนเกินไป ส่วนข้อมูล Raster มีจุดเด่นด้านโครงสร้างข้อมูลที่ไม่ซับซ้อน สะดวก
ในการประมวลผลค่าจุดภาพ การวางซ้อนและการรวมข้อมูล ช่วยให้การวิเคราะห์ทางพื้นท่ี หรือจาลอง
สถานการณ์ต่าง ๆ ทาได้ง่าย เช่น การวิเคราะห์พื้นท่ีเหมาะสมในการสร้างโรงงานอุตสาหกรรม การวิเคราะห์
พ้ืนท่ีเส่ียงในการเกิดโรค การวิเคราะห์พ้ืนที่เสี่ยงในการเกิดไฟป่า เป็นต้น อย่างไรก็ตามข้อมูล Raster
จาเป็นต้องใช้เนื้อท่ใี นการจัดเก็บจานวนมาก (ตาราเทคโนโลยอี วกาศและภูมิสารสนเทศศาสตร์, ๒๕๕๒)

ภาพแสดงข้อมูลเชิงพ้ืนท่ีในรูปแบบข้อมูล Vector และ Raster

-1ร-ะ2-บ-บ--ภ-มู -ิส-รา-ะร-บส--บน-เภท-มู-ศ-ิสเ-พา-รื่อ-สก-น-า-รเท-บ-ศร-ิหเ-พา-อ่ืร-จก-ัด-า-กร-บา-รร-ิห-ก-าร-รม-จท-ัดี่ด-ก-ินา-ร--ก-ร--ม-ท-ีด่--ิน------------------------------------------------1-2
-----------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------

๑.4.๒ ข้อมูลเชิงบรรยาย (Attribute) ซึ่งจะอธิบายถึงคุณลักษณะต่าง ๆ ของพ้ืนท่ีน้ัน ๆ ได้แก่ ข้อมูล
เชิงปริมาณ ข้อมูลเชิงคุณภาพ และข้อมูลลักษณะประจา เช่น เพศ ที่อยู่อาศัย จานวนประชากร จานวนแปลงที่ดิน
ข้อมูลประเภทอาคารในเขตเทศบาล เป็นต้น โดยข้อมูลท่ีไม่ใช่เชิงพื้นที่ แบ่งออกเป็น ๒ ประเภท คือ ตารางข้อมูล
ที่เช่ือมโยงกับกราฟิก และตารางข้อมูลท่ีไม่เชื่อโยงกับกราฟิก (ตาราเทคโนโลยีอวกาศและภูมิสารสนเทศศาสตร์,
๒๕๕๒)

ภาพแสดงข้อมูลทไ่ี มใ่ ชเ่ ชงิ พ้ืนท่ี (Non-Spatial data)
๑.5 ประเภทการใชง้ านระบบภูมสิ ารสนเทศ

ระบบภูมิสารสนเทศ GIS ที่ใช้ในการจัดการ และสั่งงานต่าง ๆ เพ่ือให้ระบบฮาร์ดแวร์ทางาน หรือ
เรียกใช้ข้อมูล ท่ีจัดเก็บในระบบฐานข้อมูลมาทางานตามวตั ถุประสงค์ ที่เปน็ ที่รู้จกั และใช้อยู่อย่างแพร่หลายใน
ปจั จบุ นั สามารถแบง่ ตามพัฒนาการของการใช้งาน ได้แก่ ประกอบไปด้วย

1.5.1 Mainframe GIS เริ่มต้นทศวรรษท่ี 1960 ถึงกลางทศวรรษ 1970 โดยต้องใช้งานบนเครอ่ื ง
คอมพิวเตอร์เมนเฟรมท่ีใชเ้ วลาทาแผนที่ทาแผนที่ 5-10 ชัว่ โมง หรอื นานกว่า

1.5.2 Desktop GIS กลางทศวรรษ 1970 ถึงต้นทศวรรษ 1980 ในปี 1986 ESRI หน่ึงในน้ัน
บริษัท ซอฟต์แวร์ GIS ที่ใหญ่ท่ีสุดเปิดตัว PC-Arcinfo ซึ่งเป็นโซลูชันเดสก์ท็อปสาหรับการผลิตระบบการทา
แผนที่บนระบบปฏบิ ัติการ Windows ซงึ่ ปจั จุบันโปรแกรมทางดา้ น GIS บน Desktop แบ่งเปน็

๑) Open Source GIS and Freeware GIS เป็นโปรแกรมท่ีไม่เสียค่าใช้จ่าย ผู้ใช้งานรวมถึง
ผู้พัฒนาสามารถนาซอฟต์แวร์มาใช้งาน แก้ไข แจกจ่ายได้ เช่น Quantum GIS, gVSIG, Whitebox GAT,
SAGA GIS, GRASS GIS และ GeoDa เปน็ ตน้

๒) Proprietary software เป็นโปรแกรมท่ีมีลิขสิทธ์ิหรือกรรมสิทธิ์ เช่น ArcMap, ENVI,
ERDAS IMAGINE, Autodesk, ER Mapper และ MapInfo เปน็ ต้น

-ร-ะ-บ-บ--ภ-มู -ิส-า-ร-ส--น-เท--ศ-เ-พ-อื่ -ก--า-ร-บ-ร-ิห-า-ร-จ-ัด--ก-า-ร--ก-ร-ม-ท-ด่ี--ิน-------ร-ะ-บ-บ--ภ-ูม-ิส--า-ร-ส-น-เ-ท-ศ--เพ--ือ่ -ก-า-ร-บ--ร-หิ -า-ร-จ--ดั -ก-า-ร--ก-ร-ม--ท-ี่ด-นิ--------1-1-33
-----------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------

ตัวอย่าง โปรแกรมท่ไี ม่เสียคา่ ใชจ้ า่ ย Open Source GIS and Freeware GIS (ซา้ ย)
และโปรแกรมที่มีลขิ สิทธ์หิ รือกรรมสทิ ธิ์ Proprietary software (ขวา)

1.5.3 Internet GIS คือ การใหบ้ รกิ ารขอ้ มูลภูมสิ ารสนเทศผา่ นเครือข่าย Internet หรือ Web map
service เช่น Google map, Point Asia, ArcGIS Online เป็นต้น นอกจากนี้ยังรวมถึงเว็บไซต์พอร์ทัลต่าง ๆ
(Web Portal) เช่น ระบบภูมิสารสนเทศเพ่ือการบริหารจัดการของกรมที่ดิน (DOL Portal) ที่สามารถ
แสดงผลข้อมูลต่าง ๆ จากกรมท่ีดิน ไม่ว่าจะเป็นข้อมูลแปลงท่ีดินของรัฐ ข้อมูลภาพถ่ายทางอากาศดิจิทัล
(DMC) ขอ้ มลู ขอบเขตการปกครอง ฯลฯ สามารถนาเอาข้อมลู เหล่านี้มาทาการซ้อนทับกันได้

ในปัจจุบันมี Web Portal เกิดขึ้นมากมาย เช่น ระบบแผนท่ีเกษตรเพ่ือการบริหารจัดการเชิง
รุกออนไลน์ (Agri-map Online) ระบบสืบค้นข้อและบริการภูมิสารสนเทศกลางของประเทศ (NGIS Portal),
ระบบผลิตแผนที่กลางออนไลน์ (Government Map Online Service), ระบบติดตามสถานการณ์ไฟป่า
(Thailand Fire Monitoring System), ระบบติดตามสถานการณ์น้าท่วม (Thailand Flood Monitoring
System) เปน็ ต้น

1.5.4 Mobile GIS (wireless) ปัจจุบันการพัฒนาของอุปกรณ์ส่ือสารติดตามตัว และความเร็วของ
การสื่อสารไร้สาย Wireless ได้มีการพัฒนาไปอย่างมาก ราคาถูกลง ทาให้ GIS ได้นาไปไว้บนอุปกรณ์ส่ือสาร
ติดตามตัว Smart Phone มากข้ึนและถูกใช้อย่างแพร่หลาย เช่น Google map, App Navigation ต่าง ๆ
ทีส่ ามารถดาวน์โหลดได้ทัง้ Google Play และ App Store

ตวั อย่าง โปรแกรมบนอปุ กรณส์ อ่ื สารติดตามตัว Smart Phone

ร1-ะ-4-บ-บ-ภ--มู -สิ -รา-ะร-สบ-น-บ-เภท-มู-ศ-สิเพ-า-ือ่ร-สก-นา-ร-เบท--รศ-หิ เ-พา-ร่อื -จก-ัด-าก-ร-าบ-รร-ิหก-ร-าม-ร-จท-ดั่ดี -กนิ-า-ร--ก-ร--ม-ท-่ีด--นิ -----------------------------------------------1--4
-----------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------

ตัวอยา่ งระบบภมู สิ ารสนเทศเพอ่ื การบริหารจดั การของกรมทด่ี นิ (DOL Portal)
๑.6 ตวั อย่างการประยุกตใ์ ชง้ านระบบภูมิสารสนเทศ

๑.6.๑ การประยกุ ตใ์ ชร้ ะบบภมู สิ ารสนเทศในการจดั การข้อมลู แปลงที่ดินสาหรบั ใช้ในการสารวจ
เป็นการประยุกต์ใช้ GIS เข้ามาช่วยในจัดการข้อมูลรูปแปลงที่ดิน โดยจัดทาออกมาในรูปแบบ

ของแผนที่และข้อมูลตารางสาหรับนาไปใช้ในการสารวจ เพื่อความถูกต้องและความเป็นปัจจุบันของข้อมูล
แปลงท่ีดินในพ้ืนที่เป้าหมาย ซ่ึงประกอบไปด้วยข้อมูลต่าง ๆ แบ่งออกเป็นข้อมูลเชิงพ้ืนท่ี ได้แก่ขอบเขต
รูปแปลงทีด่ นิ และขอ้ มลู เชิงบรรยาย ไดแ้ ก่ หมายเลขแปลง ขอ้ มูลผู้ถือครอง เน้ือทแี่ ปลง ระวาง

