The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search

การศึกษาดูงาน​ (ปี 2556)

กองฝึกอบรม

Keywords: ด้านทั่วไป

การศึกษาดูงาน

กองฝกอบรม กรมที่ดิน
กระทรวงมหาดไทย



คํานํา

ในฐานะที่กองฝกอบรมเปนหนวยงานที่รับผิดชอบเกี่ยวกับ
การพฒั นาบุคลากรของกรมทีด่ ิน ใหมีความรู สรางเสริมประสบการณ
ใหเกิดทกั ษะ และทศั นคติทีด่ ีตอการปฏิบตั ิงานตามความตองการของ
กรมทีด่ ิน จากภารกิจนี้ ทําใหกองฝกอบรมตระหนักถึงการที่จะทาํ ให
ผูเขารบั การอบรมในแตละหลกั สูตรไดรับความรู ทกั ษะและทัศนคติอยาง
เตม็ ทีเ่ พือ่ ประโยชนตอตัวผูเขารบั การอบรมและกรมที่ดิน

ในการฝกอบรมนั้น นอกจากจะเกิดการเรียนรูภายในชั้นเรียน
แลว การเรียนรูยังเกิดจากสภาพแวดลอมนอกช้ันเรียนไดอีกดวย การ
ศึกษาดูงานก็เปนวิธีการหนึ่งที่จะทําใหเกิดการเรียนรูจากสภาพแวดลอม
ภายนอก ผูเขารบั การอบรมสามารถเปรียบเทียบสิง่ ที่ไดพบเห็นจากการ
ไปศึกษาดูงานกับสภาพการปฏิบตั ิงานจริงในหนวยงานของตน ทาํ ใหเกิด
แนวคิดในการพัฒนาและปรับปรุงแกไขการปฏิบตั ิงานใหดียิ่งขึ้น ดงั น้ัน
เพื่อใหการศึกษาดูงานเกิดประโยชนสูงสุด ซึง่ จะตองมีแนวทางในการ
ดาํ เนินการอยางเปน ระบบและมีหลักเกณฑ กองฝกอบรมจึงไดจัดทํา
คําแนะนําเกี่ยวกับการศึกษาดูงานขึ้น กองฝกอบรมหวังเปนอยางยิ่งวา
ผูเขารับการอบรมและเจาหนาที่บริหารโครงการจะไดรับประโยชนจาก
เอกสารนี้ตามทีไ่ ดต้ังเจตนารมณไว

กองฝกอบรม กรมที่ดิน
มกราคม 2556



สารบญั

● ความหมาย หนา
● วิธีการศึกษาดงู านใหเกิดประสิทธิภาพ 1
● การเตรียมการกอนการศึกษาดงู าน 1
● การศึกษาดูงาน 2
● แบบบนั ทึกขอมลู การศึกษาดงู าน 4
● แบบตรวจสอบการสังเกตการศึกษาดูงาน 9
● การประเมินผลการศึกษาดงู าน 10
● แบบวดั และประเมินผลการเขียนรายงานการศึกษาดงู าน 11
● บทสรปุ 13
14
ภาคผนวก
● แนวทางการเขียนรายงานการศึกษาดงู าน 17
● แบบฟอรมการปรบั ปรุงงาน 21
23
– แบบการวิเคราะหงานเพื่อการปรบั ปรงุ งาน 24
– รปู แบบการเขียนโครงการปรบั ปรงุ งาน



การศึกษาดูงาน ●

การศึกษาดูงาน

การบริหารงานขององคการจะประสบความสําเร็จไดขึ้นอยูกับ
ความมีคณุ ภาพของบคุ ลากรในองคการนั้นเปน สวนสาํ คัญ การพฒั นา
บุคลากรจึงเปนปจจัยสําคัญในการบริหารงานที่จะชวยใหการปฏิบัติงาน
ดาํ เนินไปอยางมีประสิทธิภาพ การเรียนรูของบคุ ลากรเกิดขึ้นไดไมจาํ กดั
แตในช้ันเรียนและเกิดไดตลอดเวลา ดวยวิธีการที่หลากหลาย เชน
การมอบหมายงาน การสอนงาน การหมุนเวียนงาน การใหคาํ ปรึกษา
การศึกษาดูงาน และการเรียนรูดวยตนเอง เปนตน ในการฝกอบรมนั้น
การใหความรูแกผูเขารับการอบรมนอกจากจะใหเกิดการเรียนรูจาก
การถายทอดของวิทยากร หรือสื่อการสอนตางๆ ในช้ันเรียนแลว ยงั เกิด
จากการเรียนรูจากสภาพแวดลอมนอกช้ันเรียนไดอีก ซึ่งวิธีการพัฒนา
บุคลากรในรปู แบบนี้กค็ ือ การศึกษาดงู าน

● ความหมาย

การศึกษาดงู าน เปนกระบวนการเรียนรูนอกสถานที่ฝกอบรม
ที่จะชวยใหผูเขารับการอบรมไดรับประสบการณตรงจากการไปเรียนรูใน
สถานทีจ่ ริง หรือไดศึกษาวิธีการทํางานของหนวยงานอื่น แลวนาํ มาเปน
แนวทางในการพัฒนา/แกไขปรับปรงุ งานของตนใหดียิง่ ขึ้น ซึง่ ถือวาเปน
สวนที่เปน ประโยชนอยางยิง่ ของการฝกอบรม

