The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search

​​คู่มือศูนย์ข้อมูลข่าวสารของราชการ กรมที่ดิน (ปี 2559)

สำนักงานเลขานุการกรม

Keywords: ด้านทั่วไป

คมู อื ศนู ยข อมูลขา วสารของราชการ
กรมท่ดี นิ

สํานกั งานเลขานุการกรม
กรมท่ดี นิ

คาํ นํา

นบั ต้ังแตพระราชบัญญัติขอมูลขาวสารของราชการ พ.ศ. 2540 มีผลบังคับใชได
กาํ หนดใหหนวยงานมขี อมูลขา วสารของราชการ ไวใหประชาชนเขาตรวจดูได พรอมทั้งกําหนดให
มีสถานทีส่ ําหรบั ประชาชนสามารถใชใ นการคนหา ศึกษา และตรวจสอบขอมลู ขา วสารของราชการ
โดยจัดตั้ง “ศูนยขอมูลขาวสารของราชการตามพระราชบัญญัติขอมูลขาวสารของราชการ พ.ศ.
2540”

ดังน้ัน คูมือศูนยขอมูลขาวสารของราชการ กรมท่ีดิน เลมนี้จัดทําข้ึนเพ่ือใชเปน
แนวทางสาํ หรบั การปฏบิ ัตงิ านใหบ รกิ ารขอ มูลขาวสารแกประชาชนผมู าขอรบั บริการ ณ ศนู ยข อ มูล
ขาวสารของราชการภายในหนว ยงาน เพอ่ื ใหประชาชนสามารถติดตามและตรวจสอบการดําเนินงาน
ของรฐั จึงหวังเปนอยางย่ิงวาคูมือเลมนี้จะเปนแนวทางในการปฏิบัติงานของเจาหนา ท่ี และสราง
ความเขา ใจในวิธกี ารเขา ถึงงานบริการของศูนยข อมูลขา วสารของราชการ แกผขู อรบั บริการ

สาํ นกั งานเลขานุการกรม กรมทดี่ ิน

สารบญั หนา
1
ความเปนมาของพระราชบญั ญัติขอมูลขา วสาร 1
ความหมายของขอ มลู ขา วสารของราชการ 1
เจตนารมณของพระราชบัญญัตขิ อ มูลขา วสารของราชการ
บทบัญญัติท่ีเปนกุญแจในการเปด เผยขอมูลขาวสารของราชการ 2
ศูนยข อ มูลขา วสารของราชการ
หนาท่ีของศนู ยข อมลู ขา วสาร 5
หลกั เกณฑ และวธิ กี ารเกย่ี วกับการจัดใหม ีศนู ยขอ มูลขา วสาร 5
คาธรรมเนียมการขอสําเนา หรอื ขอสําเนาท่ีมีคํารบั รองถกู ตองของขอ มลู ขาวสารของราชการ กรมท่ีดนิ 5
คําอธิบายและตัวอยางขอ มูลขาวสารตามมาตรา 7 และ 9 7
10

ภาคผนวก 14
17
ประกาศคณะกรรมการขอ มลู ขาวสารของราชการ เรอื่ ง หลักเกณฑและวธิ กี ารเกี่ยวกับการจดั ใหม ี 19
ขอมูลขาวสารของราชการไวใหป ระชาชนเขา ตรวจดู
ประกาศคณะกรรมการขอมลู ขาวสารของราชการ เรื่อง การเรียกคาธรรมเนียมการขอสาํ เนาหรือ 20
ขอสาํ เนาทม่ี คี าํ รับรองถูกตองของขอมูลขา วสารของราชการ
ประกาศคณะกรรมการขอ มูลขาวสารของราชการ เรอ่ื ง กําหนดใหข อมลู ขา วสารเกี่ยวกับการ 22
ประกวดราคาและสอบราคาของหนว ยงานของรฐั เปน ขอมลู ขาวสารท่ตี อ งจัดไวใ หประชาชนเขา 27
ตรวจดูได ตามมาตรา 9 (8)
ประกาศคณะกรรมการขอมูลขา วสารของราชการ เรอ่ื ง กาํ หนดใหขอมลู ขา วสารเกี่ยวกับผลการ 30
พิจารณาการจัดซื้อจัดจา งของหนวยงานของรัฐเปน ขอมลู ขา วสารทตี่ อ งจดั ไวใ หประชาชนเขา
ตรวจดไู ด ตามมาตรา 9 (8) 34
ประกาศคณะกรรมการขอมูลขา วสารของราชการ เรอื่ ง การกําหนดใหข อมูลเกีย่ วกบั ส่ิงแวดลอ ม 35
และสุขภาพเปน ขอ มูลขา วสารท่ตี องจดั ไวใ หประชาชนเขาตรวจดไู ดตามมาตรา 9 (8) 36
ประกาศคณะกรรมการขอ มูลขา วสารของราชการ เร่ือง กําหนดใหข อ มลู ขาวสารเกี่ยวกบั ผลการ 37
พจิ ารณาการจดั ซ้ือจดั จางของหนวยงานของรัฐเปนขอมลู ขาวสารทต่ี อ งจดั ไวใหป ระชาชนตรวจดู
ไดม าตรา 9 (8) (แบบ สขร. 1 ปรบั ปรงุ 1 มีนาคม 2558)
ประกาศคณะกรรมการขอ มูลขา วสารของราชการ เรอ่ื ง กําหนดใหขอมูลขาวสารตามเกณฑ
มาตรฐานความโปรง ใสและตวั ชวี้ ัดความโปรงใสของหนว ยงานของรฐั เปนขอมลู ขา วสารท่ตี อ งจดั ไว
ใหป ระชาชนตรวจดไู ดต ามมาตรา 9 (8)

