The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search

​การเป็นวิทยากรภายใน (Internal Trainer) (ปี 2561)

กองฝึกอบรม

Keywords: ด้านทั่วไป

คำนำ

วิทยากรภายใน (Internal Trainer) ถือเป็นกลไกการ
ขับเคล่ือนที่จะช่วยให้องค์กรมีระบบการเรียนรู้อย่างย่ังยืน เพราะ
การจะเป็นวิทยากรภายในได้นั้น บุคคลดังกล่าวจะต้องเป็นผู้มี
ความรู้ในเน้ืองานดีอยู่แล้ว เม่ือมาเพิ่มเติมทักษะการถ่ายทอด
และการสื่อสาร ก็ย่อมจะช่วยให้เกิดการสร้างคนที่มีความรู้
ความสามารถในองค์กรเพ่ิมข้ึน อีกทั้งยังช่วยให้ความรู้ท่ีมีอยู่ในตัว
ของแต่ละบุคคลได้ถูกนามาใช้ให้เกิดประโยชน์แก่ผู้อ่ืน ซึ่งจะช่วย
สนบั สนนุ ให้องคก์ รมคี วามแขง็ แกรง่ และเติบโตตอ่ ไปไดอ้ ย่างมัน่ คง

กองฝึกอบรมจึงได้จัดทาหนังสือ “การเป็นวิทยากรภายใน
(Internal Trainer)” เพ่ือให้บุคลากรมีความเข้าใจที่ถูกต้อง
ช่วยเพิ่มประสิทธิภาพในการปฏิบัติงาน อันจะนาไปสู่ผลสาเร็จ
ของงานตามเป้าหมายทีอ่ งค์กรคาดหวังต่อไป

กองฝกึ อบรม กรมที่ดิน
มิถนุ ายน 2561

สารบัญ หนา้
1
ความหมายของคาว่า “วิทยากร” 2
ความสาคัญของวทิ ยากรภายในองค์กร 3
รูปแบบของการเปน็ วิทยากร 4
ข้ันตอนการเป็นวทิ ยากรภายในหน่วยงาน 6
คุณสมบตั ิของวทิ ยากรท่ดี ีและมีประสทิ ธิภาพ 10
บทบาทและหนา้ ทส่ี าคัญของวิทยากร 12
ทักษะและบคุ ลิกภาพทจ่ี าเปน็ สาหรับการเป็นวทิ ยากร 17
หัวใจหลกั ของการเปน็ วิทยากร 20
ปัจจยั แห่งความสาเร็จในการพัฒนาวทิ ยากรภายใน 21
ประโยชน์ของการมวี ิทยากรภายใน 23
บรรณานุกรม

การเปน็ วทิ ยากรภายใน
(Internal Trainer)

 ความหมายของคาวา่ “วทิ ยากร”

วิทยากร หมายถึง ผู้ท่ีมีความรู้ ความสามารถ ซ่ึงในภาษา
อังกฤษเรียกวิทยากรว่า Resource Person มาจาก “วิทยา”
แปลว่า ความรู้ และ “กร” แปลว่า มือ หรือผู้ถือ ดังน้ัน คาว่า

“ วิ ท ย า ก ร ” ก็ คื อ ผู้ ท ร ง ไว้ ซึ่ งค ว า ม รู้
ความสามารถ โดยบุคคลที่เป็นวิทยากรได้
จะต้องเป็นผู้มีความรู้ และความสามารถ
ในการทาให้ผู้อื่นมีความรู้ ความเข้าใจใน
เรื่องนั้นๆ ตามทต่ี นต้องการ

วทิ ยากร = ผรู้ ู้ + ผมู้ ีความสามารถในการทาใหผ้ ู้อื่น
มีความรู้ ความเขา้ ใจในเรอื่ งนน้ั ๆ

มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช อุบลราชธานี , ศูนย์วิทย
พัฒนา (2558) ได้ให้ความหมายคาว่า วิทยากร (Trainer) คือ
บุคคลซ่ึงมีความรู้ ความสามารถ ตลอดจนการพูดหรือนาเสนอ
และใช้เทคนิคต่างๆ ในการถ่ายทอดเรื่องนั้นๆ อันจะทาให้

2 การเป็นวทิ ยากรภายใน

ผู้รับการฝึ กอบรมได้ เกิ ดความรู้ (Knowledge) ความเข้ าใจ
(Understand) เจตคติ (Attitude) จนสามารถท าให้ ผู้ รับ การ
ฝึกอบรมเปล่ยี นแปลงพฤติกรรมไปตามวัตถปุ ระสงค์ท่ีต้องการ

 ความสาคัญของวทิ ยากรภายในองคก์ ร

การเป็นวิทยากรภายในองค์กร เป็นอีกวิธีหนึ่งที่สามารถ
นามาใช้ในการพัฒนาบุคลากร ท้ังน้ี เพราะการเป็นวิทยากร
หมายถึง ผู้ท่ีมีความรู้ ทักษะ ความชานาญ รวมท้ังประสบการณ์
ในเร่ืองใดเรื่องหน่ึง และพร้อมท่ีจะ
ถ่ า ย ท อ ด ให้ กั บ บุ ค ค ล ต่ า งๆ ได้
ผู้บังคับบัญชาสามารถมอบหมายให้
บุคลากรที่มีความเชี่ยวชาญหรอื มีความ
ชานาญในเร่ืองใดเร่ืองหน่ึงท่ีเก่ียวข้อง
กับการทางาน ทาหน้าท่ีเป็นวิทยากรภายในถ่ายทอดความรู้ให้กับ
บุคลากรในหน่วยงาน โดยมีกระบวนการจัดการเรียนรู้อย่างเป็น