● วิธีการศึกษาดูงานใหเกิดประสิทธิภาพ

ในการศึกษาดงู านนั้น หลายคนอาจนึกถึงรูปแบบของกิจกรรม
สนั ทนาการ หรือเปนการเปลีย่ นบรรยากาศไปจากสภาพการบรรยาย
ในชั้นเรียน แตจริงๆ แลว การศึกษาดูงานใหประโยชนมาก ท้ังในดาน

1

● การศกึ ษาดูงาน

ความรู ความเขาใจ ความคิด ความสัมพันธ และการทาํ งานเปนทีม ฯลฯ
ซึ่งถือเปนตัวชวยกระตุนใหเกิดการเรียบรูรวมกัน รวมท้ังแลกเปลี่ยน
ประสบการณและความคิดเห็นในดานตางๆ รวมกัน ในสถานการณ
เดียวกันเพือ่ นํามาปรับปรงุ แกไขปญหาในการปฏิบตั ิงานใหดียิ่งขึ้น หาก
การไปศึกษาดูงานมีการดําเนินการอยางมีข้ันตอนและเปนระบบก็จะ
ทาํ ใหไดประโยชนจากการศึกษาดงู านมิใชนอย ซึง่ การดําเนินการควร
แบงออกเปน 3 สวน คือ

1. การเตรียมการกอนการศึกษาดูงาน
2. การศึกษาดงู าน
3. การประเมินผลการศึกษาดงู าน

1. การเตรียมการกอนการศึกษาดงู าน

ก อ น ก า ร ศึ ก ษ า ดู ง า น ผู บ ริ ห า ร โ ค ร ง ก า ร จ ะ ต อ ง ว า ง แ ผ น
เตรียมการลวงหนา เพือ่ เปน การเตรียมการดําเนินการและเตรียมผูดูงาน
ดวย ซึ่งในการศึกษาดงู านน้ันเปนการจดั ประสบการณตรงใหแกผูเขารบั
การอบรม จึงควรเตรียมการลวงหนาเพือ่ การนี้ โดยดาํ เนินการดงั นี้

1.1 กําหนดวัตถุประสงคหรือจุดมุงหมายของการศึกษาดูงาน
ใหชดั เจน วาตองการใหเกิดผลอยางไรหรือสามารถทําอะไรได ทั้งนี้อาจ
จะกําหนดจากวัตถุประสงคของเนื้อหาวิชาในหลักสูตร และเพิ่มเติม
รายละเอียดในการศึกษาดงู านจริงเขาไปดวยกไ็ ด

1.2 เลือกสถานที่ที่จะไปศึกษาดูงานวาจะไปดูงานหนวยงานใด
จงึ จะบรรลวุ ตั ถปุ ระสงคท ต่ี ง้ั ไว และหารายละเอยี ดเกย่ี วกบั หนว ยงานนน้ั ๆ
ไว เพือ่ ใชประกอบการศึกษาลวงหนาแกผูดูงาน เชน รายงานประจาํ ป
ของหนวยงานน้ัน ผลงานดีเดน ปญ หา อุปสรรค ของหนวยงาน เปนตน
เมื่อเลือกสถานที่แลวควรจะกําหนดขอบเขต/รายละเอียดของสิ่งที่

2

การศกึ ษาดงู าน ●

ตองการจะดใู หแนนอนชดั เจน เชน ถาตองการดงู านดานการรักษาความ
ปลอดภัย ตองระบุใหชดั เจนไปวาจะเปนการดูงานทางดานใด จะเปน ดาน
บคุ ลากร ดานเทคโนโลยี หรือสถานที่ ท้ังนี้เพื่อความสะดวกตอหนวยงาน
ที่จะไปศึกษาดงู านในการเตรียมการใหขอมูล และเพือ่ ความสะดวกใน
การประเมินผลการศึกษาดงู านอีกดวย

1.3 เตรียมผูจะไปดูงานใหมีความรู ความเขาใจในหนวยงานที่
จะไปดูงาน ไดแก

- สรางทัศนคติเชิงบวก โดยชี้แจงใหผูดูงานเขาใจถึง
วัตถุประสงค/ขอบเขตของการศึกษาดูงานและใหเห็นถึงความสําคัญของ
การศึกษาดูงาน ดวยการมองเหน็ ถึงขอดีที่จะกอใหเกิดประโยชนตอตวั
ผูดงู าน ทีมงาน และหนวยงาน

- ใหผ ดู งู านไดศ กึ ษาขอ มลู เอกสารทเ่ี กย่ี วขอ งกบั หนว ยงาน
ที่จะไปศึกษาดูงาน เพือ่ เปนการเตรียมตวั ในการซักถามปญหาตางๆ

