The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search

คู่มือการปฏิบัติงานเกี่ยวกับเครื่องราชอิสริยาภรณ์ (ปี 2558)

กองการเจ้าหน้าที่

Keywords: ด้านทั่วไป

¤‹ÁÙ×Í¡Òû¯ÔºÑµ§ÔÒ¹à¡ÂÕèÇ¡ºÑ
à¤ÃÍèקÃÒªÍÔÊÃÂÔÒÀó

½†Ò·ÐàºÕ¹»ÃÐÇѵÔáÅкÓà˹稤ÇÒÁªÍº
¡Í§¡ÒÃ਌Ò˹ŒÒ·Õè
¡Ñ¹ÂÒ¹òõõø

ค่มู ือการปฏบิ ตั งิ านเกยี่ วกบั
เครื่องราชอิสรยิ าภรณ์

ฝ่ายทะเบียนประวัติและบ�ำ เหน็จความชอบ
กองการเจา้ หน้าที่
กันยายน ๒๕๕๘



คํานํา

เครื่องราชอิสริยาภรณ์และเหรียญจักรพรรดิมาลาเป็นเครื่องหมายแห่งเกียรติยศ
ซ่ึงพระมหากษัตริย์ทรงพระกรุณาโปรดเกล้า ฯ พระราชทานแก่ผู้กระทําความดีความชอบเป็นประโยชน์แก่
ราชการหรือสาธารณชน เพ่ือเป็นบําเหน็จความชอบและเคร่ืองหมายเชิดชูเกียรติยศอย่างสูง จึงเป็นมงคลแก่
ชีวิตและมีคุณค่าอย่างย่ิงแก่ผู้ได้รับพระราชทาน และเป็นปัจจัยหน่ึงที่สนับสนุนให้ข้าราชการ ลูกจ้างประจํา
และพนักงานราชการเกิดความภาคภูมิใจในการปฏิบัติหน้าท่ีจนได้รับพระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์
นอกจากนีย้ ังส่งผลให้เกิดประโยชน์ในการบริหารจัดการทรัพยากรบุคคลของกรมที่ดินอีกส่วนหน่ึงด้วย ในการ
จัดทํา “คู่มือการปฏิบัติงานเก่ียวกับเคร่ืองราชอิสริยาภรณ์” กองการเจ้าหน้าท่ีได้รวบรวมกฎหมาย ระเบียบ
หนังสือเวียน ที่เกี่ยวข้อง ตลอดจนแนวคําพิพากษาของศาลปกครองสูงสุดที่ได้วางหลักกฎหมายเกี่ยวกับ
การเสนอขอพระราชทานเครอ่ื งราชอิสริยาภรณ์ไว้ โดยมีวัตถุประสงค์เพ่ือให้เจ้าหน้าท่ีได้ใช้คู่มือน้ี เป็นแนวทาง
ในการปฏบิ ัตงิ านใหเ้ กิดความถูกตอ้ งและเกิดความเป็นธรรมแก่ข้าราชการ ลูกจ้างประจํา และพนักงานราชการ
ของกรมทดี่ นิ ต่อไป

กองการเจ้าหนา้ ท่ี หวงั เป็นอยา่ งยง่ิ ว่าคมู่ ือน้ี จะเสรมิ สร้างให้เกดิ ความรคู้ วามเข้าใจและใช้เป็น
แนวทางในการปฏิบัติงานให้เกิดประโยชน์แกเ่ จ้าหน้าท่ีของกรมท่ีดิน และหากคู่มือน้ี มีข้อบกพร่องประการใด
ขอได้แจง้ ขอ้ มลู ให้ทราบเพอ่ื คณะผู้จัดทําจะได้นําข้อมลู มาปรับปรุงคู่มอื น้ี ใหด้ ยี ่ิงขน้ึ ตอ่ ไป

ฝ่ายทะเบียนประวตั แิ ละบาํ เหน็จความชอบ
กองการเจา้ หนา้ ท่ี
กันยายน 2558



สารบัญ

บทท่ี ๑ บทนาํ หนา้ ที่


บทที่ ๒ หลักเกณฑใ์ นการเสนอขอพระราชทานเครอ่ื งราชอสิ รยิ าภรณ์และเหรยี ญจกั รพรรดมิ าลา ๕

บทท่ี ๓ การรับ เรยี กคืนและการสง่ คนื เครื่องราชอิสรยิ าภรณ์ ๑๖

บทท่ี ๔ การแต่งกายประดับเครอ่ื งราชอสิ รยิ าภรณ์ ๒๓

บทที่ ๕ แนวคาํ วินจิ ฉัยของศาลปกครองเกย่ี วกบั เครือ่ งราชอสิ ริยาภรณ์ ๓๙

ภาคผนวก
- คําถาม – คาํ ตอบเก่ยี วกับการเสนอขอพระราชทานเคร่อื งราชอิสริยาภรณ์
- กฎหมายและระเบยี บเก่ียวกับการเสนอขอพระราชทานเคร่ืองราชอสิ รยิ าภรณ์