ระบบ เพ่ือเพิ่มพูนความรู้ ทักษะและ
ทัศนคติให้กับบุคลากร ทั้งนี้ บุคลากร
จ ะ ได้ พั ฒ น าทั ก ษ ะ ต น เอ งให้ มี ค ว า ม
เชย่ี วชาญมากย่งิ ขึ้น เกดิ การถ่ายทอด

การเปน็ วิทยากรภายใน 3

ความรู้ระหว่างบุคลากรด้วยกันเอง ทาให้องค์กรมีบุคลากรที่มี
ความรู้ ความเช่ียวชาญในงานด้านต่างๆ และความรู้ท่ีมีอยู่ในตัว
บุคลากรจะคงอยู่กับองค์กรต่อไป อันเป็นการแปลงความรู้ที่อยู่ใน
ตัวบุคคล (Tacit Knowledge) ให้เป็นความรู้ภายนอก (Explicit
Knowledge) โดยมีการจัดทาเป็นส่ือ
การสอน การทาเอกสารประกอบการ
บรรยาย ทาให้เกิดการบริหารจัดการ
ความรู้ในองค์กร (Knowledge Management: KM) ขึ้น ซ่ึงจะ
เปน็ ประโยชน์กบั องค์กรทั้งในภาวะปกติ และภาวะที่องคก์ รประสบ
ปัญหาสมองไหล (Brain Drain) ได้ ดังน้ัน การเป็นวิทยากรภายใน
จึงเป็นการพัฒนาตัวบุคลากรเอง และรักษาองค์ความรู้ในองค์กร
ซึ่งวิท ย ากรภ าย ใน เห ล่าน้ี จะส ร้างให้ เกิด องค์กรแห่ งการเรียน รู้
(Learning Organization) ต่อไปได้

 รปู แบบของการเปน็ วทิ ยากร

รูปแบบของการเป็นวทิ ยากรจะแบง่ เป็น 2 รูปแบบ กล่าวคือ
1) วิทยากรภายในหน่วยงาน คือ เป็นผู้ที่มีความรู้และ
ความสามารถในการถ่ายทอดความรู้ให้กับ
ค น ใ น ห น่ ว ย ง า น ห รื อ อ ง ค์ ก ร เข้ า ใ จ ไ ด้
ซ่ึงค่าใช้จ่ายที่เกิดข้ึนจากการบรรยายโดย
วิทยากรภายในจะใช้งบประมาณไมม่ ากนัก

4 การเป็นวทิ ยากรภายใน

เน่อื งจากมอบหมายให้บุคลากรที่เป็นบุคคลภายในสอนกันเอง
2) วิทยากรภายนอกหน่วยงาน คือ เป็นผู้ที่มีความรู้

ประสบการณ์ และความชานาญในการทางานจนสามารถถ่ายทอด
ความรู้ และประสบการณ์ต่างๆ
ให้กับผู้ฟังที่มาจากต่างองค์กรกัน
ซ่ึงมีความประสงค์ที่จะเข้ารับการ
อ บ ร ม เพ่ื อ แ ล ก เป ล่ี ย น แ ล ะ รั บ รู้
ประสบการณ์ใหม่ๆ จากวิทยากร

ภายนอก ซ่ึงองค์กรจะต้องจัดสรรงบประมาณค่าใช้จ่ายต่อคน
สาหรบั การอบรมในแตล่ ะครัง้

 ขัน้ ตอนการเปน็ วทิ ยากรภายในหน่วยงาน

การพัฒนาความสามารถของบุคลากร โดยมอบหมายให้เป็น
วิทยากรภายใน ผู้บังคับบัญชาจะต้องปฏิบัติตามแนวทางและข้ันตอน
ดงั ตอ่ ไปนี้

1) ข้นั ตอนการกาหนดคณุ สมบตั ิของวทิ ยากร
ผู้บังคับบัญชาจะต้องกาหนดคุณสมบัติ
ของผู้ที่จะเป็นวทิ ยากรภายในองค์กร
ก่ อ น เพ่ื อ เป็ น เก ณ ฑ์ ใน ก าร
พิจารณ าเลือกบุคลากรที่จะ
มอบหมายใหท้ าหน้าทีว่ ทิ ยากร

การเป็นวทิ ยากรภายใน 5

2) ขั้นตอนการสารวจความเช่ียวชาญของเจา้ หนา้ ท่ี
ผู้ท่ีจะเป็นวิทยากรควรมีความรู้ ความเช่ียวชาญในเรื่องท่ี
จะส อน เป็ น อย่ างดี ดั งนั้ น ผู้บั งคั บ บั ญ ช าค วรส ารวจว่า
ผู้ ใต้ บั งคั บ บั ญ ช าค น ใด มี ค ว าม
เชย่ี วชาญเพียงพอ และท่ีสาคัญต้องมี
ความสนใจหรือเต็มใจที่จะพัฒนาใน
การเปน็ วิทยากร
3) ขั้นตอนการออกแบบ
หลักสูตร บุคลากรที่ได้รับการคัดเลือก หรืออาสาที่จะเป็นวิทยากร
ภายในจะต้องกาหนดหัวข้อที่จะสอน (Course Outline) ข้ึนมาก่อน
เพื่อหารือกับผู้บังคับบัญ ชา และเพ่ือให้การสอนตรงตาม
วตั ถปุ ระสงค์
4) ข้ันตอนการเตรียมตัวเป็นวิทยากร บุคลากรท่ีได้รับ
การคัดเลือกจะต้องมีความเข้าใจถึงบทบาท รวมถึงหลักการ

แล ะศิ ล ป ะต่ างๆ ใน ก ารเป็ น วิท ยาก ร
ผู้บังคับบัญชามีส่วนอย่างมากในการฝึกฝน
และให้ขอ้ มูลป้อนกลับ (Feedback) รวมถึง
การให้คาปรึกษาแนะนาแก่เจ้าหน้าที่ท่ีทา
หน้าที่เป็นวิทยากรภายใน ทั้งนี้ เพ่ือให้
เจ้าหน้าท่ีปรับปรุงและพัฒนาตนเองให้มี
ทกั ษะในการสอนต่อไป