- จัดใหมีการบรรยายสรุปเกี่ยวกับหนวยงานนั้นกอนที่จะ
เขาไปศึกษาดงู าน

- แบงงานใหผูศึกษาดูงานพิจารณาในรายละเอียด
ของหัวขอที่จะไปศึกษาดูงานและกําหนดหนาที่วาใครเปนผูคนหา
รายละเอียดในเรื่องใด อยางไร ทั้งนี้ จะตองใหผูดูงานทราบถึงสิ่งที่
รับผิดชอบ พรอมทั้งเหน็ ภาพรวมของการศึกษาดูงานทั้งหมด และทราบ
วาสวนทีต่ นรับผิดชอบอยูน้ันสมั พันธกบั สวนอืน่ อยางไร

- กาํ หนดใหมีการรายงานผล โดยแบงเปนกลุมก็ได
1.4 การติดตอประสานงานกับหนวยงานที่จะไปศึกษาดูงาน
เพื่อใหขอมูลวาตองการจะศึกษาดูงานดานใด อยางไร โดยแจงขอบเขต
และวัตถปุ ระสงคของการศึกษาดงู านใหหนวยงานดังกลาวทราบ เพื่อ
หนวยงานนั้นจะไดเตรียมการใหตรงตามวัตถปุ ระสงคทีเ่ ราตองการ

3

● การศกึ ษาดงู าน

2. การศึกษาดงู าน

การศึกษาดงู านอาจจะมีทั้งระยะสั้น ระยะยาว และการ
ศึกษาดงู านเฉพาะเจาะจงหรือเฉพาะเรือ่ ง เชน ดงู านดานการจัดเกบ็
เอกสารอยางเปนระบบ หรือดูงานดานการจดทะเบียนโดยใชระบบ
คอมพิวเตอร เปนตน แตกอนทีจ่ ะเขาไปในรายละเอียดเฉพาะเรือ่ งควร
จะรับฟงบรรยายสรุปของหนวยงานนั้นตามที่ไดเตรียมการไวกอนเพื่อรับ
ฟงขอมูลตางๆ ใหเห็นภาพรวมทั้งหมดกอน หลังจากนั้นจึงจะศึกษาหรือ
หาขอมูลในรายละเอียดตามวตั ถปุ ระสงคทีก่ ําหนดไว โดยจะแบงผูดงู าน
ออกเปน กลุมๆ ไปตามหัวขอวิชาที่ไดจัดแบงหนาทีค่ วามรบั ผิดชอบไว
แลว สาํ หรบั วิธีการในการหาขอมลู หรือรายละเอียดอาจทําไดหลายวิธี
เชน การสัมภาษณ การสงั เกต การใชแบบตรวจสอบ

2.1 โดยการสัมภาษณ ซักถามปญหา หรือสนทนากลุม
การสัมภาษณ เปน วิธีการเกบ็ ขอมูลที่ใชกนั มากในทาง

สงั คมศาสตร ซึง่ จะมีลักษณะใหญๆ 2 ลกั ษณะ คือ
2.1.1 การสัมภาษณที่มีโครงสรางแนนอน (Structured)

กลาวคือ เปน การสมั ภาษณทีม่ ีการตั้งคาํ ถามไวกอน และอาจมีแนว
คําตอบไวเลือก ซึ่งอาจเรียกไดวาเปน การสัมภาษณโดยใชแบบสอบถาม
(Interviewing) จึงเปนการตั้งคาํ ถามที่คอนขางเปน ทางการ และไมอาจ
จะถามไดอยางลึกซึ้ง แตมีขอดีทีส่ ามารถเตรียมการลวงหนาได สะดวก
ในการสัมภาษณ และงายตอการวิเคราะห ซึง่ ลักษณะของคําถามทีด่ ี
ควรจะมีลกั ษณะดังนี้

- เปน ขอความทีผ่ ูตอบเขาใจงายและสามารถตอบได
- เปน ขอ ความงา ยๆ ไมม คี าํ ปฏเิ สธซา้ํ ๆ ในขอ เดยี วกนั
จนทําใหผูตอบสับสน

4

การศึกษาดูงาน ●

- เปนขอความที่ไมใชประธานหรือกรรมของประโยค
มากกวาหนึ่ง

- ไมเปนขอความที่สรางความอึดอัดหรือไมสบายใจ
แกผูตอบ

- ไมเปน ขอความทีแ่ สดงความกาวราวแกผูตอบ
- ไมเปนขอความที่ซักนําผูตอบใหตอบในทางใด
ทางหนึ่ง
- ไมเปนขอความทีอ่ าศยั คาํ พังเพยหรือสุภาษิต
2.1.2 การสมั ภาษณแ บบไมม โี ครงสรา งแนน อน (Unstructured)
เปนวิธีการที่เปดโอกาสใหผูถามและผูตอบมีอิสระในการถามและตอบ
และมีลกั ษณะเปน กันเอง อาจจะใชถามเกีย่ วกบั ทศั นคติ ความเชื่อและ
ขอเท็จจริงตางๆ ซึง่ จะลงในรายละเอียดไดลึกซึ้งมากกวาการสมั ภาษณ
แบบมีโครงสรางแนนอน (Structured) แตการสัมภาษณประเภทนี้ตอง
อาศัยผูที่มีความชํานาญและทักษะในการถามคําถามและสามารถ
ควบคุมประเดน็ ที่ถามมากกวาแบบแรก ซึ่งในการสมั ภาษณจะใชวิธีถาม
คําถามเปน หลัก คําถามทีใ่ ชสามารถแบงเปนกลุมใหญๆ ได 10 ประเภท
คือ