บทท่ี 1
บทนํา
ประวตั ิความเปน็ มา
เครื่องราชอิสริยาภรณ์หรือที่เรียกกันเป็นภาษาสามัญว่า ตรา คือสิ่งท่ีเป็นเคร่ืองหมายแสดง
เกียรติยศและบําเหน็จความชอบ เป็นของพระมหากษัตริย์ทรงสร้างข้ึนสําหรับพระราชทานเป็นบําเหน็จ
ความชอบในราชการ ประเทศชาติ ศาสนา ประชาชน หรือส่วนพระองค์ นอกจากนั้นยังหมายความรวมถึง
เหรียญท่ีระลึกทที่ รงพระกรณุ าโปรดเกลา้ ฯ ใหส้ ร้างในโอกาสสาํ คัญตา่ ง ๆ เพือ่ ให้บุคคลทั่วไปใช้ประดับได้อย่าง
เครื่องราชอิสริยาภรณ์ เคร่ืองราชอิสริยาภรณ์ในปัจจุบันเป็นเคร่ืองหมายประดับเส้ือซ่ึงนิยมกันท่ัวไป แม้
ประเทศซ่ึงไม่มีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข ก็นิยมใช้ โดยถือว่าเป็นส่ิงส่งเสริมเกียรติของบุคคลผู้มีผลงาน
ดีเด่นต่อสว่ นรวม ใหเ้ ป็นแบบอย่างทีค่ วรยึดถือ มิได้ใช้เปน็ เครอ่ื งหมายแบง่ แยกชนช้นั แต่อย่างใด กลา่ วโดยสรุป
เครื่องราชอิสริยาภรณ์หมายถึง ของที่ทรงสร้างขึ้นสําหรับพระราชทานเป็นบําเหน็จความชอบในพระองค์และ
เปน็ เครื่องหมายแสดงถงึ เกียรติยศและบาํ เหน็จความชอบ
ประเภทของเครอื่ งราชอิสริยาภรณไ์ ทย
เคร่ืองราชอิสริยาภรณ์ไทยแบง่ ออกเป็น 4 ประเภท ดงั น้ี
ประเภทท่ี 1 เป็นเครื่องราชอิสริยาภรณ์สําหรับพระราชทานแก่ประมุขของรัฐ มีชนิดเดียว
คือ เคร่อื งราชอสิ ริยาภรณอ์ นั เปน็ มงคลยง่ิ ราชมิตราภรณ์ (ร.ม.ภ.) เปน็ เครือ่ งราชอิสริยาภรณ์ซึ่งพระบาทสมเด็จ
พระปรมนิ ทรมหาภูมพิ ลอดุลยเดช รชั กาลที่ 9 ทรงพระกรณุ าให้สรา้ งขึน้ เมอ่ื พ.ศ. 2505 เพื่อพระราชทานแก่
ประมขุ ของประเทศตา่ ง ๆ ซึ่งมีสัมพันธไมตรีกับประเทศไทยเป็นการเฉพาะแทนเครื่องราชอิสริยาภรณ์สกุลอ่ืน ๆ
ซง่ึ เคยพระราชทานมาแลว้ ในอดตี
ประเภทท่ี 2 เป็นเคร่ืองราชอิสริยาภรณ์สําหรับบําเหน็จความชอบในราชการแผ่นดิน มี 8
ชนิด คอื
2.1 เครื่องขัตติยราชอิสริยาภรณ์อันมีเกียรติคุณรุ่งเรืองยิ่งมหาจักรีบรมราชวงศ์ (ม.จ.ก.)
เป็นเคร่ืองราชอิสริยาภรณ์ที่พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลท่ี 5 ทรงพระกรุณาให้สร้างเม่ือ
พ.ศ. 2425 เพื่อระลึกถึงพระมหากรุณาธิคุณของพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช ปฐม
กษัตริย์ของราชวงศ์จักรีที่ได้สถาปนากรุงเทพมหานครเป็นราชธานีมาเป็นเวลาครบ 100 ปี สําหรับ
พระราชทานแก่พระบรมวงศานุวงศ์ ซ่ึงสืบเนื่องโดยตรงในพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช
และผซู้ ่งึ พระบรมวงศานวุ งศ์ดังกลา่ วได้เสกสมรสด้วย
2.2 เคร่ืองราชอิสริยาภรณ์อันเป็นโบราณมงคลนพรัตนราชวราภรณ์ (น.ร.) เป็น
เคร่ืองราชอิสริยาภรณ์ที่พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลท่ี 4 ทรงพระราชกรุณาให้สร้างดารา
นพรตั นขึ้นเม่ือ พ.ศ. 2401 – 2402 และแหวนนพรตั น สาํ หรบั พระราชทานพระราชวงศฝ์ ่ายหน้าและฝ่ายใน
ตลอดจนข้าราชการช้ันผู้ใหญ่ ซึ่งเป็นพุทธมามกะ ต่อมาในรัชกาลของพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้า
เจา้ อย่หู วั ไดท้ รงสรา้ งดวงตรามหานพรัตน สําหรบั ห้อยสายสะพาย เครื่องราชอสิ รยิ าภณน์ มี้ ชี ั้นเดยี ว

-2- ๔

2.3 เครื่องราชอิสริยาภรณ์จุลจอมเกล้า เป็นเครื่องราชอิสริยาภรณ์ที่พระบาทสมเด็จ
พระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 5 ทรงพระกรุณาให้สร้างขึ้นเม่ือ พ.ศ. 2516 เน่ืองในโอกาสที่พระมหากษัตริย์
ราชวงศจ์ ักรีได้ปกครองประเทศไทยติดต่อกันมาถึง 90 ปี ด้วยความสงบสุข พระองค์จึงทรงพระกรุณาให้สร้าง
เครื่องราชอิสริยาภรณ์จุลจอมเกล้านี้ขึ้น ซ่ึงเป็นพระนามของพระองค์ และใช้แพรแถบสีชมพูอันเป็นสีของวัน
พระราชสมภพ คือวนั องั คาร

2.4 เครื่องราชอิสริยาภรณ์อันมีศักดิ์รามาธิบดี เป็นเครื่องราชอิสริยาภรณ์ที่พระบาทสมเด็จ
พระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 6 ทรงพระกรุณาให้สร้างขึ้นเมื่อ พ.ศ. 2461 สําหรับพระราชทานให้แก่
ผู้ซงึ่ ทาํ ความชอบพิเศษเปน็ ประโยชนย์ ง่ิ แก่ราชการทหาร ไม่วา่ ยามสงบหรือยามสงครามตามที่ทรงพระราชดําริ
เห็นสมควร แบง่ เปน็ 6 ช้นั

2.5 เคร่ืองราชอิสริยาภรณ์อันเป็นท่ีเชิดชูยิ่งช้างเผือก เป็นเคร่ืองราชอิสริยาภรณ์ที่
พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 4 ทรงพระกรุณาให้สร้างขึ้นเมื่อ พ.ศ. 2404 แต่มิได้
กําหนดให้มีสายสะพาย ต่อมา พ.ศ. 2412 พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ได้ทรงกําหนดช้ันและ
สายสะพายประกอบ เคร่ืองราชอิสริยาภรณ์นี้ มี 8 ชน้ั