แบบฟอรม คําขอขอ มลู ขา วสาร

แบบฟอรม หนังสืออุทธรณ

แบบฟอรมดชั นแี ฟม สืบคนขอ มลู ขาวสาร

ตัวอยางการจัดขอมลู ขาวสารเก็บเขา แฟมตามอนุมาตรา

1

ความเปน มาของพระราชบญั ญตั ขิ อ มูลขา วสาร

แนวความคิดท่ีจะใหมีกฎหมายรับรองสิทธิของประชาชนชาวไทยในการรับรูขอมูลขาวสาร
ของราชการไดมีการเคลื่อนไหวและเรียกรองจากนักวิชาการและส่ือมวลชนมาเปนลําดับ ตั้งแตกอนท่ีจะเกิด
กรณีเหตุการณในเดือนพฤษภาคม 2535 หลังจากเหตุการณด ังกลาว รัฐบาลนายอานันท ปนยารชุน ซ่ึงให
ความสําคัญกับการมีกระบวนการบริหารงานท่ีโปรงใส ไดใหความเห็นชอบในการจัดตั้งคณะกรรมการเพื่อ
ยกรา งกฎหมายวาดว ยขอมูลขาวสารของราชการขน้ึ ทาํ ใหแนวคดิ เก่ียวกับกฎหมายขอมลู ขาวสารของราชการ
แพรหลายออกไปอยางกวางขวาง ทุกรัฐบาลตอมาก็สนับสนุนใหมีกฎหมายน้ีจะเห็นไดจากการแกไข
รัฐธรรมนูญฉบับ พ.ศ.2534 มาเปนฉบับ พ.ศ.2540 ไดบัญญัติในมาตรา 58 วา “บุคคลยอมมีสิทธิไดรับ
ทราบขอมูลหรือขาวสารสาธารณะในครอบครองของหนวยราชการ หนวยงานของรัฐ.... เวนแตการเปดเผย
ขอ มลู นนั้ จะกระทบตอ ความมน่ั คงของรฐั ความปลอดภยั ของประชาชน....”

จนกระท่ังในสมัยของ พลเอกชวลิต ยงใจยุทธ เปนนายกรัฐมนตรี พ.ร.บ. ขอ มูลขาวสารของ
ทางราชการ ไดประกาศลงในราชกิจจานุเบกษา เม่อื วันที่ 10 กันยายน 2540 และมีผลบังคับใชเมอ่ื วันที่ 9
ธนั วาคม 2540 ซงึ่ ถือเปนกฎหมายท่ีไดร ับรองสิทธริ ับรูขอ มลู ขาวสารตาง ๆ ท่เี กยี่ วกับการดําเนินการของรัฐ
แกประชาชนสงผลใหประชาชนมีโอกาสรูถึงสิทธิหนาที่ สามารถรักษาประโยชนของตนไดอยางเต็มท่ีโดยมี
ขอยกเวน อันไมตอ งเปด เผยท่แี จงชัด และจาํ กดั เฉพาะขอมลู ขาวสารที่หากเปดเผยแลวจะเกิดความเสียหายตอ
ประเทศชาติหรือตอประโยชนที่สําคัญของเอกชน รวมท้ังเปนการพัฒนาระบอบประชาธิปไตยใหมั่นคง
ตลอดจนเปนการคุมครองสทิ ธสิ วนบคุ คลในสวนทีเ่ กยี่ วขอ งกบั ขอมูลขา วสารของราชการไปพรอ มกันดว ย

ความหมายของขอมลู ขา วสารของราชการ

“ขอ มูลขา วสาร” หมายความวา สิง่ ท่ีส่ือความหมายใหรูเรอื่ งราวขอ เทจ็ จรงิ ขอ มลู หรือส่ิงใด ๆ
ไมว า การสื่อความหมายนน้ั จะทําไดโดยสภาพของสงิ่ น้นั เองหรอื โดยผานวิธีการใด ๆ และไมวาจะไดจ ัดทําไวใน
รปู ของเอกสาร แฟม รายงาน หนังสอื แผนผัง แผนท่ี ภาพวาด ภาพถา ย ฟลม การบันทึกภาพหรือเสียง การ
บนั ทึกโดยเครื่องคอมพวิ เตอร หรอื วิธอี ืน่ ใดทีท่ ําใหสงิ่ ท่ีบนั ทกึ ไวปรากฏได

“ขอมลู ขาวสารของราชการ” หมายความวา ขอมลู ขาวสารท่ีอยูในความครอบครองหรือ
ควบคุม ดูแล ของหนวยงานของรัฐ ไมวาจะเปนขอมูลขาวสารเก่ียวกับการดําเนินงานของรัฐ หรือขอมูล
ขา วสารเก่ียวกับเอกชน

เจตนารมณของพระราชบญั ญัตขิ อ มลู ขา วสารของราชการ

พระราชบัญญัติขอมูลขาวสารของราชการ พ.ศ.2540 มีเจตนารมณ พื้นฐานสําคัญอยู 5
ประการ คอื

1. เพ่ือเปนการประกันสิทธิรับรูขอมูลขาวสารของประชาชน ในการดําเนินการตางๆ ของ
หนวยงานของรัฐอยางกวางขวางและสงเสริมใหประชาชนมสี วนรวมในการบริหารของหนวยงานของรัฐอันจะ
นาํ ไปสกู ระบวนการบริหารของรฐั ท่เี ปนธรรม

2

2. เพ่ือกระตุนใหประชาชนสามารถใชสิทธิทางการเมืองไดโดยถกู ตองตรงตามความเปนจริง
ซ่ึงจะนาํ ไปสกู ารพัฒนาระบบการเมอื งในระบอบประชาธิปไตย

3. เพ่ือความจําเปนในการคุมครองขอมูลขาวสารบางประเภทซ่ึงกฎหมายไดกําหนดไว
เกี่ยวกับการรกั ษาความม่ันคงของรัฐประโยชนท ่สี ําคญั ของเอกชนและคุม ครองสิทธสิ วนบุคคล

4. เพ่ือสงเสริมการปฏิรูประบบราชการ การเปล่ียนแปลงทัศนคติของเจาหนาท่ีหนวยงาน
ของรัฐเพอ่ื ประโยชนส ูงสดุ ตอการปฏิบตั หิ นา ท่ขี องหนวยงานของรัฐและตอประชาชน

5. เพ่ือการพัฒนาระบบขอมูลขาวสารของภาครัฐ โดยการจําแนกและจัดระบบเพื่อใหการ
นาํ ไปใชประโยชน และการคมุ ครองขอ มูลขาวสารเปนไปในทศิ ทางเดียวกนั

บทบัญญตั ทิ ี่เปน กญุ แจในการเปดเผยขอ มูลขาวสารของราชการ

1. มาตรา ๗ หนวยงานของรัฐตองสงขอมูลขาวสารของราชการอยางนอยดังตอไปน้ี
ลงพมิ พใ นราชกจิ จานุเบกษา

(๑) โครงสรางและการจดั องคกรในการดําเนนิ งาน

(๒) สรุปอาํ นาจหนา ท่ที ี่สําคญั และวิธกี ารดาํ เนินงาน

(๓) สถานท่ตี ิดตอเพอ่ื ขอรบั ขอ มลู ขาวสาร หรอื คําแนะนําในการตดิ ตอกับหนว ยงานของรฐั

(๔) กฎ มตคิ ณะรฐั มนตรี ขอบังคบั คําส่ัง หนังสือเวียน ระเบียบ แบบแผน นโยบาย หรือ
การตีความ ท้งั นี้ เฉพาะทจ่ี ดั ใหมีขึ้นโดยมสี ภาพอยางกฎเพ่อื ใหมีผลเปนการทว่ั ไปตอเอกชนทีเ่ กย่ี วของ