5

● การศึกษาดงู าน

ประเภทคาํ ถาม ตัวอยา ง

1. คาํ ถามนาํ ถาคุณเปนผูบงั คบั บัญชา คณุ จะ

ดาํ เนินการแกไขปญ หาโดยการพฒั นา

ผูใตบงั คบั บัญชาอยางไร

2. คําถามเพื่อหาขอมลู ตวั เลข ปริมาณงานเกิดของหนวยงานนี้มีจาํ นวน

หรือขอเทจ็ จริง กีร่ ายตอเดือน

3. คําถามตรง เพือ่ ถามคนใด คณุ สมศกั ดิ์ฯ มีหนาที่ควบคุมดานไหน

คนหนึง่ โดยเฉพาะ

4. คําถามกลุม เพือ่ ใหสมาชิก ระบบการทาํ งานที่ดีเปน อยางไรบางครับ

ในกลุมคนใดคนหนึ่งตอบก็ได

5. คาํ ถามคลมุ เครือ การพิจารณาคัดเลือกบคุ คลที่นี่คณุ คิดวา

เปน อยางไร

6. คาํ ถามขดั แยงกัน หวั หนางานของคุณขาดการชี้แนะในการ

ทํางานแกผูใตบงั คบั บญั ชาไหม

7. คําถามชวนใหคิด ที่มีคนกลาวกันวาคนที่ทํางานไดแสดงวาจะ

ตองมีผูใหญสนบั สนุน คุณมีความคิดเห็น

อยางไรบาง

8. คําถามยอนกลบั เมื่อมีคาํ ถาม ก. ถามวา “คําวา บทบาท หมายความวา

จากกลุมแลว ผูตอบไมตอบ อยางไร ครับ”

ข. “ทานอืน่ ๆ เหน็ วาอยางไรครบั คําวา

บทบาทนี้ เราควรพิจารณาถึงอะไรบาง”

9. คําถามทีต่ องการคําตอบวา คณุ เคยไปยโุ รปมาแลวใชไหม

“ใช” หรือ “ไมใช”

10. คําถามทีถ่ ามวา ทาํ ไม เมื่อไหร คณุ ไปเมือ่ ไหร

ที่ไหน หรือ อะไร ซึ่งมกั จะ

ถามตอจากคําถามวา “ ใช”

หรือ “ไมใช”

6

การศึกษาดูงาน ●

คําถามตางๆ เหลานี้ ถาใชอยางมีประสิทธิภาพจะชวยใหไดขอมลู
ตลอดจนรายละเอียดและความเขาใจทีล่ ึกซึ้งยิ่งขึ้น แตท้ังนี้ ตองขึ้นอยู
กบั การเตรียมการและทักษะในการถามคําถามของผูถามดวย

แตอยางไรก็ตามในการใชวิธีการสัมภาษณ ท้ัง 2 วิธีนี้ จะตอง
ทําความเขาใจในวัตถุประสงคที่ไปศึกษาดูงานใหเขาใจอยางถองแท
และทําความตกลงกันในกลุมผูไปศึกษาดูงานเกี่ยวกับวิธีการซักถาม
คําถาม กลาวคือ ตองพยายามซักถามใหครบทุกประเดน็ สอดคลองกบั
วัตถุประสงคและดาํ เนินการซักถามใหเปน ไปอยางราบรืน่ เปดโอกาส
ใหผูถูกสมั ภาษณแสดงความคิดเหน็ ไดอยางเตม็ ที่ ซึ่งถือเปน การสราง
ความรู ความเขาใจในทัศนคติของผูถูกสมั ภาษณในเรือ่ งนั้นๆ และทาํ ให
ไดขอมูลที่ลึกซึ้งยิ่งขึ้นนบั เปนประโยชนอยางยิ่ง

2.2 การสังเกต (Observation) การสงั เกตก็เปนอีกวิธีหนึ่งที่
สามารถใชในการเก็บขอมลู ซึง่ ทําไดโดยการดู การฟง และการบนั ทึก
ขอมลู การเกบ็ ขอมูลโดยการสังเกตนี้จะไดผลดีก็ตอเมือ่

- เปนการสังเกตที่ตอบสนองตอวัตถุประสงคของการ
ศึกษาดงู าน

- มกี ารวางแผนงานไวอ ยา งเปน ระบบ กลา วคอื จะตอ ง
กําหนดสิ่งที่ควรสังเกตและมีการวางหนาที่ใหชัดเจน ตลอดจน
ทําความเขาใจในเรือ่ งทีจ่ ะทาํ การสงั เกตใหถกู ตองตรงกนั ทกุ คน

- มีการบนั ทึกเหตกุ ารณเรือ่ งราวอยางเปน ระบบ (ไมใช
บันทึกสิง่ ที่ไมเกี่ยวของกับวัตถุประสงค)