ช้ันสูงสุด มหาปรมาภรณช์ ้างเผอื ก (ม.ป.ช.)
ชัน้ ท่ี 1 ประถมาภรณช์ ้างเผอื ก (ป.ช.)
ช้ันที่ 2 ทวีตยิ าภรณช์ า้ งเผือก (ท.ช.)
ช้นั ท่ี 3 ตริตาภรณช์ ้างเผอื ก (ต.ช.)
ชนั้ ท่ี 4 จตั ุรถาภรณช์ า้ งเผอื ก (จ.ช.)
ชนั้ ท่ี 5 เบญจมาภรณช์ ้างเผือก (บ.ช.)
ชัน้ ที่ 6 เหรยี ญทองชา้ งเผือก (ร.ท.ช.)
ชน้ั ท่ี 7 เหรยี ญเงนิ ช้างเผือก (ร.ง.ช.)
2.6 เครื่องราชอิสริยาภรณ์อันมีเกียรติยศยิ่งมงกุฎไทย เป็นเคร่ืองราชอิสริยาภรณ์ท่ี
พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 5 ทรงพระกรุณาให้สร้างขึ้น เมื่อ พ.ศ. 2412 สําหรับ
พระราชทานแก่ พระบรมวงศานวุ งศ์ ขา้ ราชการ ประชาชนและชาวตา่ งประเทศ ปจั จบุ นั มีทงั้ หมด 8 ชน้ั
ชัน้ สูงสุด มหาวชิรมงกุฎ (ม.ว.ม.)
ช้ันท่ี 1 ประถมาภรณ์มงกุฎไทย (ป.ม.)
ชัน้ ท่ี 2 ทวีตยิ าภรณ์มงกฎุ ไทย (ท.ม.)
ชน้ั ที่ 3 ตริตาภรณม์ งกุฎไทย (ต.ม.)
ชน้ั ที่ 4 จัตรุ ถาภรณ์มงกุฎไทย (จ.ม.)
ชั้นที่ 5 เบญจมาภรณม์ งกุฎไทย (บ.ม.)
ชัน้ ท่ี 6 เหรยี ญทองมงกุฎไทย (ร.ท.ม.)
ช้นั ท่ี 7 เหรียญเงนิ มงกุฎไทย (ร.ง.ม.)

-3- ๕

2.7 เครื่องราชอิสริยาภรณ์อันเป็นท่ีสรรเสริญยิ่งดิเรกคุณาภรณ์ เป็นเครื่องราชอิสริยาภรณ์ท่ี
พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช รัชกาลที่ 9 ทรงพระกรุณาให้สร้างเมื่อ พ.ศ.
2534 สําหรับพระราชทานแก่ผู้กระทําความดีความชอบอันเป็นประโยชน์ยิ่งแก่ประเทศชาติ ศาสนา และ
ประชาชนตามที่ทรงพระราชดําริเห็นสมควร แบ่งเป็น 7 ชั้น เคร่ืองราชอิสริยาภรณ์ประเภทนี้ มีลําดับเกียรติ
รองจากเคร่ืองราชอิสริยาภรณ์มงกุฎไทยในชั้นตราเดียวกัน ดังน้ัน ในการประดับจะต้องประดับรองจาก
เคร่ืองราชอิสริยาภรณ์มงกุฎไทย อาทิ เมื่อจะประดับเคร่ืองราชอิสริยาภรณ์มงกุฎไทย กับ
เครื่องราชอิสริยาภรณ์ดิเรกคุณาภรณ์ จะต้องประดับเครื่องราชอิสริยาภรณ์ดิเรกคุณาภรณ์ ถัดจาก
เครื่องราชอสิ รยิ าภรณ์มงกฎุ ไทย เปน็ ต้น

2.8 เ ค ร่ื อ ง ร า ช อิ ส ริ ย า ภ ร ณ์ อั น เ ป็ น สิ ริ ย่ิ ง ร า ม กี ร ติ ลู ก เ สื อ ส ดุ ดี ช้ั น พิ เ ศ ษ เ ป็ น
เคร่ืองราชอิสรยิ าภรณท์ ี่พระบาทสมเดจ็ พระปรมินทรมหาภมู ิพลอดลุ ยเดช ทรงพระกรุณา ให้สร้างข้ึนเม่ือ พ.ศ.
2530 มีช้ันเดียว สําหรับพระราชทานแก่ผู้มีอุปการะคุณแก่กิจการลูกเสือ ซ่ึงได้รับพระราชทานเหรียญลูกเสือ
สดดุ ีชัน้ ที่ 1 มาแลว้ และใหก้ ารชว่ ยเหลอื กจิ การลกู เสือตอ่ เน่ืองมา 5 ปี

ประเภทที่ 3 เคร่ืองราชอิสริยาภรณ์สําหรับพระราชทานเป็นบําเหน็จความชอบในองค์
พระมหากษตั ริย์ พระบาทสมเดจ็ พระมงกฎุ เกลา้ เจ้าอยู่หัว ทรงพระกรุณาใหส้ รา้ งเคร่ืองราชอิสริยาภรณ์สําหรับ
พระราชทานเป็นบําเหน็จความชอบในพระองค์พระมหากษัตริย์สําหรับพระราชทานข้าราชการท่ีมีความ
จงรกั ภกั ดี และทรงพระกรณุ าใช้สอยใกลช้ ิด ขณะนพ้ี น้ สมัยพระราชทานแล้ว แบ่งเป็น 3 ชนิด

3.1 เครื่องราชอสิ รยิ าภรณต์ ราวชริ มาลา
3.2 เครื่องราชอิสริยาภรณต์ รารตั นวราภรณ์
3.3 เครื่องราชอสิ ริยาภรณต์ ราวลั ลภาภรณ์
ประเภทท่ี 4 เหรียญราชอิสริยาภรณ์ที่นับเป็นเคร่ืองราชอิสริยาภรณ์ แบ่งเป็น 4 ประเภท
ในการประดับเหรยี ญต้องเรียงลําดบั ตามเกียรติของเหรยี ญ ดังนี้
4.1 เหรียญที่พระราชทานเป็นบําเหน็จความกล้าหาญ มีอาทิ เหรียญกล้าหาญ เหรียญชัย
สมรภูมิ และเหรียญพิทกั ษเ์ สรชี น
4.2 เหรียญที่พระราชทานเป็นบําเหน็จความชอบในราชการแผ่นดิน มีอาทิ เหรียญดุษฎี
มาลาเข็มศิลปวิทยา เหรียญจักรพรรดิมาลา เหรียญจักรมาลา เหรียญราชการชายแดนและเหรียญลูกเสือ
สรรเสริญ
4.3 เหรียญท่ีพระราชทานเป็นบําเหน็จความชอบในพระองค์พระมหากษัตริย์เป็นเหรียญท่ี
พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวแต่ละรัชกาล ทรงพระกรุณาให้สร้างสําหรับพระราชทานแก่ผู้จงรักภักดีตามพระ
ราชอธั ยาศัยไม่เกยี่ วกับตาํ แหน่งราชการแตอ่ ยา่ งใด มี 2 ชนดิ ทส่ี าํ คญั คือ เหรียญรตั นาภรณ์ และเหรยี ญราชรุจิ
4.4 เหรียญสําหรับพระราชทานเป็นที่ระลึก เป็นเหรียญที่ทรงพระกรุณาให้สร้างในโอกาส
สําคัญต่าง ๆ เพื่อพระราชทานให้บุคคลท่ัวไปตามท่ีกฎหมายกําหนดไว้ ประดับได้ตามอัธยาศัยนับตั้งแต่เร่ิม
สร้างจนถึงปัจจุบันมีจํานวน 25 เหรียญ อาทิ เหรียญงานฉลอง 25 พุทธศตวรรษ เหรียญท่ีระลึกในการเสด็จ
พระราชดําเนินเยอื นสหรัฐอเมริกาและทวีปยุโรป เหรียญรัชดาภิเษก เหรียญที่ระลึกพระราชพิธีสถาปนาสมเด็จ

