The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

ศูนย์ปฏิบัติการต่อต้านการทุจริต กรมที่ดิน

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search

คู่มือแนวทางปฏิบัติการป้องกันผลประโยชน์ทับซ้อน (ปี 2560) ​

ศูนย์ปฏิบัติการต่อต้านการทุจริต กรมที่ดิน

Keywords: ด้านทั่วไป

คมู่ อื

แนวทางปฏบิ ตั ิการปอ้ งกันผลประโยชนท์ บั ซ้อน

จดั ทาโดย ศนู ย์ปฏิบตั กิ ารต่อต้านการทุจริต กรมท่ดี นิ

ผลประโยชน์ทับซ้อน (Conflict Of Interests)

ผลประโยชนท์ บั ซ้อน หรอื ความขดั แย้งกันระหวา่ งผลประโยชน์ส่วนตนและผลประโยชนส์ ่วนรวม (Conflict of
interest : COI) เป็นประเดน็ ปัญหาทางการบรหิ ารภาครฐั ในปัจจบุ ันทเ่ี ปน็ บอ่ เกิดของปญั หาการทจุ ริตประพฤติ
มิชอบในระดบั ท่ีรนุ แรงขึน้ และยงั สะทอ้ นปัญหาการขาดหลกั ธรรมาภบิ าลและเป็นอปุ สรรคต่อการพัฒนาประเทศ

ประมวลจรยิ ธรรมขา้ ราชการพลเรอื น ไดก้ าหนดมาตรฐานทางจริยธรรมของขา้ ราชการในการป้องกันปัญหา
ผลประโยชน์ทับซ้อนในการปฏิบัตริ าชการหลายประการ ดังปรากฏในหมวด ๒ ขอ้ ๓ (๓) ข้อ ๕(๑),(๒),(๓),(๔)
ข้อ ๖(๑),(๒),(๓) ขอ้ ๗(๔),(๕) ข้อ ๘(๕) ข้อ ๙(๑) เป็นตน้

ความหมาย : สานกั งาน ก.พ.

สถานการณห์ รอื การกระทาของบุคคล (ไม่วา่ จะเป็นนักการเมืองข้าราชการ พนกั งานบรษิ ทั ผูบ้ ริหาร)

มีผลประโยชน์สว่ นตนเขา้ มาเก่ยี วขอ้ ง จนสง่ ผลกระทบต่อการตัดสินใจหรือการปฏิบตั หิ นา้ ที่ในตาแหนง่ นั้น

การกระทาดงั กล่าวอาจเกิดข้นึ โดยรู้ตวั หรือไม่ร้ตู ัว ทัง้ เจตนาหรือไม่เจตนาหรอื บางเร่อื งเปน็ การปฏิบตั สิ ืบตอ่ กันมา

จนไมเ่ หน็ ว่าจะเปน็ ส่ิงผดิ แตอ่ ย่างใดพฤติกรรมเหล่านีเ้ ป็นการกระทาความผิดทางจรยิ ธรรมของเจ้าหน้าทข่ี องรัฐ

ท่ตี อ้ งคานึงถงึ ผลประโยชน์สาธารณะ (ประโยชนข์ องส่วนรวม) แต่กลบั ตดั สนิ ใจปฏบิ ตั หิ น้าทีโ่ ดยคานึงถึงประโยชน์

ของตนเองหรือพวกพอ้ ง

มลู เหตปุ ญั หาผลประโยชนท์ บั ซอ้ น

ปัญหาผลประโยชน์ทบั ซอ้ นเกดิ จากการพัฒนาการทางการเมอื งไทยเปลีย่ นไป จากเดมิ ที่นักการเมืองและ

นกั ธุรกจิ เป็นบุคคลคนละกลมุ่ กนั กลา่ วคือในอดตี นกั ธรุ กจิ ตอ้ งพึ่งพงิ นักการเมือง เพอ่ื ให้นกั การเมอื งชว่ ยเหลอื

สนบั สนุนธรุ กิจของตน ซ่งึ ในบางครง้ั ส่งิ ท่นี ักธุรกจิ ต้องการนน้ั มไิ ด้รับการตอบสนองจากนกั การเมอื งทกุ คร้ังเสมอไป

นักธุรกจิ ก็ต้องจา่ ยเงินจานวนมากแกน่ ักการเมอื ง ในปัจจุบันนักธรุ กิจจงึ ใชว้ ิธีการเขา้ มาเล่นการเมอื งเองเพื่อให้ตนเอง

สามารถเขา้ มาเป็นผู้กาหนดนโยบายและออกกฎเกณฑต์ า่ งๆ ในสังคมได้ และทีส่ าคญั คอื ทาใหข้ า้ ราชการต่างๆ

ต้องปฏิบตั ติ ามคาสง่ั

ผลประโยชนท์ ับซ้อน ภาษาไทยใช้อยู่ ๓ อย่าง
๑. ความขัดแย้งกันระหว่างผลประโยชนส์ ว่ นตนและผลประโยชน์ส่วนรวม
๒. ผลประโยชน์ทบั ซ้อน
๓. ผลประโยชน์ขดั กนั