(๕) ขอ มูลขาวสารอนื่ ตามที่คณะกรรมการกําหนด

ขอมูลขาวสารใดทไี่ ดมีการจัดพิมพเพื่อใหแพรหลายตามจํานวนพอสมควรแลว ถามีการ
ลงพิมพในราชกจิ จานุเบกษาโดยอางอิงถึงสงิ่ พิมพน นั้ กใ็ หถือวา เปน การปฏบิ ัติตามบทบญั ญตั ิวรรคหนง่ึ แลว

ใหหนวยงานของรัฐรวบรวมและจัดใหมีขอมลู ขาวสารตามวรรคหนึ่งไวเผยแพรเพ่ือขาย
หรือจาํ หนา ยจา ยแจก ณ ท่ที ําการของหนว ยงานของรฐั แหงนน้ั ตามทเ่ี ห็นสมควร

2. มาตรา ๙ ภายใตบ งั คบั มาตรา ๑๔ และมาตรา ๑๕ หนว ยงานของรฐั ตองจัดใหมขี อมูล
ขาวสารของราชการอยางนอยดังตอไปน้ีไวใหประชาชนเขาตรวจดูได ท้ังน้ี ตามหลักเกณฑและวิธีการท่ี
คณะกรรมการกําหนด

(๑) ผลการพิจารณาหรือคําวินิจฉัยท่ีมีผลโดยตรงตอเอกชน รวมท้ังความเห็นแยงและ
คําสัง่ ทีเ่ ก่ยี วขอ งในการพจิ ารณาวนิ ิจฉัยดังกลาว

(๒) นโยบายหรอื การตีความท่ีไมเ ขาขา ยตอ งลงพมิ พใ นราชกิจจานเุ บกษา ตามมาตรา ๗ (๔)

(๓) แผนงาน โครงการ และงบประมาณรายจายประจําปข องปทก่ี าํ ลงั ดําเนนิ การ

3

(๔) คูมอื หรอื คาํ สงั่ เกย่ี วกับวิธีปฏบิ ตั ิงานของเจา หนาท่ขี องรฐั ซงึ่ มผี ลกระทบถึงสิทธิหนาที่

ของเอกชน

(๕) สิ่งพิมพท ไี่ ดม กี ารอางอิงถงึ ตามมาตรา ๗ วรรคสอง

(๖) สัญญาสัมปทาน สัญญาที่มีลักษณะเปนการผูกขาดตัดตอนหรือสัญญารวมทุนกับ
เอกชนในการจัดทําบริการสาธารณะ

(๗) มติคณะรัฐมนตรี หรือมติคณะกรรมการท่ีแตงตั้งโดยกฎหมาย หรือโดยมติ
คณะรฐั มนตรี ทัง้ นี้ ใหร ะบุรายชือ่ รายงานทางวชิ าการ รายงานขอเทจ็ จริง หรือขอมูลขาวสารท่ีนํามาใชในการ
พจิ ารณาไวดวย

(๘) ขอมลู ขา วสารอ่นื ตามทคี่ ณะกรรมการกําหนด

ขอมูลขาวสารท่ีจัดใหประชาชนเขาตรวจดูไดตามวรรคหน่ึง ถามีสวนท่ีตองหามมิให
เปดเผยตามมาตรา ๑๔ หรือมาตรา ๑๕ อยูดวย ใหลบหรือตัดทอนหรือทําโดยประการอื่นใดท่ีไมเปนการ
เปด เผยขอ มูลขา วสารนน้ั

บคุ คลไมว าจะมีสวนไดเสียเกยี่ วขอ งหรือไมก็ตาม ยอมมีสิทธิเขาตรวจดู ขอสําเนาหรือขอ
สําเนาที่มีคํารับรองถูกตองของขอมูลขาวสารตามวรรคหน่ึงได ในกรณีท่ีสมควรหนวยงานของรัฐโดยความ
เห็นชอบของคณะกรรมการ จะวางหลักเกณฑเรียกคาธรรมเนียมในการน้ันก็ได ในการน้ีใหคํานึงถึงการ
ชว ยเหลือผมู รี ายไดนอ ยประกอบดว ยทั้งนเี้ วนแตจ ะมกี ฎหมายเฉพาะบญั ญตั ิไวเปนอยางอ่นื

คนตางดา วจะมสี ิทธติ ามมาตรานีเ้ พยี งใดใหเ ปนไปตามทก่ี ําหนดโดยกฎกระทรวง

3. มาตรา ๑๐ บทบัญญตั ิมาตรา ๗ และมาตรา ๙ ไมกระทบถึงขอมูลขา วสารของราชการ
ท่มี กี ฎหมายเฉพาะกําหนดใหม ีการเผยแพรหรอื เปด เผย ดวยวธิ กี ารอยา งอนื่

4. มาตรา ๑๑ นอกจากขอมูลขาวสารของราชการที่ลงพิมพใ นราชกิจจานุเบกษาแลว หรือที่
จัดไวใหประชาชนเขาตรวจดูไดแลว หรือท่ีมีการจัดใหประชาชนไดคนควาตามมาตรา ๒๖ แลว ถาบุคคลใดขอ
ขอมูลขาวสารอื่นใดของราชการและคาํ ขอของผูนั้นระบุขอมูลขา วสารท่ีตองการในลักษณะที่อาจเขาใจไดต ามควร
ใหหนวยงานของรัฐผูรับผิดชอบจัดหาขอมูลขาวสารน้ันใหแกผูขอภายในเวลาอันสมควร เวนแตผูน้ันขอจํานวน
มากหรอื บอ ยครงั้ โดยไมมีเหตผุ ลอนั สมควร

ขอมูลขาวสารของราชการใดมสี ภาพท่ีอาจบบุ สลายงาย หนวยงานของรัฐจะขอขยายเวลาใน
การจัดหาใหหรอื จะจัดทําสําเนาใหในสภาพอยา งหน่งึ อยางใด เพอื่ มิใหเกิดความเสียหายแกข อมูลขา วสารน้นั กไ็ ด

ขอมลู ขาวสารของราชการทห่ี นวยงานของรัฐจดั หาใหตามวรรคหนง่ึ ตอ งเปนขอมลู ขาวสารที่
มอี ยแู ลว ในสภาพท่ีพรอมจะใหได มิใชเปนการตอ งไปจัดทํา วิเคราะห จําแนก รวบรวม หรือจัดใหมขี ึ้นใหม เวนแต
เปน การแปรสภาพเปน เอกสารจากขอมลู ขาวสารที่บันทึกไวในระบบการบันทกึ ภาพหรอื เสียง ระบบคอมพิวเตอร
หรือระบบอื่นใด ท้ังนี้ ตามที่คณะกรรมการกําหนด แตถาหนวยงานของรัฐเห็นวากรณีท่ีขอนั้นมิใชการแสวงหา