ราชอัธยาศัยไม่เกย่ี วกบั ตาํ แหน่งราชการแตอ่ ยา่ งใด มี 2 ชนิดทส่ี าํ คัญ คอื เหรียญรตั นาภรณ์ และเหรยี ญราชรจุ ิ
4.4 เหรียญสําหรับพระราชทานเป-็น4ที่ร-ะลึก เป็นเหรียญที่ทรงพระกรุณาให้สร้างในโอกาส

สําคัญต่าง ๆ เพ่ือพระราชทานให้บุคคลทั่วไปตามท่ีกฎหมายกําหนดไว้ ประดับได้ตามอัธยาศัยนับต้ังแต่เริ่ม
สร้างจนถึงปัจจุบันมีจํานวน 25 เหรียญ อาทิ เหรียญงานฉลอง 25 พุทธศตวรรษ เหรียญท่ีระลึกในการเสด๖็จ
พระราชดําเนินเยอื นสหรฐั อเมริกาและทวปี ยุโรป เหรียญรชั ดาภิเษก เหรียญที่ระลึกพระราชพิธีสถาปนาสมเด็จ
พระบรมโอรสาธิราชฯ สยามมกุฎราชกุมาร เหรียญสนองเสรีชน เหรียญท่ีระลึกพระราชพิธีสถาปนาสมเด็จ
พระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี เหรียญท่ีระลึกสมโภชกรุงรัตนโกสินทร์ 200 ปี เหรียญเฉลิมพระเกียรติ
สมเด็จพระนางเจ้าสริ กิ ติ ิ์ พระบรมราชินนี าถ พระชนมายุครบ 60 พรรษา เป็นต้น

-------------------------------



บทท่ี 2
หลกั เกณฑ์ในการเสนอขอพระราชทานเครอื่ งราชอสิ ริยาภรณ์

และเหรยี ญจกั รพรรดิมาลา

ในการขอพระราชทานเคร่ืองราชอิสริยาภรณ์ กรมท่ีดินได้แต่งคณะกรรมการพิจารณาเสนอ
ขอพระราชทานเคร่ืองราชอิสริยาภรณ์และเหรียญจักรพรรดิมาลาของกรมที่ดินเพื่อให้การพิจารณาเสนอขอ
พระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์เจ้าหน้าท่ีในสังกัดของกรมที่ดินเป็นไปด้วยความเรียบร้อยประกอบด้วย
อธิบดีกรมทดี่ นิ เป็นประธาน ทปี่ รกึ ษาดา้ นประสทิ ธภิ าพ ท่ปี รึกษาด้านวิศวกรรมสํารวจ รองอธบิ ดี ผู้อํานวยการ
สํานกั กฎหมายเป็นกรรมการ ผ้อู ํานวยการกองการเจ้าหน้าท่ีเป็นกรรมการและเลขานุการ หัวหน้าฝ่ายทะเบียน
ประวัติและบําเหน็จความชอบเป็นกรรมการและผู้ช่วยเลขานุการ เพ่ือให้เป็นไปตามระเบียบสํานัก
นายกรัฐมนตรี ว่าด้วยการขอพระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์ อันเป็นท่ีเชิดชูยิ่งช้างเผือกและ
เคร่ืองราชอิสริยาภรณ์อันมีเกียรติยศยิ่งมงกุฎไทย พ.ศ. 2536 และท่ีแก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2552
และพระราชบัญญัติเหรียญจักรมาลาและเหรียญจักรพรรดิมาลา พ.ศ. 2484 และที่แก้ไขเพ่ิมเติม (ฉบับท่ี 2)
พ.ศ. 2485 และ (ฉบับท่ี 3) พ.ศ. 2507 โดยผู้ขอพระราชทานฯ จะต้องมคี ณุ สมบัติ ดงั นี้

1) เป็นผู้มสี ัญชาตไิ ทย
2) เป็นผู้มีความประพฤติดีและปฏิบัติงานราชการ หรือปฏิบัติหน้าที่เป็นประโยชน์ต่อ
สาธารณชนด้วยความอุตสาหะ ซื่อสตั ย์และเอาใจใสต่ ่อหนา้ ท่ีอยา่ งดียง่ิ
3) เป็นผู้ไม่เคยมีพระบรมราชานุญาตให้เรียกคืนเครื่องราชอิสริยาภรณ์ หรือต้องโทษจําคุก
โดยคําพิพากษาถงึ ท่ีสุดให้จําคกุ เว้นแต่เป็นโทษสาํ หรับความผดิ ท่ไี ด้กระทาํ โดยประมาทหรือความผดิ ลหุโทษ
4) หากเป็นลูกจ้างประจําจะต้องเป็นลูกจ้างประจําตามระเบียบกระทรวงการคลังว่าด้วย
ลูกจ้างประจําของส่วนราชการ แต่ไม่หมายความรวมถึงลูกจ้างเงินทุนหมุนเวียน และจะต้องเป็นลูกจ้างที่มีช่ือ
และลกั ษณะงานเป็นลูกจ้างโดยตรงหมวดฝีมือ หรือลกู จา้ งประจาํ ท่มี ีช่ือและลักษณะเหมือนขา้ ราชการ
สําหรับคุณสมบัตขิ องข้าราชการทอี่ ย่ใู นหลักเกณฑ์ทจี่ ะขอพระราชทานเหรียญจกั รพรรดมิ าลา
(ร.จ.พ.) จะต้องมคี ณุ สมบตั ิ ดงั น้ี
1) เปน็ ขา้ ราชการและรับราชการมาไมน่ ้อยกวา่ 25 ปี
2) เป็นผู้ที่รับราชการมาด้วยความเรียบร้อยมาโดยตลอด ซ่ึงสํานักนายกรัฐมนตรีได้เคยวาง
แนวทางปฏิบัติเกี่ยวกับการรับราชการมาด้วยความเรียบร้อย หมายถึง ไม่เคยถูกงดเลื่อนเงินเดือนประจําปี
ด้วยเหตุทล่ี า หรือมาสาย หรือลาเกินจํานวนครงั้ ทก่ี ําหนด หรือปฏิบตั ิหน้าที่ไม่ได้ผลตามเป้าหมาย หรือขาดราชการ
โดยไม่มีเหตุอันควร ท้ังนี้ ให้หมายความรวมถึงข้าราชการท่ีกระทําความผิดและได้รับการล้างมลทิน ก็ไม่ถือว่า
ได้รบั ราชการมาด้วยความเรียบรอ้ ยเชน่ กัน
หลักเกณฑ์ วธิ กี าร เงอื่ นไขและขัน้ ตอนในการเสนอขอพระราชทานเครือ่ งราชอิสริยาภรณแ์ ละ
เหรียญจกั รพรรดมิ าลา ปรากฏรายละเอยี ด ดังนี้