นิยามศัพทแ์ ละแนวคิดสาคญั

ผลประโยชนส์ ่วนตน (private interest) “ผลประโยชน์” คอื สิ่งใดๆ ที่มีผลตอ่ บคุ คล/กลมุ่ ไมว่ ่าในทางบวก
หรือลบ “ผลประโยชน์ส่วนตน” ไมไ่ ด้ครอบคลมุ เพยี งผลประโยชน์ดา้ นการงานหรอื ธรุ กจิ ของเจา้ หน้าที่ แตร่ วมถึง
คนที่ติดตอ่ สัมพันธด์ ว้ ย เชน่ เพ่อื น ญาติ คแู่ ข่ง ศตั รู เมื่อใดเจ้าหน้าทป่ี ระสงคจ์ ะใหค้ นเหล่านไ้ี ด้หรือเสยี ประโยชน์
เม่อื นน้ั ก็ถอื ว่ามเี รื่องผลประโยชนส์ ว่ นตนมาเก่ียวขอ้ ง

ผลประโยชนส์ ่วนตน มี ๒ ประเภท คือ ทีเ่ กย่ี วกับเงนิ (pecuniary) และทไี่ มเ่ ก่ยี วกบั เงิน (non-pecuniary)
๑. ผลประโยชน์ส่วนตนท่เี กี่ยวกบั เงนิ ไมไ่ ดเ้ กีย่ วกับการไดม้ าซ่ึงเงินทองเท่าน้นั แตย่ ังเก่ียวกบั การเพิ่มพนู

ประโยชนห์ รอื ปกปอ้ งการสูญเสยี ของสิ่งทม่ี อี ยู่แล้ว เชน่ ทด่ี นิ หุน้ ตาแหนง่ ในบริษัทที่รับงานจากหน่วยงาน รวมถึง
การได้มาซงึ่ ผลประโยชน์อ่ืนๆทไี่ ม่ไดอ้ ยใู่ นรปู ตัวเงินเชน่ สัมปทานส่วนลดของขวัญหรือของทแี่ สดงน้าใจไมตรอี น่ื ๆ

๒. ผลประโยชนท์ ่ีไม่เก่ยี วกับเงิน เกดิ จากความสมั พนั ธ์ระหวา่ งบุคคล ครอบครวั หรอื กจิ กรรมทางสังคม
วัฒนธรรมอื่น ๆ เชน่ สถาบันการศกึ ษา สมาคม ลัทธิ แนวคดิ มักอยู่ในรูปความลาเอียง /อคติ/เลอื กทีร่ ักมักที่ชัง
และมีขอ้ สงั เกตวา่ แม้แตค่ วามเชอ่ื /ความคิดเห็นสว่ นตัวกจ็ ดั อยู่ในประเภทน้ี

• หน้าทส่ี าธารณะ (public duty) หนา้ ที่สาธารณะของผู้ทที่ างานใหภ้ าครัฐคอื การใหค้ วามสาคญั อนั ดบั ตน้ แก่
ประโยชนส์ าธารณะ (public interest) คนเหลา่ นี้ไมจ่ ากดั เฉพาะเจ้าหนา้ ท่ีของรัฐทง้ั ระดบั ทอ้ งถิ่นและ
ระดบั ประเทศเท่าน้ัน แต่ยังรวมถึงคนอืน่ ๆ ท่ีทางานให้ภาครฐั เช่น ท่ีปรึกษา อาสาสมัคร

• ผลประโยชน์สาธารณะ คือประโยชน์ของชุมชนโดยรวมไม่ใชผ่ ลรวมของผลประโยชน์ของปจั เจกบคุ คลและไมใ่ ช่
ผลประโยชน์ของกล่มุ คน การระบผุ ลประโยชน์สาธารณะไมใ่ ชเ่ รอ่ื งง่าย แตใ่ นเบอื้ งต้นเจา้ หนา้ ท่ีภาครฐั สามารถให้
ความสาคญั อันดับต้นแก่สง่ิ นี้ โดย

- ทางานตามหน้าทีอ่ ย่างเตม็ ที่และมีประสิทธภิ าพ
- ทางานตามหน้าที่ตามกรอบและมาตรฐานทางจริยธรรม
- ระบผุ ลประโยชนท์ บั ซอ้ นทีต่ นเองมีหรืออาจจะมแี ละจัดการอย่างมปี ระสิทธิภาพ
- ใหค้ วามสาคญั อนั ดับตน้ แก่ผลประโยชน์สาธารณะ มีความคาดหวงั วา่ เจ้าหน้าทีต่ ้องจากัดขอบเขตท่ี

ประโยชนส์ ว่ นตนจะมามีผลต่อความเป็นกลางในการทาหน้าท่ี
- หลีกเลยี่ งการตัดสินใจหรือการทาหน้าที่ทมี่ ผี ลประโยชนท์ บั ซอ้ น
- หลกี เลี่ยงการกระทากิจกรรมส่วนตนท่ีอาจทาให้คนเห็นวา่ ไดป้ ระโยชนจ์ ากข้อมลู ภายใน
- หลกี เลยี่ งการใช้ตาแหน่งหนา้ ทห่ี รอื ทรพั ยากรของหนว่ ยงานเพ่อื ประโยชน์ส่วนตน
- ปอ้ งกันข้อครหาว่าได้รบั ผลประโยชน์ทไ่ี ม่สมควรจากการใช้อานาจหน้าท่ี
- ไมใ่ ช้ประโยชน์จากตาแหนง่ งานใหม่