4

ผลประโยชนทางการคา และเปนเรื่องท่ีจําเปนเพื่อปกปองสิทธิเสรีภาพสําหรับผูน้ันหรือเปนเรื่องที่จะเปน
ประโยชนแกสาธารณะ หนวยงานของรัฐจะจัดหาขอ มูลขา วสารนนั้ ใหก็ได

บทบัญญัติวรรคสามไมเ ปนการหามหนวยงานของรัฐที่จะจัดใหมีขอ มูลขาวสารของราชการ
ใดขึ้นใหมใ หแกผรู องขอ หากเปนการสอดคลอ งดว ยอํานาจหนาทต่ี ามปกตขิ องหนวยงานของรัฐน้ันอยูแลว

ใหนําความในมาตรา ๙ วรรคสอง วรรคสาม และวรรคส่ี มาใชบังคับแกการจัดหาขอมูล
ขาวสารใหต ามมาตรานี้ โดยอนุโลม

5. มาตรา ๑๒ ในกรณีท่ีมีผูยื่นคําขอขอมูลขาวสารของราชการตามมาตรา ๑๑ แมวาขอมูล
ขา วสารท่ขี อจะอยใู นความควบคุมดูแลของหนว ยงานสวนกลาง หรือสวนสาขาของหนวยงานแหงน้ันหรือจะอยูใน
ความควบคุมดแู ลของหนวยงานของรัฐแหงอ่นื กต็ าม ใหหนว ยงานของรัฐทร่ี ับคําขอใหคําแนะนํา เพ่ือไปย่ืนคําขอ
ตอ หนวยงานของรัฐทค่ี วบคุมดูแลขอมูลขา วสารน้ันโดยไมช ักชา

ถา หนว ยงานของรัฐผูรับคําขอเหน็ วาขอ มูลขาวสารท่ีมีคําขอเปนขอมูลขาวสารท่ีจัดทาํ โดย
หนวยงานของรัฐแหงอ่ืน และไดระบุหามการเปดเผยไวตามระเบียบท่ีกําหนดตามมาตรา ๑๖ ใหสงคําขอน้ันให
หนวยงานของรฐั ผูจดั ทาํ ขอมูลขา วสารนัน้ พิจารณาเพอ่ื มีคาํ ส่ังตอไป

5

ศนู ยขอ มลู ขา วสารของราชการ

ตามมาตรา 9 แหง พระราชบญั ญตั ิขอมูลขาวสารของราชการ พ.ศ. 2540 บัญญัติใหหนวยงาน
ของรัฐตองจัดใหมีขอมูลขาวสารของราชการอยางนอยตามที่กฎหมายกําหนดไวใหประชาชนเขาตรวจดูได
ประกอบกับไดม ีประกาศคณะกรรมการขอ มลู ขา วสารของราชการ เรอื่ ง หลักเกณฑและวิธีการเกี่ยวกับการจัดใหมี
ขอ มูลขาวสารของราชการไวใหประชาชนเขา ตรวจดู ณ ที่ทําการของหนว ยงานของรัฐ โดยเรียกสถานที่ท่ีจัดเก็บ
ขอมูลขาวสารและใหบ ริการวา “ศนู ยข อ มลู ขา วสาร”

หนาท่ีของศูนยข อมูลขาวสาร

ศูนยขอมูลขาวสารมีหนาท่ีใหบริการขอมูลขาวสารของราชการแกประชาชนท่ีเขามาตรวจดู
ศกึ ษา คน ควา ขอสาํ เนา ตลอดจนเผยแพร จําหนายจายแจกขอ มลู ขา วสารของราชการตามกําหนดไวในกฎหมาย
ขอ มูลขาวสารของราชการโดยมีหนาทโ่ี ดยสรปุ ดงั น้ี

1) จัดระบบขอ มูลขาวสารตามมาตรา 7 มาตรา 9 และมาตราอ่ืนๆ ท่ีหนวยงานในสังกัดน้ันสง
มาใหจัดทําดัชนหี รือบัญชี เพอ่ื ใหป ระชาชนสามารถคนหาขอ มูลขาวสารไดเ อง

2) จัดทาํ สมดุ ทะเบียนสาํ หรบั ผมู าขอตรวจดูขอมลู ขาวสาร

3) การทาํ สําเนาหรอื สําเนาท่มี ีคํารับรองความถกู ตองสําหรับขอ มูลขาวสารที่จัดไวใหประชาชน
เขา ตรวจดใู หแกผ ูขอ

4) กรณีการขอขอมูลขาวสารตามมาตราอ่ืนๆ ซึ่งไมมีในศูนยขอมูลขาวสารใหสงคําขอไปยัง
หนว ยงานเจา ของเร่ืองพจิ ารณา

5) กรณีเปนขอมูลขาวสารของหนวยงานอื่นใหแนะนําใหไปขอ ณ หนวยงานนั้น (มาตรา 12

วรรคแรก)

6) การประสานงาน การแจงนดั หมาย การมอบสําเนาขอ มลู ขา วสารตามขอ 4) ใหแกผ ูขอ

7) การประสานงานกับสาํ นักงานคณะกรรมการขอ มูลขา วสารของราชการ

หลกั เกณฑ และวธิ ีการเกยี่ วกบั การจัดใหมีศนู ยขอ มูลขา วสาร

1. ข้ันตอนการจัดต้ังศนู ยขอมูลขา วสาร ประกอบดว ย

1.1 การมอบหมายหนวยงานและเจาหนาท่ผี ูรับผดิ ชอบ

1.2 สถานที่ต้ังของศูนยขอมูลขาวสารใหจัดตั้งภายในหองหน่ึงหองใดเปนสัดสวนหรือ
หองสมุดของหนวยงานจัดทําปายช่ือศูนยขอมูลขาวสารของหนวยงาน ติดไวใหเห็นชัดเจน หรือทําแผนผังท่ีต้ัง
ศูนยไ วห นา สาํ นกั งาน

1.3 วัสดุ อุปกรณ และครุภัณฑ ประกอบดวย โตะ เกาอี้ตูเอกสาร แฟมขอมูล โทรศัพท
กระดาษ/เคร่อื งเขยี นเทา ทีจ่ ําเปน แบบฟอรมตา งๆ และสง่ิ อาํ นวยความสะดวก

6

1.4 การคัดเลือกเจาหนาที่ ประจําศูนย หนวยงานตองแตงตั้งบุคลากรทําหนาที่ ประจํา
ศนู ยอ ยางนอยควรมีคณุ สมบตั ิ ดังน้ี