-6- ๘

การเสนอขอพระราชทานเครอ่ื งราชอสิ รยิ าภรณอ์ ันเปน็ ทเี่ ชดิ ชยู งิ่ ช้างเผือก
และเคร่ืองราชอสิ รยิ าภรณอ์ นั มีเกียรตยิ ศย่งิ มงกุฎไทย

(ตามระเบยี บสาํ นักนายกรฐั มนตรีว่าด้วยการขอพระราขทานเคร่อื งราชอสิ รยิ าภรณอ์ นั เปน็ ทเี่ ชดิ ชูยง่ิ
ช้างเผอื ก

และเครอ่ื งราชอสิ ริยาภรณอ์ ันมเี กียรตยิ ศย่ิงมงกฎุ ไทย
พ.ศ. 2536 และทแ่ี ก้ไขเพมิ่ เตมิ )

หลักเกณฑ์ วิธีการ และเง่ือนไขในการเสนอขอพระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์อันเป็นที่เชิดชูยิ่ง
ช้างเผือกและเคร่ืองราชอิสริยาภรณ์อันมเี กยี รตยิ ศย่งิ มงกฎุ ไทย

1. คุ ณ ส ม บั ติ ข อ ง บุ ค ค ล ที่ พึ ง ไ ด้ รั บ ก า ร พิ จ า ร ณ า เ ส น อ ข อ พ ร ะ ร า ช ท า น
เครอ่ื งราชอิสรยิ าภรณ์

1.1 เปน็ ผู้มีสัญชาตไิ ทย
1.2 เป็นผู้ประพฤติดีและปฏิบัติงานราชการ หรือปฏิบัติงานที่เป็นประโยชน์ต่อ
สาธารณชน ด้วยความอตุ สาหะ ซื่อสัตย์ และเอาใจใสต่ ่อหน้าท่อี ย่างดยี ่งิ และ
1.3 เป็นผู้ไม่เคยมีพระบรมราชานุญาตให้เรียกคืนเครื่องราชอิสริยาภรณ์ หรือต้องโทษ
จําคุกโดยยคําพิพากษาถึงท่ีสุดให้จําคุก เว้นแต่เป็นโทษสําหรับความผิดท่ีได้กระทําโดยประมาท หรือความผิด
ลหโุ ทษ
1.4 หากเป็นลูกจ้างประจํา ต้องเป็นลูกจ้างประจําของส่วนราชการตามระเบียบ
กระทรวงการคลังว่าด้วยลูกจ้างประจําของส่วนราชการ แต่ไม่หมายความถึงลูกจ้างเงินทุนหมุนเวียน และเป็น
ลูกจ้างประจําที่มีชื่อและลักษณะงานเป็นลูกจ้างโดยตรงหมวดฝีมือ หรือลูกจ้างประจําที่มีช่ือและลักษณะ
เหมอื นขา้ ราชการ
2 หลกั เกณฑ์การเสนอขอพระราชทานเครอื่ งราชอสิ รยิ าภรณ์
2.1 ให้พิจารณาถึงตําแหน่ง ระดับ และความดีความชอบของผู้ขอพระราชทานฯ
ดังตอ่ ไปน้ี

ชน้ั ต่ํากวา่ สายสะพาย
(1) ช้นั ที่ 7 เหรียญเงนิ มงกฎุ ไทย (ร.ง.ม.)
(2) ช้นั ที่ 7 เหรียญเงินชา้ งเผือก (ร.ง.ช.)
(3) ชั้นท่ี 6 เหรียญทองมงกฎุ ไทย (ร.ท.ม.)
(4) ชัน้ ที่ 6 เหรียญทองช้างเผือก (ร.ท.ช.)
(5) ชนั้ ท่ี 5 เบญจมาภรณม์ งกุฎไทย (บ.ม.)
(6) ชั้นที่ 5 เบญจมาภรณ์ชา้ งเผอื ก (บ.ช.)
(7) ช้นั ท่ี 4 จัตรุ ถาภรณ์มงกุฎไทย (จ.ม.)
(8) ช้ันที่ 4 จัตุรถาภรณ์ชา้ งเผือก (จ.ช.)

(3) ชน้ั ท่ี 6 เหรียญทองมงกุฎไทย (ร.ท.ม.)

(4) ช้ันท่ี 6 เหรียญทอ-ง7ช้า-งเผือก (ร.ท.ช.)
(5) ชัน้ ท่ี 5 เบญจมาภรณม์ งกุฎไทย (บ.ม.)

(6) ชั้นท่ี 5 เบญจมาภรณ์ช้างเผอื ก (บ.ช.)

(7) ชนั้ ที่ 4 จัตุรถาภรณม์ งกฎุ ไทย (จ.ม.) ๙
(8) ชน้ั ที่ 4 จตั รุ ถาภรณ์ช้างเผอื ก (จ.ช.)

(9) ชนั้ ที่ 3 ตริตาภรณม์ งกฎุ ไทย (ต.ม.)