• ผลประโยชน์ทับซ้อน (Conflict of Interests) องค์กรสากล คือ Organization for Economic Cooperation
and Development (OECD) นยิ ามวา่ เป็นความทับซอ้ นระหว่างผลประโยชน์ส่วนตนและผลประโยชนท์ บั ซ้อน
มี ๓ ประเภท คอื

๑. ผลประโยชนท์ บั ซ้อนทีเ่ กิดขึน้ จรงิ(actual) มีความทบั ซอ้ นระหว่างผลประโยชนส์ ่วนตนและสาธารณะเกดิ ข้ึน
๒. ผลประโยชนท์ บั ซอ้ นท่เี ห็น (perceived & apparent) เป็นผลประโยชน์ทบั ซ้อนทค่ี นเห็นว่ามี แต่
จรงิ ๆ อาจไมม่ ีก็ได้ ถ้าจดั การผลประโยชน์ทับซ้อนประเภทนอ้ี ยา่ งขาดประสทิ ธภิ าพ กอ็ าจนามาซึง่ ผลเสยี ไมน่ อ้ ย
กวา่ การจัดการผลประโยชนท์ บั ซอ้ นที่เกิดขึ้นจรงิ ขอ้ นแ้ี สดงว่าเจา้ หน้าทไ่ี มเ่ พียงแตจ่ ะตอ้ งประพฤตติ นอยา่ งมี
จรยิ ธรรมเท่าน้ัน แต่ตอ้ งทาใหค้ นอ่นื ๆ รบั รูแ้ ละเหน็ ด้วยวา่ ไมไ่ ดร้ บั ประโยชนเ์ ชน่ นนั้ จริง
๓. ผลประโยชน์ทับซอ้ นท่ีเปน็ ไปได้ (potential) ผลประโยชน์ส่วนตนที่มีในปจั จบุ ันอาจจะทบั ซอ้ นกับ
ผลประโยชน์สาธารณะได้ในอนาคต

• หน้าทท่ี ับซอ้ น (conflict of duty) หรอื ผลประโยชน์เบียดซอ้ นกัน (competing interests) มี ๒ ประเภท
๑. ประเภทแรก เกดิ จากการท่ีเจา้ หน้าท่ีมีบทบาทหน้าท่ีมากกว่าหนึ่ง เชน่ เปน็ เจ้าหนา้ ทใี่ นหน่วยงานและ

เป็นคณะกรรมการดา้ นระเบียบวินยั ประจาหน่วยงานด้วย ปญั หาจะเกดิ เม่อื ไม่สามารถแยกแยะบทบาทหน้าท่ีทั้ง
สองออกจากกนั ได้อาจทาให้ทางานไมม่ ปี ระสิทธภิ าพ หรอื แมก้ ระทั่งเกิดความผดิ พลาดหรอื ผดิ กฎหมาย ปกติ
หน่วยงานมักมีกลไกปอ้ งกนั ปญั หาน้โี ดยแยกแยะบทบาทหน้าทตี่ ่างๆ ใหช้ ดั เจน แตก่ ย็ ังมปี ัญหาได้โดยเฉพาะอยา่ ง
ยงิ่ ในหนว่ ยงานทีม่ ีกาลงั คนน้อยหรือมีเจ้าหน้าท่บี างคนเทา่ นั้นทส่ี ามารถทางานบางอย่างท่คี นอทื่นาๆไมไ่ ด้ คนสว่ นใหญ่
ไม่คอ่ ยหว่ งปญั หานี้กนั เพราะดเู หมอื นไม่มเี รอ่ื งผลประโยชน์สว่ นตนมาเกยี่ วขอ้ ง

๒. ประเภทที่สอง เกิดจากการทีเ่ จ้าหน้าท่ีมบี ทบาทหนา้ ทม่ี ากกว่าหนึ่งบทบาท และการทาบทบาทหน้าที่
ในหนว่ ยงานหนง่ึ นั้น ทาให้ได้ข้อมลู ภายในบางอย่างที่อาจนามาใชเ้ ป็นประโยชนแ์ ก่การ ทาบทบาทหนา้ ที่ให้แก่
อกี หนว่ ยงานหนึ่งได้ ผลเสียคือ ถ้านาขอ้ มูลมาใช้กอ็ าจเกิดการประพฤตมิ ิชอบหรอื ความลาเอยี ง /อคติต่อคนบาง
กลุ่มควรถือว่าหนา้ ที่ทบั ซ้อนเป็นปัญหาผลประโยชน์ทบั ซอ้ นด้วย เพราะวา่ มีหลกั การจัดการแบบเดยี วกนั นน่ั คอื
การตดั สินใจทาหน้าที่ตอ้ งเปน็ กลางและกลไกการจดั การผลประโยชนท์ ับซอ้ นกส็ ามารถนามาจดั การกับหน้าทท่ี ับซอ้ นได้