- สิ่งที่สําคัญในการสังเกตก็คือ ขอมูลตองมีความ
นาเชือ่ ถือและสามารถตรวจสอบความถกู ตองได ท้ังนี้ ขึ้นอยูกับขอมูล
ที่เก็บมาไดน้ันจะตองเปนขอมลู ที่เปนกลาง ไมบิดเบือน ผูสังเกตจะตอง

7

● การศึกษาดงู าน
จดบันทึกหรือจดจําเหตุการณดวยความเปนกลาง ไมนําความนึกคิด
หรือคานิยมของตนไปสอดแทรกในการจดบันทึก ซึ่งจะทําใหขอมูล
บิดเบือนไปจากขอเทจ็ จริง

ขอสรุปสวนใหญที่ไดจากการสังเกตจะมาจากบันทึกเหตุการณ
ผูที่ทําหนาที่บนั ทึกเหตกุ ารณจะตองระลึกอยูเสมอวา จะตองจดบนั ทึก
เหตกุ ารณทีเ่ กิดขึ้นจริง ไมบิดเบือนขอมูล โดยนาํ ความรูสึกนึกคิดและ
คานิยมของตนลงไปตดั สินแลวจดบันทึก เพราะจะทาํ ใหขอมูลดังกลาว
ไมเปน กลาง ดังน้ัน ควรบันทึกอยางละเอียดและทําอยางนอย 2 คน
เพื่อจะไดนํามาตรวจทานความถกู ตองกนั อีกครั้ง และมีความมัน่ ใจมาก
ยิง่ ขึ้น ท้ังนี้ ผูบริหารโครงการ / วิทยากร อาจจดั ทําแบบบันทึกขอมูลการ
ดูงานใหแกผูดูงานก็จะสะดวกยิง่ ขึ้น ดังเชน ตัวอยางแบบบันทึกขอมูล
การศึกษาดูงานที่แสดงไวนี้

8

การศึกษาดูงาน ●

แบบบนั ทึกขอ มูลการศึกษาดูงาน

หนวยงานที่ศึกษาดงู าน......บ...ร..ิษ..ทั....ก..า..ร..บ..ิน...ไ.ท...ย...จ..ํา..ก...ดั ..........
วนั ที.่ ...1.2......เดือน...ก..ัน...ย..า..ย..น..........พ.ศ. ..2..5..5...3....

งาน/โครงการ/ สาระสําคญั ของ ประเดน็ ที่สนใจ ปญหาอุปสรรคและ
กิจกรรมสําคญั งาน/โครงการ/ นําไปประยกุ ตใช แนวทางการแกไข
ของหนวยงาน กิจกรรม เพื่อนําไปประยกุ ตใ ช
ที่ศึกษาดูงาน

การใหบริการ ใหบริการ การเดิน เจาหนาทีม่ ีความ เจาหนาทีข่ องกรมที่ดิน

เกี่ยวกับการเดิน ทางทางอากาศ พรอมในการให ตองปฏิบตั ิงานเกีย่ วของ

ทางทางอากาศ ท้ังภายในประเทศ บริการ กบั ขอกฎหมายและให

และตางประเทศ คําแนะนาํ ในการบริการ

ไปพรอมๆ กนั ในขณะที่

บริษัท การบินไทย จํากดั

เจาหนาทีจ่ ะใหคาํ แนะนํา

ในการบริการเพียง

อยางเดียว จึงดูแลดาน

การใหบริการไดเตม็ ที่

ลงชือ่ .........................................ผูบันทึก
( ......................................... )
กลุมที.่ .......

9

● การศึกษาดงู าน

2.3 การใชแบบตรวจสอบ (Check lists)
แบบตรวจสอบทใ่ี ชน ้ี ผรู บั ผดิ ชอบบรหิ ารโครงการจะตอ ง

กาํ หนดรายละเอยี ดใหส อดคลอ งกบั หวั ขอ หลกั สตู รทต่ี อ งการไปศกึ ษาดงู าน
หรือเปน รายละเอียดในกิจกรรมของเรือ่ งทีไ่ ปศึกษาดงู าน เพือ่ ใหผูดูงาน
ไดใชตรวจสอบเหตุการณหรือสถานการณที่กําหนดไว วาเกิดขึ้นหรือไม
อยางไร ซึ่งจะเปนแตเพียงแบบที่ใชตรวจสอบเทานั้น และควรใช
ควบคูไปกบั การสังเกต เชน ในการศกึ ษาดงู านเกย่ี วกบั เรอ่ื งการใหบ รกิ าร
ดงั ตวั อยา งทแ่ี สดงนเ้ี ปน แบบตรวจสอบทีใ่ ชควบคูกับการสังเกต

ตัวอยา งแบบตรวจสอบการสังเกตการศึกษาดงู าน

หลกั สตู ร....................................................................รุนที.่ ....................
หวั ขอเรือ่ งรายงานการศึกษาดงู าน.............................กลุมที.่ ..................
ขอใหใสเครื่องหมาย / ในรายการที่ทานพบในเรื่องเกี่ยวกับการใหบริการ
ของหนวยงานนี้