(1) ผานการอบรมหรอื มคี วามรกู ฎหมายขอมลู ขาวสารของราชการ

(2) มมี นษุ ยส ัมพนั ธดี

(3) สามารถประสานงานกับทุกหนวยงานไดเปน อยา งดี

(4) มคี วามสามารถในการจัดระบบแฟม ระบบการสบื คน ขอมูลหรือดัชนี

(5) ปฏิบัติหนาทีป่ ระจาํ ศูนยอ ยา งตอ เนื่อง

1.5 ระเบียบและหลักเกณฑก ารใหบรกิ าร ใหหนว ยงานเปนผูก ําหนดเพอ่ื ความเปนระเบียบ

เรียบรอ ย

1.6 การจัดระบบขอมูลขา วสาร

(1) การจดั ทําแฟม ขอมูลขาวสาร การจัดแฟมขอ มลู ขาวสารตามมาตรา 7 และมาตรา 9
แหงพระราชบัญญตั ิขอมลู ขาวสาร พ.ศ. 2540 มบี ทบัญญัติทก่ี ําหนดเรียงตามมาตรา ดังนั้นการจัดระบบขอมูล
ขาวสารจึงควรเรียงตามอนุมาตรา เพ่ือสะดวกในการใสขอมูลขาวสารเพ่ิมเติมและคนหาไดอยางถูกตอง เชน
แฟมขอมูลขาวสารตามมาตรา 7 (4) กฎ มติคณะรัฐมนตรี ขอบังคับ คําสั่ง หนังสือเวียน ระเบียบ แบบแผน
นโยบาย หรือการตีความ หรือแฟม ขอมูลขาวสารตามมาตรา 9 (3) แผนงาน โครงการ และงบประมาณรายจาย
ประจําป

(2) จัดใหมีดรรชนีที่มีรายละเอียดเพียงพอใหประชาชนสามารถตรวจดูเองได

โดยสะดวก

1.7 ขั้นตอนการใหบริการขอ มูลขาวสาร

(1) เมื่อประชาชนเขา มาตรวจดู ขอมูลขาวสารเจาหนาที่ประจําศนู ยจะตอ งแนะนําให
ลงชื่อในสมดุ ทะเบยี นเพ่ือเปนหลักฐานของทางราชการ

(2) แนะนําใหตรวจดูขอมูลจากบัตรดัชนีรายการ หรือระบบคอมพิวเตอร รวมทั้งให
ความชว ยเหลอื ในการคนหา

(3) กรณที ่ีประชาชนขอขอมูลขา วสารและขอ มลู น้นั ศนู ยขอมูลขาวสารมพี รอมที่จัดให
จะตอ งดําเนนิ การใหแลว เสรจ็ โดยเรว็

(4) กรณีท่ีไมมขี อมูลขาวสารในศูนยขอ มูลขาวสารแตมอี ยูในหนวยงานน้ัน ใหผ ูมาขอ
ขอมูลขา วสารกรอกแบบฟอรม คาํ ขอและสงหนวยงานทีเ่ ก่ยี วของพจิ ารณา

(5) หากขอ มูลขา วสารทีข่ อมีจํานวนมาก หรือไมสามารถดําเนินการใหแลวเสร็จภายใน
15 วนั ตองแจง ใหผ ูข อขอ มูลทราบ ภายใน 15 วัน รวมทงั้ แจงกาํ หนดวนั ท่จี ะดําเนินการแลว เสรจ็ ใหท ราบดวย

7

(6) ในกรณีไมมีขอมูลในหนวยงานน้ัน แตมีอยูที่หนวยงานอื่นใหแนะนําเพื่อไปย่ืนคํา
ขอตอ หนว ยงานอ่นื โดยไมชกั ชา

(7) ในกรณีที่ประชาชนขอตรวจดูขอ มูลขาวสารตามมาตรา 15 ท่ีเปนขอมลู ขาวสารที่
ตองใชดุลยพินิจในการเปดเผยหรือไมเปดเผย ศูนยขอมูลขาวสารจะสงเร่ืองใหเจาหนาท่ีผูเปนเจาของขอมูล
ดงั กลาวพจิ ารณาวนิ ิจฉัยวาจะเปดเผยขอมลู ไดห รือไม และหากการพิจารณาดงั กลาวยงั ไมไ ดขอสรปุ ท่ีแนช ัด อาจ
สงเร่อื งใหคณะกรรมการเพือ่ ดาํ เนนิ การตามพระราชบญั ญตั ิขอ มูลขา วสารกรมทดี่ ิน พิจารณาใหความเห็นเพ่ิมเติม
เพ่ือใชประกอบการพิจารณาอีกชน้ั หน่ึง และแจง ผลการพจิ ารณาใหผ ขู อขอมลู ขา วสารตอไป

(8) หากกรณีขอมูลขาวสารดังกลาวพิจารณาแลววาเปนขอมูลขาวสารที่ไมสามารถ
เปด เผยได ตามมาตรา 15 ใหแ จง ผลการพิจารณาใหผูขอขอ มูลขา วสาร พรอมเหตผุ ลท่ไี มส ามารถเปด เผยได และ
แจงสิทธิในการอุทธรณค ําส่ังไมเ ปดเผยขอ มลู ขาวสาร ใหผูขอขอมูลขา วสาร สามารถอุทธรณไปยังคณะกรรมการ
ขอ มูลขาวสารของราชการได

2. ผมู ีสทิ ธติ รวจดู

บุคคลผูใชสิทธิเขาตรวจดูขอมูลขาวสารไมจําเปนตองมีสวนไดเสียหรือเก่ียวของกับขอมูล
ขาวสารของราชการทเ่ี ขาตรวจดู ประชาชนท่ีมีความสนใจในขอมูลขาวสารของราชการ กย็ อมมีสทิ ธิเขาตรวจดไู ด
โดยไมตองระบุวาจะนําขอมูลขาวสารไปใชในการใดและในการใชสิทธิ เขาตรวจดูขอมูลขา วสารของราชการของ
หนวยงานตาง ๆ ของรัฐ ประชาชนมีสิทธิในการเขา ตรวจดูสิทธิในการขอสําเนาหรอื ขอสําเนาที่มีคาํ รบั รองสําเนา
ถูกตอง

สทิ ธขิ องคนตางดาว ในการขอเขาตรวจดขู อ มูลขา วสารของราชการท่ีหนว ยงานของรัฐ ตอ ง
จดั ไวใ หป ระชาชนเขาตรวจดูไดน ี้ คนตา งดา วมีสิทธิขอเขาตรวจดขู อมลู ขาวสารของราชการเพียงเทาทกี่ ําหนดใน
กฎกระทรวง ซ่ึงปจจุบันยังไมมีการตรากฎกระทรวง ในเรื่องดังกลาว ดังนั้น คนตางดาว จึงยังไมมีสิทธิเขา
ตรวจดูขอมูลขา วสารของราชการ ตามพระราชบญั ญตั ิขอ มลู ขาวสารของราชการฯ