ความหมายและประเภทของการขดั กนั ระหว่างประโยชน์สว่ นบคุ คลกบั ประโยชน์สว่ นรวม
ความขดั แย้ง (Conflict) สถานการณท์ ่ีขดั กัน ไม่ลงรอยเปน็ เหตกุ ารณ์อนั เกิดข้ึนเม่อื บคุ คลไม่สามารถตดั สนิ ใจ
กระทาอยา่ งใดอยา่ งหน่งึ ความขัดแยง้ อาจเกิดข้ึนได้จากความไม่ลงรอยกนั ในเร่ืองความคดิ แนวทางปฏบิ ตั ิ หรอื
ผลประโยชน์

ผลประโยชนส์ ่วนตน (Private Interests) เปน็ ผลตอบแทนท่ีบุคคลได้รบั โดยเห็นว่ามคี ุณค่าที่จะสนองตอบความ
ตอ้ งการของตนเองหรอื ของกลุ่มทต่ี นเองเกยี่ วขอ้ ง ผลประโยชนเ์ ป็นส่งิ จงู ใจให้คนเรามีพฤติกรรมตา่ งๆ เพ่อื สนอง
ความต้องการทงั้ หลาย (เพญ็ ศรี วายวานนท์, 2527:154)

ผลประโยชนส์ ่วนรวมหรือผลประโยชน์สาธารณะ (Public Interests) หมายถึง สง่ิ ใดก็ตามท่ีใหป้ ระโยชนส์ ขุ แก่
บคุ คลท้งั หลายในสงั คม ผลประโยชนส์ าธารณะ ยังหมายรวมถงึ หลักประโยชนต์ อ่ มวลสมาชกิ ในสังคม

ความขัดแยง้ กนั ระหว่างผลประโยชนส์ ่วนตนและผลประโยชน์สว่ นรวม (Conflict Of Interests) เป็น
สถานการณท์ ่บี ุคคลในฐานะพนกั งานหรือเจา้ หนา้ ทีข่ องรัฐ ใชต้ าแหน่งหรืออานาจหน้าท่ีในการแสวงประโยชนแ์ ก่
ตนเอง กล่มุ หรอื พวกพ้อง ซึง่ เป็นการละเมิดทางจรยิ ธรรม และสง่ ผลกระทบหรือความเสยี หายตอ่ ประโยชน์
สาธารณะ คาอ่นื ท่มี ีความหมายถงึ ความขดั แย้งกนั แหง่ ผลประโยชนส์ ่วนตนและสว่ นรวม ได้แก่ การมผี ลประโยชน์
ทบั ซ้อน ความขดั กนั ระหวา่ งผลประโยชน์ของผดู้ ารงตาแหนง่ สาธารณะ และรวมถงึ คอร์รัปช่ันเชิงนโยบาย
คอรร์ ปั ชั่นสเี ทา

ความหมายของ (Interests กบั Corruption)
 Conflict of Interests เปน็ รูปแบบหนงึ่ ของ Corruption แตร่ ะดับหรอื ขนาด และขอบเขต ต่างกนั
 Conflict of Interests นาไปสู่ ท่รี ุนแรงขน้ึ
 Conflict of Interests เกยี่ วกบั การใชอ้ านาจทเ่ี ป็นทางการ เช่ือมโยงกบั กฎหมาย ระเบียบการปฏบิ ตั ิ
และสว่ นที่ไม่เป็นทางการ เปน็ ความสมั พันธ์ระหว่างบคุ คล ขยายไปถงึ เรื่องครอบครวั ตอ้ งพิจารณา
ความสมั พันธ์ เช่น คู่สมรส และคนในเครอื ญาติ

รปู แบบ (Conflict of Interests)
การรบั ผลประโยชน์ (Accepting Benefits) ได้แก่

 การรับของขวัญหรือของกานัลท่ีมีค่าอนื่ ๆ ซึง่ ส่งผลต่อการปฏิบัติหนา้ ที่
 การท่ีบรษิ ัทสนับสนุนการเดินทางไปประช/ุมดูงานในต่างประเทศของผบู้ ริหารและอาจรวมถึงครอบครวั
 การท่ีหน่วยงานราชการรับเงินบริจาคสรา้ งสานักงานจากบริษัทธุรกิจทีต่ ดิ ต่อกับหนว่ ยงาน
 เจา้ หนา้ ทขี่ องรฐั รับของแถมหรือผลประโยชน์ในการปฏิบตั งิ านที่เกีย่ วกบั การจัดซ้ือจัดจา้ ง
 การทบ่ี ุคคลปฏบิ ัตหิ น้าท่ีเอาผลประโยชนส์ ่วนตัวไปพัวพนั ในการตดั สินใจ เพ่ือเอ้ือประโยชน์ต่อตนเอง