ลาํ ดบั รายการ ผลของการสังเกต
มี ไมม ี
1. พนกั งานแตงกายเปนระเบียบ สะอาด
2. พนกั งานมีอธั ยาศัยดี ยิ้มแยมแจมใส
3. พนกั งานมีความกระตือรือรนทีจ่ ะใหบริการ
4. สภาพแวดลอมของหนวยงานสะอาด เปนระเบียบ

และสะดวกสบาย
5. มีจุดแสดงข้ันตอนการใหบริการที่ชัดเจน

ลงชือ่ .........................................ผูสงั เกต
( ......................................... )

10

การศกึ ษาดงู าน ●

หลังจากดูงานแลว ควรจะประชุมกลุมระหวางผูที่ไปศึกษา
ดงู านดวยกนั ในหวั ขอเดียวกนั เพือ่ แลกเปลีย่ นความคิดเห็นและใหขอมลู
เพิม่ เติมซึง่ กนั และกนั จะทําใหขอมลู ที่ไดกวางขวางมากขึ้น หลงั จากนั้น
ผูบริหารโครงการควรจัดใหมีการรายงานผลการดูงานในที่ประชุมหรือ
จดั ทําเปน รายงานผลการศึกษาดูงาน

3. การประเมินผลการศึกษาดูงาน

การประเมินผลการศึกษาดูงานเปนสวนที่มีความสําคัญ
อยางมาก เพราะจะเปน ตัววัดและบอกไดวาการศึกษาดงู านนั้นบรรลุผล
ตามวตั ถปุ ระสงคที่กําหนดไวหรือไม ในการประเมินผลการศึกษาดูงาน
อาจทําไดโดยการสอบถามพูดคยุ หรือใชแบบสอบถามเปน เครื่องมือใน
การประเมินผลเพือ่ ใหทราบวา

– การศึกษาดูงานเปนไปตามวัตถปุ ระสงคที่กาํ หนดไวหรือไม
– องคประกอบใดที่ชวยใหการศึกษาดูงานประสบความสาํ เรจ็
– ผูศึกษาดูงานไดดูงานในสิง่ ที่ต้ังใจไวหรือไม เพราะเหตุใด
– ผูศึกษาดูงานมีความพอใจหรือไม เพราะเหตใุ ด
– การศึกษาดูงานนี้นาสนใจและเปน ประโยชนหรือไม
– หากมีการศึกษาดูงานอีก ควรจะมีการเปลี่ยนแปลงหรือ
ปรับปรงุ อะไรจึงจะทําใหการศึกษาดงู านไดผลดียิ่งขึ้น
นอกจากการประเมินผลการศึกษาดูงานดังกลาวแลว การ
รายงานผลการศึกษาดูงานที่ผูดูงานไดจัดทําขึ้นก็เปนสวนหนึ่งของการ
ประเมินผลการศึกษาดงู านดวย ผูบริหารโครงการ/วิทยากร จะตอง
ชี้แจงและแนะนําวิธีการ ข้ันตอน รูปแบบในการเขียนรายงาน รวมทั้ง
การประเมินผลการเขียนรายงานใหแกผูเขารับการอบรมทราบกอน

11

● การศึกษาดูงาน
ออกไปศึกษาดูงาน เพือ่ เปนการสรางความเขาใจและเตรียมตวั ลวงหนา
กอนจัดทํารายงาน ตัวอยางตอไปนี้จะแสดงแบบวัดและประเมินผล
การเขียนรายงานการศกึ ษาดงู าน ซง่ึ ผบู รหิ ารโครงการสามารถจดั ทาํ ไว
ลว งหนา ได สําหรับรปู แบบและแนวทางในการเขียนรายงานการศึกษา
ดงู านจะปรากฏอยูในภาคผนวก

12

การศึกษาดงู าน ●

แบบวดั และประเมินผลการเขียนรายงานการศึกษาดงู าน
หลักสตู ร ........................................................................รุนที.่ ...............
หวั ขอเรือ่ งรายงานการศึกษาดงู าน...................................กลุมที.่ ............
โปรดพิจารณาใหคะแนนของรายงานฉบบั นี้ โดยเลือกกรอกคะแนนใน
ชวงที่กาํ หนดไว

หวั ขอ ประเมิน
ขอที่ รายการประเมิน คะแนนเต็ม คะแนนที่ได

1. บทนํา
2. การสรปุ สาระของเรื่อง
3. การวิเคราะหเรือ่ ง
4. การเสนอแนะ
5. บทสรุป

รวม

ลงชื่อ ......................................... ผูตรวจ
( ......................................... )