6 การเปน็ วิทยากรภายใน

5) ข้ันตอนการติดตามและประเมินผล ผู้บังคับบัญชา
สามารถติดตามผลการประเมินวิทยากรได้จากแบบประเมินผลการ

จัดฝึกอบรม และควรมีการพูดคุย
แบบตัวต่อตัวกับเจ้าหน้าท่ี เพื่อให้
คาแนะนา และปรับปรุงในด้านต่างๆ
รวมถึงการยกย่องชมเชยหากเจา้ หน้าท่ี
คนนน้ั สามารถเปน็ วิทยากรได้ดี

 คุณสมบตั ขิ องวิทยากรท่ีดีและมีประสิทธภิ าพ

1. คุณลักษณะทัว่ ไป
1.1 ม่ันใจในตนเอง เตรียมพร้อม ซ้อมดี มีส่ือและวิธีการ

ทเี่ หมาะสม
1.2 เป็นคนช่างสังเกต คอยสังเกตพฤติกรรมทางกาย

วาจา ตลอดจนกระบวนการของกลุ่มผู้เข้ารับการอบรม
1.3 มีความคิดริเริ่มสรา้ งสรรค์
1.4 แกป้ ญั หาเฉพาะหนา้ เกง่
1.5 มกี ารวางแผนทด่ี ี ทง้ั เนือ้ หาและ

ลาดับข้ันตอนการนาเสนอรวมทั้งสื่อและ
เครือ่ งมอื การสือ่ สาร

1.6 มีมนุษยสัมพันธท์ ่ีดแี ละประสานงานเก่ง

การเป็นวิทยากรภายใน 7

1.7 มีบุคลิกภาพท่ีดี มีความเป็นกัลยาณมิตร ย้ิมแย้ม
แจม่ ใส เป็นกันเอง

1.8 มคี วามจริงใจในการถา่ ยทอดความรู้
1.9 เป็นนักประชาธิปไตย มีความ
ยืดหยุ่น รับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น เมื่อมี
ผู้เสนอความคิดเห็นที่แตกตา่ งออกไป
1.10 ปฏิบัติตนต่อผู้เข้ารับการ
อบรมอยา่ งเสมอภาค ทดั เทยี ม วางตนเหมาะสมกบั ทกุ คน

2. ตอ้ งรู้จริง
2.1 ตอ้ งเปน็ คนรอบรู้ ศกึ ษาหาความรู้อย่เู สมอ
2.2 ตอ้ งรู้รายละเอียดในเรอื่ งนน้ั อยา่ งเพียงพอ
2.3 ต้องเข้าใจเหตผุ ลของรายละเอียดน้ัน
2.4 ต้องรสู้ มมตฐิ านหรือความเป็นมาของสิง่ น้นั
2.5 ต้องสามารถประยกุ ต์สิ่งนั้นให้เห็นเป็นจริงได้

3. ถา่ ยทอดเป็น
3.1 มีเทคนิคต่างๆ เช่น การบรรยาย การนาอภิปราย

การสัมมนา กรณีศึกษา การจัดทากิจกรรม ฯลฯ เพ่ือทาให้เกิด
ความรู้ เข้าใจง่าย ได้สาระ

3.2 พูดเป็น คือ พูดแล้วทาให้ผู้ฟังเข้าใจตามที่พูดได้อย่าง
รวดเร็ว สามารถพูดเรือ่ งยาก ซบั ซ้อน ใหเ้ ข้าใจงา่ ย

8 การเปน็ วิทยากรภายใน

3.3 ฟังเป็น คือ ต้ังใจฟัง ฟังให้
ตลอด ขณะที่ฟังต้องควบคุมอารมณ์
ขณะที่ฟังอย่าคิดคาตอบทันที ควรฟัง
ความหมายมากกว่าถอ้ ยคา
3.4 นาเสนอเปน็ ประเดน็ และสรุปประเดน็ ใหช้ ดั เจน
3.5 มีอารมณ์ขัน สร้างบรรยากาศในการอบรมได้อย่าง
เหมาะสม
3.6 มีประสิทธิภาพในการอบรม สามารถเช่ือมโยงทฤษฎี
เข้ากบั การปฏบิ ตั ิได้ดีมองเหน็ เปน็ รูปธรรม
3.7 ใช้ภาษาพูดได้ดี เป็นภาษาง่ายๆ รู้จักเลือกภาษาให้
ตรงกับเนือ้ หา ความตอ้ งการ และพืน้ ฐานความรู้ของผู้ฟงั

4. มีหลักจติ วทิ ยาในการสอนผ้ใู หญ่
4.1 ความสนใจในการรบั ฟังจะเกิดขึน้ จากการรบั รู้ถึงเรื่อง

ทว่ี ิทยากรจะพดู หรอื บรรยาย
4.2 มุ่งประโยชน์ในการรับฟัง

เป็นสาคญั
4.3 จะตั้งใจและเรียนรู้ได้ดี

ถ้ า วิ ท ย า ก ร แ ย ก เรื่ อ ง ท่ี ส อ น อ อ ก เป็ น
ประเดน็ หรอื ข้นั ตอน

การเปน็ วิทยากรภายใน 9

4.4 จะเรียนรไู้ ดด้ ถี ้าได้ฝึกปฏิบตั ิไปพรอ้ มๆ กับการรับฟัง
4.5 จะเรียนรู้ได้ดียิ่งขึ้น ถ้าฝึกแล้วได้ทราบผลของการ
ปฏบิ ตั อิ ยา่ งรวดเรว็
4.6 จะเรยี นรู้ได้ดีเมื่อมกี ารฝกึ หัดอย่เู สมอ
4.7 จะเรียนรู้ได้ดีเมื่อเปิดโอกาสให้ใช้เวลาในการทาความ
เข้าใจ อย่าเร่งรัด เพราะแต่ละคนมีความสามารถในการเรียนรู้
ต่างกัน