ตัวอยา่ งข้อมูลรูปแปลงทด่ี ินและขอ้ มลู ผ้ถู ือครอง

-ร-ะ-บ-บ-ภ--มู -สิ -า-ร-ส-น--เท--ศ-เ-พ-อื่ -ก-า-ร-บ--ร-หิ -า-ร-จ-ดั-ก--า-ร-ก--ร-ม-ท-่ดี-ิน--------ร-ะ-บ-บ--ภ-มู -ิส--า-ร-ส-น-เ-ท-ศ--เพ--อ่ื -ก-า-ร-บ--ร-หิ -า-ร-จ--ัด-ก-า-ร--ก-ร-ม--ท-่ดี -นิ--------1-1-55
-----------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------

ตวั อยา่ งแผนท่ีสาหรบั ใช้ในการสารวจแปลงที่ดินบรเิ วณจังหวดั นา่ น
๑.6.๒ การนาระบบภมู ิสารสนเทศมาใชใ้ นการวเิ คราะห์หาพืน้ ท่ีคุ้มครองเกษตรกรรม

การวิเคราะห์มีวัตถุประสงค์เพ่ือแสดงเขตคุ้มครองเกษตรกรรม โดยต้องเป็นพ้ืนที่ท่ีมีดินดี น้าดี
และเป็นพื้นท่ีท่ีรัฐได้สร้างสาธารณูปโภคแล้ว และอยู่นอกเขตอนุรักษ์ ซึ่งมีข้อมูลนาเข้า ได้แก่ ข้อมูลผังเมือง
ข้อมูลป่าอนุรักษ์ ข้อมูลคุณภาพลุ่มน้า ข้อมูลชลประทาน และข้อมูลความเหมาะสมของดิน หลังจากน้ันจึงได้

นาเอาฟังก์ชันในระบบภูมิสารสนเทศมาใช้ในการวิเคราะห์ และได้กาหนดความเหมาะสมของพื้นท่ีคุ้มครอง
เกษตรกรรมออกเป็น ๒ คลาส คือ ๑ และ ๒ โดยพื้นท่ีคุ้มครองคลาสท่ี ๑ ต้องเป็นบริเวณท่ีอยู่ในพื้นท่ี
ชลประทาน และดินมีความเหมาะสมในการปลูกข้าว พืชไร่ และไม้ผลในระดับเหมาะสมมาก ส่วนพ้ืนที่

คุ้มครองคลาสที่ ๒ ต้องเป็นบริเวณท่ีมีดินเหมาะสมกับการปลูกข้าว พืชไร่ และไม้ผลในระดับเหมาะสมมาก
และบรเิ วณที่เปน็ พน้ื ท่ีคมุ้ ครองเกษตรกรรมท้ัง ๒ คลาสตอ้ งไม่อยู่ในพน้ื ทอ่ี นุรกั ษ์

ขอ้ มูลพืน้ ที่ ขอ้ มลู ชดุ ดินที่เหมาะกบั การ
ชลประทาน เพาะปลกู

Intersect

Erase ข้อมูลขอบเขตพื้นที่ Erase
อนรุ ักษ์

พ้นื ทค่ี ุ้มครองเกษตรกรรม พนื้ ทคี่ ุ้มครองเกษตรกรรม
คลาสที่ ๑ คลาส ๒

ร-1ะ-6-บ-บ-ภ--มู -ิส-รา-ะร-สบ-น-บ-เภท-มู-ศ-สิเพ-า-่อืร-สก-นา-ร-เบท--รศ-หิ เ-พา-ร่ือ-จก-ัด-าก-ร-าบ-รร-หิก-ร-าม-ร-จท-ดัี่ด-กนิ-า-ร--ก-ร--ม-ท-ีด่--นิ -----------------------------------------------1--6
-----------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------

ข้นั ตอนการหาพ้นื ทค่ี ุม้ ครองเกษตรกรรมคลาส ๑ และ ๒

ภาพแผนที่แสดงพ้ืนท่คี ุ้มครองเกษตรกรรมภาคตะวันออกเฉยี งเหนือ
ทม่ี า ศูนย์ภมู ิสารสนเทศเพอ่ื การพัฒนาภาคตะวนั ออกเฉียงเหนอื อ้างในตาราเทคโนโลยีอวกาศและ

ภมู สิ ารสนเทศศาสตร์
๑.6.๓ การประยุกตใ์ ช้ระบบภูมสิ ารสนเทศในการวเิ คราะหพ์ น้ื ท่เี ส่ียงตอ่ การเกดิ นา้ ทว่ มเบ้ืองตน้

การวิเคราะห์พื้นที่เสี่ยงภัยน้าท่วมจากการประยุกต์ใช้ข้อมูลทาง GIS เป็นการนาปัจจัยต่าง ๆ ที่มีผล
ต่อการเกิดพื้นที่น้าท่วมมาทาการให้ค่าถ่วงน้าหนักและค่าคะแนนของประเภทข้อมูล ได้แก่ ความลาดชัน ปริมาณ
นา้ ฝน ขนาดของพนื้ ทีล่ ุ่มน้า ความสงู ของภูมิประเทศ ความหนาแน่นของทางน้าในลุ่มน้าย่อย การใช้ประโยชน์
ท่ดี ิน การระบายน้าของดนิ และสง่ิ กดี ขวางทางนา้ ในเขตลุ่มนา้ ย่อย โดยมีรายละเอยี ดในการวเิ คราะหด์ งั นี้

---ร-ะ-บ--บ-ภ-มู--ิส-า-ร-ส-น-เ-ท-ศ-เ-พ--ื่อ-ก-า-ร-บ-ร-ิห--า-ร-จ-ัด-ก-า-ร--ก-ร-ม-ท--ีด่ -นิ -----ร-ะ-บ-บ--ภ-ูม-สิ--า-ร-ส-น-เ-ท-ศ--เพ--่อื -ก-า-ร-บ--ร-หิ -า-ร-จ--ัด-ก-า-ร--ก-ร-ม--ท-่ดี -นิ--------1--717
-----------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------

ตัวอยา่ งแสดงค่าการให้คะแนนระดับความเส่ยี งและคา่ ถ่วงนา้ หนัก
ท่ีมา https://gi4u.wordpress.com/2012/02/26/ตัวอย่างการวเิ คราะห์

ระบ-1บ-8ภ--มู -ิส-า-ร-ส-รน-ะ-เบท--บศ-เภพ-มู-อื่ -ิสก-าา-รร-สบ-น-ร-เิหท-า-ศร-เจ-พัด-อ่ืก-ก-า-รา-รก-บร-ร-มิห-ท-าี่ด-ริน-จ-ัด-ก-า-ร--ก-ร--ม-ท-่ีด--นิ ---------------------------------------------1-8---
-----------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------

ปัจจัยท่สี ่งผลตอ่ การเกดิ น้าท่วม แบง่ ปจั จยั ยอ่ ยและให้
ค่าระดบั คะแนน

Y = (W๑L๑)+ (W๒L๒)+….+(W๘L๘) แปรรูปเปน็ ขอ้ มลู Raster
Y = พ้ืนที่เสยี่ งน้าท่วม วิเคราะหพ์ นื้ ทเ่ี สย่ี งนา้ ทว่ ม
W = คา่ ถว่ งนา้ หนกั
L = ปัจจยั ตา่ ง ๆ

ระดบั ความเสย่ี งนา้ ทว่ ม

ตวั อยา่ งข้นั ตอนการวิเคราะหพ์ น้ื ทเ่ี สีย่ งน้าทว่ มเบอ้ื งตน้

ตัวอย่างแผนท่ีพ้ืนทเ่ี สี่ยงนา้ ทว่ มเบือ้ งตน้
ทีม่ า https://gi4u.wordpress.com/2012/02/26/ตวั อยา่ งการวเิ คราะห์

ระบบภมู ิสารสนเทศเพ่อื การบรหิ ารจัดการ กรมทีด่ นิ 19
-----------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------

บทท่ี 2

ระบบงานใหบ้ รกิ ารสอบถามข้อมลู ทด่ี นิ ในสานกั งานทด่ี ินและผ่านเครือข่าย Internet (GIS/LIS)

โครงการพัฒนาระบบสารสนเทศระยะท่ี 1

2.1 หลักการและเหตผุ ล
กรมท่ีดินมีภารกิจเก่ียวกับการคุ้มครองสิทธิในท่ีดินของประชาชน โดยออกหนังสือแสดงสิทธิในที่ดิน

และให้บริการจดทะเบียนสิทธิและนิติกรรมเก่ียวกับอสังหาริมทรัพย์ เพื่อให้ประชาชนมีความมั่นคงในการ
ถือครองท่ีดิน และได้รับการบริการที่มีประสิทธิภาพ ตลอดจนบริหารจัดการท่ีดินภาครัฐให้เป็นไปอย่าง
มปี ระสทิ ธภิ าพ

ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2552-2554 กรมที่ดินได้รับงบประมาณเพ่ือดาเนินการโครงการพัฒนาระบบ
สารสนเทศท่ีดิน ระยะท่ี 1 โดยมีวัตถุประสงค์ให้มีฐานข้อมูลการถือครองท่ีดินในภาพรวมท่ีเป็นศูนย์กลาง
สนับสนุนการทางานของกรมท่ีดินและรัฐบาล โดยให้มีข้อมูลดาเนินการครบถ้วนท้ังในส่วนของข้อมูลทะเบียน
ท่ีดิน ข้อมูลรูปแปลงท่ีดิน และข้อมูลเอกสารภาพลักษณ์ของเอกสารสิทธิและสารบบพร้อมทั้งมีระบบงาน
คอมพิวเตอร์ที่มีประสิทธิภาพสามารถให้บริการประชาชนในการจดทะเบียนสิทธิและนิติกรรมและดาเนินการ
ทางด้านรังวัดและทาแผนที่ได้แบบอัตโนมัตใิ นสานักงานที่ดินในโครงการจานวน 73 สานักงานเพื่อให้สามารถ
ใช้งานข้อมูลและระบบสารสนเทศท่ีดินได้อย่างมีประสิทธิภาพ พัฒนาระบบงานของสานักงานท่ีดินได้ท่ัวประเทศ
ปรับปรงุ แก้ไขข้อมูลให้เป็นปัจจุบัน มคี วามถูกต้องต่อการนาข้อมูลไปใช้ประกอบการตัดสินใจและเพ่ิมประสทิ ธภิ าพ
การบรหิ ารจัดการด้านที่ดินและอสังหารมิ ทรัพย์อ่ืน ๆ สานักงานท่ีดนิ ที่อยู่ในโครงการพัฒนาระบบสารสนเทศ
ระยะท่ี 1 ได้แก่

