The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search

คู่มือการรังวัดเฉพาะราย โดยระบบโครงข่ายการรังวัดด้วยดาวเทียมแบบจลน์ (RTK GNSS Network) (ปี 2561)

กองเทคโนโลยีทำแผนที่ (KM ปี 2561)

Keywords: ด้านการรังวัดและทำแผนที่

คาํ นํา

องคค วามรู “คมู ือ การรังวัดเฉพาะรายโดยระบบโครงขายการรังวัดดวยดาวเทียมแบบจลน
(RTK GNSS Network)” เปน องคความรูทไี่ ดรบั การคดั เลอื กจาก คณะกรรมการจดั การความรูของกรมที่ดิน
ประจําปงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๑ ซึ่งสนับสนุนประเด็นยุทธศาสตรที่ ๓ พัฒนาระบบขอมูลที่ดินและ
แผนที่แหงชาตทิ ่ีมีศกั ยภาพ รองรับการพฒั นาประเทศและรองรบั การบรกิ ารในระดบั สากล

ทั้งน้ี ขอมูลและเน้ือหาขององคความรูเลมน้ี ไดรวบรวมข้ึนอยางเปนระบบ ทั้งทางทฤษฎี
ตามหลักวิชาการ และความรูจากประสบการณในการปฏิบัติงาน เพื่อใหผูปฏิบัติงานท่ีเก่ียวของสามารถ
นําไปใชประโยชน ตลอดจนสามารถแกไ ขปญหาอปุ สรรคในการปฏิบตั งิ านไดอยางมีประสิทธิภาพและ
ประสิทธผิ ล

กองเทคโนโลยีทําแผนที่
กองฝกอบรม
กรมทด่ี นิ กระทรวงมหาดไทย
เมษายน ๒๕๖๑



สารบัญ

หนา

คาํ นํา ก

สารบัญ ข

สารบัญรปู ค

บทท่ี ๑ ความเปน มา ๑๑

บทที่ ๒ ทฤษฎีและหลักการทาํ งานของระบบโครงขา ยการรงั วัดดวยดาวเทยี มแบบจลน ๒  ๑

(RTK GNSS Network)

บทท่ี ๓ ข้นั ตอนการปฏิบัตงิ านรังวัดและนําเขาขอมลู ๓๑

บทที่ ๔ ข้นั ตอนการลงระวางดจิ ิทลั ๔๑

บทที่ ๕ ปญหา อปุ สรรค และแนวทางแกไข ๕๑

ภาคผนวก
ระเบยี บทีเ่ กี่ยวขอ ง
 ระเบียบกรมท่ีดิน วาดวยการติดตอหรือการแจงผูมีสิทธิในที่ดินขางเคียงใหมาลงช่ือรับรอง

แนวเขตหรือคัดคานการรงั วัด พ.ศ. ๒๕๒๑
 ระเบยี บกรมทด่ี ิน วา ดวยการแจงเจาของที่ดนิ ขา งเคียงกรณรี ังวัดแบงแยกท่ีดินที่มีการรังวัด

ใหมแลว พ.ศ. ๒๕๒๗
 ระเบียบกรมที่ดิน วาดวยการรังวัดและทําแผนที่เพ่ือเก็บรายละเอียดแปลงที่ดินโดยวิธีแผนท่ี

ชั้นหน่ึงในระบบพกิ ดั ฉาก ยู ที เอม็ พ.ศ. ๒๕๔๒
 ระเบียบกรมที่ดิน วาดวยการรังวัดโดยระบบโครงขายการรังวัดดวยดาวเทียมแบบจลน (RTK

Network) ในงานรังวดั เฉพาะราย พ.ศ. ๒๕๕๘

สารบัญรูป

รูป ๑  ๑ ตําแหนงสถานีรับสัญญาณดาวเทยี มอา งองิ (CORS) ของกรมท่ดี ิน หนา
ทดี่ าํ เนินการแลว เสรจ็ รวมทง้ั สน้ิ ๙๒ สถานี
๑๓
รปู ๑  ๒ ตาํ แหนงของสถานรี บั สัญญาณดาวเทียมอา งอิงท่ีกรมแผนท่ีทหาร
จะดําเนนิ การตดิ ต้งั จาํ นวน ๘๐ สถานี ๑๔

รปู ๑  ๓ พื้นที่ ๓๖ จงั หวัด ทกี่ รมท่ีดินประกาศใหท าํ การรงั วัดโดยวิธีแผนทีช่ ้นั หนึ่ง ๑๖
ดวยระบบโครงขายการรังวัดดวยดาวเทียมแบบจลน (RTK GNSS Network)
ในงานรังวัดเฉพาะรายของสํานกั งานที่ดนิ ๒๑
๒๒
รปู ๒  ๑ ตัวอยางเสารับสัญญาณของสถานีรับสญั ญาณดาวเทยี มอา งองิ ของกรมทีด่ นิ ๒๒
รูป ๒  ๒ เครอื่ งรบั สัญญาณของสถานรี ับสญั ญาณดาวเทยี มอางองิ ของกรมทด่ี นิ ๒๓
รูป ๒  ๓ ศูนยควบคมุ ของระบบโครงขา ยฯ ของกรมทดี่ นิ ๒๔
รูป ๒  ๔ หลกั การทํางานของระบบ FKP ๒๕
รปู ๒  ๕ หลกั การทํางานของระบบ VRS
รูป ๒  ๖ หลักการทํางานของระบบ MAC

บทที่ ๑

ความเปนมา

กฎกระทรวง ฉบบั ที่ ๖ (พ.ศ. ๒๔๙๗) และกฎกระทรวง ฉบับท่ี ๔๙ (พ.ศ. ๒๕๔๔) ออกตาม
พระราชบญั ญตั ิใหใชประมวลกฎหมายท่ีดิน พ.ศ. ๒๔๙๗ กําหนดใหการรังวัดทําแผนที่เพ่ือออกโฉนดท่ีดิน
ของกรมที่ดิน กระทําได ๒ วิธี คือ การรังวัดดวยวิธีแผนที่ช้ันหนึ่ง และการรังวัดดวยวิธีแผนที่ช้ันสอง
แตดวยสภาพการเปลย่ี นแปลงของสภาพภมู ปิ ระเทศ เชน การขยายตัวและการเติบโตของชุมชน การพัฒนา
ระบบสาธารณปู โภค อาทิ การกอสรางเสนทางคมนาคม ตลอดจนการใชประโยชนในที่ดินของประชาชน
ท่ีเพิ่มขนึ้ ทําใหห มุดหลกั ฐานแผนทถ่ี กู ทําลาย เคลื่อนยาย หรือสูญหาย ซ่ึงสงผลใหการรังวัดดวยวิธีแผนท่ี
ช้นั หนึง่ กระทาํ ไดไมเต็มประสิทธิภาพ สําหรับการรังวัดดวยวิธีแผนที่ช้ันสองน้ัน ก็ใหความผิดพลาด
ทางตาํ แหนงท่ีสูง ไมสามารถนําคาพิกัดท่ีรังวัดไดมาแสดงผลในระวางแผนที่ไดโดยตรง จะตองนํามา
ลงระวางแผนท่ีดวยการตอแปลงขางเคียง ทําใหเกิดความไมนาเช่ือถืออาจนําไปสูการเปนคดีข้ึนสูศาล
อยูบ อยครั้ง อกี ทั้งในการรังวัดที่ดินทุกคร้ัง ประมวลกฎหมายที่ดิน มาตรา ๖๙ ไดใหประชาชนผูมีที่ดิน
ขา งเคียงกบั ทีด่ ินทีไ่ ดทําการรังวัดจําเปนตองมาระวังแนวเขตขณะที่มีการรังวัด ทําใหประชาชนผูที่มิได
มีความประสงคจะรังวัดแปลงท่ีดินของตนเองตองเสียเวลาและคาใชจายในการเดินทาง ยอมสงผล
เสยี หายตอทางเศรษฐกจิ อกี ดวย