และเป็นการเสียประโยชน์ของทางการ

การกระทาทอ่ี ยใู่ นข่าย Conflict of Interests

รับผลประโยชน์ (Benefits) คือ การรบั สนิ บนหรอื รบั ของขวัญ เชน่ เปน็ เจ้าพนกั งานสรรพากร
แล้วรบั เงินจากผมู้ า เสียภาษี หรอื เปน็ เจ้าหนา้ ที่จดั ซื้อแล้วไปรับไม้กอลฟ์ จากรา้ นคา้ เปน็ ต้น

ใช้อทิ ธพิ ล (Influence Peddling) เป็นการเรยี กผลตอบแทนในการใชอ้ ทิ ธพิ ลในตาแหน่งหน้าที่เพื่อ
ส่งผลทเ่ี ปน็ คณุ แกฝ่ ่ายใด ฝ่ายหน่งึ อย่างไมเ่ ปน็ ธรรม

ใชท้ รพั ยส์ ินของนายจา้ งเพอื่ ประโยชนส์ ว่ นตน (Using employer’s property for private advantage)
ไดแ้ ก่ การใช้รถราชการ หรือใช้คอมพิวเตอร์ของราชการทางานสว่ นตัว เปน็ ต้น

ใชข้ ้อมูลลับของราชการ (confidential information) เช่น รูว้ า่ ราชการจะตัดถนน แลว้ รีบชิงไปซอื้
ทีด่ กั หน้าไว้ก่อน

รบั งานนอก (Outside employment or moonlighting) ได้แก่ การเปิดบรษิ ัทหากินซ้อนบริษทั ท่ี
ตนเองทางาน เชน่ เปน็ พนักงานขายแอบเอาสินคา้ ตวั เองมาขายแข่ง หรอื เช่นนักบัญชีที่รบั งานส่วนตวั จน
ไมม่ เี วลาทางานบัญชใี นหน้าทีใ่ หร้ าชการ

ทางานหลงั ออกจากตาแหน่ง (Post Employment) เป็นการไปทางานใหผ้ อู้ นื่ หลงั ออกจากงานเดิม
โดยใชค้ วามรูห้ รอื อทิ ธิพลที่เดิมมาชิงงาน หรอื เอาประโยชน์โดยไม่ชอบธรรม เช่น เอาความร้ใู นนโยบาย
และแผนของธนาคารชาตไิ ปช่วยธนาคารเอกชนหลงั เกษียณ

ประเภทของผลประโยชนท์ ับซ้อน
 การใชต้ าแหน่งไปดาเนินการเพือ่ ประโยชน์ทางธรุ กิจของตนเองโดยตรง
 ใช้ตาแหน่งไปชว่ ยเหลอื ญาติสนทิ มติ รสหาย
 การรบั ผลประโยชน์โดยตรง
 การแลกเปลยี่ นผลประโยชน์โดยใชต้ าแหนง่ หน้าท่กี ารงาน
 การนาทรพั ย์สินของหนว่ ยงานไปใชส้ ว่ นตัว
 การนาขอ้ มูลอนั เปน็ ความลับของหน่วยงานมาใชป้ ระโยชนส์ ว่ นตวั
 การทางานอกี แหง่ หน่งึ ที่ขัดแยง้ กับแห่งเดิม
 ผลประโยชน์ทบั ซ้อนจากการเปลย่ี นสถานที่ทางาน
 การปิดบงั ความผดิ

ตัวอยา่ งประโยชนท์ บั ซอ้ น
 หาประโยชนใ์ หต้ นเอง
 รับประโยชนจ์ ากตาแหน่งหน้าที่
 ใชอ้ ิทธิพลเรยี กผลตอบแทน

 ใชท้ รัพยส์ ินของนายจา้ งเพ่ือประโยชน์ของตน
 ใช้ขอ้ มลู ความลบั เพือ่ แสวงประโยชนข์ องตนเองและพวกพ้อง
 รับงานนอก แลว้ สง่ ผลเสยี ใหง้ านในหน้าที่
 ทางานหลังออกจากตาแหนง่ และเอ้อื ประโยชน์ต่อบริษัท
 การใหข้ องขวญั ของกานัล เพอื่ หวังความกา้ วหนา้
 ใหท้ ปิ พนกั งานโรงแรมเพอ่ื หวังการบรกิ ารที่ดีกว่าลูกคา้ รายอนื่
 ช่วยใหญ้ าตมิ ติ รทางานในหนว่ ยทตี่ นมอี านาจ
 ชือ้ ขายตาแหนง่ จา่ ยผลประโยชน์ เพื่อความเจรญิ ก้าวหนา้ ของตน

รูปแบบของประโยชนท์ ับซอ้ น
 การรับผลประโยชน์ตา่ งๆ (Accepting Benefit)
 การทาธรุ กิจกบั ตวั เอง (Self-dealing) หรือการเปน็ คู่สญั ญา
 การทางานหลงั เกษยี ณ (Post-employment)
 การทางานพเิ ศษ (Outside employment or moonlighting)
 การใช้ข้อมูลภายใน (Inside information)
 การนาโครงการสาธารณะลงในเขตเลือกตง้ั เพ่ือประโยชนใ์ นทางการเมอื ง (Pork-barreling)