(10)ชั้นที่ 3 ตริตาภรณ์ช้างเผือก (ต.ช.)

(11)ชัน้ ท่ี 2 ทวีตยิ าภรณม์ งกฎุ ไทย (ท.ม.)

(12)ชนั้ ท่ี 2 ทวตี ยิ าภรณช์ า้ งเผือก (ท.ช.)

ช้ันสายสะพาย

(1) ชัน้ ท่ี 1 ประถมาภรณม์ งกฎุ ไทย (ป.ม.)

(2) ชน้ั ท่ี 1 ประถมาภรณช์ า้ งเผือก (ป.ช.)

(3) ช้ันสงู สดุ มหาวชิรมงกฎุ (ม.ว.ม.) และ

(4) ชน้ั สงู สุด มหาปรมาภรณ์ชา้ งเผอื ก (ม.ป.ช.)

2.2 ขอพระราชทานในปีติดกนั ไมไ่ ด้ เว้นแตก่ รณีดงั ต่อไปน้ี

(1) เป็นการขอพระราชทานตามหลกั เกณฑใ์ นบญั ชีทา้ ยระเบียบท่ีตา่ งบญั ชีกนั

(2) เปน็ การขอพระราชทานตามทีไ่ ด้กําหนดไวเ้ ปน็ อย่างอ่ืนในระเบียบนี้ หรือ

(3) เป็นการขอพระราชทานแก่ผู้กระทําความดีความชอบดีเด่น กล่าวคือปฏิบัติ

หน้าท่ีฝ่าอันตรายหรือปฏบิ ัติงานนอกเหนอื หนา้ ทเ่ี พิ่มขนึ้ เป็นพิเศษ ซ่ึงเป็นงานสําคญั ยง่ิ และเปน็ ผลดีแก่ราชการ

หรือสาธารณชนหรือคิดค้นส่ิงหรือวิธีการอันเป็นประโยชน์อย่างยิ่งแก่ประเทศชาติได้เป็นผลสําเร็จ โดยให้ระบุ

ความดีความชอบให้เห็นเด่นชดั ว่าได้กระทําความดีความชอบอนั เป็นประโยชนย์ ง่ิ ประการใด เมอื่ ใด และได้ผลดี

อย่างไร

2.3 ขอพระราชทานเล่ือนช้ันตราก่อนครบเงื่อนไขและกําหนดระยะเวลาที่กําหนดตามข้อ

2.6 ไม่ได้ เวน้ แต่เปน็ การขอพระราชทานแก่ผ้กู ระทาํ ความดีความชอบดีเดน่ ตามขอ้ 2.2 (3)

2.4 หากผู้ขอพระราชทานเคร่ืองราชอิสริยาภรณ์ถูกลงโทษทางวินัยในปีใด ในปีที่ขอ

พระราชทาน ใหเ้ พม่ิ กําหนดระยะเวลาการขอพระราชทานตามขอ้ 2.7 เพิ่มอกี 1 ปี ยกเว้นโทษภาคทัณฑ์

2.5 หากผู้ขอพระราชทานเคร่ืองราชอิสริยาภรณ์ถูกกล่าวหาว่ากระทําผิดทางวินัยอย่าง

ร้ายแรงและถูกต้ังกรรมการสอบสวนแล้ว หรือกระทําความผิดอาญา และอยู่ระหว่างสอบสวนของพนักงาน

สอบสวน หรืออยู่ระหว่างการดําเนินคดีอาญาในชั้นศาล แม้คดียังไม่ถึงท่ีสุด (เว้นแต่ความผิดลหุโทษหรือ

ความผิดที่มีโทษปรับสถานเดียว) ให้แจ้งพฤติการณ์ดังกล่าวให้ทราบด้วย โดยคณะกรรมการอาจมีมติให้รอการ

พจิ ารณาการขอพระราชทานเครื่องราชอสิ รยิ าภรณ์สาํ หรับผนู้ ้นั ไวก้ ่อนกไ็ ด้

2.6 ข้าราชการและลูกจ้างประจําที่ต้องพ้นจากการปฏิบัติหน้าท่ีเพราะเกษียณอายุ

ราชการในปีใดให้มีสิทธิ์ได้รับการพิจารณาเสนอขอพระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์ในปีท่ีพ้นจากการปฏิบัติ

หนา้ ที่น้นั ด้วย

2.7 เงอ่ื นไขและกาํ หนดระยะเวลาการเล่อื นช้นั ตรา

2.6 ข้าราชการและลูกจ้างประจําท่ีต้องพ้นจากการปฏิบัติหน้าที่เพราะเกษียณอายุ
รหานช้ากทา่นี รนั้ในดป้วยีใดให้มีสิทธ์ิได้รับการพิจารณาเสนอขอพ-ระ8รา-ชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์ในปีที่พ้นจากการปฏิบัติ

2.7 เง่ือนไขและกําหนดระยะเวลาการเลื่อนช้นั ตรา
(1) ข้าราชการพลเรือนสามัญ

รับราชการติดต่อกันมาแล้วไม่น1้อ)ยกกรวณ่าีเ5ริ่มปตีบ้นรขิบอูรพณร์ะนรับาชตทั้งแาตน่วเคันรเ่ือริ่มงรเขา้าชรอับิสรราิยชากภารรณจ์ นผู้ขถอึงวฯันตก้อ่องนมวีรันะพยระะเวร๑ลา๐ชา

พิธีเฉลิมพระชนมพรรษาของปีที่จะขอพระราชทานไม่น้อยกว่า 60 วัน (หมายถึงจะต้องได้รับการบรรจุเข้ารับ
ราชการก่อนวันที่ 6 ตุลาคมของปีที่บรรจุ หากบรรจุหลังวันที่ 6 ตุลาคม จะต้องขอพระราชทานฯ ในปีถัดไป)
โดยผู้ขอฯ จะเริ่มขอพระราชทานเคร่ืองราชอิสริยาภรณ์ในชั้นตราใด ให้พิจารณาจากการดํารงตําแหน่งและ
ระดบั ท่ขี ้าราชการผู้น้นั ดํารงอยู่ในปที ่ีขอพระราชทานฯ ตามเงอ่ื นไขและระยะเวลาการเลื่อนช้นั ตรา

2) กรณีขอพระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์ ปีท่ีเกษียณอายุราชการ สําหรับ
ข้าราชการประเภท/ระดบั ดงั ตอ่ ไปน้ี ใหข้ อปตี ดิ กนั ได้