นอกจากน้ี รฐั บาลไดม ีแนวคดิ ที่จะบรู ณาการงานแผนท่ีในหนวยงานของรัฐ ใหเปนไปใน
ทิศทางและมีมาตรฐานเดียวกัน นายกรัฐมนตรี (พลเอก สุรยุทธ จุลานนท) จึงลงนามในระเบียบ
สํานักนายกรัฐมนตรี วาดวยมาตรฐานระวางแผนท่ีและแผนท่ีรูปแปลงท่ีดินในท่ีดินของรัฐ พ.ศ. ๒๕๕๐
เม่ือวันท่ี ๔ มกราคม ๒๕๕๐ โดยสาระสําคัญของระเบียบฯ น้ี ไดกําหนดใหหนวยงานตางๆ ที่ดูแลที่ดิน
ของรัฐ ตองจัดทําแนวเขตที่ดินของรัฐที่รับผิดชอบใหเปนไปตามมาตรฐานท่ีกําหนด และดําเนินการ
เปนดิจิทัลในระบบภูมิสารสนเทศ รวมทั้งจัดสงขอมูลใหกรมที่ดินจัดเก็บในฐานขอมูลแผนที่รูปแปลง
ทด่ี ินในที่ดินของรัฐ

จากขอเท็จจริงขางตน ทําใหเห็นไดวางานรังวัดทําแผนท่ีของประเทศไทยจําเปนตอง
อาศยั เทคโนโลยีการรังวัดดวยดาวเทียมท่ีสามารถแกขอจํากัดขางตนได กลาวคือ ตองใหความถูกตองของ
คาพิกัดท่ีเปนมาตรฐานเดียวกัน ลดปญหาการสูญหายของหมุดหลักฐานท่ีรังวัด ซ่ึงเทคโนโลยีระบบ
โครงขายการรังวัดดวยดาวเทียมแบบจลน (RTK GNSS Network) สามารถแกไขปญหาดังกลาวได
เปน อยา งดี

ดังนน้ั ในปงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๑ กรมท่ีดินจึงไดนําเทคโนโลยีระบบโครงขายการรังวัด
ดวยดาวเทียมแบบจลน (RTK GNSS Network) มาทดลองใชงาน โดยไดติดตั้งสถานีรับสัญญาณ
ดาวเทียมอางอิง (Continuous Operating Reference Station หรือ CORS) จํานวน ๕ สถานี
ไดแก

๑๒
 ๑-2

๑. สถานสี าํ นักงานที่ดินจังหวดั สมุทรปราการ สาขาบางพลี (BPLE)
๒. สถานีสํานกั งานท่ีดินจงั หวดั ชลบรุ ี สาขาพนสั นคิ ม (PNNK)
๓. สถานสี ํานักงานท่ีดนิ จงั หวดั ชลบรุ ี สาขาบางละมงุ (BLMG)
๔. สถานสี าํ นักงานที่ดนิ จังหวัดชลบรุ ี สาขาสัตหบี (STHP)
๕. สถานีสาํ นักงานท่ีดนิ จังหวัดระยอง สาขาปลวกแดง (PLDG)
และในปง บประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๒ ไดตดิ ตั้งเพิ่มเตมิ อกี ๒ ครัง้ จาํ นวน ๖ สถานี ไดแ ก
๑. สถานอี าคารรังวัดและทาํ แผนที่ (PKKT)
๒. สถานีสํานักงานท่ีดนิ จังหวัดสมุทรสาคร สาขากระทุมแบน (KTBN)
๓. สถานสี ํานักงานท่ีดนิ จงั หวัดนครปฐม สาขาบางเลน (BLAN)
๔. สถานีสํานกั งานที่ดินจงั หวดั นครนายก สาขาองครักษ (OKRK)
๕. สถานสี าํ นักงานที่ดินจงั หวดั พระนครศรีอยุธยา (AYYA)
๖. สถานีสํานกั งานท่ีดนิ จังหวัดสระบรุ ี สาขาแกงคอย (KKOI)
ทาํ ใหกรมท่ีดินมีสถานีรับสัญญาณดาวเทียมอางอิงในระยะแรก รวม ๑๑ สถานี ซึ่งใน
ภายหลังไดทดลองนําระบบการรังวัดโดยโครงขายงานรังวัดดวยดาวเทียมแบบจลน (RTK GNSS
Network) มาใชใ นการยกระดับการรังวัดออกโฉนดที่ดินของสํานักงานท่ีดินจังหวัดนนทบุรี สาขาปากเกร็ด
ใหก ระทําโดยวธิ ีแผนที่ชนั้ หนง่ึ เปนสํานักงานท่ีดินแรก เม่ือเดือนกุมภาพันธ ๒๕๕๔ และไดขยายการใช
งานระบบนี้เพิ่มเติมอีก ๑๑ สํานักงาน ในพื้นที่ ๓ จังหวัด ไดแก สํานักงานที่ดินจังหวัดปทุมธานี
สํานักงานท่ีดินจังหวัดปทุมธานี สาขาคลองหลวง สํานักงานที่ดินจังหวัดปทุมธานี สาขาลําลูกกา
สํานักงานที่ดินจงั หวดั ปทมุ ธานี สาขาธญั บรุ ี สาํ นกั งานทีด่ ินจังหวดั นนทบุรี สํานักงานที่ดินจังหวัดนนทบุรี
สาขาบางบัวทอง สํานักงานที่ดินจังหวัดนนทบุรี สาขาบางใหญ สํานักงานที่ดินจังหวัดสมุทรปราการ
สาํ นกั งานทีด่ นิ จงั หวดั สมทุ รปราการ สาขาบางพลี สํานักงานท่ีดินจังหวัดสมุทรปราการ สาขาพระประแดง
และสาํ นกั งานท่ีดินจังหวัดสมทุ รปราการ สาขาพระสมุทรเจดยี 
ตอมา ในปงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๙ รฐั บาลไดจัดสรรงบประมาณแบบบูรณาการ ตามแผนงาน
รกั ษาความม่ันคงของฐานทรัพยากรธรรมชาติและแกปญหาที่ดินทํากิน โครงการจัดทําแผนที่เพื่อรองรับ
การบรหิ ารจดั การบนแผนที่ มาตราสวน ๑ : ๔,๐๐๐ กจิ กรรมยกระดับการรังวัดดวยวิธีแผนที่ชั้นหนึ่ง
โดยระบบดาวเทียม ใหกรมท่ีดินรวมกับกรมแผนท่ีทหาร ติดต้ังสถานีรับสัญญาณดาวเทียมอางอิง (CORS)
เพื่อเปนโครงขายการรังวัดดวยดาวเทียมแบบจลน (RTK GNSS Network) ของประเทศ ทั้งนี้ กรมท่ีดิน
ไดตดิ ต้งั แลวเสร็จตามแผนงานครบท้ัง ๕๑ สถานี เมื่อวนั ที่ ๒๘ มถิ นุ ายน ๒๕๖๐
ในปงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๐ กรมที่ดินไดรับจัดสรรงบประมาณตามแผนยุทธศาสตร
อนรุ กั ษฟ นฟูและปองกันทรัพยากรธรรมชาติ โครงการจัดทําแผนที่เพื่อรองรับการบริหารจัดการบนแผนท่ี
มาตราสว น ๑ : ๔,๐๐๐ กิจกรรมยกระดบั การรงั วัดดว ยวธิ แี ผนทชี่ ้นั หนึ่งโดยระบบดาวเทียม เพ่ือการติดตั้ง
สถานีรับสัญญาณดาวเทียมอางอิง (CORS) เพิ่มอีก ๓๐ สถานี ซึ่งติดตั้งแลวเสร็จและไดสงมอบ
เมอ่ื วันที่ ๑ ธันวาคม ๒๕๖๐ ทาํ ใหกรมทด่ี นิ มีสถานรี บั สัญญาณดาวเทียมอางองิ (CORS) ท่ีดําเนินการ
แลวเสร็จรวมทั้งส้นิ ๙๒ สถานี (รปู ๑  ๑)

๑๓
 ๑-3
รปู ๑  ๑ ตาํ แหนง สถานีรับสัญญาณดาวเทียมอางอิง (CORS) ของกรมที่ดินที่ดําเนินการแลวเสร็จ