1. สานกั งานที่ดินกรงุ เทพมหานคร
2. สานักงานทดี่ ินกรงุ เทพมหานคร สาขาบางเขน
3. สานักงานทด่ี นิ กรุงเทพมหานคร สาขาพระโขนง
4. สานกั งานทดี่ ินกรุงเทพมหานคร สาขาบางขุนเทียน
5. สานกั งานทดี่ นิ กรุงเทพมหานคร สาขาบางกอกน้อย
6. สานักงานทดี่ ินกรงุ เทพมหานคร สาขาบางกะปิ
7. สานักงานที่ดนิ กรงุ เทพมหานคร สาขาจตุจกั ร
8. สานักงานที่ดินกรุงเทพมหานคร สาขาธนบุรี
9. สานกั งานท่ดี นิ กรุงเทพมหานคร สาขาลาดพรา้ ว
10. สานกั งานทีด่ ินกรงุ เทพมหานคร สาขาดอนเมอื ง
11. สานกั งานท่ีดินกรุงเทพมหานคร สาขาบึงกุ่ม
12. สานักงานที่ดินกรงุ เทพมหานคร สาขาลาดกระบัง
13. สานักงานที่ดนิ กรุงเทพมหานคร สาขาหนองแขม

-2ร-ะ0-บ-บ-ภ--มู -สิ -รา-ะร-บส-น-บ-เภท-มู-ศ-สิเ-พา-ร่ือ-สก-นา-ร-เทบ--ศร-ิหเ-พา-ื่อร-จก-ดั-าก-ร-บา-รร-ิหก--าร-รม-จท-ดั ี่ด-กิน-า-ร--ก-ร--ม-ท-ด่ี--ิน-----------------------------------------------2-0-

-----------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------

14. สานักงานท่ีดนิ กรงุ เทพมหานคร สาขามีนบรุ ี
15. สานักงานที่ดนิ กรุงเทพมหานคร สาขาหว้ ยขวาง
16. สานักงานท่ดี ินกรงุ เทพมหานคร สาขาประเวศ
17. สานกั งานทดี่ นิ กรงุ เทพมหานคร สาขาหนองจอก
18. สานักงานทดี่ นิ จังหวดั ขอนแก่น
19. สานกั งานที่ดินจังหวดั จนั ทบรุ ี
20. สานกั งานทดี่ ินจงั หวดั ฉะเชงิ เทรา
21. สานกั งานทีด่ ินจังหวดั ชลบุรี
22. สานกั งานทดี่ ินจงั หวดั ชลบรุ ี สาขาบางละมงุ
23. สานกั งานทีด่ นิ จังหวัดชลบรุ ี สาขาศรรี าชา
24. สานักงานที่ดนิ จังหวดั ชยั นาท
25. สานกั งานทด่ี นิ จงั หวัดเชียงใหม่
26. สานักงานทด่ี นิ จงั หวดั เชียงใหม่ สาขาพรา้ ว
27. สานกั งานทด่ี นิ จงั หวดั เชียงราย
28. สานกั งานท่ีดนิ จงั หวดั นครนายก
29. สานักงานทดี่ ินจังหวัดนครปฐม
30. สานักงานท่ีดินจงั หวัดนครราชสมี า
31. สานกั งานท่ดี นิ จังหวดั นนทบรุ ี
32. สานกั งานท่ดี ินจงั หวัดนนทบรุ ี สาขาบางใหญ่
33. สานักงานทด่ี ินจงั หวัดนนทบรุ ี สาขาปากเกรด็
34. สานกั งานที่ดินจังหวัดนนทบุรี สาขาบางบัวทอง
35. สานกั งานทดี่ ินจงั หวดั บึงกาฬ
36. สานกั งานทีด่ ินจังหวัดบงึ กาฬ สาขาเซกา
37. สานกั งานที่ดินจังหวัดบุรรี ัมย์
38. สานกั งานที่ดินจังหวดั ปทมุ ธานี
39. สานกั งานท่ดี ินจังหวดั ปทุมธานี สาขาคลองหลวง
40. สานกั งานทีด่ ินจงั หวัดปทมุ ธานี สาขาธญั บรุ ี
41. สานักงานท่ดี นิ จงั หวดั ปทุมธานี สาขาลาลูกกา
42. สานักงานทีด่ ินจังหวดั พระนครศรอี ยธุ ยา
43. สานักงานท่ีดนิ จงั หวัดพิษณุโลก
44. สานกั งานจงั หวดั เพชรบุรี
45. สานกั งานที่ดินจังหวดั ภูเก็ต
46. สานักงานท่ีดนิ จงั หวัดร้อยเอ็ด

-ร-ะ-บ-บ--ภ-มู -ิส--า-ร-ส-น-เ-ท-ศ-เ-พ-อ่ื--ก-า-ร-บ-ร-ิห--า-ร-จ-ดั -ก-า-ร--ก-ร-ม-ท--ด่ี -ิน-------ร-ะ-บ-บ--ภ-มู -ิส--า-ร-ส-น-เ-ท-ศ--เพ--่ือ-ก-า-ร-บ--ร-หิ -า-ร-จ--ดั -ก-า-ร--ก-ร-ม--ท-ด่ี -นิ--------22--11

-----------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------

47. สำนักงำนทีด่ นิ จงั หวดั ระยอง
48. สำนกั งำนทด่ี ินจังหวัดลพบุรี
49. สำนกั งำนท่ีดินจงั หวดั ลำปำง
50. สำนกั งำนที่ดนิ จงั หวัดลำพนู
51. สำนักงำนทด่ี นิ จงั หวดั สงขลำ
52. สำนกั งำนทด่ี ินจงั หวัดสงขลำ สำขำหำดใหญ่
53. สำนกั งำนท่ีดินจงั หวัดสงขลำ ส่วนแยกบำงกล่ำ
54. สำนกั งำนทด่ี นิ จังหวดั สมุทรสำคร
55. สำนกั งำนทด่ี ินจงั หวดั สมุทรปรำกำร
56. สำนกั งำนที่ดินจังหวัดสมทุ รปรำกำร สำขำบำงพลี
57. สำนักงำนทด่ี ินจงั หวดั สระบรุ ี
58. สำนักงำนท่ดี ินจังหวัดสพุ รรณบรุ ี
59. สำนักงำนที่ดินจงั หวดั สรุ นิ ทร์
60. สำนักงำนที่ดนิ จังหวดั หนองคำย
61. สำนักงำนทด่ี นิ จังหวัดหนองคำย สำขำโพนพสิ ัย
62. สำนักงำนท่ีดนิ จงั หวัดหนองคำย สำขำท่ำบอ่
63. สำนักงำนท่ีดินจังหวัดอบุ ลรำชธำนี
64. สำนกั งำนทด่ี ินจงั หวัดอบุ ลรำชธำนี สำขำนำยนื
65. สำนักงำนทีด่ ินจังหวดั อุบลรำชธำนี สำขำเขื่องใน
66. สำนกั งำนทีด่ นิ จังหวดั อบุ ลรำชธำนี สำขำเดชอุดม
67. สำนักงำนท่ีดินจงั หวดั อบุ ลรำชธำนี สำขำม่วงสำมสิบ
68. สำนักงำนทดี่ นิ จงั หวดั อุบลรำชธำนี สำขำเขมรำฐ
69. สำนกั งำนที่ดนิ จงั หวดั อุบลรำชธำนี สำขำพิบูลมงั สำหำร
70. สำนักงำนทีด่ นิ จังหวัดอบุ ลรำชธำนี สำขำวำรินชำรำบ
71. สำนกั งำนท่ดี ินจังหวดั อบุ ลรำชธำนี สำขำตระกำรพืชผล
72. สำนกั งำนทดี่ นิ จงั หวัดอบุ ลรำชธำนี สำขำสวนแยกศรเี มืองใหม่
73. สำนักงำนท่ีดินจงั หวัดอดุ รธำนี

2.2 วตั ถุประสงค์
เพื่อจัดให้มีฐำนข้อมูลท่ีดินท่ีถูกต้อง ครบถ้วน ทันสมัย เป็นศูนย์กลำงให้บริกำรด้ำนภูมิสำรสนเทศ

เช่ือมโยงข้อมูลรูปแปลงที่ดินในระบบสำรสนเทศ นำเข้ำข้อมูลภำพลักษณ์เอกสำรสิทธิท่ีดินและข้อมูลแผนท่ี
รูปแปลงที่ดินให้อยใู่ นรปู แบบฐำนขอ้ มูลในระบบสำรสนเทศภูมิศำสตร์ (GIS) ใหเ้ ป็นมำตรฐำนสำหรับกำรนำไป
จัดทำแนวเขตกำรใช้ประโยชน์ในท่ีดินให้เกิดควำมชัดเจน รวมทังสนับสนุนงำนรำชกำรส่วนท้องถิ่น
ในกำรจดั เก็บภำษีและกำรใชป้ ระโยชน์ของทุกหน่วยงำนทงั ภำครฐั และภำคเอกชน

-2ร-ะ2-บ-บ--ภ-มู -ิส-รา-ะร-บส--บน-ภเ-ทูม-ศ-สิ เ-พา-รื่อ-สก-น-า-เรท-บ-ศร-เิห-พา-ือ่ ร-กจ--ดัา-รก-บา-รร-ิห-ก-าร-รม-จท-ัด-ดี่ ก-นิ า-ร--ก-ร--ม-ท-่ีด--ิน-----------------------------------------------2--2

-----------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------

2.3 ลกั ษณะของโปรแกรมระบบงานให้บริการสอบถามข้อมลู ที่ดนิ
ระบบงานให้บริการสอบถามข้อมูลที่ดิน เป็นระบบท่ีมุ่งเน้นในการใช้งานในสานักงานท่ีดิน และให้บริการ