- ตาํ แหนง่ ประเภทท่ัวไป ระดบั ทักษะพเิ ศษ
- ตาํ แหน่งประเภทวชิ าการ ระดบั เชย่ี วชาญ และระดบั ทรงคณุ วุฒิ
- ตําแหนง่ ประเภทอํานวยการ ระดับสงู
- ตําแหน่งประเภทบริหาร ระดบั ต้น และระดับสูง

- 9 - ๑๑

ลาํ ดับ ตาํ แหน่ง/ระดับ เครอ่ื งราชอสิ รยิ าภรณ์ เง่ือนไข
1 ตาํ แหนง่ ประเภททั่วไป ที่ขอพระราชทาน และระยะเวลาการ
(1) ระดับปฏบิ ัตงิ าน เร่มิ ขอ เลอื่ นถงึ
เลอ่ื นชัน้ ตรา
(2) ระดบั ชํานาญงาน
(3) ระดบั อาวุโส บ.ม. จ.ช. 1) เรมิ่ ขอพระราชทาน บ.ม.
(4) ระดับทกั ษะพเิ ศษ 2) ได้รับเงนิ เดอื นตา่ํ กวา่ ขน้ั ตาํ่ ของระดับชํานาญงาน
และดํารงตําแหนง่ มาแลว้
2 ตําแหนง่ ประเภทวิชาการ ไม่น้อยกว่า 10 ปบี ริบูรณ์ ขอ บ.ช.
(1) ระดับปฏบิ ัตกิ าร 3) ได้รับเงนิ เดอื นไมต่ ่ํากว่าข้นั ตาํ่ ของระดบั ชํานาญงาน
(2) ระดับชํานาญการ ขอ จ.ม.
4) ได้รบั เงนิ เดอื นไม่ต่าํ กว่าขัน้ ตํา่ ของระดับชาํ นาญงาน
(3) ระดบั ชาํ นาญการพิเศษ และดํารงตาํ แหน่งมาแล้วไมน่ ้อยกว่า 10 ปีบริบูรณ์
(4) ระดับเชี่ยวชาญ ขอ จ.ช.

(5) ระดบั ทรงคณุ วุฒิ ต.ม. ต.ช. 1) เริ่มขอพระราชทาน ต.ม.
ท่ไี ดร้ บั เงินประจํา 2) ดาํ รงตําแหน่งมาแล้วไมน่ ้อยกวา่ 5 ปบี ริบรู ณ์ ขอ ต.ช.
ตาํ แหนง่ 13,000 บาท
ท.ม. ท.ช. 1) เรมิ่ ขอพระราชทาน ท.ม.
2) ดาํ รงตาํ แหน่งมาแล้วไม่น้อยกวา่ 5 ปีบรบิ รู ณ์ ขอ ท.ช.

- ม.ว.ม. 1) ได้ ท.ช. มาแลว้ ไมน่ อ้ ยกว่า 3 ปบี รบิ ูรณ์ ขอ ป.ม.
2) ได้ ป.ม. มาแล้วไม่นอ้ ยกว่า 3 ปีบริบูรณ์ ขอ ป.ช.
3) ได้ ป.ช. มาแลว้ ไม่นอ้ ยกวา่ 5 ปีบริบรู ณ์ ขอ ม.ว.ม.
4) ในปีทีเ่ กษยี ณอายรุ าชการขอพระราชทานสงู ขน้ึ ได้
อีก 1 ชน้ั ตรา แตไ่ มเ่ กนิ ป.ช.

ต.ม. -

ต.ช. ท.ช. 1) เริม่ ขอพระราชทาน ต.ช.

2) ไดร้ ับเงินเดอื นไม่ตํ่ากว่าขัน้ ต่ําของระดับชาํ นาญการพเิ ศษ
ขอ ท.ม.

3) ได้รบั เงนิ เดอื นไมต่ ่ํากว่าขั้นต่ําของระดับชํานาญการพิเศษ
มาแลว้ ไมน่ อ้ ยกวา่ 5 ปบี ริบูรณ์ ขอ ท.ช.

ท.ช. ป.ม. 1) เริม่ ขอพระราชทาน ท.ช.
2) ได้รบั เงินเดือนขั้นสูง
และได้ ท.ช. มาแลว้ ไม่น้อยกว่า 5 ปบี รบิ ูรณ์ ขอ ป.ม.

- ม.ว.ม. 1) ได้ ท.ช. มาแลว้ ไมน่ ้อยกวา่ 3 ปีบรบิ รู ณ์ ขอ ป.ม.
2) ได้ ป.ม. มาแล้วไม่น้อยกว่า 3 ปบี ริบูรณ์ ขอ ป.ช.
3) ได้ ป.ช. มาแลว้ ไมน่ ้อยกว่า 5 ปบี รบิ รู ณ์ ขอ ม.ว.ม.
4) ในปที ี่เกษยี ณอายรุ าชการขอพระราชทานสูงขึ้นได้อกี
1 ชนั้ ตรา แต่ไมเ่ กิน ป.ช. เวน้ กรณีลาออก

- ม.ป.ช. 1) เลือ่ นช้นั ตราตามลําดบั ได้ทุกปีจนถึง ป.ม.
2) ได้ ป.ม. มาแลว้ ไมน่ อ้ ยกว่า 3 ปีบริบูรณ์ ขอ ป.ช.
3) ได้ ป.ช. มาแล้วไมน่ ้อยกวา่ 3 ปบี รบิ รู ณ์ ขอ ม.ว.ม.
4) ได้ ม.ว.ม. มาแลว้ ไม่นอ้ ยกว่า 5 ปีบรบิ รู ณ์ ขอ ม.ป.ช.
5) ในปีทเ่ี กษียณอายุราชการ ขอพระราชทานสูงขน้ึ ไดอ้ ีก
1 ช้ันตรา แต่ไม่เกนิ ม.ว.ม. เว้นกรณลี าออก

- 10 - ๑๒

ลําดบั ตําแหนง่ /ระดับ เครือ่ งราชอิสรยิ าภรณ์ เง่อื นไข
(6) ระดับทรงคุณวุฒิ ท่ีขอพระราชทาน และระยะเวลาการ
ทไ่ี ด้รับเงินประจํา เร่ิมขอ เล่ือนถึง
ตําแหนง่ 15,600 บาท - ม.ป.ช. เลือ่ นช้นั ตรา