รวมทง้ั สิน้ ๙๒ สถานี

๑๔
 ๑-4

ปจ จบุ นั กรมท่ดี นิ ไดลงนามในสัญญากับบริษทั เอกชน เพื่อติดต้ังสถานีรับสัญญาณดาวเทียม
อางอิง (CORS) เพิ่มอีก ๓๐ สถานี เม่ือวันที่ ๒๑ มีนาคม ๒๕๖๑ ทําใหคาดวาภายในสิ้นป พ.ศ. ๒๕๖๑
กรมทดี่ นิ จะตดิ ตั้งสถานีรบั สัญญาณดาวเทียมอา งองิ (CORS) ท้ังสิน้ จํานวน ๑๒๒ สถานี กระจายครอบคลุม
ท่ัวท้งั ประเทศ สําหรับสถานการณดําเนินงานเพ่ือบูรณาการโครงขายฯ รวมกับหนวยงานตางๆ น้ัน
กรมโยธาธกิ ารและผังเมอื ง ไดต ิดตง้ั สถานี CORS เสรจ็ ส้ินแลว จํานวน ๑๕ สถานี สถาบันสารสนเทศ
ทรัพยากรน้ําและการเกษตร องคการมหาชน (สสนก.) ติดตั้งสถานีรับสัญญาณดาวเทียมอางอิง (CORS)
แลวเสร็จ จํานวน ๖ สถานี สําหรับกรมแผนท่ีทหารนั้น ขณะนี้อยูระหวางการสํารวจความเหมาะสม
ของพื้นท่ีท่ีจะติดต้ังสถานี CORS ทั้ง ๘๐ สถานี (รูป ๑  ๒) โดยแบงเปน ติดตั้งในเขตพื้นที่ทหาร
จํานวน ๕๒ สถานี องคกรปกครองสวนทอ งถ่ิน จาํ นวน ๑๐ สถานี และสํานกั งานทีด่ นิ จํานวน ๑๘ สถานี

รูป ๑  ๒ ตําแหนงของสถานีรับสัญญาณดาวเทียมอางอิงท่ีกรมแผนท่ีทหารจะดําเนินการติดต้ัง
จํานวน ๘๐ สถานี

๑๕
 ๑-5

จากการท่ีในปงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๐ กรมท่ีดินไดดําเนินการติดต้ังสถานีรับสัญญาณ
ดาวเทียมอางองิ (CORS) แลวเสร็จ จํานวน ๙๒ สถานี สงผลใหในเดือนสิงหาคม ๒๕๖๐ กรมที่ดิน
ไดประกาศกาํ หนดพ้ืนที่ทําการรังวัดโดยวิธีแผนที่ชั้นหนึ่งดวยระบบโครงขายการรังวัดดวยดาวเทียม
แบบจลน (RTK GNSS Network) ในงานรังวัดเฉพาะรายของสํานักงานที่ดิน เพ่ิมเติมอีก ๑๕ จังหวัด
ไดแ ก จังหวัดนครนายก พระนครศรีอยุธยา สมุทรสงคราม สมุทรสาคร นครราชสีมา ชัยภูมิ เลย
หนองบัวลําภู เพชรบูรณ อุบลราชธานี จันทบุรี สงขลา ยะลา ปตตานี และจังหวัดนราธิวาส (รูป ๑  ๓)
แตเน่อื งจาก เทคโนโลยีการรังวัดโดยระบบโครงขายการรังวัดดวยดาวเทียมแบบจลน (RTK GNSS
Network) เปนเทคโนโลยีสมัยใหม ผูปฏิบัติงานตองมีความรูความเขาใจ และทักษะเก่ียวกับการรังวัด
ตลอดจนโปรแกรมสาํ หรับใชใ นการปฏิบตั งิ าน ใหถูกตองเปนไปตามระเบียบท่ีกรมท่ีดินกําหนด ประกอบ
กับชางรังวัดในสํานักงานท่ีดินยังไมมีความรูในการใชเคร่ืองมือ กรมที่ดินโดยกองเทคโนโลยีทําแผนที่
จึงไดจ ัดสงเจา หนาทีไ่ ปปฏบิ ตั ิหนา ทีใ่ หค วามรู แนะนํา ชวยเหลือ และแกไขปญหาอุปสรรคใหกับชางรังวัด
ของสาํ นกั งานท่ีดินในพน้ื ที่ ๑๕ จงั หวดั ขางตน สงผลใหชางรังวัดสามารถปฏิบัติงานรังวัดโดยวิธีแผนที่
ชนั้ หนงึ่ ดวยระบบโครงขายการรังวัดดวยดาวเทียมแบบจลน (RTK GNSS Network) ในงานรังวัด
เฉพาะรายของสาํ นกั งานท่ดี นิ ไดอ ยา งเรียบรอ ยและมีประสิทธภิ าพ ซ่ึงกรมที่ดินมีแผนที่จะขยายพื้นท่ี
ดําเนินการรังวัดโดยวิธีแผนที่ชั้นหนึ่งดวยระบบโครงขายการรังวัดดวยดาวเทียมแบบจลน (RTK GNSS
Network) ในงานรงั วัดเฉพาะรายของสาํ นักงานทีด่ ิน เพิม่ เติมอีก ๑๘ จงั หวัด ในปงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๑
รวมทั้งสิน้ ๓๖ จงั หวัด

๑๖
 ๑-6
รูป ๑  ๓ พืน้ ที่ ๓๖ จังหวดั ท่ีกรมท่ีดินประกาศใหทําการรังวัดโดยวิธีแผนท่ีช้ันหนึ่งดวยระบบโครงขาย

การรังวัดดวยดาวเทียมแบบจลน (RTK GNSS Network) ในงานรังวัดเฉพาะรายของ
สํานกั งานทดี่ ิน

บทท่ี ๒

ทฤษฎแี ละหลกั การทํางานของระบบโครงขา ยการรังวัด
ดว ยดาวเทียมแบบจลน (RTK GNSS Network)

 การรังวดั คา พิกัดดวยการรับสัญญาณดาวเทียมสามารถกระทําไดหลายวิธี แตที่นิยมใชงาน
กนั อยางแพรหลาย ไดแก วิธีการรังวัดคาพิกัดดวยดาวเทียมแบบจลนทันที (Real Time Kinematic
: RTK) การรังวัดดวยวธิ นี ี้ มีขอดี คือ ใชเวลาในการรบั สัญญาณท่สี น้ั และไดคาพิกัด ณ ขณะรังวัด แตก็มี
ขอ จํากดั คอื ความถูกตอ งและความนาเช่ือถือของคาพิกัดที่รังวัดได จะลดลงเมื่อระยะระหวางสถานีฐาน
(Base Station) กับเคร่อื งรบั สัญญาณทจี่ ดุ รังวัด (Rover) เพ่มิ ขน้ึ รวมถึงหากหมดุ ควบคุมที่สถานีฐาน
ชาํ รุดหรือสูญหาย ก็จะทาํ ใหการรังวัดดวยวิธี RTK ไมสามารถกระทาํ ไดและมีความยุงยากเพิ่มขึ้น
ทง้ั นี้ การรงั วดั คา พิกัดโดยระบบโครงขายการรังวัดดวยดาวเทียมแบบจลน (RTK GNSS Network) จึงได
ถกู พัฒนาข้นึ เพอื่ ลดขอ จาํ กดั ดังกลาว

องคประกอบของระบบโครงขา ยการรงั วัดดวยดาวเทียมแบบจลน (RTK GNSS Network)
 ระบบโครงขายการรังวดั ดวยดาวเทียมแบบจลน (RTK GNSS Network) ประกอบดวย ๓ สว น
ท่สี ําคัญ คือ

๑. สถานีรับสัญญาณดาวเทียมอางอิง (Continuous Operating Reference Station
: CORS) เปนสถานีรับสัญญาณดาวเทียมที่ติดตั้งถาวร ในตําแหนงที่มีความมั่นคง โดยสถานีเหลาน้ี
จะรับสัญญาณดาวเทียมตลอด ๒๔ ชั่วโมง และทําการสงสัญญาณดาวเทียมที่รับไดไปยังศูนยควบคุม
ผานทางระบบสื่อสาร เชน ทางโทรศัพท หรือระบบอินเทอรเน็ต ตัวอยางอุปกรณของสถานีรับสัญญาณ
ดาวเทยี มอา งองิ แสดงดงั รูป ๒  ๑ และรูป ๒  ๒