ข้อมูลสาหรับหน่วยงานภายใน หน่วยงานภายนอกและประชาชนทั่วไปโดยโครงสร้างของระบบคอมพิวเตอร์
ถูกออกแบบมาในลักษณะของการให้บริการแบบรวมศูนย์ (Centralized System) ระบบงานที่ให้บริการ
ได้แก่ ระบบงานจดทะเบียนสิทธิและนิติกรรม, ระบบงานรังวัดในสานักงานท่ีดิน, ระบบงานอานวยการ
ในสานักงานท่ีดิน, ระบบงานการเงินและบัญชีในสานักงานท่ีดิน, ระบบงานให้บริการสอบถามข้อมูลที่ดิน
ในสานักงานที่ดินและผ่านเครือข่าย Internet และระบบภูมิสารสนเทศ (GIS), ระบบจัดการสิทธิของผู้ใช้ระบบ,
ระบบสารองจัดเก็บข้อมูล, ระบบงานสนับสนุนการปฏิบัติงานของศูนย์สารสนเทศที่ดินและหน่วยงานส่วนกลาง,
ระบบแลกเปลี่ยนข้อมูลเครือข่าย Intranet/Internet กับ หน่วยงานภายในและภายนอกกรมที่ดิน, ระบบ
งานควบคุมและจัดเก็บหลักฐานที่ดิน, ระบบปรับปรุงราคาประเมิน, ระบบงานจดทะเบียนสิทธิและนิติกรรม
ต่างสานักงานทดี่ นิ แบบ Online, ระบบรบั ชาระเงนิ

2.4 ขอ้ มูลทใ่ี หบ้ รกิ าร
ข้อมูลภาพสแกนเอกสารสิทธิ สารบัญจดทะเบียน ข้อมูลใบต่อ ข้อมูลจานวนการเช่ือมโยงข้อมูลที่ดิน

ของโฉนดท่ีดิน โฉนดตราจอง น.ส.๓ก.(หนังสือรับรองการทาประโยชน์ท่ีมีระวางรูปถ่ายทางอากาศ)
น.ส.๓ หรือ น.ส.๓ข (หนังสือรับรองการทาประโยชน์ที่ไม่มีระวางรปู ถ่ายทางอากาศ) ใบจอง ส.ค.๑ (หลักฐาน
การแจงการครอบครองทดี่ นิ ) เปน็ ตน้ สามารถสอบถามราคาประเมินท่ีดิน สอบถามข้อมูลทส่ี าธารณประโยชน์

2.5 การเขา้ ใชง้ านระบบ
2.5.1 ขนั้ ตอนการลงช่ือเข้าใชร้ ะบบ
ลงชื่อเข้าใช้ระบบด้วย รหัสผู้ใช้งาน และรหัสผ่าน ในการลงช่อื เข้าใช้ระบบผู้ใชง้ านแต่ละคน

จะมีรหัสผู้ใช้งานและรหัสผ่านเป็นของตัวเองเพ่ือเป็นการขออนุญาตหรือแสดงตัวตนในการเข้าใช้ระบบ
ซง่ึ รหัสผู้ใช้งานและรหัสผ่านจะถูกสร้างโดยระบบจัดการสิทธติ ามท่ไี ดก้ ล่าวมาขา้ งต้น มขี ้ันตอนดงั ต่อไปน้ี

2.5.1.1 ผู้ใช้ระบบ ระบุ URL ในส่วนของ Address bar ของ Internet Explorer เป็น
http://10.0.102.100/lis หรือเลือกดับเบิลคลิก Shortcut ที่หน้า Desktop ของผู้ใช้งาน โดยจะแสดง
ไอคอน ช่ือวา่ “โครงการพัฒนาระบบสารสนเทศที่ดนิ ระยะที่ 1”



ภาพท่ี 1 ระบุ URL เข้าใช้ระบบบน Address bar ของ IE

-ร-ะ-บ--บ-ภ-มู--สิ -า-ร-ส-น-เ-ท-ศ-เ-พ--ื่อ-ก-า-ร-บ-ร-ิห--า-ร-จ-ัด-ก-า-ร--ก-ร-ม-ท--ี่ด-นิ -------ร-ะ-บ-บ--ภ-ูม-ิส--า-ร-ส-น-เ-ท-ศ--เพ--ือ่ -ก-า-ร-บ--ร-หิ -า-ร-จ--ัด-ก-า-ร--ก-ร-ม--ท-่ดี -ิน--------22--33

-----------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------

2.5.1.2 แสดงหน้าจอลงชื่อเขา้ ใชร้ ะบบ

2.5.1.3 พิมพ์รหัสผใู้ ชง้ านและรหัสผ่าน

2.5.1.4 เมอ่ื ระบุรหัสผ้ใู ช้งานและรหัสผ่านเรียบร้อยแล้ว กดปุ่ม

เพอื่ เข้าสู่ระบบ หรือกดปุ่ม เพ่ือรอรับการลงช่อื เขา้ ใชร้ ะบบใหม่

  

ภาพท่ี 2 หน้าจอลงชือ่ เขา้ ใช้ระบบดว้ ยรหัสผใู้ ชง้ านและรหัสผ่าน
2.6 หน้าต่างโปรแกรมและเมนกู ารใช้งาน

หน้าต่างโปรแกรมระบบงานให้บริการสอบถามข้อมูลท่ีดินในสานักงานที่ดินและผ่านเครือข่าย Internet
(GIS/LIS) ประกอบไปด้วย 1 หนา้ ตา่ งแบบสอบถาม 2 เครื่องมอื แผนท่ี 3 การแสดงผลแผนที่ และ 4 หน้าต่าง
แผนท่ี

3

12 4

ภาพท่ี 3 หน้าจอเมนูใชง้ าน

2-ร-ะ4-บ-บ--ภ-มู -สิ -รา-ะร-บส--บน-เภ-ทูม-ศ-ิสเ-พา-รื่อ-สก-น-า-เรท-บ-ศร-เิห-พา-ือ่ร-จก-ัด-า-รก-บา-รร-หิ -ก-าร-รม-จท-ดั ี่ด-ก-ินา-ร--ก-ร--ม-ท-ด่ี--ิน-----------------------------------------------2--4

-----------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------

2.6.1 หน้าต่างแบบสอบถาม คือ รูปแบบข้อมูลท่ีต้องการสอบถาม เช่น สอบถามรูปแปลงท่ีดิน
สอบถามข้อมูลเชิงพื้นท่ี สอบถามข้อมูลด้านทะเบียน,ด้านรังวัดและแผนท่ี และการแสดงรายละเอียดข้อมูล
เชิงพน้ื ท่ี

ภาพที่ 4 หน้าตา่ งแบบสอบถาม วาดรูปหลายเหลย่ี ม
2.6.2 เครื่องมือแผนท่ี วัดระยะทาง
วัดพ้นื ท่ี
กาหนดศนู ยก์ ลางแผนท่ี ยกเลกิ ขอ้ มลู ท่ถี กู เลือกทงั้ หมด
ขยายเขา้ แบบกรอบสเ่ี หล่ยี ม ดูขอ้ มูลทเ่ี ลือก
ขยายออกแบบกรอบส่เี หลยี่ ม ดูรายละเอียดที่เลอื ก
ขยายเข้า แสดงแปลงข้อมลู ข้างเคยี ง
ขยายออก พมิ พ์แผนที่
ขยายเต็มจอ Add WFS
ขยายไปยังข้อมูลทเ่ี ลอื ก (เพ่ิมชั้นข้อมลู จากการใหบ้ รกิ ารผ่านเครือข่าย)
เล่อื นแผนที่
วาดเส้น

2.6.3 การแสดงผลแผนที่
ระบบจะแสดงข้อมูลระบบพิกัดแผนท่ี มาตราส่วน ของรูปแปลงท่ีดิน และค่าพิกัดของตาแหน่ง

ลูกศรท่ชี ้ีในหน้าต่างแผนท่ี

-ร-ะ-บ--บ-ภ-มู--สิ -า-ร-ส-น-เ-ท-ศ--เพ--่ือ-ก-า-ร-บ--ร-หิ -า-ร-จ-ดั -ก-า-ร--ก-ร-ม--ท-่ีด-นิ-------ร-ะ-บ-บ--ภ-มู -สิ--า-ร-ส-น-เ-ท-ศ--เพ--ือ่ -ก-า-ร-บ--ร-ิห-า-ร-จ--ัด-ก-า-ร--ก-ร-ม--ท-ีด่ -ิน--------22--55

-----------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------

2.6.4 หน้าตา่ งแผนท่ี
ระบบจะแสดงขอ้ มูลรปู แปลงที่ดนิ ทไี่ ดจ้ ากการสอบถามในหน้าตา่ งแบบสอบถาม

ภาพท่ี 5 หนา้ ตา่ งแผนท่ี
2.7 การใช้งานระบบ

2.7.1 ข้นั ตอนการค้นหาข้อมลู เอกสารสิทธแิ ละขอ้ มลู ทะเบียน
2.7.1.1 เลือกรปู แบบการค้นหา เป็น “สอบถามข้อมลู ด้านทะเบียน, ด้านรังวัดและแผนท่ี”
2.7.1.2 เลือกและระบุประเภทเอกสารสิทธิ เปน็ “หนงั สอื สาคัญสาหรบั ท่หี ลวง”






ภาพท่ี 6 หน้าจอหลัก

ร2-ะ-6-บ-บ-ภ--มู -สิ -รา-ะร-สบ-น-บ-เภท-ูมศ--สิเพ-า-่อืร-สก-นา-ร-เบท--รศ-ิหเ-พา-ร่ือ-จก-ัด-าก-ร-าบ-รร-ิหก-ร-าม-ร-จท-ดัีด่ -กนิ-า-ร--ก-ร--ม-ท-่ีด--นิ -----------------------------------------------2-6-

-----------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------

2.7.1.3 ระบุจังหวัด ของหนังสือสาคัญสาหรับท่ีหลวงที่ต้องการค้นหา ซ่ึงการระบุจังหวัด
สามารถกดเลือกจังหวัดท่ีตอ้ งการค้นหาได้โดยกดทีช่ อ่ งของจงั หวัด

2.7.1.4 ระบุสานักงานท่ีดิน ของหนังสือสาคัญสาหรับท่ีหลวงที่ต้องการค้นหา ซึ่งการระบุ
สานกั งานที่ดนิ สามารถกดเลอื กสานกั งานท่ีดินท่ตี ้องการคน้ หาได้โดยกดท่ชี อ่ งของสานกั งานที่ดิน