5. มีจรรยาบรรณของวทิ ยากร
5.1 เมื่อจะสอนต้องม่นั ใจว่ามีความรจู้ ริงในเร่อื งท่ีจะสอน
5.2 ต้องมุ่งประโยชน์ของผู้ฟัง

เปน็ ทต่ี ้งั
5.3 ไม่ควรฉกฉวยโอกาสในการ

เป็นวิทยากรเพ่ือแสวงหาผลประโยชน์
ส่วนตวั

5.4 ความประพฤตแิ ละการปฏิบัติตนของวทิ ยากร ควรจะ
สอดคลอ้ งกับเรอ่ื งที่สอน

10 การเป็นวทิ ยากรภายใน

 บทบาทและหน้าที่สาคัญของวิทยากร

 วทิ ยากรคือ…ผู้ท่ีทาใหเ้ กดิ การเรียนรู้ (Instructor)
บทบาทน้ีวิทยากรจาเป็นต้องมีความรู้ ความเข้าใจในเรื่อง

หรือหลักสูตรที่ถ่ายทอดน้ันๆ ได้อย่างถ่องแท้ในข้ัน “รู้แจ้ง”
หมายถึง รู้อย่างกระจ่างแจ้งชัดเจน สามารถตอบคาถามต่างๆ ได้
หากวิทยากรมีความรู้ไม่มากพอ ก็ยากท่ีจะทาให้ผูเ้ ข้าอบรมเกิดการ
เรียนรู้ได้ เพราะวิทยากรจะต้องทาให้ผู้เข้าอบรมเกิดความรู้
ความเข้าใจในเรื่องหรือหลักสูตรท่ีวิทยากรถ่ายทอด จนสามารถ
เปล่ียนแปลงทัศนคติและพฤติกรรมไปตามวัตถุประสงค์ของเร่ือง
หรือหลักสูตรนัน้ ๆ

 วทิ ยากรคอื …ผูฝ้ ึก (Trainer)
บทบาทน้ีมีความสาคัญต่อการเป็นวิทยากรที่สมบูรณ์แบบ

อีกบทบาทหนึ่ง เพราะการเป็นผู้ฝึก ไม่ใช่เร่ืองง่าย นอกจากต้องมี
ความรู้เก่ียวกับเร่ืองหลักสูตรที่อบรมแล้ว
วิทยากรจาเป็นต้องมีความรู้ความเข้าใจ
เกี่ยวกับผู้เข้าอบรมด้วยว่ามีคุณสมบัติ
หรือพื้นความรู้เป็นอย่างไร การเป็น
วิทยากรในบทบาทนี้ ส่วนใหญค่ ือ

การเปน็ วิทยากรภายใน 11

หลักสูตรหรือเร่ืองท่ีเก่ียวกับการอบรมเชิงฝึกปฏิบัติ เช่น หลักสูตร
ศิลปะการพูดสร้างแรงจูงใจ เทคนิคการเป็นพิธีกร หรือวิทยากร
มืออาชีพ ฯลฯ

 วิทยากรคอื …พี่เล้ยี ง (Mentor)
บทบาทน้ีวิทยากรต้องทาหน้าที่

เป็นพ่ีเลี้ยงคอยให้คาปรึกษาให้กาลังใจ
แนะแนวทางต่างๆ เพ่ือทาให้ผู้เข้าอบรม
มีความรู้ ความเข้าใจ จุดประกายความคิด
สามารถเปลยี่ นแปลงพฤติกรรม และปฏิบตั ติ ามจนประสบผลสาเร็จ
ตามเป้าหมายของการอบรมสัมมนาท่ีวางไว้ ในบทบาทพ่ีเล้ียง
วิทยากรต้องมีมนุษยสัมพันธ์ ย้ิมแย้มแจ่มใส อารมณ์ดี จึงจะ
สามารถทาบทบาทนไ้ี ดด้ ี

 วิทยากรคอื …ผสู้ อน (Teacher)
บทบาทน้ีเป็นอีกบทบาทหน่ึงท่ีสาคัญของวิทยากร การ

ถ่ายทอดความรู้เพ่ือทาให้ผู้เข้าอบรมเกิดความเข้าใจ วิทยากรต้อง
ทาหน้าท่ีเป็นครูผูส้ อนด้วย การพูดด้วยเสียง
ท่ีดังชัดเจน สอนด้วยการยกตัวอย่าง
ประกอบ เปรียบเทียบ จะทาให้ผู้เข้าอบรม
เปลี่ยนแปลงทศั นคตจิ นสามารถจุดประกาย

12 การเป็นวิทยากรภายใน

ความคิดเปล่ียนแปลงพฤติกรรมเป็นไปตามวัตถุประสงค์ของเร่ือง
หรือหลกั สูตรน้ันๆ ได้ ด้วยจิตวญิ ญาณของการเป็นครู

 วทิ ยากรคือ…ผ้บู รรยาย (Lecturer)
การบรรยายของวิทยากรเปน็ บทบาท

หลักเลยก็ว่าได้ แต่ที่สาคัญ วิทยากรจะ
บ ร ร ย า ย อ ย่ า ง ไร ท่ี จ ะ ท า ให้ ผู้ ฟั ง ห รื อ ผู้ เข้ า
อบรม ไม่เบ่ือ หรือหลับเสียก่อน บรรยาย
อย่างไรที่จะทาให้สนุกสนานตื่นเต้น เรียงลาดับข้ันตอนได้อย่าง
ชัดเจนเข้าใจง่าย และได้เน้ือหาสาระครบถ้วน บทบาทน้ีก็ต้อง
ฝกึ ฝนอยา่ งมากเช่นเดียวกนั