รปู ๒  ๑ ตัวอยางเสารับสัญญาณของสถานรี บั สัญญาณดาวเทยี มอา งอิงของกรมที่ดนิ

๒๒
 ๒-2












รูป ๒  ๒ เครื่องรับสญั ญาณของสถานีรบั สญั ญาณดาวเทยี มอา งอิงของกรมทีด่ ิน

 ๒. ศูนยควบคมุ (Control Center) เปนชุดของเครื่องคอมพิวเตอรแมขาย (Server) ทําหนาที่
ประมวลผลขอมูลสัญญาณดาวเทียมที่สงมาจากสถานีรับสัญญาณดาวเทียมอางอิง หรือ CORS
เพื่อคํานวณคาปรับแกใหแกผูใชงานท่ีทําการรังวัดคาพิกัดแบบจลน (Real Time Kinematic) กําหนด
และตรวจสอบสิทธิการใชงาน สํารองขอมูล ตลอดจนใหบริการดาวนโหลดขอมูลสัญญาณดาวเทียม
สําหรับใชคํานวณคาพิกัด (Post Process) ซ่ึงศูนยควบคุมของระบบโครงขายฯ ท่ีกรมที่ดินดูแล ตั้งอยูที่
ช้ัน ๓ อาคารรังวัดและทําแผนที่ อ.ปากเกร็ด จ.นนทบุรี (รูป ๒  ๓) และจะติดต้ังศูนยควบคุมสํารอง อีก
๑ ศูนย ท่ีสาํ นักงานที่ดนิ กรุงเทพมหานคร สาขาบางกอกนอย
















รูป ๒  ๓ ศนู ยควบคุมของระบบโครงขายฯ ของกรมท่ีดนิ

๒๓
 ๒-3



 ๓. การสื่อสาร (Communication) คือ ระบบส่ือสารที่ใชในการติดตอรับสงขอมูลระหวาง
สถานีรับสัญญาณดาวเทียมอางอิง (CORS) กับศูนยควบคุม และระหวางศูนยควบคุมกับผูใชงาน
โดยการส่ือสารที่ปกติจะเปนการรับสงขอมูลระหวางสถานีรับสัญญาณดาวเทียมอางอิงกับศูนยควบคุม
ซง่ึ มักจะใชเปนระบบอินเทอรเน็ตพื้นฐาน เชน ระบบ ADSL หรือ Leased Line เนื่องจากตองการ
การรับสงขอมูลที่มีเสถียรภาพสูง และจากการท่ีสถานี CORS จะตองทํางานตลอดเวลา ดังนั้น จึงตองมี
การสื่อสารสํารอง (Backup Link) เชน อินเทอรเน็ตของโทรศัพทเคล่ือนที่ไวใชงาน เพื่อทดแทนในกรณี
ท่ีระบบสื่อสารหลักเกิดขัดของ ในสวนของการรับสงขอมูลระหวางศูนยควบคุมกับผูใชงานจะใชระบบ
อินเทอรเน็ตของโทรศัพทมือถือ เนื่องจากมีคาใชจายคอนขางต่ํา และไมจําเปนตองใชการสื่อสารที่มี
เสถยี รภาพทส่ี ูงมาก

หลักการของระบบโครงขายการรังวดั ดว ยดาวเทียมแบบจลน (RTK GNSS Network)
 หลักการทํางานของระบบโครงขายการรังวัดดวยดาวเทียมแบบจลน (RTK GNSS Network)
ในการรงั วัดคาพิกดั ท่ีมีการใชง านในปจจบุ นั มีอยู ๓ ระบบ คือ
 ๑. หลักการของระบบ Area Correction Parameter (FlaechenKorrectur Parameters
: FKP) ดว ยหลกั การ FKP ขอมูลสัญญาณดาวเทียมที่สถานีรับสัญญาณดาวเทียมอางอิง หรือ สถานี CORS
รบั สญั ญาณได จะถูกสงไปยังศนู ยค วบคุม ซึง่ ศนู ยควบคมุ จะทําการคํานวณสรางแบบจําลองของคาแก
ตางๆ ซ่ึงประกอบดวย แบบจําลองคาแกของนาฬิกาดาวเทียม แบบจําลองคาแกของช้ันบรรยากาศ
และแบบจาํ ลองคา แกข องวงโคจรดาวเทยี ม โดยแบบจําลองท่ีศนู ยค วบคมุ คาํ นวณไดจะเรียกรวมกันวา
“State Space Model : SSM)” ทั้งนี้ ศูนยควบคุมจะสงขอมูลแบบจําลองคาแก SSM ใหผูใชงาน
ในลักษณะที่เปนคา พารามิเตอรข องระนาบแบบจาํ ลองสาํ หรบั แตละสถานี CORS (รูป ๒  ๔)













รปู ๒  ๔ หลักการทาํ งานของระบบ FKP

๒๔
 ๒-4

 ๒. หลักการของระบบ Virtual Reference Station (VRS) ขอมูลสัญญาณดาวเทียม
ที่สถานีรับสัญญาณดาวเทียมอางอิง หรือ สถานี CORS รับสัญญาณได จะสงไปยังศูนยควบคุม
เพื่อทําการคํานวณคาแกตางๆ ในลักษณะเดียวกับระบบ FKP เพียงแตในกรณีของระบบ VRS ผูใชงาน
ตองสงตําแหนงโดยประมาณของตนเอง (คาพิกัดในรูปแบบ NMEA) ใหศูนยควบคุม ซ่ึงศูนยควบคุม
จะทําการใชข อ มูลจากสถานี CORS ทอี่ ยโู ดยรอบผูใชงาน และคา แกท่ีคํานวณได สรางหรือสังเคราะห
ขอมลู ขน้ึ มา แลวสง กลบั ไปใหผ ูใ ชงาน ซึง่ ขอมลู ท่สี รางข้ึนมานี้ เครื่องรับสัญญาณของผูใชงานจะมองเห็น
เสมือนวา เปนขอมูลของสถานีฐานหรือสถานีอางอิงในงานรังวัด RTK แบบเดิม ดังนั้น จึงเรียกระบบ
การทาํ งานของระบบโครงขายการรังวัดดวยดาวเทียมแบบจลน แบบน้ีวาเปนสถานีอางอิงเสมือน
(Virtual Reference Station) ตามขอ มูลท่ีศนู ยค วบคุมสง ใหผ ูใชง าน (รปู ๒  ๕)

ทง้ั น้ี ในปจ จบุ ันกรมที่ดนิ ใชร ะบบโครงขายการรงั วดั ดว ยดาวเทยี มแบบจลน (RTK GNSS
Network) ที่เปน แบบระบบ Virtual Reference Station (VRS)
















รูป ๒  ๕ หลักการทํางานของระบบ VRS

๒๕
 ๒-5

 ๓. หลักการของระบบ MasterAuxiliary Concept (MAC) ในการทํางานระบบ MAC น้ัน
เมอ่ื ผูใชงานเรม่ิ การทํางาน เครื่องรับสัญญาณของผูใชงานจะทําการสงพิกัดโดยประมาณ ณ ตําแหนง
ที่จะรังวดั ไปยงั ศนู ยควบคุม ศูนยควบคุมจะเลือกสถานี CORS ทอ่ี ยูใกลผูใชงานมากท่ีสุด โดยจะกําหนดให
สถานี CORS น้ีเปนสถานี Master พรอมท้ังเลือกสถานีรับสัญญาณดาวเทียมอางอิงท่ีอยูใกลเคียงอีก
อยา งนอย ๒ สถานีใหเปน สถานี Auxiliary โดยศูนยควบคุมทําการสงขอมูลสัญญาณดาวเทียมและ
คาปรับแกข องสถานี Master พรอ มกบั คาตา งของคาปรับแกระหวางสถานี Master และสถานี Auxiliary
ไปใหผใู ชง าน (รูป ๒  ๖)