3. ขอควรจํา

ขอมูลขาวสารตามมาตรา 7 และมาตรา 9 ท่ี ตอ งจัดไวใหประชาชนเขาตรวจดไู ดนนั้ จะตอ ง

3.1 เปน สาํ เนาขอ มลู ขา วสาร ตนฉบับหรือตวั จรงิ ยังคงเกบ็ อยทู ่หี นวยงานเจาของเรอื่ ง

3.2 ไมอนุญาตใหยืมออกไปนอกศูนยขอมูลขาวสารเพราะขัดตอเจตนาการจัดเอาไวให
ประชาชนเขา ตรวจดู ตอ งศึกษาคนควา ในศนู ยข อ มูลขา วสาร หากตองการขอขอมูลใดใหย่นื คาํ รองตอเจาหนา ที่

3.3 ผูเขาตรวจดูขอมูลขาวสารไมจําเปนตองมีสวนไดสวนเสียเกี่ยวของและไมจําเปนตอง

บอกเหตผุ ล

8

คาธรรมเนียมการขอสาํ เนา หรือขอสําเนาท่มี คี าํ รับรองถกู ตองของขอ มูลขาวสารของราชการ กรมท่ีดนิ

คาธรรมเนียมการทําสําเนาโดยเคร่ืองถายเอกสารของทางราชการใหเรียกเก็บตามประกาศ
คณะกรรมการขอมูลขาวสารของราชการ เรื่อง การเรียกคาธรรมเนียมการขอสําเนา หรือ การขอสําเนาท่ีมีคํา
รับรองถูกตอ งของขอมูลขาวสารของราชการคอื อตั ราดังตอ ไปน้ี

(1) ขนาดกระดาษ เอ 4 หนา ละไมเ กนิ 1.00 บาท

(2) ขนาดกระดาษ เอฟ4 หนา ละไมเกนิ 1.50 บาท

(3) ขนาดกระดาษ บี 4 หนา ละไมเ กนิ 2.00 บาท

(4) ขนาดกระดาษ เอ 3 หนาละไมเ กิน 3.00 บาท

(5) ขนาดกระดาษพมิ พเขียว เอ 2 หนาละไมเกิน 8.00 บาท

(6) ขนาดกระดาษพมิ พเ ขยี ว เอ 1 หนาละไมเกนิ 15.00 บาท

(7) ขนาดกระดาษพิมพเขียว เอ 0 หนาละไมเกนิ 30.00 บาท

การเรียกคาธรรมเนียมการใหคาํ รับรองถูกตองของขอ มูลขาวสาร ใหคดิ ในอัตราคํารับรองละไม
เกนิ 5 บาท

**กรณีที่ประชาชนขอตรวจหลักฐานทะเบียนที่ดิน ขอคัด ขอถายสําเนาเอกสาร และขอ
ตรวจสอบหลกั ทรัพย ใหเจา หนาท่ถี ือปฏบิ ัติตามระเบียบกรมทดี่ ิน วาดว ยการตรวจหลักฐานทะเบยี นทด่ี ิน ขอคัด
ขอถายสาํ เนาเอกสาร และการตรวจหลกั ทรัพย พ.ศ. 2556

9

แผนผังขนั้ ตอนการใหบ รกิ ารขอมูลขา วสาร
ศนู ยข อ มลู ขา วสารกรมทีด่ นิ

ผูข อขอมลู กรอกแบบฟอรม คาํ ขอขอใชบริการขอมลู ขาวสาร

เจา หนาทีต่ รวจสอบชนิดและลักษณะของขอ มูลขา วสารท่ยี ื่นคําขอ

กรณเี ปนขอ มลู ที่เปด เผยไดต ามมาตรา 7 และมาตรา 9 การเปดเผยขอ มูลเปนดลุ ยพนิ จิ ของเจา หนา ท่ี

ถายสาํ เนาและรบั รองสาํ เนาถกู ตอ งของสาํ เนา ศนู ยข อ มูลขาวสารสง เรอ่ื งใหเจา หนาท่ผี ูมอี ํานาจ
สงเอกสารใหผ ูย ืน่ คําขอขอมลู พจิ ารณาวินิจฉัยวาจะเปดเผยขอ มลู ไดห รอื ไม
ยุติเร่อื ง
เจาหนา ท่ที ําคําวนิ ิจฉัยเสนอผลการพิจารณาให
คณะกรรมการเพอ่ื ดาํ เนนิ การตามพระราชบัญญตั ิ

ขอมูลขา วสาร พจิ ารณากลั่นกรอง

ศูนยข อ มูลขา วสารแจงผลการพจิ ารณาใหผูยนื่ คํา
ขอขอ มลู

กรณีเปดเผยได กรณีเปดเผยไมไ ด

แจงผูร อ งขอทราบถงึ ผลการพจิ ารณาและแนวทางการใชสิทธอิ ทุ ธรณตอ
คณะกรรมการเพ่อื ดําเนินการตามพระราชบัญญตั ขิ อมลู ขาวสาร

ยตุ ิเรื่อง

10

คําอธิบายและตวั อยางขอมูลขา วสารตามมาตรา 7 และ 9

1. ขอมูลขาวสารท่ีตองลงพิมพในราชกิจจานุเบกษา(มาตรา 7) มีวัตถุประสงคเพ่ือตองการ
สงเสริมโฆษณาใหประชาชนไดรับรูขอมูลขาวสารน้ัน และเพื่อใหมีการเก็บหลักฐานถาวรใชในการอางอิงเพื่อ
ประโยชนต างๆ ในทางกฎหมายตอไปดว ย โดยขอ มูลขา วสารทต่ี องลงพมิ พในราชกจิ จานเุ บกษา มดี งั น้ี

1.1 การจดั องคก รและอาํ นาจหนาทขี่ องหนว ยงานของรัฐ หนว ยงานของรัฐมอี ยูอยางไรเปน
สิ่งท่ีประชาชนควรรูเพราะสงิ่ ท่ีรัฐจัดใหมีขึ้นเพอ่ื บรกิ ารประชาชน และจะเปน ประโยชนเบ้ืองตนท่ีประชาชนอาจ
คนหาหนวยงานท่ีรับผิดชอบในเร่ืองท่ีประชาชนเกี่ยวของได มาตรา 7 (1) และ (2) จึงบังคับใหมีการจัดพิมพ
โครงสรางและการจดั องคกรในการดาํ เนนิ งานตลอดจนอาํ นาจหนาทสี่ ําคญั และวิธีการดําเนินงานโดยสรุปโดยกรม
ท่ดี นิ มกี ฎกระทรวงแบง สวนราชการกรมท่ดี ิน กระทรวงมหาดไทย พ.ศ. 2557 ประกาศในราชกจิ จานุเบกษา เมื่อ
วันท่ี 9 มกราคม 2558 เลม 132 ตอน 1 ก หนา 1