2.7.1.5 ระบุเลข ของหนังสือสาคัญสาหรับที่หลวงที่ต้องการค้นหา ซ่ึงการระบุเลขท่ีสามารถ
ระบุได้ทัง้ เป็นเลขรายการเดียว หรอื ช่วงของรายการ โดยมีขีดกลาง (-) คั่น หรือรายการเดียวและชว่ งรายการ
โดยมคี อมมา่ (,) และ ขีด กลาง (-) ค่ัน เชน่ 1 หรือ 1-10 หรือ 1, 7-10 หรือ กท 1122 เป็นตน้

2.7.1.6 ทาการคน้ หา เมือ่ กาหนดเงอื่ นไขการค้นหาข้อมูลเรียบรอ้ ยแลว้ กดป่มุ
หากตอ้ งการล้างข้อมูลและเงื่อนไขสาหรบั กาหนดเงื่อนไขคน้ หาข้อมลู ใหม่ กดปุม่

2.7.1.7 การแสดงผลการค้นหา กรณีผลการค้นหาข้อมูลมีจำนวนมาก จะแสดงผลการค้นหา

เป็นจำนวนหนา้ ในส่วนท้ายตารางการคน้ หาซ่ึงประกอบด้วยแสดงเลขหน้าปัจจุบันจากจำนวนหน้าผลการ

ค้นหาทั้งหมดและสามารถระบุเลขหน้าท่ี ต้องการแสดงผลเองได้ ( ) หรือเลื่อนไปหน้าถัดไป

( ) หรือเลอื่ นไปหนา้ สุดท้าย ( ) หรอื เลื่อนย้อนกลบั ก่อนหนา้ ( ) หรอื เลื่อนยอ้ นกลับมาหนา้ แรก ( )

2.7.1.8 การแสดงขอ้ มูลภาพลักษณ์ เมอื่ เลือกรายการหนังสอื สาคญั สาหรับทห่ี ลวง แล้วกดปุ่ม

เพ่ือแสดงข้อมูลภาพลักษณ์ หรือหากไม่ต้องการเลือกรายการใด ๆ และออกจากหน้าต่างค้นหา

เอกสารสิทธิให้เลือกกดป่มุ ภาพท่ี ๔ หนา้ จอลงชอ่ื เขา้ ใช้ระบบด้วยรหัสผใู้ ชง้ านและรหัสผ่าน






ภาพท่ี 7 แสดงการค้นหาข้อมลู เอกสารสิทธิและข้อมูลทะเบียน

-ร-ะ-บ-บ-ภ--มู -ิส-า-ร-ส-น--เท--ศ-เ-พ-ื่อ-ก-า-ร-บ--ร-หิ -า-ร-จ-ัด--ก-า-ร-ก--ร-ม-ท-่ดี--ิน-------ร-ะ-บ-บ--ภ-มู -สิ--า-ร-ส-น-เ-ท-ศ--เพ--อื่ -ก-า-ร-บ--ร-ิห-า-ร-จ--ัด-ก-า-ร--ก-ร-ม--ท-ดี่ -นิ--------22-7-7

-----------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------

2.7.1.9 การแสดงภาพลักษณ์ หน้าต่างจะแสดงภาพลักษณ์ของหนังสือสาคัญสาหรับท่ีหลวง
ท่ีค้นหา คลิกที่ข้อความ “เอกสารสิทธิ” จะแสดงรูปใบหน้าของหนังสือสาคัญสาหรับที่หลวง คลิก “สารบัญ

จดทะเบยี น” จะแสดงรปู สารบญั จดทะเบียนด้านหลงั ของหนังสือสาคญั สาหรบั ที่หลวง
2.7.1.10 การย่อหรือขยายภาพลักษณ์ สามารถย่อหรือขยายเพื่อย่อหรือขยายโดยไปท่ีเมนู

มุมมอง และเลือกเมนูย่อย ยอ่ ขนาด แสดงภาพลักษณ์ย่อขนาดตามระดับการย่อขนาดในส่วนของภาพลกั ษณ์

  
 
 

ภาพที่ 8 หนา้ จอภาพลักษณ์ของหนงั สือสาคญั สาหรบั ท่หี ลวง หน้าเอกสารสิทธิ






ภาพที่ 9 หนา้ จอภาพลักษณ์ของหนงั สือสาคญั สาหรับท่ีหลวง หน้าสารบญั จดทะเบียน

2-ร-ะ8-บ-บ-ภ--มู -ิส-รา-ะร-บส-น-บ-เภท-ูม-ศ-ิสเ-พา-รือ่ -สก-นา-ร-เทบ--ศร-ิหเ-พา-ื่อร-จก-ดั-า-กร-บา-รร-ิหก--าร-รม-จท-ัดี่ด-ก-นิ า-ร--ก-ร--ม-ท-ด่ี--นิ -----------------------------------------------2-8-

-----------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------

2.7.2 ขน้ั ตอนการบันทึกหรือพมิ พ์ขอ้ มลู ภาพลกั ษณ์
2.7.2.1 บันทึกหรือพิมพ์ข้อมูลภาพลักษณ์ เลือกที่เมนู มุมมอง เพื่อบันทึกหรือพิมพ์ข้อมูล

ภาพลกั ษณห์ นังสอื สาคัญสาหรบั ท่ีหลวง
2.7.2.2 พมิ พ์เอกสาร เลือกท่ี พมิ พเ์ อกสาร เพือ่ บันทึกหรอื พมิ พข์ อ้ มลู ภาพลักษณ์
2.7.2.3 พิมพผ์ ลลัพธ์ หากต้องการพิมพ์ผลลัพธ์ของรายงาน กดปุม่ เพื่อออกรายงาน

ผ่านทางอุปกรณต์ ่อพ่วงเครื่องพมิ พ์หรือหากตอ้ งการบนั ทึกขอ้ มูลในรูปแบบ .PDF กดปมุ่ เพือ่ บันทึก
ข้อมูลในรูปแบบดิจิทลั ไฟลแ์ ละปิดหน้าต่างรายงานรายการจดทะเบยี นท่จี ัดเกบ็ ภาพลักษณ์







ภาพท่ี 10 หน้าจอภาพลกั ษณข์ องหนงั สอื สาคัญสาหรับท่ีหลวง



ภาพท่ี 11 หนา้ จอภาพลักษณ์ของหนังสอื สาคัญสาหรับท่ีหลวง



ร-ะ-บ--บ-ภ-มู--ิส-า-ร-ส-น-เ-ท-ศ--เพ--่ือ-ก-า-ร-บ-ร--ิห-า-ร-จ-ดั -ก-า-ร--ก-ร-ม--ท-ีด่ -นิ--------ร-ะ-บ-บ--ภ-มู -สิ--า-ร-ส-น-เ-ท-ศ--เพ--อ่ื -ก-า-ร-บ--ร-ิห-า-ร-จ--ดั -ก-า-ร--ก-ร-ม--ท-ดี่ -ิน-------2-2-9-9

-----------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------










ภาพท่ี 12 หนา้ จอภาพลกั ษณข์ องหนังสอื สาคัญสาหรบั ที่หลวง





ภาพท่ี 13 การตัง้ ช่อื และจัดเกบ็ ข้อมลู ภาพลกั ษณ์


-3ร-0ะ-บ--บ-ภ-มู-สิ-ร-าะ-รบ-ส-บน-ภเ-ทูม-ศ-ิสเ-าพ-รอ่ื-ส-กน-า-เรท-บ-ศร-เิห-พ-าือ่ -รก-จ-าัด-รก-บา-รร-ิห-ก-าร-รม-จท-ัด-่ีดก-นิ า-ร--ก-ร--ม-ท-่ดี--นิ -----------------------------------------------3--0

-----------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------

2.6.3 การตรวจสอบการเชอื่ มโยงขอ้ มูลท่ีดนิ
2.6.3.1 เลอื กรูปแบบการค้นหาเปน “สอบถามข้อมลู ด้านทะเบียน, ด้านรังวดั และแผนที่”
2.6.3.2 เลือกและระบุประเภทเป็น “สอบถามตรวจสอบพ้ืนท่ี” เลือกท่ีข้อความ การเช่ือมโยง

ข้อมลู ทดี่ ิน

1

2

ภาพท่ี 14 หนา้ จอหลัก
2.6.3.3 ระบุประเภทเอกสารสิทธิ เป็น “หนังสือสาคัญสาหรับท่ีหลวง (น.ส.ล.)” หรือประเภท
ท่ตี ้องการคน้ หาซึง่ การระบุสามารถกดเลือกประเภทท่ีต้องการคน้ หาไดโ้ ดยกดทช่ี ่องประเภทเอกสารสิทธิ
2.7.3.4 ระบุจังหวัดท่ีต้องการค้นหา ซึ่งการระบุจังหวัดสามารถกดเลือกจังหวัดที่ต้องการ
ค้นหาไดโ้ ดยกดทชี่ อ่ งของจังหวัด
2.7.3.5 ระบุสานักงานท่ีดิน ที่ต้องการค้นหา ซึ่งการระบุสานักงานท่ีดินสามารถกดเลือก
สานักงานที่ดินท่ีต้องการคน้ หาไดโ้ ดยกดท่ีชอ่ งของสานักงานที่ดนิ
2.7.3.6 ระบบจะข้อมูลทะเบียน ข้อมูลรูปแปลงและข้อมูลภาพสแกน แสดงผลการเชื่อมโยง
ของขอ้ มูลทั้ง 3 สว่ นในรูปแบบของจานวนร้อยละ

-ร-ะ-บ-บ-ภ--มู -สิ -า-ร-ส-น--เท--ศ-เ-พ-่อื -ก-า-ร-บ--ร-หิ -า-ร-จ-ัด--ก-า-ร-ก--ร-ม-ท-่ดี--ิน-------ร-ะ-บ-บ--ภ-ูม-ิส--า-ร-ส-น-เ-ท-ศ--เพ--อื่ -ก-า-ร-บ--ร-ิห-า-ร-จ--ัด-ก-า-ร--ก-ร-ม--ท-่ีด-นิ--------33-1-1

-----------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------

3
4

5

6

ภาพที่ 15 หนา้ จอแสดงการเช่ือมโยงขอ้ มูลทด่ี นิ ของหนงั สือสาคญั สาหรับท่ีหลวง

2.7.4 การประยกุ ต์ใช้
ระบบงานให้บริการสอบถามข้อมูลท่ีดินในสานักงานที่ดินและผ่านเครือข่าย Internet