รปู ๒  ๖ หลักการทาํ งานของระบบ MAC



บทท่ี ๓

ข้ันตอนการปฏิบัติงานรงั วัดและการนาํ เขาขอมูล

การรงั วัดเฉพาะรายของสํานักงานที่ดิน เปนงานบริการงานรังวัดท่ีดิน (Cadastral Surveying)
ที่เกย่ี วขอ งกบั การรงั วัดปกหลักเขตท่ีดิน การออกโฉนดที่ดิน การรังวัดแบงแยก รวมโฉนดที่ดิน การสอบ
เขตทด่ี นิ การช้ีตําแหนง แปลงทด่ี ิน ซง่ึ ไดก าํ หนดไวเปน ๒ ประเภท คือ งานรังวัดทําแผนที่โดยวิธีแผนท่ี
ช้ันหนึ่ง และงานรังวดั ทาํ แผนที่โดยวิธแี ผนทีช่ ัน้ สอง

การรงั วัดโดยวธิ ีแผนท่ีชัน้ หนึ่ง เนน การใชเ ครื่องมือรังวัด เชน กลองวัดมุม เครื่องมือวัดระยะ
กลอ งสาํ รวจแบบประมวลผลรวม เครื่องรบั สัญญาณดาวเทยี ม หรอื เครื่องมือรังวัดท่ีมีความละเอียดถูกตอง
ไมตํา่ กวาเกณฑม าตรฐานท่กี รมที่ดนิ กําหนด โดยคํานวณเปนคาพิกัดสืบเน่ืองจากหมุดหลักฐานแผนท่ี
ของกรมท่ีดิน และการคํานวณเน้อื ทจี่ ากคาพิกดั ฉากของแตละหมุดหลักเขต สวนงานรังวัดโดยวิธีแผนที่
ช้ันสอง จะใชระวางแผนที่เปนหลัก โดยการวัดระยะเปนมุมฉาก หรือวัดระยะสกัดเปน รปู สามเหลี่ยม
จากหมดุ หลักฐานแผนท่ี หรือโดยวิธจี ากรูปถายทางอากาศ และคํานวณเน้ือที่โดยวิธีคณิตศาสตร หรือ
โดยใชม าตราสว น

การปฏิบัติงานรังวัดเฉพาะรายของสํานักงานท่ีดิน ชางรังวัดจะใชเคร่ืองมือรังวัด เชน กลอง
วดั มุม เครอ่ื งมือวดั ระยะ หรือใชกลองสํารวจแบบประมวลผลรวม แลวทําการรังวัดเพ่ือคํานวณเน้ือท่ีจาก
การอางอิงคาพิกัดสมมุติหรือศูนยลอย (Assume Coordinate) ซึ่งไมไดทําการรังวัดสืบเน่ืองจากหมุด
หลักฐานแผนทใ่ี นการสนับสนุนการรังวัดโดยวิธีแผนที่ชั้นหน่ึง กองเทคโนโลยีทําแผนท่ี จะดําเนินการ
สรางหมุดหลักฐานแผนท่ี ใหมีความหนาแนนเพียงพอในระวางแผนที่หนึ่งๆ แตขอเท็จจริงที่ปรากฏ
เมื่อสรา งหมุดหลักฐานแผนทีไ่ วแลว ยังไมไดนาํ มาใชงาน ตอมามีความเปล่ียนแปลงสภาพพื้นท่ี เปนผลให
หมุดหลักฐานแผนที่สูญหายไปเปนจํานวนมาก กรมท่ีดินตองดําเนินการสรางเสนโครงงานฯ หรือทํา
การฝงหมดุ หลักฐานแผนทใ่ี หใ หม แตกย็ งั ไมเพยี งพอสําหรบั การใหบรกิ ารงานรังวัดโดยวิธีแผนท่ีช้ันหน่ึง
ดังน้ัน การนําระบบโครงขายการรังวัดดวยดาวเทียมแบบจลน (RTK GNSS Network) มาใชในการรังวัด
เฉพาะรายของกรมทีด่ ิน จงึ เปน การเพิ่มศักยภาพของงานรังวัดดวยระบบพิกัดฉากท่ีคํานวณสืบเนื่องมาจาก
หมุดหลกั ฐานแผนที่จากสถานีรับสัญญาณดาวเทียมอางอิง (CORS) ที่อยูใกลๆ ซึ่งทําการประมวลผล
จากการรับสญั ญาณจากดาวเทียม และส่ือสารขอมลู กับสถานีควบคุมสวนกลางอยูตลอดเวลา ดังนั้น
เมื่อทําการรังวัดดวยเครื่องรับสัญญาณดาวเทียม (Rover) ณ ตําแหนงใดๆ จะทราบคาพิกัดฉากท่ีจุดน้ันๆ
ซ่ึงใหคา ความละเอยี ดถูกตองอยใู นระดับเซนติเมตร ระบบโครงขายฯ จึงมีศักยภาพในการกําหนดตําแหนง
หมุดหลักฐานแผนที่ การตรวจสอบตําแหนงพิกัดของแปลงที่ดิน และขอบเขตการครอบครองท่ีดิน
ไดอยา งมีประสิทธิภาพ สะดวก รวดเร็ว ไมยุงยากซับซอน ใชเพียงเคร่ืองรับสัญญาณดาวเทียมรับสัญญาณ
ณ จดุ ทต่ี อ งการทราบคาพกิ ดั ก็สามารถปฏิบัตงิ านไดแลว

การปฏิบัติงานรังวัดเฉพาะรายโดยระบบโครงขายฯ ชางรังวัดจะมีขั้นตอนที่เพิ่มขึ้น
จากข้ันตอนการปฏิบัติงานแบบเดิม คือ การใชเคร่ืองมือรังวัดดวยระบบดาวเทียม สวนวิธีการปฏิบัติงาน

๓๒
๓-2

ในการรังวดั รูปแปลงทดี่ ิน จะดาํ เนนิ การเชน เดยี วกับการปฏิบัติงานรังวัดเฉพาะรายแบบเดิม ซ่ึงการรังวัด
ดวยระบบโครงขายฯ ชา งรงั วัดสามารถดาํ เนินงานโดยการรังวัดสรา งหมุดหลักฐานแผนที่กอน แลวทํา
การโยงยดึ หลักเขตที่ดิน เพื่อใหไดคาพิกัดฉากในระบบพิกัด ยู ที เอ็ม ในการขึ้นรูปแปลงที่ดินและทํา
การคํานวณเนอื้ ที่ตอไป
ขั้นตอนการปฏิบัตงิ าน

การรงั วัดโดยระบบโครงขา ยฯ มีข้ันตอนในการปฏบิ ัติงาน ดงั น้ี
๑. กอนทาํ การรังวัดใหต รวจสอบเคร่อื งรับสญั ญาณดาวเทียม โดยรบั สญั ญาณทหี่ มดุ ดาวเทียม
Static ซึง่ ทราบคาพิกัดฉาก (หมุดตรวจสอบท่ีอยูบริเวณสํานักงานท่ีดิน) โดยคาความแตกตางตองอยู
ในเกณฑความคลาดเคล่ือนเชิงตําแหนง ± ๔ เซนติเมตร เพื่อตรวจสอบความคลาดเคลื่อนของงาน
รังวัดที่ไดจากเครอ่ื งรับสัญญาณดาวเทียม ซ่ึงจะมีผลตอ การรงั วัดตอไป

๒. การรับสัญญาณดาวเทียมโดยระบบโครงขายการรังวัดดวยดาวเทียมแบบจลน (RTK
GNSS Network) ณ สถานีจร ใหใชเคร่ืองรับสัญญาณดาวเทียมประกอบขากลอง ต้ังใหตรงศูนยกลาง
หมุดดาวเทียม RTK GNSS Network และใหตรวจสอบการรับสัญญาณดาวเทียมซํ้า ๒ ครั้ง ซึ่งกอน
การรับสัญญาณดาวเทียมคร้ังท่ี ๒ ใหปดเครื่องรับสัญญาณดาวเทียมแลวเปดใหม เพื่อใหเครื่องรับ
สัญญาณมีสภาพเริ่มตนการทํางานใหม โดยคาความแตกตางของคาพิกัดฉากตองอยูในเกณฑ
ความคลาดเคลอื่ นเชิงตาํ แหนง ± ๔ เซนตเิ มตร