13

● การศกึ ษาดูงาน

บทสรปุ

การศึกษาดูงานที่ดีจะเกิดขึ้นไดก็ตอเมื่อไดมีการเตรียมการที่ดี
มีการประสานงานและการใหขอมูลแกผูดูงานอยางเพียงพอเพื่อการ
เตรียมตัวกอนการไปศึกษาดูงาน และดําเนินการดูงานอยางถูกวิธี
ตลอดจนมีการประเมินผลอยางจริงจงั ทั้งนี้ ผูบริหารโครงการ/วิทยากร
จะตองใหความสําคัญตอการศึกษาดูงาน ไมทําใหผูดูงานรูสึกวาการ
ศึกษาดูงานเหมือนการไปพักผอนหรือเหมือนเปนการเปลี่ยนสถานที่หรือ
ผอนคลายความซํ้าซากจาํ เจในสถานที่เรียนประจํา แตจะตองพยายาม
ทําใหการศึกษาดงู านเกิดประโยชนสูงสดุ คุมคาตอคาใชจายทีไ่ ดลงทุนไป
ในแตละคร้ัง เพื่อประโยชนตอบคุ ลากรของหนวยงานและตอหนวยงาน
ดวย

14

ภาคผนวก



การศกึ ษาดูงาน ●

แนวทางการเขียนรายงานการศึกษาดงู าน

สําหรับแนวทางในการเขียนรายงานการศึกษาดูงานนั้น จะ
เปนไปตามหัวขอในรายการประเมินของแบบวัดและประเมินผลการ
เขียนรายงานการศึกษาดูงานที่ไดกําหนดไว โดยมีแนวทางในการเขียน
รายงาน ดังนี้

1. บทนํา

บทนําเปนเนื้อหาสวนเริ่มตนของการเขียนรายงานซึ่งเปนการ
นําเขาสูเนื้อเรื่อง จึงมีความสําคัญมาก

1.1 หลักการทั่วไปของการเขียนบทนํา
● ควรเขียนนําใหผูอานเขาใจถึงความเปนมา วัตถุประสงค

ประโยชนและขอบเขตของเรื่องที่ไปศึกษาดูงาน
● ควรกลาวนําใหผูอานเห็นความสําคัญ เหตุผลที่ตองไป

ศึกษาดูงาน
● ควรเขียนใหผูอานอยากอานเรื่องที่กําลังเขียนวาเปน

เรื่องที่สําคัญ มีความทาทาย และนาสนใจอยางไร
● ควรมีการใชภาษาที่เรียบงาย อานแลวเขาใจงาย

สอดคลอง กลมกลืน ไมสับสน วกไปเวียนมา
● การเขียนบทนําไมควรใหมีจํานวนหลายๆ หนา ควรมี

จํานวนหนาพอประมาณ จํานวน 2 - 3 หนา

17

● การศกึ ษาดงู าน

1.2 สว นประกอบของบทนาํ
การเขียนบทนาํ จะตองประกอบดวย
1.2.1 ความเปนมาและความสําคัญของการไปศึกษา

ดูงาน
ตองเขียนถึงความเปนมาและความสําคัญของการไป

ศึกษาดงู านวามีความเปนมาอยางไร มีความสาํ คญั อยางไร หรือมีความ
จําเปนอะไรที่ตองไปศึกษาดงู าน ควรกลาวนําใหผูอานทราบรายละเอียด
เกี่ยวกับหนวยงานทีไ่ ปศึกษาดูงานกอนดวย เชน

– ชือ่ และทีต่ ้ังของหนวยงาน
– หนาทีค่ วามรบั ผิดชอบ ลกั ษณะงานเปน ผลิตภณั ฑ

ผลิตผล หรือการใหบริการ
– รปู แบบการจดั องคกรและการบริหารองคกร
– เรื่องที่จะไปศึกษาดงู าน
1.2.2 วตั ถปุ ระสงคข องการไปศึกษาดูงาน
ตองเขียนอธิบาย ชี้แจง ใหทราบถึงวตั ถปุ ระสงคของการไป
ศึกษาดูงานเรื่องนั้นๆ
1.2.3 ประโยชนที่คาดวา จะไดรับ
ตองเขียนอธิบายชี้แจงใหทราบประโยชนของการศึกษา
ดงู านเรือ่ งนั้นๆ โดยจะตองตอบวัตถปุ ระสงคตามที่ต้ังไว

2. การสรุปสาระของเรือ่ ง

เปนการสรปุ รายละเอียดเกีย่ วกบั เรือ่ งที่ไปศึกษาดูงาน ซึ่งจะ
ตองอธิบายหรือชี้แจงใหทราบถึง

– ขอบเขตของเรือ่ งที่ไปศึกษาดงู าน วามีขอบเขตครอบคลุมถึง
เรือ่ งอะไร แคไหน เพียงใด

– ขั้นตอนการดําเนินการของเรื่องที่ไปศึกษาดงู าน
– แสดงรูปภาพ แผนภมู ิ ตาราง ฯลฯ ประกอบคาํ อธิบาย (ถามี)

18

การศกึ ษาดงู าน ●

3. การวิเคราะหเรือ่ ง

การเขียนรายงานการวิเคราะหจะตองครอบคลุมสาระสําคัญ
ของเรื่องที่ไปศึกษาดูงาน และควรใชภาษางายๆ เรียบเรียงโดยใช
ความคิดเปน ของตนเอง ประกอบดวย

– ขอมูลและการสงั เกตจากที่ไปศึกษาดงู าน
– จุดเดนของเรือ่ งที่ไปศึกษาดงู าน
– ปญหาอปุ สรรคทีพ่ บ สงผลกระทบอยางไร มีผลกระทบมาก