1.2 สถานที่ติดตอขอรับขอมูลขาวสาร เมื่อประชาชนทราบถึงหนวยงานท่ีควรติดตอแลว
สถานทตี่ ิดตอ เพ่ือขอรบั ขอมูลขา วสารหรือคาํ แนะนําเปรียบเสมอื นประตูแรกทปี่ ระชาชนจะเขาสูขอ มูลขา วสารได
โดยถูกตอง มาตรา 7 (3) จึงใหหนวยงานของรัฐจัดพิมพ “สถานที่ติดตอ” ในราชกิจจานุเบกษาดวยโดย
กรมท่ีดินมีประกาศกรมท่ีดิน เร่ือง โครงสรา งและการจัดหนวยงาน อํานาจหนา ท่ี วิธีการดาํ เนินงาน และสถานท่ี
ติดตอ เพื่อขอรบั ขอมลู ขา วสารของกรมทด่ี นิ เมอื่ วันท่ี 5 มีนาคม 2542 เลม 116 ตอนพิเศษ 14 ง หนา 40

1.3 ขอมูลขาวสารประเภท กฎ ขอกําหนด ขอบังคับ ขอบัญญัติ ระเบียบแบบแผน
นโยบายหรือการตคี วาม ตามมาตรา 7 (4) ซงึ่ จัดทาํ ขึ้นโดยมีสภาพอยางกฎเพอื่ บงั คบั ท่ัวไปตอ เอกชนที่เก่ยี วของ
กับหนว ยงานของรฐั เชน กฎกระทรวงมหาดไทย ระเบียบกรมที่ดนิ ประกาศกรมท่ดี นิ เปน ตน

2. ผลการพจิ ารณาที่มีผลโดยตรงตอเอกชน ผลการพิจารณา (คําวินิจฉยั หรือคําส่ัง) เปน การใช
อํานาจเจาหนาทข่ี องรัฐเพ่ือใหเปนไปตามกฎหมาย กฎหมายไดถ ูกนํามาใชอยางไรจึงเปนสิ่งทีป่ ระชาชนควรรูเพ่ือ
จะไดทราบวากรณีของตนจะมีผลเชนเดียวกับการพิจารณาที่เคยมีมาแลวหรือไม มาตรา 9 (1) จึงกําหนดให
หนวยงานของรัฐจดั ใหมขี อมูลขา วสารเกีย่ วกับผลการพิจารณาของหนว ยงานของรัฐแหงน้ันใหประชาชนไดตรวจดู
โดยใหร วมความขัดแยง และคําสงั่ ทเ่ี กีย่ วของดวยเพอื่ ใหรูวาผลการพิจารณานั้นมีผลหนกั แนนเพียงใด และในที่สุด
ไดถ อื ปฏบิ ตั เิ ชนใด เชน คําวนิ ิจฉยั เรื่องอทุ ธรณ โดยคณะกรรมการวินิจฉัยการเปดเผยขอมลู ขา วสารท่ีเกี่ยวของ
กับกรมที่ดนิ

3. นโยบายและการตีความ แนวทางการดําเนินงานของหนวยงานของรัฐเปนส่ิงท่ีประชาชน
ควรรูเพราะจะเกิดเปนผลปฏิบัติจริงๆ ในปจจุบันเชนเดียวกบั ผลการพิจารณาทมี่ ีผลตอเอกชน ดังน้ัน นโยบายท่ี
กําหนดไวหรือการใชกฎหมายใดๆ แมไ มเขา ขายเปน “กฎ” ท่ีตอ งลงพิมพในราชกิจจานุเบกษาตามาตรา 7 (4)
แตเม่ือมีผลตอเอกชนในปจจุบันก็ตองนํามาจัดไวใหประชาชนตรวจดูไดเชน แผนปฏิบัติราชการ 4 ป ,
Roadmap การดําเนินการของกระทรวงมหาดไทยในสว นของกรมท่ีดิน (๓ ระยะ) , แผนยุทธศาสตรตามภารกิจ
เฉพาะดานของกระทรวงมหาดไทย ๑๐ ป

11

4. แผนงาน โครงการ งบประมาณ มาตรา 9 (3) กําหนดใหเอกสารงบประมาณเก่ียวกับ
แผนงานโครงการท่ีดําเนินงานในปน้ันๆ และในปท่ีกําลังดําเนินการอยูของหนวยงานเปนขอมูลขาวสารที่
ประชาชนสามารถตรวจดูได เชน แผนปฏิบัติการกรมท่ีดิน แผนการใหบริการประชาชนในสํานักงานที่ดิน
แผนปฏิบัติการกรมที่ดนิ (ภาพรวม) ประจาํ ปง บประมาณ เปน ตน

5. คูมอื หรือคาํ ส่ังเกี่ยวกบั วธิ ีปฏิบัตงิ าน คูมือหรอื คําส่ัง มอี ยูสองลักษณะคือเปนคูมือหรือคําส่ัง
ที่ใชปฏิบัติราชการภายในหนวยงานไมเก่ียวกับประชาชน หรือคูมือหรือคําส่ัง ที่ปฏิบัตินั้นมีผลกระทบถึงสิทธิ
หนา ท่ีของเอกชน ซ่ึงเฉพาะคูมือหรอื คาํ สั่ง ท่ปี ฏิบัตนิ นั้ มผี ลกระทบถึงสิทธิหนาทขี่ องเอกชนเทานั้นท่ีตอ งนํามาไว
ที่ศูนยขอมูลขาวสารเชน คูมือการจดทะเบียนสิทธิและนิติกรรมเกี่ยวกับการโอนที่ดินและอสังหาริมทรัพย
อยา งอื่นคมู ือการปฏิบตั ิงานกระบวนการเดนิ สาํ รวจออกโฉนดท่ดี ิน เปน ตน

6. ส่ิงพิมพท่ีมีการอางอิงถึงในราชกิจจานุเบกษา ตามมาตรา 7 วรรคสอง ขอมูลขาวสารท่ี
แพรหลายเปน สิ่งพมิ พห ลายสิ่งพิมพแลว ไมต อ งนําลงพิมพใ นราชกิจจานุเบกษาอกี ลดความซํ้าซอนสิ้นเปลอื ง