๓๓
๓-3

๓. การรังวัดโดยระบบโครงขายฯ เปนขั้นตอนการปฏิบัติงานรังวัดดวยเคร่ืองรับสัญญาณ
ดาวเทยี ม (Rover) โดยชา งรงั วัดตองต้งั เครื่องรับสัญญาณดาวเทียมใหตรงกับตําแหนงของหมุดดาวเทียม
RTK GNSS Network ซึ่งเคร่ืองรับสัญญาณจะแสดงคาพิกัด ณ ตําแหนงท่ีเคร่ืองรับสัญญาณดาวเทียม
วางไว ระยะเวลาท่ใี ชในการรบั สัญญาณประมาณ ๓ นาที (๑๘๐ epochs) ชางรังวัดตองตรวจสอบวา
เครื่องรับสัญญาณจากดาวเทียมทาํ งานไดอยางตอเนื่องและคงที่หรือไม ซึ่งหากเกิดปญหาในการรับ
สัญญาณดาวเทียมจะสงผลกระทบในการประมวลผลหาคาพิกัดฉากของตําแหนงที่ทําการรับสัญญาณ
ดาวเทยี ม โดยมีเงอ่ื นไขในการรังวดั ดังน้ี

(๑) ใหใชวิธกี ารรังวัดเปนแบบสถานโี ครงขาย
(๒) ใหใชคา PDOP ขณะทาํ การรังวดั ไมเกนิ ๕.๐
(๓) ใหใชคา RMS ไมเ กนิ ๓.๐ เซนติเมตร
(๔) ใหใชผ ลการรงั วัดเปนแบบ Fixed
(๕) ใหร งั วดั ขอมูลทุก ๑ วินาที และขอ มลู รังวัดไมนอยกวา ๑๘๐ ขอ มูล

๓๔
๓-4

๔. การเก็บขอมูลคาพิกัดฉากของตาํ แหนงรูปแปลงที่ดิน ในการปฏิบัติงานรังวัดโดย
ระบบโครงขายฯ ชางรงั วดั จะทาํ การเก็บขอมูลการรังวดั โดยการรับสัญญาณดาวเทียมที่ตําแหนงหมุด
ดาวเทียม RTK GNSS Network เพ่ือทําการรังวัดโยงยึดหลักเขตท่ีดินตอไป ชางรังวัดตองบันทึกตําแหนง
ของหมุดไวในแบบพิมพรายการรงั วดั หมดุ หลกั ฐานแผนที่ (ร.ว. ๓๑ ง) ประกอบเรอื่ งรงั วดั ดวย

๓๕
๓-5
๕. เมื่อปฏิบัติงานรังวัดในภาคสนามเสร็จแลว ชางรังวัดจะทําการประมวลผลคาพิกัด
ตําแหนงท่ีไดรับสัญญาณดาวเทียมจากการรังวัดโดยระบบโครงขายฯ เปนการนําขอมูลการรังวัดจาก
เครื่องรับสัญญาณดาวเทียมมาประมวลผลเพื่อถายทอดขอมูลการรังวัดดวยโปรแกรม LandGNSS
(www.dolrtknetwork.com) ซึ่งจะทําการตรวจสอบขอมูล คาพิกัดฉาก ความถูกตองของการรับ
สญั ญาณดาวเทียม และการคาํ นวณคาระยะตรวจสอบ พรอมความคลาดเคลื่อนเชิงตําแหนง เพื่อนํา
ขอมูลจากการรังวัดโดยระบบโครงขายฯ เปนขอมูลของระบบพิกัดฉาก ยู ที เอ็ม ซึ่งสามารถนําไป
ประมวลผลเพื่อคํานวณเนื้อที่และขึ้นรูปแปลงที่ดินดวยโปรแกรม DOLCAD จากการรังวัดโดยระบบ
โครงขายฯ เพื่อการจัดทําหลักฐานการรังวัดประกอบเรื่องที่รังวัดไดตอไป เชนเดียวกับงานรังวัดที่
ชา งรังวดั เคยปฏิบัติงานรงั วดั แบบเดมิ

จะเห็นไดวา การปฏบิ ตั ิงานรังวัดโดยระบบโครงขา ยฯ นนั้ เปนการรังวัดดว ยวธิ ีแผนทชี่ ัน้ หน่ึง
มีขั้นตอนการปฏิบัติงานเพิ่มขึ้นจากการรังวัดแบบเดิม คือ การใชเครื่องรับสัญญาณจากดาวเทียม
เพ่ือใหไดคาพิกัดฉากระบบ ยู ที เอ็ม หากเปนการรังวัดโดยวิธีแผนท่ีชั้นหน่ึงจากระบบเสนโครงงานหมุด
หลักฐานแผนที่ ชางรังวัดจะตองเปดหาหมุดหลักฐานแผนท่ี เพ่ือทําการรังวัดโยงยึดเก็บรายละเอียดแปลง
ท่ดี ิน หากเปรียบเทยี บกับการรงั วดั โดยระบบโครงขายฯ แลว การรงั วดั โดยระบบโครงขายฯ จะมีความ
สะดวกในการปฏิบัติงานมากกวา เพราะขั้นตอนการปฏิบัติงานถัดไป มีวิธีปฏิบัติงานไมแตกตางจาก
การปฏิบัติงานแบบเดิม เพียงแตการรังวัดโดยระบบโครงขายฯ สามารถแสดงคาพิกัดฉากของหลักเขต
ทุกหมุดของแปลงท่ีดินในระบบพิกัดฉาก ยู ที เอ็ม ซึ่งเปนแนวทาง ในการพัฒนาระบบงานรังวัดและทํา
แผนท่ขี องกรมท่ดี ินใหม ีมาตรฐาน ตรวจสอบได และมีความนา เชอ่ื ถือ ในการใหบริการประชาชน

๓๖
๓-6

การใชเคร่อื งรับสัญญาณดาวเทยี ม i๘๐ และเครื่องควบคมุ รนุ LT ๕๐๐

๑. เครอ่ื งรับสญั ญาณ (Receiver) รนุ i๘๐

Satellite LED Correction LED
ไฟแสดงสถานะการรับสญั ญาณดาวเทียม ไฟแสดงสถานะการรับคาปรบั แก

Display
หนาจอแสดงสถานะตางๆ เชน
จาํ นวนดาวเทียมทีส่ ามารถรับได
สถานะแบตเตอรี่

ปุมฟงกช่ัน ปุม เปด /ปด และปุมตกลง
ใชสาํ หรับเลอื่ นบรรทดั และแกไขคา ตางๆ กดคาง สําหรบั ตอ งการปด/เปดเคร่อื ง
กด เพ่อื ยืนยนั การต้งั คา

๓๗ ปมุ OK
๓-7 ปุม ตกลง

๒. เครื่องควบคุม (Controller) รุน LT ๕๐๐

Touch Screen
จอแสดงผลแบบสัมผสั

Reset Key ปุม Window ปมุ Power
ปุมรเี ซ็ท ปุมลดั เขา window ปมุ เปด/ปด

๓. การเชื่อมตอ sim card ใน รนุ LT ๕๐๐
* ถอดแบตเตอรรี่ออก แลว ใส sim card ในชองท่ีอยูภายในเคร่อื งควบคมุ *




๑ ๒. เลอื ก Settings ๓. เลือก Connections

๑. กดทปี่ ุม Window

๓ ๓๘-8 ๖




๔. เลอื ก Wireless Manager ๕. เลอื ก Phone ใหแสดง On ๖. ใหรอจนกระทงั่ สญั ญาณ
โทรศัพทป รากฏขึ้น

๔. การเชือ่ มตอ Internet ใน รุน LT ๕๐๐

๒๓



๑. เลือก Internet Explorer ๒. เลอื กที่สัญลกั ษณร ปู ดาว ๓. ใหเลอื ก ๑ เว็บไซต
ที่ปรากฏ

๓๙
๓-9

๔. รอจนกลอ งขอความหาย
ไปเอง และสงั เกตสญั ลักษณ
ที่แถบดานบนสญั ญาณโทรศพั ท
๔ กบั ดา นขา งใหข ้นึ H หรือ E

เหมือนกนั

๕. การเริ่มตน ทาํ การรังวดั ดวยเครอ่ื งรับสญั ญาณดาวเทยี ม
* ผใู ชงานควรทาํ การเปดเครื่องรับสัญญาณดาวเทียม i๘๐ ใหรับสัญญาณดาวเทียม
กอ นทีจ่ ะทาํ การเปด ใชงาน โปรแกรม LandStar ๖ *