(GIS/LIS) โครงการพัฒนาระบบสารสนเทศระยะท่ี 1 สามารถประยุกต์ใช้ในการวางแผนการจัดการท่ีดิน
โดยสามารถสืบค้นราคาประเมินท่ีดินเพ่ือประมาณการค่าจ่ายต่าง ๆ เบ้อื งต้นท่ีต้องใช้ในการจัดการท่ีดินแปลง
ท่ีต้องการได้อย่างรวดเร็ว หรือสามารถจัดเก็บภาพลักษณ์ท้ังหน้าเอกสารสิทธิ และหน้าสารบัญจดทะเบียน
เพอ่ื นาไปใช้เป็นเอกสารประกอบการแก้ปญั หาในเบื้องต้นได้ รวมท้ังประยุกต์ใช้ในการแก้ปญั หาแนวเขตต่าง ๆ
ในท่ีดนิ เป็นต้น



ระบบภมู สิ ารสนเทศเพอ่ื การบรหิ ารจัดการ กรมท่ีดิน 32
------------------------ -----------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------

บทที่ 3
ระบบใหบ้ ริการขอ้ มลู ทดี่ ินและแผนท่ี
โครงการศนู ย์ขอ้ มลู ทด่ี นิ และแผนที่แห่งชาติ กรมทด่ี นิ

3.1 หลักการและเหตผุ ล
สืบเน่ืองจากนโยบายรัฐบาลด้านการบริหารจัดการท่ีดิน ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม การเร่งจัดทา

แนวเขตการใช้ประโยชน์ในท่ีดิน การจัดแบ่งประเภทท่ีดินให้ชัดเจน รวมท้ังจัดให้มีระบบบริหารจัดการในระดับ
ประเทศ และนโยบายการบริหารกิจการบ้านเมืองท่ีดี สนับสนุนการกระจายอานาจทางการคลังสู่ท้องถิ่น
เพิ่มขีดความสามารถ และความเป็นอิสระขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในการพึ่งพาตนเอง เพ่ือให้มีระบบ
ข้อมูลที่ดินและแผนท่ีสามารถนาไปใช้ประโยชน์ในการพัฒนาประเทศด้านต่าง ๆ ตามนโยบายของรัฐบาลและ
กระทรวงมหาดไทยได้อย่างมีประสิทธิภาพ กรมที่ดินจึงได้จัดทาโครงการศูนย์ข้อมูลที่ดินและแผนที่แห่งชาติ
กรมท่ีดิน (ระยะที่ 1) เพื่อเป็นศูนย์กลางในการบูรณาการการใช้ประโยชน์ข้อมูลท่ีดินและแผนที่ระหว่าง
กรมที่ดินกับส่วนราชการท่ีเกี่ยวข้อง รองรับการดาเนินงานตามนโยบายรัฐบาล เพื่อจัดทาระบบข้อมูลท่ีดิน
และแผนที่ในระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ (GIS) ให้เป็นมาตรฐานสาหรับนาไปจัดทาแนวเขตการใช้ประโยชน์
ในท่ีดินให้เกิดความชัดเจน รวมท้ังสนับสนุนงานราชการส่วนท้องถ่ินในการจัดเก็บภาษี และการใช้ประโยชน์
ของทุกหน่วยงานท้ังภาครัฐและเอกชน จากข้อมูลแปลงท่ีดินและภาพลักษณ์เอกสารสิทธิที่ดิน ท่ีอยู่ในรูปฐานข้อมูล
ในระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ (GIS) และ Web Browser ท่ีให้บริการแก่สานักงานท่ีดิน องค์กรปกครอง
สว่ นท้องถ่ิน รวมทงั้ หนว่ ยงานภาครฐั อน่ื ๆ และภาคเอกชน

3.2 วตั ถุประสงค์

3.2.1 เพ่ือนาเข้าข้อมูลภาพลักษณ์เอกสารสิทธิที่ดินและข้อมูลแผนท่ีรูปแปลงท่ีดินให้อยู่ในรูปแบบ
ฐานข้อมลู ในระบบสารสนเทศภมู ศิ าสตร์ (GIS)

3.2.1 เพ่ือจัดเก็บข้อมูลที่ดินและแผนที่ในระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ (GIS) ให้เป็นมาตรฐานสาหรับ
การนาไปจัดทาแนวเขตการใช้ประโยชน์ในที่ดินให้เกิดความชัดเจน รวมท้ังสนับสนุนงานราชการส่วนท้องถ่ิน
ในการจดั เกบ็ ภาษีและการใช้ประโยชนข์ องทุกหนว่ ยงานทัง้ ภาครัฐและภาคเอกชน

3.3 ลักษณะการทางานของระบบให้บรกิ ารข้อมูลทด่ี ินและแผนท่ี

ระบบให้บริการข้อมูลที่ดินและแผนที่ โครงการศูนย์ข้อมูลท่ีดินและแผนที่แห่งชาติ กรมที่ดิน มีการเชื่อมโยง
รูปแปลงท่ีดินและภาพลักษณ์เอกสารสิทธิท่ีดิน โดยทะเบียนเช่ือมรูปแปลงด้วยระวาง เลขท่ีดิน และเช่ือมกับ
ภาพลักษณ์ด้วยเลขเอกสารสิทธิ และข้อมูลที่ได้จัดเก็บอยู่ในรูปฐานข้อมูลในระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ (GIS)
และใหบ้ รกิ ารผ่านเครือข่าย Internet รปู แบบ Web Browser

ร-3ะ-4-บ-บ-ภ--มู -ิส-รา-ะร-สบ-น-บ-เภท-ูม-ศ-ิสเพ-า-่อืร-สก-นา-ร-เบท--รศ-หิ เ-พา-ร่ือ-จก-ดั -าก-ร-าบ-รร-ิหก-ร-าม-ร-จท-ดั่ีด-กนิ-า-ร--ก-ร--ม-ท-ดี่--ิน-----------------------------------------------3-3-

------------------------ -----------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------

3.4 ขอ้ มูลทใ่ี หบ้ รกิ าร
ให้บริการข้อมูลภาพลักษณ์เอกสารสิทธิท่ีดินและข้อมูลแผนท่ีรูปแปลง รวมทั้งการตรวจสอบฐาน

ทะเบียนและการเช่ือมโยงเพ่ือตรวจสอบความถูกต้องและความมีอยู่จริงของเอกสารสิทธิ สารบบที่ดิน
กับฐานข้อมลู ทะเบยี นท่ีดิน
3.5 การเข้าใช้งานระบบ

3.5.1 ขนั้ ตอนการลงช่ือเข้าใช้ระบบ
ลงชื่อเข้าใช้ระบบด้วย รหัสผู้ใช้งาน และ รหัสผ่าน ในการลงช่ือเข้าใช้ระบบ ผู้ใช้งานแต่ละคน

จะมีรหสั ผ้ใู ช้งานและรหสั ผ่านเปน็ ของตัวเอง เพอื่ เป็นการขออนุญาตหรือแสดงตัวตนในการเข้าใช้ระบบ ซึ่งรหัส
ผ้ใู ช้งานและรหัสผ่านจะถูกสร้างโดยจากัดสิทธิการเข้าใช้งานตามกลุ่มของผู้ใชง้ าน ทั้งน้ีเพ่ือความปลอดภัยของ
การเข้าถึงข้อมลู และการใชข้ อ้ มูลภาพลักษณต์ า่ ง ๆ มีขน้ั ตอนการลงช่อื เข้าใช้ระบบดังตอ่ ไปนี้

ผู้ใช้ระบบเรียกใช้โปรแกรม โดยการดับเบิลคลิก Shortcut ท่ีหน้า Desktop ของผู้ใช้งานท่ีไอคอน
ช่ือว่า โครงการศูนย์ข้อมูลศูนย์ข้อมูลท่ีดินและแผนที่แห่งชาติ กรมที่ดิน (ภาพท่ี 1) หรือผู้ใช้ระบบระบุ URL
ในส่วนของ Address Bar ของ Internet Explorer เป็น http://10.252.102.58/adm (ภาพที่ 2) และกด
Enter โปรแกรมจะเขา้ สู่หน้าจอลงชอื่ เขา้ ใช้ระบบ (ภาพที่ 3)

ภาพที่ 1 Shortcut โครงการศนู ย์ข้อมลู ศนู ยข์ ้อมลู ท่ีดนิ และแผนทแ่ี หง่ ชาติ กรมทด่ี ิน

ภาพที่ 2 ระบุ URL เข้าใช้งานระบบบน Address Bar ของ Internet Explorer

ภาพที่ 3 หน้าจอลงชอื่ เข้าใช้ระบบด้วย รหสั ผ้ใู ช้งาน และรหัสผ่าน

ร-ะ-บ--บ-ภ-มู--ิส-า-ร-ส-น-เ-ท-ศ--เพ--่อื -ก-า-ร-บ-ร-ิห--า-ร-จ-ัด-ก-า-ร--ก-ร-ม--ท-่ดี -นิ --------ร-ะ-บ-บ--ภ-ูม-สิ--า-ร-ส-น-เ-ท-ศ--เพ--อ่ื -ก-า-ร-บ--ร-ิห-า-ร-จ--ดั -ก-า-ร--ก-ร-ม--ท-ดี่ -ิน-------3-3-4-5

------------------------ -----------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------

1) ช่องรหัสผ้ใู ชง้ าน กรอกรหัสผูใ้ ชง้ าน คือ เลขท่ีบตั รประชาชน

2) ช่องรหัสผา่ น กรอกรหสั ผ่าน

3) ปุ่มเขา้ ระบบ หลงั จากทก่ี รอกรหัสผู้ใชง้ านและรหสั ผ่าน ใหก้ ดปุ่ม

4) ป่มุ ล้างข้อมูล เพอ่ื เขา้ สู่ระบบ
เมือ่ ต้องการลบข้อมลู ต่าง ๆ ทห่ี น้าจอและกลบั สคู่ า่ เร่ิมตน้
(Default) ของหน้าจอเพ่ือรอรบั การลงชื่อเขา้ ใชร้ ะบบใหม่