การรับประโยชน์ต่างๆ
 การรบั ของขวัญจากบรษิ ัทต่างๆ
 บรษิ ทั สนบั สนนุ คา่ เดินทางไปดูงานตา่ งประเทศ
 หน่วยราชการรับเงินบริจาคจากธรุ กจิ ท่ีเป็นลกู ค้าของหนว่ ยงาน
 ได้รบั ของแถมหรือผลประโยชนอ์ ืน่ ใดจากการจัดช้ือจัดจา้ ง
 การท่ีคณะกรรมการก้เู งินจากสถาบนั การเงนิ ในการกบั ดูแล
 การทีค่ ณะกรรมการฝากญาติพน่ี อ้ งหรอื คนทคี่ ุน้ เคยเข้าทางานในรัฐวิสาหกิจท่ตี นกากับดูแลอยู่

ประโยชน์อนั คานวณเปน็ เงนิ ได้
 การปลดหน้หี รือการลดหนีใ้ ห้เปล่า
 การให้ยมื โดยไมค่ ิดดอกเบย้ี
 การเข้าค้าประกนั โดยไมค่ ดิ ค่าธรรมเนียม
 การใหค้ า่ นายหนา้ หรือคา่ ธรรมเนียมการเปน็ ตัวแทน
 การขาย การให้เชา่ ชือ้ ทรัพย์สิน เกนิ มลู ค่าทเี่ ปน็ จริงตามทีป่ รากฏเห็นในทอ้ งตลาด
 การใช้สถานท่ี ยานพาหนะ หรือทรัพยส์ ิน โดยไม่คดิ ค่าเช่าหรือคา่ บริการนอ้ ยกวา่ ทีค่ ิดกบั บคุ คลอนื่
โดยปกตทิ างการคา้
 การให้ใชบ้ รกิ ารโดยไมค่ ดิ ค่าบรกิ าหรรอื คิดค่าใชบ้ ริการน้อยกว่าทีค่ ิดกบั บคุ คลอืน่โดยปกตทิ างการคา้
 การใหส้ ว่ นลดในสินค้า หรอื ทรพั ย์สนิ ท่ีจาหน่าย โดยการให้ส่วนลดมากกวา่ ทใ่ี หก้ บั บุคคลอนื่ โดยปกติ
ทางการค้า
 การให้เดนิ ทาง หรือขนสง่ บุคคล หรือสง่ิ ของโดยไม่คิดคา่ ใชจ้ า่ ย หรอื คดิ คา่ ใช้จา่ ยนอ้ ยกวา่ บุคคลอ่นื
โดยปกตทิ างการคา้
 การจดั เล้ยี ง การจัดมหรสพ หรือการบนั เทงิ อ่นื ใหโ้ ดยไม่คิดค่าใชจ้ ่าย หรือคิดค่าใช้จ่ายน้อยกวา่ ท่ีคดิ
กับ บุคคลอ่นื โดยปกตทิ างการคา้

ข้าราชการประจา
กิจกรรมทีม่ ีความเสี่ยง

 การรบั ผลประโยชน์หรอื การเรยี กร้องสงิ่ ตอบแทนจากการปฏบิ ตั ิงานในหน้าทคี่ วามรบั ผดิ ชอบ
 การรับงานนอกหรอื การทาธุรกิจทีเ่ บยี ดบงั เวลาราชการ/งานโดยรวมของหน่วยงาน
 การทางานหลงั เกษียณใหก้ บั หนว่ ยงานท่มี ีผลประโยชนข์ ัดกับหนว่ ยงานต้นสงั กดั เดิม
 การนารถราชการไปใชใ้ นกิจธรุ ะส่วนตัวและในหลายกรณีมกี ารเบิกคา่ นา้ มันดว้ ย
 การนาบคุ ลากรของหนว่ ยงานไปใชเ้ พอ่ื การสว่ นตวั
 การรับงานจากภายนอกจนกระทบต่อการปฏบิ ตั หิ น้าทีป่ ระจา
 การใช้สิทธิในการเบิกจ่ายยาให้แก่ญาติแลว้ นายาไปใช้ทค่ี ลนิ ิกส่วนตัว
 การรับประโยชนจ์ ากระบบการลอ็ กบตั รควิ ใหแ้ กเ่ จา้ หน้าท่ีหรอื ญาติเจา้ หน้าที่ในหน่วยงาน

กล่มุ วชิ าชพี ทีเ่ ก่ยี วกับการ ตรวจสอบ ประเมนิ ราคาและการจัดซื้อจดั จ้าง
 การกาหนดมาตรฐาน (Specification) ในสินคา้ ที่จะจดั ซ้ือจดั จา้ งให้บริษัทของตนหรือของพวกพอ้ ง
ได้เปรียบหรือชนะในการประมูล
 การให้ขอ้ มูลการจดั ซื้อจดั จา้ งแกพ่ รรคพวก/ญาติ เพ่อื แสวงหาผลประโยชนใ์ นการประมลู หรือการจ้าง
เหมา รวมถงึ การปกปิดขอ้ มลู เช่น การปิดประกาศหรอื เผยแพรข่ ้อมูลขา่ วสารล่าช้าหรือพ้น
กาหนดการย่ืนใบเสนอราคา เปน็ ต้น