ในระดับใด
– แนวคิดทีไ่ ดจากการศึกษาดูงาน

4. การเสนอแนะ

เมื่อวิเคราะหเรื่องเสร็จและพบกบั ปญหาอปุ สรรค ตลอดจน
ทราบถึงผลกระทบตางๆ แลว สดุ ทายกเ็ สนอแนะวิธีการแกไข หรือ
เสนอขอคิดเหน็ เกีย่ วกบั ทางออกของปญหานั้น สวนขอดีไมตองเอามา
เสนอ การเสนอแนะจะทําก็ตอเมือ่ พบขอเสีย หรือตองการใหเกิดสิง่ ที่
ดีและเหมาะสมกวา หากเปน การเขียนขอเสนอแนะสาํ หรับการศึกษา
ดูงานในครั้งตอไป จะเปน การนําเสนอวา การไปศึกษาดงู านในคร้ังตอไป
ควรคาํ นึงถึงอะไรบาง หรือควรไปศึกษาดงู านเรื่องอะไรอีกบาง หรือควร
ปรบั ปรุงวิธีดําเนินการอยางไร ขอเสนอแนะตองเปน ขอเสนอทีไ่ ดจากการ
วิเคราะห ไมใชขอเสนอแนะในเชิงทฤษฎีทีไ่ มไดมาจากขอคนพบในการ
วิเคราะห และตองเปนเรื่องทีเ่ กี่ยวของกบั เรือ่ งที่วิเคราะห

5. บทสรุป

นําสิ่งที่ไดจากการไปศึกษาดูงานมาเปรียบเทียบกับงานใน
หนวยงานของตน และสรปุ การไปศึกษาดูงานวาไดอะไรจากการไปศึกษา
ดงู าน และจะนําไปปรับปรงุ อะไร อยางไร

19

● การศกึ ษาดูงาน

(รูปแบบการเขียนรายงาน)
รายงานการศึกษาดงู าน
สถานที่ศึกษาดูงาน...................................
วนั ที่.........................................

1. เรื่องทีไ่ ปศึกษาดูงาน.........................................................................................
2. บทนาํ

2.1 ความเปนมาและความสําคญั .....................................................................
.................................................................................................................
.................................................................................................................

2.2 วตั ถปุ ระสงค..............................................................................................
.................................................................................................................
.................................................................................................................

2.3 ประโยชนที่คาดวาจะไดรับ.........................................................................
.................................................................................................................
.................................................................................................................

3. การสรปุ สาระของเรือ่ ง......................................................................................
........................................................................................................................
........................................................................................................................

4. การวิเคราะหเรือ่ ง..............................................................................................
........................................................................................................................
........................................................................................................................

5. การเสนอแนะ....................................................................................................
........................................................................................................................
........................................................................................................................

6. บทสรปุ ..............................................................................................................
........................................................................................................................
คณะผูจัดทํา

ชือ่ –สกุล.........................................................ตาํ แหนง...........................................
ชือ่ –สกลุ .........................................................ตาํ แหนง...........................................
ชื่อ–สกุล.........................................................ตาํ แหนง...........................................

ภาคผนวก

รูปภาพประกอบ

20

แบบฟอรม
การปรับปรุงงาน



การศึกษาดูงาน ●

แบบการวิเคราะหง านเพือ่ การปรบั ปรุงงาน

ชือ่ งานทีจ่ ะพฒั นา / ปรบั ปรงุ ...................................................................
.............................................................................................................
.............................................................................................................
.............................................................................................................

วตั ถปุ ระสงค
1. ..............................................................................................
2. ..............................................................................................
3. ..............................................................................................

ระยะเวลาดําเนินการ.............................................................................

ประโยชนทีจ่ ะไดรบั
1. ..............................................................................................
2. ..............................................................................................
3. ..............................................................................................

ขนั้ ตอนการปฏิบัติงาน สาเหตทุ ีพ่ ัฒนา/ปรับปรงุ แนวทางการพฒั นา/ปรบั ปรงุ

แบบวิเคราะหฯ นี้ สงใหผูเขารบั การฝกอบรมกอนจะเขาฝกอบรม
เพื่อเปนการเตรียมการ

23

● การศกึ ษาดูงาน

รปู แบบการเขียนโครงการปรบั ปรุงงาน

1. ชือ่ งานทีจ่ ะพฒั นา/ปรบั ปรงุ ...............................................................
........................................................................................................

2. สาเหตุที่พัฒนา/ปรับปรุง...................................................................
........................................................................................................
........................................................................................................

3. วตั ถปุ ระสงค
3.1 .................................................................................................
3.2 .................................................................................................
3.3 .................................................................................................

4. ระยะเวลาดําเนินการ........................................................................

5. แนวทางการพฒั นา/ปรบั ปรงุ .............................................................
........................................................................................................
........................................................................................................
........................................................................................................

6. ประโยชน..........................................................................................
........................................................................................................
........................................................................................................
........................................................................................................

24






Click to View FlipBook Version