 ทักษะและบุคลิกภาพท่ีจาเปน็ สาหรับการเป็นวิทยากร

1. ใจตอ้ งมากอ่ น
คนเราถ้ามีใจทาอะไรก็ง่าย เพราะใจรัก อยากที่จะทา
อยากท่ีจะเป็น เจอปัญหาอุปสรรคก็ฟันฝ่า
ไปได้ แต่ถ้าใจไม่รัก ทาอะไร ก็ไม่ประสบ
ความสาเร็จ ดังนั้น ประการแรกท่านต้องมี
ใจรักการเปน็ วทิ ยากรเสียก่อน

การเปน็ วทิ ยากรภายใน 13

2. ต้องมคี วามร้จู รงิ ในเรื่องทจ่ี ะถ่ายทอดอยา่ งชัดเจน
การเป็นวิทยากร หรือเป็นนักพูดท่ีเก่งน้ัน ต้องมีความรู้

มาก และหลากหลาย โดยเฉพาะเรอื่ งท่ีจะบรรยาย ต้องรู้อย่างทะลุ
ปรุโปร่ง สามารถเข้าใจเรื่องท่ีจะถ่ายทอดได้อย่างกระจ่างแจ้ง
ชัดเจน ส่วนความรู้อื่นๆ ก็ต้องมีรอบด้าน ไม่ว่าจะเป็นนิทาน เรื่อง
ตลกขาขัน ความรู้รอบตัวอ่ืนๆ อีกมากมาย การเป็นคนรักการ
เรยี นรจู้ ะสามารถทาใหเ้ ราเป็นวิทยากรทเ่ี กง่

3. มคี วามคิดริเรม่ิ สรา้ งสรรค์
ความคิดของคนเรามี 2 ด้าน

ด้านหนึ่งบวก อีกด้านหนึ่งลบ การคิดลบ
ทาให้จิตใจหดหู่ ห่อเห่ียว หมดความหวัง
หมดกาลงั ใจ การคิดบวกกอ่ ใหเ้ กิดความหวัง พลังใจ มแี รงทีจ่ ะต่อสู้
ปัญหาอุปสรรค มคี วามคิดสร้างสรรค์ คิดสิ่งแปลกใหม่ ได้ตลอดเวลา
คุณสมบัติของผู้ท่ีต้องการฝึกฝนเป็นวิทยากรในข้อน้ีก็คือการมี
ความคิดริเร่ิมสร้างสรรค์ เพราะเวลาถ่ายทอดให้ความรู้ ก็จะเป็น
ความรู้ท่ีดีๆ ความรู้ที่สร้างสรรค์ ผู้เข้าอบรมก็จะได้แนวความคิด
จากการฟังบรรยาย นาไปปฏิบัติให้เกิดประโยชน์ทาให้ผู้ท่ีเป็น
วิทยากรไดร้ บั การตอบรบั มากยิง่ ขนึ้

14 การเปน็ วทิ ยากรภายใน

4. มีมนุษย์สัมพนั ธ์ดี
การเป็นคนร่าเริง ย้ิมแยม้ แจ่มใสเป็นกันเอง ทาให้มีเสน่ห์

มีแต่คนอยากเข้าใกล้ เป็นคุณสมบัติอีกข้อหนึ่งที่ควรมีสาหรับการ
เป็นวิทยากร รอยย้ิมของวิทยากร จะทาให้ผู้เข้าสัมมนา ฟังอย่าง
ตั้งใจ คงไมม่ ีใครอยากฟงั วิทยากรหน้าบึ้ง ฝึกย้ิมเสียแต่วนั นี้เพอ่ื เป็น
วิทยากรทด่ี ใี นวนั หนา้

5. ช่างสังเกต
การพูด การถ่ายทอดเน้ือหา

สาระ ต้องหม่ันสังเกตผู้ฟังว่ารู้สึกอย่างไร
การเรียนรู้ภาษากาย มีความจาเป็นอย่างยิ่ง
เพราะจะทาให้เราสามารถรไู้ ด้ว่า ผู้ฟงั ตอบรับ
การพูดของวทิ ยากรได้มากนอ้ ยแคไ่ หน

6. มไี หวพรบิ ปฏภิ าณ แก้ไขเหตกุ ารณ์เฉพาะหนา้ เกง่
คณุ สมบัติข้อน้ีขาดไม่ได้ เพราะเหตกุ ารณ์ต่างๆ ที่เกิดขึ้น

บางครั้งเกินความคาดหมาย การมีไหวพริบปฏิภาณคิดไวทาไว
แก้ไขเหตุการณ์เฉพาะหน้าได้ เป็นคุณสมบัตอิ ีกข้อหน่ึงของวิทยากร
ทตี่ อ้ งฝึกฝน

7. มคี วามเชื่อมน่ั ในตนเอง
วิทยากรเป็นยงิ่ กว่าผูน้ า ผู้นาสามารถ

นาคนอืน่ ได้ แต่ผู้นาอาจจะไม่ใช่วิทยากร ผ้นู า

การเปน็ วิทยากรภายใน 15

มคี วามเชือ่ ม่ันวทิ ยากรจึงตอ้ งมีความเชื่อมั่นมากกว่า หากไม่มีความ
เชอื่ ม่นั ไม่มคี วามมัน่ ใจในเรื่องทบ่ี รรยาย ในเรื่องที่ถา่ ยทอด จะไม่มี
ผใู้ ดเช่ือถือ ความเช่ือม่ันจะแสดงออกมาทางน้าเสียง สีหน้า แววตา
ข้อมูล คาพูด ท่าทาง บุคลิกภาพ การพูดที่มีหลักการ การพูดที่มี
น้าเสยี งทรงพลังจะช่วยเสริมสร้างความเช่อื ม่ันให้เกดิ ขน้ึ ได้