7. สัญญาสําคัญของรัฐ สัญญาในการดําเนินงานตางๆ มาตรา 9 (6) ไดกําหนดใหจัดสัญญา
ดงั ตอ ไปน้ีไวใ หป ระชาชนตรวจดูเพือ่ ความสะดวกในการศกึ ษาขอ มูล

7.1 สัญญาสัมปทาน ไดแก สัญญาท่ีรัฐอนุญาตใหเอกชนจัดทําบริการสาธารณะ เชน
สัมปทานเดินรถประจําทาง สมั ปทานการทาํ เหมอื งแร เปนตน

7.2 สัญญาผูกขาดตัดตอน คือสัญญาที่ใหสิทธิเอกชนกระทําการอยางใดอยางหนึ่งได
แตเพียงผูเดียว เชน สญั ญาใหผ ลิตสรุ า

4.3 สัญญารวมทนุ กบั เอกชนในการจัดทาํ บริการสาธารณะ คือกจิ การที่เปนของรัฐแตมีการ
รวมทุนกบั เอกชนในการจดั ทํา เชน สญั ญาใหบ รกิ ารโทรศัพท สัญญาโครงการรถไฟ เปนตน

8. มตขิ องคณะรัฐมนตรีคณะกรรมการทแี่ ตงตงั้ โดยกฎหมายและคณะกรรมการท่ีแตงตัง้ โดยมติ
คณะรัฐมนตรี มาตรา 9 (7) กําหนดใหมติคณะรัฐมนตรแี ละคณะกรรมการดังกลา วใหประชาชนไดตรวจดู และ
จะตองระบชุ อ่ื รายงานและขอมูลขาวสารที่ใชในการพิจารณา แมไ มตองถึงขนาดนํารายงานและขอมลู ดงั กลาวมา
แสดง แตก็เปนขอมูลใหแกประชาชนท่ีสนใจจะไปขอตรวจดูขอมูลขาวสารนั้นเปนรายชิ้นตอไปไดเชน
คณะรัฐมนตรีมีมติอนมุ ัตหิ ลักการรา งพระราชกฤษฎีกาถอนสภาพทีด่ ินอันเปนสาธารณสมบัตขิ องแผนดินสาํ หรับ
พลเมอื งใชรวมกัน หรือมตคิ ณะกรรมการที่แตง ตั้งโดยกฎหมายหรือโดยมติคณะรัฐมนตรี เชน มตคิ ณะกรรมการ
ขอ มูลขา วสารของราชการ มติคณะกรรมการจดั ทด่ี นิ แหง ชาติ เปน ตน

9. ขอมูลขาวสารอื่น คณะกรรมการขอมูลขาวสารของราชการอาจกําหนดใหหนวยงานของรัฐ
ตอ งจดั ใหมขี อ มลู ขา วสารใดๆ ใหป ระชาชนตรวจดูเพิม่ เตมิ ไดต ามมาตรา 9 (8) ซึ่งปจ จุบันมีการกําหนดไว 4 เร่ือง
คือ

9.1 ประกาศประกวดราคาและประกาศสอบราคาของหนวยงานของรัฐท่ีหัวหนาหนว ยงาน
ของรฐั ลงนามแลว

12

9.2 ขอมูลขาวสารเก่ียวกับส่ิงแวดลอมและสุขภาพที่หนวยงานของรัฐตองจัดทําตาม
กฎหมาย เชน รายงานและขอ มูลขาวสารเกย่ี วกับการวิเคราะหผลกระทบสง่ิ แวดลอม (EIA) รายงานผลการปฏิบัติ
ตามมาตรการปอ งกนั และแกไขผลกระทบดา นสง่ิ แวดลอ ม เปน ตน

9.3 ขอมูลขาวสารที่เกี่ยวกับผลการพิจารณาการจัดซื้อจัดจางของหนว ยงานของรัฐ โดยให
หนวยงานจัดทํารูปผลการพจิ ารณาเปนรายเดือนทุกๆ เดอื น ตามแบบ สขร. 1

9.4 ขอมูลขาวสารตามเกณฑมาตรฐานความโปรงใสและตัวชี้วัดความโปรงใสของ
หนว ยงานของรัฐ ประกอบดว ยหลักเกณฑและเงอ่ื นไข ดงั นี้

9.4.1 ใหหนวยงานของรัฐทีม่ ีหนาทใี่ นการจัดหาพัสดุ ตองเปดเผยขอ มลู ขาวสารท่ี
เกย่ี วของกบั การจัดหาพัสดุ

9.4.2 ใหหนวยงานของรัฐท่ีมีหนาท่ีในการใหบริการประชาชน ตองเปดเผยขอมูล
ขาวสารทเี่ กี่ยวของกบั การใหบ รกิ ารประชาชน

9.4.3 ใหหนวยงานของรัฐตอ งเปดเผยขอ มลู ขาวสารท่ีเกี่ยวของกับการบริหารงาน
ของหนวยงาน

9.4.4 ใหหนวยงานของรัฐตองเปดเผยขอมูลขาวสารท่ีเกี่ยวของกับการบริหาร
งบประมาณของหนว ยงาน

9.4.5 ใหหนวยงานของรัฐตอ งเปดเผยขอมูลขาวสารท่ีเกยี่ วของกับการบริหารงาน
บคุ คลของหนว ยงาน

9.4.6 ใหหนวยงานของรัฐตอ งเปดเผยขอมลู ขาวสารที่เกย่ี วของกับการตดิ ตามและ
ประเมินผลการปฏบิ ัติงานของหนว ยงาน

13

ภาคผนวก













































36

แบบฟอรม ดชั นแี ฟมสบื คนขอมลู ขา วสาร

แฟม ที่ มาตรา รายละเอียดเอกสาร สถานท่ีจดั เกบ็

แฟม

1 มาตรา 7 (1) โครงสราง และการจดั องคกรในการดําเนนิ งาน

- กฎกระทรวงแบงสวนราชการกรมท่ีดิน กระทรวงมหาดไทย ช้นั วาง 4

พ.ศ. 2557

2 มาตรา 7 (2) สรปุ อาํ นาจหนา ทีส่ าํ คญั และวธิ กี ารดําเนนิ งาน ชนั้ วาง 3

3 มาตรา ......... ................................................................... ชั้นวาง ...

4 มาตรา ......... ................................................................... ชั้นวาง ...

5 มาตรา ......... ................................................................... ชน้ั วาง ...

6 มาตรา ......... ................................................................... ชน้ั วาง ...

7 มาตรา ......... ................................................................... ชน้ั วาง ...

37

ตัวอยา งการจดั ขอ มลู ขาวสารเก็บเขา แฟม ตามอนุมาตรา


Click to View FlipBook Version