๕.๑ สราง Project งานรังวัด



๑๒

๑. เลือกโปรแกรม LandStar ๖ ๒. กด add เพื่อสรางแฟมงานใหม ๓.  กาํ หนดชอ่ื project
 เลือก Use template from
 เลอื ก Default ๔๗
 กดเครอ่ื งหมายถกู

๓  ๑๐
๓-10

๕.๒ ตง้ั คาเคร่ืองรบั สญั ญาณ
๕.๒.๑ การตัง้ คาการเชือ่ มตอระหวา งเครือ่ งรับสญั ญาณกบั เครอ่ื งควบคุม

๑ ๓


๑. เลือก Device ๒. เลอื ก Connection ๓. ตรวจสอบการตงั้ คา
เพอื่ ตงั้ คาระหวางเครื่องรบั Current Device: เลขเครื่องรับ
สัญญาณ
สัญญาณกับเคร่อื งควบคุม
Manufacturer: CHC
Device Type: Smart GNSS
๕.๒.๒ การตงั้ คา ตางๆ เกี่ยวกบั เคร่อื งรับสัญญาณ Connection: Bluetooth
Port: COM ๘
Antenna Type: CHC i ๘๐
Connection Type: Rover
ถา ตงั้ คาทกุ อยา งถกู แลว ใหเ ลอื ก
๑ ท่เี ครอื่ งหมาย

๒ Data Format : RTCM ๓.๒
Elevation : ๑๕
๑. เลอื ก Manual Rover Config ๒. เลือก ตงั้ คาตามดานบน แลว PDOP Limit : ๕
กดเครอื่ งหมาย Fixed Mode : Standard
Mode
Antenna Parameters
Type : CHCi๘๐
Measure To : Middle
(Slant)
Height : ใสค าความสงู ท่ี

๓  ๑๑
๓-11

๕.๒.๓ การตงั้ คาตา งๆ เก่ยี วกับการเช่อื มตอกับระบบ RTK GNSS Network

๑ Mode : PDA Network (DCI)
๒ Protocol : Ntrip Client
IP Addr : ๑๒๒.๑๕๕.๑๓๑.๓๔
Port : ใสต ามพน้ื ท่สี ํานกั งานทดี่ นิ
๒๑๐๑ ภาคกลาง
๒๑๐๓ ภาคเหนือ
๒๑๐๔ ภาคใต
๒๑๐๕ ภาคตะวันออก
๒๑๐๖ ภาคตะวันตก
๒๑๐๗ ภาคตะวนั ออกเฉยี งเหนอื ๑
๒๑๐๘ ภาคตะวนั ออกเฉียงเหนือ ๒
Source : VRS_RTCM32
User Name : เลข ๑๓ หลัก
Password : รหสั ๔ ตัว ท่กี รมทด่ี นิ
กําหนดให

๑. เลอื ก Manual Rover Config ๒. เลือก ต้ังคา ตามดานบน
แลวกด Login





๓. รอจนขึ้นคาํ วา Succeeded ๔. รอระบบสราง ตาํ แหนงเสมอื นให
แลว กดเครื่องหมาย

๓  ๑๒
๓-12

๕.๓ การใชงานการรงั วดั ดว ยเคร่อื งรับสญั ญาณดาวเทยี ม

๒ ๓


๑. เลอื ก Survey ๒. เลอื ก Point Survey ๓. เลอื ก เปลี่ยนชื่อ
แลว กด Setting





๔. เลือก Survey Option ๕. กด begin ๖. เวลาจะนบั ถอยหลงั เมอื่
เสรจ็ แลวชอื่ จะถกู เปล่ยี นไป
 Config Name : Control Point เปน P๑๒ อัตโนมัติ
 Obs Count : ๑๘๐ ขนึ้ ไป
 Precision Limit
Horizontal (m) : ๐.๐๓๐
Vertical (m) : ๐.๐๖๐
 เลือก Store Fixed only
 Update rate : ๑ HZ

๓  ๑๓
๓-13

หมายเหตุ : กอ นทาํ การรังวัด ใหตรวจสอบเครื่องรับสัญญาณดาวเทียมโดยรับสัญญาณท่ีหมุดดาวเทียม
Static ซึ่งทราบคาพิกัดฉาก โดยคาความแตกตางตองอยูในเกณฑความคลาดเคลื่อนเชิงตําแหนง
± ๔ เซนติเมตร และในการรับสัญญาณท่ีหมุดดาวเทียม ใหตรวจสอบการรับสัญญาณดาวเทียมซ้ํา ๒ คร้ัง
กอนการรับสัญญาณดาวเทียมครั้งท่ี ๒ ใหปดเครื่อง แลวเปดเครื่องใหม เพ่ือใหเคร่ืองรับสัญญาณมี
สภาพเริ่มตนการทํางานใหม โดยคาความแตกตางของคาพิกัดฉากตองอยูในเกณฑความคลาดเคล่ือน
เชิงตําแหนง ± ๔ เซนติเมตร

๕.๔ การตรวจสอบขอมลู การรังวดั

๑๒ ๓

๑. เลอื ก Data ๒. เลือก Point Management ๓. เลอื กจุดทตี่ องการ
ตรวจสอบ

๕.๕ การเปรยี บเทยี บคาพิกดั ทั้งสองครั้ง

หมุดตรวจสอบ หมุดดาวเทียมทีส่ รา งใหม
ตรวจสอบคาดงั นี้ ตรวจสอบคาดงั นี้
๔ ๑. ตรวจสอบคาความตางของคาพกิ ัด ๑. คา PDOP < ๕

ทรี่ ังวดั ไดก บั คาหมุดตรวจสอบไมเกิน ๒. จํานวนดาวเทยี มที่ใชขณะรงั วดั > ๕
๔ เซนติเมตร (Used Satellites Number)
๒. คา PDOP < ๕ ๓. Solution :Fixed
๓. จาํ นวนดาวเทยี มที่ใชขณะรังวดั > ๕ ๔. Horizontal Error < ๐.๐๓
(Used Satellites Number)
๔. Solution :Fixed
๕. Horizontal Error < ๐.๐๓

๔. ตรวจสอบคาตางๆ

๓  ๑๔
๓-14

๖. การจดั การ file ขอมูลการรังวดั จากเครือ่ งรบั สัญญาณดาวเทยี ม CHC รนุ i๘๐
ข้ันตอนการจัดการ file ขอมูลการรังวัดจากเคร่ืองรับสัญญาณดาวเทียม CHC รุน i๘๐

File ขอมูลการรังวัดท่ีตองใชในการ Upload บน website: dolrtknetwork.com คือ file
นามสกุล .csv, .hcd, .hcl จาก controller และ file .html จากโปรแกรม Ls review มีขั้นตอน
การจดั การขอ มูลดงั นี้

๖.๑ การนาํ ไฟล .csv ออกจากเคร่ืองควบคุม รุน LT ๕๐๐

๑ ๓


๑. เลอื กโปรแกรม LandStar๖ ๒. เลือก Project ทีต่ อ งการ ๓. เลือก เมนู Project

๔๕

๔. เลือก Proj. Management ๕. เลอื ก Custom Format

๓  ๑๕
๓-15




๖. กําหนดการนําขอ มูลออก ๗. เม่อื สําเร็จจะขึ้นวา
 เลอื กเคร่อื งหมายถูกหนา Survey Success to export
 File Name : ใสเหมือนช่ือ Project
 File Type : เลือก dol(*.csv)
 เลือก Storage Card
 กดเครอ่ื งหมายถกู ดานลา งขวา

๖.๒ การนาํ ไฟล .hcd และไฟล .hcl ออกจาก Controller





๑ ๒. เลอื ก File Explorer ๓. กดเครื่องหมายสามเหลยี่ ม
ดานบน แลวเลือก My Device
๑. กดปุม window

๓ ๓ -๑1๖6

๕๖


๔. เลือก Program Files ๕. เลอื ก LandStar ๖ ๖. เลอื ก projects






๗. กดคางท่ี project ทีต่ องการ ๘. กดเครื่องหมายสามเหล่ียม ๙. กดคางพื้นที่วาง
แลว กด Copy ดา นบน แลวเลอื ก Storage Card แลว กด Paste