8. มกี ารวางแผนทด่ี ี
นักพูดที่ดี วิทยากรท่ีดีต้องมี

คุณสมบัติเรื่องการวางแผน การวางแผน
การพูดให้ไปตามลาดับขั้นตอน ถือเป็นเรื่อง
สาคัญสาหรับการถ่ายทอด เพราะจะทาให้
ผู้ฟังเข้าใจเร่ืองท่ีได้รับการถ่ายทอดอย่างกระจ่างแจ้งชัดเจน การขาด
การวางแผนจะทาให้การพูดวกไปวนมา ทาให้เกิดความล้มเหลวใน
การพดู ไม่ประสบความสาเร็จในการเปน็ วทิ ยากร

9. มคี วามจรงิ ใจต้ังใจใหค้ วามรู้
คุณสมบัติข้อน้ีเป็นคุณสมบัติพื้นฐานของ
การเป็นวิทยากรมืออาชีพ ความจริงใจ
ตั้ ง ใ จ ม า ก น้ อ ย แ ค่ ไห น สั ม ผั ส ได้ ไม่ ย า ก
ระหว่างวทิ ยากรกบั ผู้ฟังการสมั มนา

16 การเปน็ วิทยากรภายใน

10. มีลีลาแบบฉบบั เปน็ ของตวั เอง
การมีลีลาแบบฉบับของนักพูด หรือวิทยากรท่ีเป็นตัว

ของตวั เองจะทาให้ผฟู้ ังจาได้แม่นยา โดดเด่น เป็นเอกลักษณ์ ดังน้ัน
ต้องหาลลี าแบบฉบบั ทเี่ ป็นของวทิ ยากรเอง

11. ทาให้ผู้เขา้ สัมมนามีส่วนรว่ มในการบรรยาย
การพูด คือการส่ือสารระหว่างผู้พูดกับผู้ฟัง แต่การ
บรรยาย คือการพู ดสื่อสารระห ว่าง
วทิ ยากรกับผู้เข้าอบรม หากวทิ ยากรพูดไป
ผู้ฟังก็เงียบ นานเข้าบรรยากาศก็จะน่าเบ่ือ
ดังนั้น การสร้างบรรยากาศให้ผู้ฟังหรือ
ผู้เข้าสัมมนามีส่วนร่วม เป็นคุณสมบัติ
ข้อสาคญั ทตี่ ้องฝกึ ฝนอยา่ งหนัก

12.บุคลิกภาพการแต่งกายโดดเด่น ดูดีมีสง่า วางตัว
เหมาะสมเป็นวิทยากร

การแต่งกายท่ีเหมาะสม บุคลิกภาพ
ดูดี โดดเด่น เป็นที่เคารพเล่ือมใสต่อผู้พบเห็น
ไม่ว่าจะเป็นบนเวทีหรืออยู่ข้างล่างเวที นับว่ามี
ความสาคญั อย่างยงิ่

การเป็นวทิ ยากรภายใน 17

 หวั ใจหลกั ของการเปน็ วิทยากร

1. รจู้ รงิ ในเนอ้ื หา
วิ ท ย า ก ร ต้ อ ง มี ค ว า ม เชี่ ย ว ช า ญ ห รื อ ศึ ก ษ า ค้ น ค ว้ า

ในสาขาวิชา และความรู้ท่ีตนเองจะบรรยายได้ถูกต้องชัดเจน
ต้องรู้กว้าง รู้ลึกซึ้ง โดยเฉพาะหากมี
ประสบการณ์ตรงท่ีจะนามาเล่าสู่กันฟัง
ก็จะเป็นส่ิงท่ีดี จะทาให้ผู้เข้าอบรม
มองเห็นภาพของเร่ืองท่ีบรรยายชัดเจน

และส่ิงสาคัญคือ หากมีทฤษฎีใดๆ ที่หยิบยกมา ควรจะกล่าวอ้างถึง
ที่มาด้วยเพอื่ เป็นการใหเ้ กียรตผิ ทู้ เี่ ปน็ เจา้ ของตวั จริง

2. รู้วชิ าการถ่ายทอด
การถ่ายทอดความรู้นั้นถือเป็นหัวใจหลักของเนื้อหาท่ีจะ

บรรยาย เพราะหากผเู้ ข้ารับการอบรมไม่เข้าใจ ก็จะทาให้การอบรม
น่าเบ่ือหรือไม่สามารถนาไปใช้งานได้จริง วิทยากรต้องถ่ายทอด
ความรู้จากตัวตน (Tacit Knowledge) ไปยังผู้ฟังด้วยภาษาง่ายๆ
หลีกเลี่ยงภาษาวิชาการ คาศัพท์เฉพาะ (Technical Term) หรือ
แม้กระทั่งภาษาอังกฤษ เพราะผู้ฟังอาจจะไม่เข้าใจในเร่ืองท่ีเราจะ
นาเสนอ อีกท้ังการบรรยาย ก็ควรจะมีเร่ืองหนัก เบา เข้มข้น
แตกต่างกันออกไปบ้าง โดยเฉพาะอารมณ์ขัน จาเป็นที่จะต้อง
สอดแทรกเป็นชว่ งๆ ตามความเหมาะสม

18 การเปน็ วทิ ยากรภายใน

3. รตู้ ่อยอดความแปลกใหม่
ปัจจุบันเทคโนโลยีเข้ามามีบทบาทเป็นอย่างมากกับ
การดาเนินชีวิต คอมพิวเตอร์จึงเป็นสิ่งที่
มีประโยชน์ในการบรรยาย อีกทั้งถ้า
วิทยากรเรียนรู้โปรแกรมพ้ืนฐาน เช่น
Microsoft Word, Microsoft PowerPoint