ให้กดปมุ่

จากกระบวนการการลงชอื่ เข้าใชร้ ะบบท้งั 2 วธิ ที ่ีกล่าวมาข้างต้น เมื่อผ่านการประมวลผลของ
โปรแกรมแล้ว โปรแกรมจะแสดงหน้าจอหลัก (DOL Portal) ของผู้ใช้ระบบ ซ่ึงจะแตกต่างกันออกไปตามสิทธิ
การใชร้ ะบบงานตามการกาหนดสทิ ธขิ องระบบจัดการสิทธิ (ดังภาพท่ี 4)

ภาพท่ี 4 หนา้ จอหลกั (DOL Portal)

3.5.2 ขนั้ ตอนการลงช่อื ออกจากระบบ
สาหรบั การลงช่ือออกจากระบบ ผู้ใชร้ ะบบสามารถออกจากระบบ ตามรายละเอยี ดดังนี้
1) ปุ่ม เพ่อื แสดงรายละเอยี ดของผูใ้ ช้งาน
2) ปุ่ม เพอ่ื กลบั สูห่ นา้ จอหลัก เป็นฟังก์ชนั งานสาหรบั กลบั ไปยังหน้าเมนูหลักของผใู้ ช้
ระบบ (Portal) เพื่อใหผ้ ู้ใชร้ ะบบ เลอื กเขา้ สรู่ ะบบอ่ืนที่เกี่ยวข้องหรือ
มีสทิ ธใิ นการเข้าใช้งาน
3) ป่มุ เพ่ือออกจากระบบ เป็นฟังกช์ ันงานสาหรับบุคคลท่ีใช้งานอยู่สามารถออก
จากระบบได้ และสามารถลงชื่อเข้าใช้ระบบด้วยผูม้ ีสิทธิบุคคลอื่นเข้าใช้ระบบได้
4) ปุ่ม เพ่ือปิดโปรแกรมเปน็ ฟังกช์ ันงานสาหรบั ปิดหนา้ จอการทางาน

3-ร-ะ6-บ-บ-ภ--มู -ิส-รา-ะร-บส-น-บ-เภท-มู-ศ-ิสเ-พา-ร่ือ-สก-นา-ร-เทบ--ศร-หิเ-พา-รอ่ื -จก-ัด-าก-ร-าบ-รร-ิหก--าร-รม-จท-ดั ีด่-กิน-า-ร--ก-ร--ม-ท-ี่ด--ิน-----------------------------------------------3-5-

------------------------ -----------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------

3.6 หนา้ ตา่ งโปรแกรมและเมนกู ารใชง้ าน
3.6.1 หน้าต่างโปรแกรม จากรูปภาพหน้าจอหลัก (DOL Portal) เมื่อเลือกเมนู “โปรแกรมให้บริการ

ข้อมูลท่ีดินและแผนที่ด้วยระบบภูมิสารสนเทศที่ดิน” จะแสดงหน้าจอเมนูใช้งาน (ดังภาพท่ี 5) และสามารถ

แบง่ หน้าจอออกตามการใชง้ านได้ 3 ส่วน ดังน้ี

 เมนูใชง้ าน

 หน้าต่าง View )แสดงข้อมลู ทด่ี ินและแผนที่  ค้นหา

ภาพท่ี 5 หน้าจอเมนูใช้งาน

3.6.2 เมนใู ช้งาน คือ สว่ นการแสดงเมนหู ลกั และเมนยู ่อยของระบบ โดยมีรายละเอียดของเมนูหลัก
ในการใช้งาน (ภาพท่ี 6) ดังน้ี

ภาพท่ี 6 หนา้ จอเมนูใชง้ าน

-ร-ะ-บ-บ-ภ--มู -สิ -า-ร-ส-น--เท--ศ-เ-พ-่อื -ก-า-ร-บ--ร-หิ -า-ร-จ-ัด-ก--า-ร-ก--ร-ม-ท-่ีด-นิ--------ร-ะ-บ-บ--ภ-ูม-ิส--า-ร-ส-น-เ-ท-ศ--เพ--่อื -ก-า-ร-บ--ร-หิ -า-ร-จ--ดั -ก-า-ร--ก-ร-ม--ท-่ดี -ิน--------33-6-7

------------------------ -----------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------

3.6.3 หน้าตา่ ง (View) แสดงข้อมูลที่ดนิ และแผนที่ คือ สว่ นแสดงตารางข้อมูลทีด่ ินและแผนทจ่ี ากการ
ค้นหาพร้อมเครื่องมอื ตา่ ง ๆ ในการจดั การแผนที่ โดยมีเคร่ืองมือพ้นื ฐาน ดังนี้

PAN ใช้เมาสจ์ ับเล่ือนแผนท่ีเคลือ่ นย้ายไปตาแหนง่ ท่ีต้องการ

Zoom In ใช้ขยายแผนทโี่ ดยการกาหนดขอบเขตพ้ืนทที่ ่ตี ้องการ

Zoom Out ใช้ยอ่ แผนทีโ่ ดยการกาหนดขอบเขตพืน้ ที่ทต่ี ้องการ

Full Extent ขยายแผนทีเ่ ต็มพน้ื ท่ีของหนา้ ตา่ ง (View)

Information ใช้สาหรบั ดูคาอธบิ ายรายละเอยี ด (Attribute)

Remove Layer ใช้สาหรับลบ Layer

Refresh ใช้สาหรบั รเี ฟรชแผนท่ี

Measure ใช้สาหรบั วดั ระยะทาง

Area ใช้สาหรบั วัดพ้นื ที่
Next ใช้สาหรบั ดแู ผนท่ลี าดับถดั ไป
Previous ใชส้ าหรับดูแผนทีก่ อ่ นหน้า

Zoom In/Out ใช้สาหรับขยายและย่อแผนท่ี

Rectangle ใช้สาหรับวาดสีเ่ หล่ยี ม

Draw Polygon ใช้สาหรบั วาด Polygon

Point ใช้สาหรบั เลือกจุดศูนย์กลาง

3.6.4 ค้นหา คือ ส่วนแสดงการค้นหา ซึ่งแบ่งเง่ือนไขการค้นหา ได้แก่ เงื่อนไขเชิงอักษร เงื่อนไข
เชงิ พน้ื ท่ี เง่อื นไขเชิงพนื้ ท่สี ถานทีส่ าคญั และเงือ่ นไขพกิ ดั

3.7 การใชง้ านระบบ
การใช้งานระบบให้บรกิ ารข้อมลู ที่ดนิ และแผนท่ี คน้ หาข้อมลู แปลงท่ีดนิ ผู้ใชร้ ะบบสามารถเลอื กประเภท

เอกสารสิทธิท่ีต้องการค้นหาซ่ึงประกอบด้วย โฉนดท่ีดิน, โฉนดตราจอง, ตราจองท่ีตราว่า “ได้ทาประโยชน์แล้ว”,
หนังสือรับรองการทาประโยชน์ (น.ส. 3 ก.), หนังสือสาคัญสาหรับที่หลวง (น.ส.ล.), หรือหนังสืออนุญาตให้ใช้
ประโยชน์ที่ดินของรัฐ ซ่ึงคู่มือนี้จะแสดงการค้นหาข้อมูลแปลงที่ดิน ประเภทหนังสือสาคัญสาหรับที่หลวง
(น.ส.ล.) ตามขั้นตอนดงั น้ี

-3-8-------ร-ะ-บ--บ-ภ-มู --ิส-า-ร-ส-น--เท--ศ-เ-พ-่ือ-ก--า-ร-บ-ร-ิห--า-ร-จ-ัด-ก-า-ร--ก-ร--ม-ท-ดี่ --ิน------------------------------------------------- 37
ระบบภมู ิสารสนเทศเพือ่ การบริหารจัดการ กรมทด่ี นิ
------------------------ -----------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------



ภาพที่ 7 รูปแบบการให้บริการขอ้ มูลที่ดินและแผนที่
3.7.1 การค้นหาข้อมลู แปลงท่ีดนิ เลือกเมนู “ค้นหาขอ้ มูลแปลงท่ีดิน” ในเมนูย่อยของระบบให้บริการ
ขอ้ มลู ทดี่ ินและแผนที่ โดยการค้นหากรณที ่ีทราบเลขที่เอกสารสทิ ธหิ รือระวางแผนท่ี เลือก “เงื่อนไขเชิงอักษร”
และประเภทเอกสารสิทธิ เลอื ก “หนงั สือสาคญั สาหรับท่หี ลวง” สามารถค้นหาได้ดังน้ี

3.7.1.1 การค้นหาโดยเลขที่เอกสารสิทธิ (ดงั ภาพท่ี 8)
๑) เลขเอกสารสิทธิ กรอก “เลขเอกสารสทิ ธิ” ทีต่ ้องการคน้ หา
๒) จงั หวัด เลอื ก “จังหวดั ” ที่ตอ้ งการค้นหา
๓) อาเภอ/เขต เลอื ก “อาเภอ/เขต” ทีต่ ้องการคน้ หา

๔) ปุ่ม เม่อื กาหนดเงื่อนไขการคน้ หาขอ้ มูลเรยี บร้อยแล้ว
๕) ปุ่ม กรณที ่ีต้องการยกเลกิ ขอ้ มูลและเงอ่ื นไขสาหรบั กาหนดเงื่อนไขค้นหา

ขอ้ มูลใหม่

ภาพท่ี 8 ตวั อย่างคน้ หาขอ้ มูลแปลงท่ีดินโดยเลขที่เอกสารสทิ ธิ

---ร-ะ-บ-บ--ภ-มู -สิ--า-ร-ส-น-เ-ท-ศ-เ-พ-อ่ื--ก-า-ร-บ-ร-หิ --าร--จ-ัด-ก-า-ร--ก-ร-ม-ท--่ดี -นิ -----ร-ะ-บ-บ--ภ-มู -ิส--า-ร-ส-น-เ-ท-ศ--เพ--ือ่ -ก-า-ร-บ--ร-หิ -า-ร-จ--ัด-ก-า-ร--ก-ร-ม--ท-ีด่ -ิน--------3--938

------------------------ -----------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------