ประกาศคณะกรรมการ ป.ป.ช. หลกั เกณฑ์การรับทรัพย์สินหรอื ประโยชน์อ่นื ใด โดยธรรมจรรยาของเจ้าหน้าท่ี
ของรัฐ พ.ศ. ๒๕๔๓ (มาตรา ๑๐๓)
ขอ้ ๕ เจ้าหน้าที่ของรฐั จะรับทรัพย์สินหรอื ประโยชน์อ่ืนใดโดยธรรมจรรยาได้ดังต่อไปนี้
(๑) จากญาติ ซ่งึ ใหโ้ ดยเสน่หาตามจานวนท่เี หมาะสมตามฐานานุรูป
(๒) จากบคุ คลอื่นราคาหรือมลู ค่าในการรับจากแต่ละบุคคล แตล่ ะโอกาสไม่เกนิ สามพันบาท
การรับทรัพยส์ ินหรอื ประโยชนอ์ ืน่ ทีม่ ีมลู คา่ เกินกวา่ ๓,๐๐๐ บาท โดยมีความจาเป็นตอ้ งรับเพื่อรกั ษาไมตรี
มิตรภาพ ตอ้ งแจ้งผู้บริหารสูงสดุ ของหน่วยงานโดยทันทีทส่ี ามารถกระทาได้
หากมีความจาเป็นตอ้ งรบั เพราะเพอ่ื รักษาไมตรี...จะทาอย่างไร

 แจง้ ผบู้ ังคับบญั ชา ซ่งึ เปน็ หัวหน้าสว่ นราชการ วินิจฉัย
 มเี หตผุ ล รับได้ - รบั ไว้
 ไม่เหตุควรรบั ส่งคืน สง่ คนื ไมไ่ ด้ มอบใหส้ ว่ นราชการ
ระเบียบสานักนายกรฐั มนตรีวา่ ดว้ ย การเรี่ยไรของหน่วยงานของรัฐ พ.ศ. ๒๕๔๔
ขอ้ ๒๒ เจ้าหน้าท่ีของรฐั ทเ่ี ขา้ ไปมสี ่วนเกย่ี วข้องกับการเร่ยี ไรของบคุ คลหรือนิติบคุ คลท่ไี ด้รับอนุญาตจาก
คณะกรรมการควบคุมการเร่ยี ไรตามกฎหมายวา่ ดว้ ยการเรี่ยไรซง่ึ มิใช่หน่วยงานของรัฐจะต้องไมก่ ระทาการ
ดงั ต่อไปนี้
(๑) ใช้หรือแสดงตาแหน่งหน้าที่ใหป้ รากฏในการดาเนินการเร่ียไรไมว่ ่าจะเป็นการโฆษณาดว้ ยสง่ิ พมิ พต์ ามกฎหมาย
วา่ ดว้ ยการพมิ พ์ หรือสือ่ อย่างอ่ืนหรอื ด้วยวธิ ีการอื่นใด
(๒) ใช้ ส่ัง ขอร้อง หรือบังคบั ใหผ้ ูใ้ ตบ้ งั คับบัญชา หรอื บคุ คลใดชว่ ยทาการเรีย่ ไรให้หรอื กระทาในลกั ษณะใหผ้ นู้ ัน้ อยู่
ในภาวะจายอมไม่สามารถปฏเิ สธ หรือหลกี เลยี่ งท่จี ะไม่ช่วยทาการเรี่ยไรไมว่ า่ ทางตรงหรือทางอ้อม

แนวทางป้องกันและแก้ไขปญั หาผลประโยชน์ทับซอ้ น
“ความขัดแย้ง ระหวา่ ง บทบาท” (Conflict of roles)

หมายความว่า บคุ คลดารงตาแหน่งท่ีมีบทบาทสองบทบาทขัดแย้งกนั เช่น นายสมชายเปน็ กรรมการสอบ
คดั เลอื กบคุ คลเขา้ ทางาน โดยท่บี ุตรสาวของสมชายเปน็ ผู้สมคั รสอบคนหนึ่งด้วย ซึ่งในกรณนี ี้ถอื ว่าเกดิ การดารง
ตาแหนง่ อนั หมนิ่ เหมต่ ่อการเกดิ ปัญหาผลประโยชน์ทบั ซอ้ นแต่ในกรณนี ถ้ี อื วา่ ยงั มิไดน้ าไปสกู่ ารกระทาความผิดแต่
ประการใด
(เช่น การสอบคัดเลอื กบุคคลยงั มไิ ดเ้ กิดข้นึ จริง หรอื มีการสอบเกิดข้ึนแลว้ แต่นายสมชายสามารถวางตวั เป็นกลาง
มไิ ด้ช่วยเหลอื บตุ รสาวของตนแต่ประการใด เป็นตน้ ) กระน้นั ก็ตาม การดารงตาแหน่งอนั หมิ่นเหม่ต่อการเกิด
ปัญหาผลประโยชน์ทบั ซ้อนดังกลา่ ว ถือเป็นสถานการณล์ ่อแหลม ทีอ่ าจจูงใจ/ชักนาใหเ้ กดิ การกระทา