ก็ จ ะท าให้ มี ลู ก เล่ น ม ากม าย ท่ี จ ะน าม าใช้ ป ร ะก อ บ ก ารบ รร ย าย
และเพ่ือลดอาการท้อแท้และเบ่ือหน่ายกับการบรรยาย อาจลอง
ป รั บ เป ลี่ ย น บ ร ร ย า ก า ศ จ า ก ค ว าม เค รี ย ด ค ว า ม ก ด ดั น เห ล่ า น้ั น
ให้เกิดภาพท่ีแตกต่างกันออกไป โดยพยายาม
ค้นหาสื่อ เช่น โฆษณา แผ่นพับ หรือการ
เรียนรู้ในแบบที่แตกต่าง เรียกว่าการสรรค์
ส ร้ างน วั ต ก ร รม ให ม่ ๆ (Innovation)
ที่ แ ป ล ก แ ห ว ก แ น ว จ า ก ก า ร บ ร ร ย า ย
โดยทั่วไป เช่น การพูดคุยแลกเปลี่ยนเรียนรู้ระหว่างกัน การนา
ปัญหามาคุยกันและระดมสมอง (Brainstorm) เพื่อให้แต่ละคน
คิดหาวิธีการเพ่ือแก้ไขปัญหาที่เกิดขึ้นจริง เพ่ือให้ผู้เข้าอบรมรู้สึกว่า
ไม่ใช่การอบรม แต่เป็นการแลกเปล่ียนเรียนรู้ระหว่างกัน
(Knowledge Sharing)

การเป็นวทิ ยากรภายใน 19

4. ร้ใู สใ่ จในผูฟ้ งั
วิทยากรต้องรู้ว่าผู้ที่เข้ามารับการฟังบรรยายน้ันเป็น
กลุ่มคนแบบไหน อาชีพอะไร นั่นคือต้อง
วิเคราะห์ผู้ฟังให้ชัดเจน เพ่ือท่ีจะได้ใช้
ภาษาและการสื่อความหมายได้ถูกต้อง
เข้าใจง่าย พยายามให้ผู้เข้าอบรมเกิด
ค ว า ม รู้ สึ ก ว่ า วิ ท ย า ก ร ใ ห้ ค ว า ม ส า คั ญ

สนใจและเป็นห่วง หม่ันถาม หมั่นกระตุ้นให้เกิดแนวร่วม เพื่อช่วย
สรา้ งบรรยากาศในการบรรยาย

5. รยู้ ับยัง้ กิริยา
กิริยาอาการของวทิ ยากรก็เป็นเรื่องสาคัญท่ีละเลยไม่ได้

โดยเฉพาะเร่ืองของบุคลิกภาพด้านการแต่งกาย และการใช้ภาษาพูด
ต้องสุภาพให้เกียรติผู้ฟัง การเรียกช่ือผู้เข้าอบรม หรือการเชื้อเชิญ
ให้ตอบคาถามก็ควรใช้การผายมือเชิญอย่างสุภาพ ไม่ใช่การช้ีนิ้ว
เพราะเหมือนกบั การสั่งและกดดนั ผูเ้ ข้าอบรม

6. รเู้ วลาจบบรรยาย
วิทยากรบางท่านใส่อารมณ์ในการบรรยายมากเกินไป

จนลืมเวลาจบการบรรยาย ทงั้ ๆ ท่ีไม่เกีย่ วกบั เรื่องท่ีจะพูดเท่าที่ควร
จงึ อาจทาให้เนอื้ หาท่ีเตรียมไว้ท่ีมมี ากไม่สามารถบรรยายได้ทันเวลา
ดงั น้ัน จงึ ต้องเรง่ บรรยายจนผ้เู ข้าอบรมฟังไมท่ ัน

20 การเปน็ วิทยากรภายใน

 ปจั จยั แหง่ ความสาเรจ็ ในการพัฒนาวิทยากรภายใน

การพัฒนาความสามารถของบุคลากรด้วยการเป็นวทิ ยากร
จะประสบความสาเร็จได้นัน้ ขนึ้ อยู่กบั ปจั จัยหรือเงือ่ นไข ดงั ต่อไปนี้

1) การเป็นวิทยากรภายในไม่เพียงจะต้องรู้ลึก รู้จริงและ
เข้าใจในเร่ืองท่ีจะสอนเท่าน้ัน แต่ต้อง
ตระหนักว่าจะทาอย่างไรให้ผู้ฟังเข้าใจ
และเชื่อในส่ิงที่กาลังเรียนอยู่ ดังนั้น
องค์กรจะต้องสร้างความม่ันใจถึงแนวทางของการเป็นวิทยากรที่ดี
ด้วยการจัดหาผู้เช่ียวชาญ หรือส่งเจ้าหน้าที่ไปอบรมเทคนิ คและ
วิธีการเป็นวิทยากรที่ดี

2) การมอบหมายเป็นวิทยากร เป็นการเพิ่มภาระหน้าท่ี
ให้กบั เจ้าหน้าที่นอกเหนือจากงานประจา
ดังน้ัน ผู้บังคับบัญชาควรหาวิธีกระตุ้น
และสร้างแรงจูงใจให้กับบุคลากร เช่น
การยกย่องชมเชยต่างๆ เพราะการเป็น

วิทยากร เจ้าหน้าที่จะต้องมีความเสียสละร่วมด้วย การมอบ
ประกาศนียบัตรให้แก่วิทยากรภายใน การนามาใชเ้ ป็นเกณฑ์ในการ
วดั ผลงานของเจา้ หนา้ ท่ี และบางองค์กรได้มกี ารจดั สรรค่าตอบแทน
ให้กับวิทยากรภายในเป็นรายชั่วโมง

การเป็นวิทยากรภายใน 21

3) ทกั ษะการสอนของวิทยากร เน่ืองจากบุคลากรที่เชี่ยวชาญ
ในการทางานจะสามารถเปน็ วิทยากรท่ีดีได้ ในระดับผู้บรหิ ารก็สามารถ