3.7.1.2 การคน้ หาโดยระวางแผนที่ (ดังภาพท่ี 9)
๑) ระวางแผนที่ กรอก “ระวางแผนท่ี” ทีต่ ้องการคน้ หา
๒) มาตราส่วน เลือก “มาตราสว่ น” ที่ตอ้ งการค้นหา
๓) แผ่นท่ี เลอื ก “แผน่ ท่ี” ท่ตี ้องการค้นหา
๔) เลขทด่ี นิ เลอื ก “เลขที่ดนิ ” ท่ตี ้องการค้นหา
๕) ป่มุ เมือ่ กาหนดเงื่อนไขการคน้ หาขอ้ มูลเรยี บร้อยแลว้
๖) ปุ่ม กรณที ตี่ ้องการยกเลกิ ขอ้ มลู และเงื่อนไขสาหรับกาหนดเงื่อนไขค้นหา
ข้อมลู ใหม่

ภาพท่ี 9 ตัวอย่างคน้ หาข้อมูลแปลงท่ดี นิ โดยระวางแผนที่
3.7.2 การแสดงภาพลกั ษณ์ เลอื กปุ่ม ในตารางแสดงข้อมลู แปลงท่ดี ิน (ดงั ภาพที่ 10)

ภาพท่ี 10 ตวั อยา่ งตารางแสดงข้อมลู แปลงที่ดนิ

-4ร-ะ0-บ-บ-ภ--มู -ิส-รา-ะร-บส-น-บ-เภท-มู-ศ-ิสเ-พา-ร่อื -สก-นา-ร-เทบ--ศร-หิเ-พา-รื่อ-จก-ดั-าก-ร-าบ-รร-ิหก--าร-รม-จท-ัดีด่-กนิ-า-ร--ก-ร--ม-ท-ีด่--ิน-----------------------------------------------3-9-

------------------------ -----------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------

เม่ือเลอื กปมุ่ ดังกล่าว หนา้ จอจะแสดงหน้าจอหลกั ของโปรแกรมแสดงภาพลักษณ์เอกสารสิทธิท่ดี ิน
(ดังภาพท่ี 11) และสามารถแบ่งหนา้ จอออกตามการใช้งานได้ 4 สว่ น ดังนี้

 แถบเครอื่ งมือ

 เมนู  แสดงภาพลักษณ์ 
รายละเอียด

ภาพที่ 11 หนา้ จอโปรแกรมแสดงภาพลักษณเ์ อกสารสทิ ธิท่ดี ิน

3.7.2.1 แถบเครอื่ งมือ มรี ายละเอยี ด ดังน้ี

๑) ปุ่ม เม่อื ต้องการพมิ พเ์ อกสารภาพลักษณ์ออกทางอุปกรณต์ ่อพว่ ง
เคร่อื งพมิ พ์

๒) ปุ่ม กาหนดมุมมองในการแสดงภาพลกั ษณ์ ประกอบด้วย ปุ่มการย่อ/ขยาย
ขนาดภาพลกั ษณ์ และปุ่มการแสดงภาพลักษณ์เต็มหน้าจอ

3.7.2.2 การแสดงภาพลักษณ์เต็มหน้าจอ สาหรับปุ่มการแสดงภาพลักษณ์เต็มหน้าจอเพ่ือแสดง
รายละเอยี ดที่มีความคมชดั ของภาพลักษณ์ และพิมพเ์ อกสารภาพลักษณจ์ ากปุม่ นี้ได้ โดยขัน้ ตอนดังนี้

1) เลือกรายการเอกสารสิทธิท่ตี อ้ งการแสดงภาพลักษณ์
2) เลือกแสดงภาพลกั ษณ์
3) ไปทเ่ี มนู “มมุ มอง” และเลอื กเมนยู ่อย “เต็มหน้าจอ”
4) แสดงหนา้ ตา่ งแสดงภาพลักษณ์เต็มหน้าจอ (ดังภาพที่ 12)

ระบบภมู ิสา-ร-ส-น-เ-ท-ศ--เพ--อ่ื -ก-า-ร-บ-ร-หิ--า-ร-จ-ัด-ก-า-ร--ก-ร-ม--ท-่ดี -นิ -----------------ร-ะ-บ-บ--ภ-ูม-ิส--า-ร-ส-น-เ-ท-ศ--เพ--่ือ-ก-า-ร-บ--ร-ิห-า-ร-จ--ัด-ก-า-ร--ก-ร-ม--ท4-ดี่ -0ิน--------4--1

------------------------ -----------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------

ภาพท่ี 12 แสดงภาพลักษณ์เต็มหน้าจอ

5) กรณี ต้องการหมุนภาพลักษณ์ไปทางขวา สามารถกดปุ่ม เพื่อแสดง

ภาพลักษณ์หมุนทางขวา หรือกดปุ่ม เพื่อแสดงภาพลักษณ์หมุน

ทางซ้าย

6) กรณี ต้องการพิมพ์ กดปุ่ม เพ่ือพิมพ์ภาพลักษณ์ออกทางอุปกรณ์

ต่อพ่วงเครื่องพิมพ์ หรือกดปุ่ม เพ่ื อ อ อ ก จ า ก ห น้ า ต่ า ง แ ส ด ง

ภาพลักษณเ์ ต็มหนา้ จอ

7) ถ้าต้องการพิมพ์ทางอปุ กรณ์ตอ่ พว่ งเคร่ืองพิมพ์ เลือก ในสว่ นของแถบเครอื่ งมือ
โปรแกรมจะแสดงหนา้ ต่างรายละเอียดเครอื่ งพิมพ์

8) กดปมุ่ เพอื่ พิมพ์เอกสารภาพลกั ษณอ์ อกทางอุปกรณ์ต่อพว่ งเครอ่ื งพิมพ์

หรือกดปุ่ม เพือ่ ยกเลกิ การพิมพเ์ อกสารภาพลักษณ์

๙) กรณี บนั ทึกภาพลักษณ์เป็น .PDF เลือก ในสว่ นของแถบเครื่องมือ โปรแกรม

จะแสดงรายละเอียดการบนั ทึกเปน็ .PDF (ดงั ภาพท่ี 13)

-4-2ร-ะ--บ-บ-ภ--มู ร-ิสะ-าบ-ร-บส-ภน-ูม-เท-สิ -ศา-เรพ-ส-ื่อน-ก-เทา-ร-ศบ-เ-รพ-หิ อ่ื -าก-ร-าจ-รดั -บก-ร-าหิ -ร-าก-รร-จม-ดั -ทก-่ีดา-ินร--ก-ร--ม-ท-ี่ด--ิน-------------------------------------------------41

------------------------ -----------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------

ภาพท่ี 13 หนา้ ต่างบันทึกภาพลักษณ์เป็น .PDF
3.7.2.3 เมนยู อ่ ยของภาพลักษณ์ คือ สว่ นท่ีหนา้ จอจะแสดงเมนยู ่อยของภาพลักษณ์
3.7.2.4 แสดงภาพลกั ษณ์ คือ สว่ นทหี่ น้าจอจะแสดงภาพลักษณใ์ นส่วนหนา้ เอกสารสิทธิ
(ดังภาพที่ 14) และรูปแผนที่ (ใบตอ่ ) (ดังภาพที่ 15) ตามลาดับ

ภาพท่ี 14 ตวั อย่างภาพลักษณห์ นงั สือสาคัญสาหรบั ท่หี ลวง (หน้าเอกสารสิทธิ)

-------------------------------------------------ร-ะ-บ-บ--ภ-มู -สิ--า-ร-ส-น-เ-ท-ศ--เพ--อ่ื -ก-า-ร-บ--ร-ิห-า-ร-จ--ัด-ก-า-ร--ก-ร-ม--ท-ี่ด-ิน--------4--3
ระบบภมู ิสารสนเทศเพ่อื การบริหารจดั การ กรมท่ดี นิ 42
------------------------ -----------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------

ภาพท่ี 15 ตัวอยา่ งภาพลักษณ์หนังสือสาคัญสาหรบั ที่หลวง (รปู แผนที่ (ใบต่อ))

3.7.2.5 รายละเอียด คือ หน้าจอจะแสดงรายละเอียดของภาพลักษณ์ ได้แก่ หน่วยงานที่
รับผิดชอบ, ประเภทเอกสารสิทธิ, เลขที่หนังสือสาคัญสาหรับที่หลวง, หมู่ที่, ตาบล, อาเภอ, จังหวัด, ปีท่ีออก
ประเภท, มาตราสว่ น, ระวาง UTM, เลขท่ดี นิ , ระวางศูนยก์ าเนิด, เน้อื ที่ดิน (ไร่-งาน-ตร.วา) และหมายเหตุ

3.7.3 การตรวจสอบฐานทะเบยี นและการเช่ือมโยง
จากหน้าจอเมนูใช้งาน เมื่อเลือกเมนู “ตรวจสอบฐานทะเบียนและการเชื่อมโยง” จะแสดงเมนูย่อย

ของการตรวจสอบฐานทะเบยี นและการเชอ่ื มโยง ซ่งึ ผ้ใู ช้งานสามารถเลือกตรวจสอบได้ตามวัตถุประสงค์ คมู่ ือน้ี
จะแสดงตัวอย่างการตรวจสอบฐานทะเบียนและการเช่ือมโยง ประเภทหนังสือสาคัญสาหรับที่หลวง (น.ส.ล.)
สามารถทาไดต้ ามขน้ั ตอนดังนี้

3.7.3.1 เลอื กเมนู “เชือ่ มโยง ข้อมูลทะเบยี นที่ดิน รปู แปลงทด่ี นิ และภาพสแกน” ในเมนูยอ่ ย
ของเมนูตรวจสอบฐานทะเบยี นและการเชื่อมโยง

3.7.3.2 เง่ือนไขการค้นหา ทาได้ดังนี้
1) ประเภทเอกสารสิทธิ เลอื ก “หนังสอื สาคัญสาหรับที่หลวง (น.ส.ล.)”
2) จังหวดั เลอื ก “จงั หวัด” ท่ีต้องการคน้ หา
3) สานกั งานท่ดี ิน เลอื ก “สานกั งานทดี่ ิน” ที่ต้องการคน้ หา

4) ปุ่ม เม่ือกาหนดเง่ือนไขการค้นหาข้อมูลเรียบร้อยจะปรากฏรายการ
ผลการคน้ หา (ดังภาพที่ 15)


Click to View FlipBook Version