เกดิ ผลประโยชนท์ ับซอ้ น จะตอ้ งถอนตวั ออกอยา่ งสมบูรณจ์ ากการเป็น ผูม้ สี ว่ นในการตัดสินใจ งดแสดง
ความคิดเหน็ ละเว้นจากการให้คาปรึกษา และ งดออกเสียง (Recusal)
เชน่ ในกรณีท่ีสมชายเป็นกรรมการสอบคัดเลอื กบคุ ลากร เข้าทางาน โดยมีบุตรสาวของตนสมัครเข้ารว่ มสอบ
คดั เลอื กด้วยน้นั ซงึ่ ในสถานการณ์ เชน่ นี้ สมชายจะตอ้ งลาออกจากการเปน็ กรรมการสอบคดั เลือก เพอื่ เป็นการ
ถอนตวั ออกจากการเก่ียวขอ้ งกับสถานการณอ์ นั หมนิ่ เหมต่ อ่ ผลประโยชนท์ ับซ้อนอยา่ งสงู

เคล่ือนย้ายผลประโยชนส์ ่วนตวั ท่ีทับซอ้ นอยใู่ หอ้ อกไป (Removal) เพื่อให้ตนเองสามารถปฏิบตั ิภารกิจได้
โดยปราศจากอคติ วธิ กี ารดงั กลา่ วนี้เปน็ การปิดช่องทางมิให้เอือ้ อานวยต่อการเกดิ ปญั หาผลประโยชน์ทบั ซ้อน จงึ
เป็นวธิ ที ่ีดีทส่ี ดุ วธิ หี น่งึ ในการจัดการกบั ผลประโยชนท์ บั ซ้อน เชน่ จากกรณตี ัวอย่างในขอ้ สอง สมชาย สามารถ
แก้ปัญหาผลประโยชนท์ ับซ้อนได้ โดยการขอร้องให้บตุ รสาวของตนถอนตัว ออกจากการสอบ เพอื่ ใหส้ มชาย
สามารถปฏบิ ตั หิ น้าท่ีในฐานะกรรมการสอบคดั เลือก

มาตรการในการปอ้ งกันและปราบปรามการทุจรติ ตามรัฐธรรมนูญ
 มาตรการคดั สรรคนดีเข้าสตู่ าแหนง่ ทางการเมือง
 การกาหนดมาตรการปอ้ งกนั การทุจรติ ในตาแหน่ง
 การเพม่ิ ระบบและองค์การตรวจสอบการใช้อานาจ
 การมสี ่วนรว่ มของประชาชนในการปอ้ งกนั และปราบปรามการทจุ รติ

การกาหนดมาตรการป้องกนั การทจุ ริตในตาแหน่ง
 การมีประมวลจริยธรรมและการห้ามผลประโยชน์ทบั ซ้อน
 การแสดงบัญชที รัพยแ์ ละหน้สี ิน
 การใช้หลกั โปร่งใสในการใช้อานาจ

แนวทางการปฏิบตั ิตนของเจา้ หน้าทขี่ องรฐั
 หลักนิตธิ รรม
 หลกั คณุ ธรรม
 หลักความโปร่งใส
 หลักการมีส่วนรว่ ม
 หลกั ความรบั ผิดชอบ
 หลักความคมุ้ ค่า

หลกั ธรรมาภบิ าล และหลักคณุ ธรรม จริยธรรมในการปฏบิ ัติงาน แนวทางการป้องกันและปราบปรามการ
ทจุ รติ (ANTI CORRUPTION)
หลกั ธรรมาภบิ าลในการบริหารองคก์ ร (Good Governance) หลักคุณธรรม จริยธรรม ในการปฏบิ ัตงิ าน การ
ป้องกนั และปราบปรามการทุจริตและประพฤตมิ ชิ อบ

ธรรมาภบิ าล จะมมีคาวา่ integrity คา่ นิยมของขา้ ราชการ I am ready
I = Integrity มีศกั ดศ์ิ รี (ยึดมัน่ ในความถกู ต้อง สจุ ริต เที่ยงธรรม)
A = Activeness ขยนั ตั้งใจทางาน (บริการ/แกไ้ ขปัญหา ปชช)
M = Morality มศี ลี ธรรม คุณธรรม จริยธรรม
R = Relevance รู้ทนั โลก ปรับตัวทนั โลก ตรงกับสังคม
E = Efficiency มงุ่ เนน้ ประสทิ ธภิ าพ (คณุ ภาพ ดัชนี ประเมนิ ผล)
A = Accountability รบั ผดิ ชอบตอ่ ผลงาน ประชาชน
D = Democracy มใี จ/การกระทาเป็น ประชาธิปไตย (มีสว่ นรว่ ม โปร่งใส)
Y = Yield มผี ลงาน มุ่งเน้นผลงาน เพ่อื ประโยชน์สขุ ของประชาชน


Click to View FlipBook Version