เป็นวิทยากรที่ดีได้ด้วย ดังน้ัน ผู้บังคับบัญชา
ควรคานึงถึงความเหมาะสม และควร
พั ฒ น า บุ ค ล า ก ร ดั ง ก ล่ า ว ให้ มี ทั ก ษ ะ ที่ ดี
ในการปฏิบัติหน้าที่เป็นวิทยากร หรือให้
ระยะเวลาในการเตรยี มความพรอ้ มในการเปน็ วิทยากรด้วย
4) การคัดเลือกบุคคลที่จะมาเป็นวิทยากรภายในมีความ
สาคัญมาก นอกจากจะเป็นบุคลากรท่ีมี
คณุ สมบตั ิตามเกณฑ์ท่ีกาหนดแล้ว พื้นฐาน
ส า คั ญ ข อ งผู้ ที่ จ ะ ม า เป็ น วิ ท ย า ก ร ก็ คื อ
จะต้องเป็นบุคคลที่ชอบพัฒนาตนเอง
ผู้อื่น และเป็ นคนที่ มองโลกในแง่ดี
ตลอดจนมคี วามเตม็ ใจและมีความพร้อมทจ่ี ะทาหนา้ ทเ่ี ป็นวทิ ยากร

 ประโยชน์ของการมวี ิทยากรภายใน

 วิทยากรภายในมีความเข้าใจองค์กรและทราบข้อจากัดต่างๆ
มากกวา่ วิทยากรภายนอก

 มคี วามคล่องตัวในการบรหิ ารการฝกึ อบรมมากกวา่ เม่ือใด
ทีต่ อ้ งการให้มีการฝึกอบรมก็เพยี งแคป่ ระสานงานภายใน

22 การเปน็ วิทยากรภายใน

 ขอ้ มูลการดาเนินธุรกิจหรอื กระบวนการผลิตบางอยา่ งเปน็
ความลับ

 ใช้ทรพั ยากรบคุ คลท่ีมีอยู่ให้เกิดประโยชนส์ ูงสดุ
 บุคลากรท่เี ปน็ วทิ ยากรภายในเกดิ ความภาคภูมิใจและ
ได้รบั การยอมรบั นบั ถือ
 การจัดทาค่มู ือผูส้ อนและการมวี ิทยากรภายในทาให้แนวคิด
และวธิ ปี ฏิบตั งิ านเป็นไปในทิศทางเดียวกัน
 สะดวกในการปรับปรุงและพฒั นาหลักสูตรให้สอดคล้องกบั
กระบวนการทางธรุ กิจทีเ่ ปลีย่ นแปลงตลอดเวลา
 ประหยดั คา่ ใช้จา่ ย

บรรณานุกรม

กองฝึกอบรม กรมที่ดิน. (2553). แนวทางการพัฒนารายบุคคล.
กรุงเทพมหานคร: กองการพมิ พ์ กรมท่ีดิน.

กร การันต.ี (2555). วิทยากรมบี ทบาทสาคญั เป็นได้มากกว่าที่คิด.
คน้ เมอ่ื 22 กุมภาพนั ธ์ 2561, จาก
http://www.richtraining.com/2012/11/102/

มหาวทิ ยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรวี ชิ ยั . (2543). เทคนคิ การเปน็
วทิ ยากรมอื อาชีพ. คน้ เมื่อ 22 กมุ ภาพันธ์ 2561, จาก
http://nrei.rmutsv.ac.th/sites/default/files/km/เทคนิค
การเป็นวิทยากรมืออาชีพ.pdf

รชั นกี ร สอนศรีสม. (2548). การสรา้ งวทิ ยากรภายในองค์กรเพื่อ
ถา่ ยทอดความรู้. คน้ เมื่อ 23 กมุ ภาพันธ์ 2561, จาก
https://www.gotoknow.org/posts/1119

ศนู ยว์ ิทยพัฒนา มหาวิทยาลัยสโุ ขทยั ธรรมาธริ าช อบุ ลราชธานี.(2558).
วิทยากรฝึกอบรม. ค้นเมื่อ 22 กุมภาพนั ธ์ 2561, จาก
http://www.stou.ac.th/Offices/rdec/ubon/upload/
trniner.pdf

สถาบันพลังจิตตานภุ าพ วดั ธรรมมงคล. (2558). บทบาทและ
หน้าทีส่ าคัญของวิทยากร. ค้นเม่ือ 23 กุมภาพันธ์ 2561, จาก
http://www.mettadham.ca/expert9.htm

คณะผูจ้ ดั ทำ

ท่ีปรึกษำ

1. นางสพุ นิ ดา นาคบวั ผอู้ านวยการกองฝึกอบรม
2. นายวินยั ผจญศิลป์ นักทรพั ยากรบุคคลชานาญการพเิ ศษ
หวั หน้ากลุม่ งานสง่ เสรมิ และ
พฒั นาการเรียนรู้ กองฝึกอบรม

คณะผ้จู ดั ทำ

1. นางสาวจันทรท์ พิ ย์ มีทรัพยม์ าก นักทรัพยากรบคุ คลชานาญการ

กองฝกึ อบรม

2. นางสาวกันยารัตน์ กรวทิ ยโยธิน นักทรพั ยากรบคุ คลชานาญการ

กองฝึกอบรม

3. นายพรพเนตร โมะเมน นกั ทรพั ยากรบุคคลชานาญการ

กองฝกึ อบรม

4. นายกฤต จโิ นวัฒน์ นกั ทรพั ยากรบคุ คลปฏิบตั ิการ

กองฝกึ อบรม

5. นางสาวณทิ ชาภัทร เทพพิทักษ์ นักทรพั ยากรบุคคลปฏบิ ตั กิ าร

กองฝึกอบรม


Click to View FlipBook Version