๓๓-๑1๗7

๑๐. สําเร็จแลวจะมี Project ท่ี

๑๐ ตอ งการมาอยทู ่ี Storage Card

๖.๓ การนําไฟลอ อกจากการดความจํา และเตรียมไฟล .html

๑๒ ๓

๑. นําการดความจําออกจาก ๒. นาํ การดความจําไปเสียบ ๓. เสียบ CardReader เขากับ
เครื่อง Controller โดยการกด เขากบั CardReader คอมพิวเตอร
การด ๑ ครง้ั แลว จึงจะสามารถ
ถอดการดออกได

๓๓-1๑8๘

คอมพิวเตอร์ 
๔ 

๔. คัดลอกไฟลจ ากการด ความจาํ ใสในคอมพวิ เตอร

๖.4 การสรา ง file html ดวยโปรแกรม LsReview


๑. กดท่ีโปรแกรม LSReview

๓ ๓๑-๙19


๒. ในโปรแกรม LsReview คลิกเลือก File > Open



๓. เลอื กไฟลนามสกลุ ท่เี ปน .hcd

๓ ๓๒-2๐0


๔. เปดไฟลง านข้ึนมา จะปรากฏดงั รปู



๕. กด File > Save

๓๓-๒2๑1



๖. บันทกึ ไฟลด ว ยนามสกลุ .html โดยตอ งตัง้ ชื่อใหเ หมือนกับ Project และเลือกที่เกบ็ ไฟลใ นคอมพวิ เตอร
* เพื่อปอ งกันการสบั สนควรบันทึกไฟลใน folder เดยี วกันกบั file จาก controller



๗. เมอื่ ทาํ การบนั ทึกไฟลส ําเรจ็ แลว จะไดไฟลทั้งหมด ๔ ไฟล ดงั รูป
* ช่อื ไฟลท งั้ ๔ ไฟล ตอ งเปนช่ือเหมอื นกนั ทัง้ หมด*

๓  ๒๒
๓-22
๖.5 การนาํ ขอมูลการรังวดั เขา สูเว็บไซต


๑. เขา สูเว็บไซต : www.dolrtknetwork.com



๒. ใส Username และ Password แลวกด Login

๓  ๒๓
๓-23



๓. ขอชือ่ หมุด หรอื ตรวจสอบช่อื หมุดโดยกดท่ี รายละเอียด แถบสสี ม



๔. เลอื กหมุดท่มี ีสถานะวา งมาใชงานจํานวน ๒ หมุด โดยทําการจดช่ือหมุดท่เี ลอื กน้นั ไว
*หากไมมีหมดุ ใหเ ลอื กทร่ี บั หมดุ เพ่มิ *

๓๓-๒2๔4



๕. นําเขาขอ มลู โดยเลือกท่ี Program LandGNSS (นาํ เขา ขอมลู ) แถบสเี ขียว



๖. ทําการใสขอ มูลเบอื้ งตน เกี่ยวกับเร่ืองทีร่ ังวัด จากนั้นเลือก บันทึก & ดาํ เนินการขนั้ ตอ ไป

๓  ๒๕
๓-25


๗. เลอื กย่หี อ เครอ่ื งรับสญั ญาณดาวเทยี ม ท่ที ําการรังวัด



๘. ใหท ําการเลือกอัปโหลดไฟลขอมูล CSV, HCD และ HTMLจากน้ันเลือก Upload
ขอควรระวงั
๑. ตรวจสอบนามสกุลไฟลเปน .CSV , .HCD และ .HTML ตามลาํ ดบั
๒. ช่ือไฟลข องทงั้ ๓ ไฟลต อ งเหมือนกนั หากไมเหมอื นกนั ใหแกชอ่ื ไฟล (Rename) ใหต รงกัน

๓  ๒๖
๓-26



๙. เมอ่ื อัปโหลดเรยี บรอ ยแลว จะปรากฏขอ มลู ดงั ภาพ
ขอสงั เกต: หากผลการรังวดั เกนิ เกณฑท่รี ะเบยี บกรมท่ดี นิ กาํ หนด เชน RMS > ๐.๐๓ ,
Epoch < ๑๘๐ และPDOP > ๕ ระบบจะปฏเิ สธการเลอื กผลการรังวดั ดังกลาว

๑๐

๑๐. ใหเลือกหมุดที่ทาํ การรบั สญั ญาณมาจดุ ละคู แลวเลือกคํานวณหาคา เฉล่ีย
หากคาเฉลย่ี ผา นจะแสดงผล จากน้ันทาํ การแกช ือ่ หมุดโดยเลือก Edit

๓  ๒๗
๓-27

๑๑

๑๑. ทําการแกไขชื่อหมดุ (ตามทีไ่ ดจ ดไว) จากนน้ั เลอื ก ยืนยนั แกไ ขชื่อหมุด

๑๒

๑๒. ทาํ การเลือกหมดุ ตรวจสอบ จากนนั้ กดคาํ นวณหาคาเฉลยี่ แลวเลอื กที่ Edit เพือ่ แกไ ข
ชอื่ หมุดตรวจสอบ ทาํ การแกไ ขชอื่ หมุด (ตามท่ีไดจดไว) จากนน้ั เลือก ยนื ยนั แกไ ขชือ่ หมุด

๓ ๓๒-๘28

๑๓

๑๓. สําหรบั หมดุ ตรวจสอบ เมือ่ แกไขชื่อแลวจะตอง เลือก เครอื่ งหมาย  หนา
“ตอ งการเลือกเปนหมุดตรวจสอบ” จากนน้ั เลอื ก ยนื ยนั แกไขชอ่ื หมุด

๑๔

๑๔. เมอื่ โปรแกรมตรวจสอบคา พิกดั ผาน จะปรากฏเครือ่ งหมาย – สีเขียวทห่ี มดุ
ตรวจสอบ และจะปรากฏปมุ บันทกึ เขาระบบ จากนน้ั เลือก บันทกึ เขา ระบบ

๓ ๓๒-2๙9
๑๕

๑๕. ทาํ การตรวจสอบระยะระหวา งหมดุ โดย เลอื ก ชื่อหมดุ จากหมดุ ท่ี ๑ ไปหมุดท่ี ๒
และใสระยะตรวจสอบทีร่ งั วดั มาดว ยกลอ ง แลว เลอื ก บันทึกจัดเกบ็ ระยะ

๑๖

๑๖. จากนัน้ ทาํ การใสเลขคาํ ขอและอัปโหลดไฟลรปู เชนสนาม
แลวเลอื ก Save & Upload

๓ ๓๓-3๐0

๑๗

๑๗. การนาํ เขา ขอมลู ที่ถกู ตองแลว จะปรากฏปมุ ยนื ยนั โปรเจกต
จากนน้ั ให เลือก ยืนยันโปรเจกต

*หากโปรเจกตไ มผ าน จะปรากฏเพียงปมุ ยกเลิก*

๑๘

๑๘. เมอื่ ยนื ยันโปรเจกตแลว จะปรากฏเคร่อื งหมาย  สีเขยี ว

๓  ๓๑
๓-31

๑๙

๑๙. เม่อื ขอมลู นําเขาระบบเรียบรอยแลว ผูใชส ามารถเขา ไปดูรายละเอยี ดได

๒๐

๒๐. แสดงรายงานคาพกิ ัด สาํ หรับพมิ พ ร.ว. ๘๐ ก เพือ่ ประกอบเรื่อง

๓  ๓๒
๓-32

๒๑

๒๑. แสดงรายงานการตรวจสอบระยะ สาํ หรับพิมพ ร.ว. ๘๐ ข เพ่ือประกอบเร่อื ง

๒๒

๒๒. ทําการคนหาหมดุ เพอื่ นาํ ไฟล XML ไปใชใน DOLCAD

๓ ๓๓-3๓3
๒๓

๒๓. เลอื กหมุดทีต่ อ งการและดาวนโหลดไฟล XML เพ่อื ไปใชง านในโปรแกรม DOLCAD ตอไป


Click to View FlipBook Version