3 ตาํ แหน่งประเภทอํานวยการ 1) ได้ ป.ม. มาแลว้ ไมน่ ้อยกวา่ 3 ปีบรบิ ูรณ์ ขอ ป.ช.
(1) ระดบั ตน้ 2) ได้ ป.ช. มาแลว้ ไมน่ ้อยกวา่ 3 ปบี ริบูรณ์ ขอ ม.ว.ม.
3) ได้ ม.ว.ม. มาแลว้ ไมน่ อ้ ยกวา่ 3 ปบี ริบรู ณ์ ขอ ม.ป.ช.
(2) ระดับสงู 4) ในปที เ่ี กษยี ณอายุราชการ ขอพระราชทานสงู ขึ้นได้อกี

4 ตาํ แหนง่ ประเภทบริหาร 1 ช้นั ตรา เว้นกรณีลาออก
(1) ระดับต้น
ท.ช. ป.ม. 1) เริ่มขอพระราชทาน ท.ช.
(2) ระดับสงู 2) ไดร้ บั เงินเดือนขนั้ สูง
ทีไ่ ดร้ ับเงินประจํา และได้ ท.ช. มาแลว้ ไม่นอ้ ยกวา่ 3 ปบี ริบูรณ์ ขอ ป.ม.
ตาํ แหน่ง 14,500 บาท
- ม.ว.ม. 1) ได้ ท.ช. มาแลว้ ไมน่ อ้ ยกว่า 3 ปีบรบิ ูรณ์ ขอ ป.ม.
(3) ระดบั สูง 2) ได้ ป.ม. มาแลว้ ไมน่ อ้ ยกวา่ 3 ปบี ริบูรณ์ ขอ ป.ช.
ที่ได้รบั เงินประจาํ 3) ได้ ป.ช. มาแลว้ ไม่น้อยกวา่ 5 ปีบรบิ ูรณ์ ขอ ม.ว.ม.
ตาํ แหน่ง 21,200 บาท 4) ในปที เ่ี กษียณอายุราชการ ขอพระราชทานสูงขึ้นไดอ้ กี
1 ชั้นตรา แตไ่ มเ่ กิน ป.ช. เวน้ กรณีลาออก

- ม.ว.ม. 1) ได้ ท.ช. มาแล้วไม่น้อยกว่า 3 ปบี ริบูรณ์ ขอ ป.ม.
2) ได้ ป.ม. มาแลว้ ไม่นอ้ ยกวา่ 3 ปีบรบิ รู ณ์ ขอ ป.ช.
3) ได้ ป.ช. มาแลว้ ไม่นอ้ ยกวา่ 5 ปีบริบรู ณ์ ขอ ม.ว.ม.
4) ในปีทเี่ กษยี ณอายุราชการ ขอพระราชทานสงู ข้ึนไดอ้ กี
1 ชนั้ ตรา แต่ไม่เกนิ ป.ช. เว้นกรณีลาออก

- ม.ป.ช. 1) เลอื่ นชั้นตราตามลาํ ดับได้ทกุ ปจี นถงึ ป.ม.
2) ได้ ป.ม. มาแลว้ ไมน่ อ้ ยกวา่ 3 ปีบรบิ รู ณ์ ขอ ป.ช.
3) ได้ ป.ช. มาแล้วไมน่ ้อยกวา่ 3 ปบี ริบูรณ์ ขอ ม.ว.ม.
4) ได้ ม.ว.ม. มาแล้วไมน่ อ้ ยกว่า 5 ปบี รบิ ูรณ์ ขอ ม.ป.ช.
5) ในปที ี่เกษียณอายรุ าชการ ขอพระราชทานสูงขนึ้ ได้อีก
1 ชั้นตรา แตไ่ ม่เกิน ม.ว.ม. เว้นกรณีลาออก

- ม.ป.ช. 1) ได้ ป.ม. มาแลว้ ไม่นอ้ ยกว่า 3 ปีบรบิ ูรณ์ ขอ ป.ช.
2) ได้ ป.ช. มาแล้วไม่น้อยกวา่ 3 ปบี ริบรู ณ์ ขอ ม.ว.ม.
3) ได้ ม.ว.ม. มาแลว้ ไม่นอ้ ยกว่า 3 ปบี รบิ ูรณ์ ขอ ม.ป.ช.
4) ในปีทเ่ี กษียณอายุราชการ ขอพระราชทานสงู ขนึ้ ได้อีก
1 ชั้นตรา เว้นกรณลี าออก

- 11 - ๑๓

(2) ลกู จ้างประจํา

1) กรณีเร่ิมต้นขอพระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์ ผู้ขอฯ ต้องมีระยะเวลา

การปฏิบัติงานติดต่อกันมาแล้วไม่น้อยกว่า 8 ปีบริบูรณ์ นับต้ังแต่วันเร่ิมจ้างจนถึงวันก่อนวันพระราชพิธีเฉลิม

พระชนมพรรษาของปีที่จะขอพระราชทานไม่น้อยกว่า 60 วัน โดยมีเง่ือนไขและระยะเวลาการเลื่อนช้ันตราใน

การขอพระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์ ดังตอ่ ไปนี้

เคร่อื งราชอสิ รยิ าภรณ์ เงื่อนไข

ลาํ ดบั ตาํ แหนง่ ท่ีขอพระราชทาน และระยะเวลาการ

เริ่มขอ เลอ่ื นถงึ เล่ือนช้นั ตรา

1 ลกู จา้ งประจํา ซงึ่ ได้รับคา่ จ้าง บ.ม. จ.ม. 1) เริ่มขอพระราชทาน บ.ม. (เริ่มขอครง้ั แรก)

ตงั้ แต่อัตราเงนิ เดอื นข้ึนตํ่าของ 2) ได้ บ.ม. มาแล้วไม่น้อยกว่า 5 ปีบรบิ ูรณ์ ขอ บ.ช.

ขา้ ราชการพลเรือน ประเภท 3) ได้ บ.ช. มาแลว้ ไม่น้อยกวา่ 5 ปบี รบิ ูรณ์ ขอ จ.ม.
วิชาการ ระดับปฏิบตั ิการ
แตไ่ ม่ถงึ ขนั้ ตํา่

ของ ระดบั ชาํ นาญการ

2 ลูกจ้างประจํา ซ่ึงได้รับค่าจ้าง บ.ช. จ.ช. 1) เรม่ิ ขอพระราชทาน บ.ช. (เร่ิมขอครัง้ แรก)

ตั้งแต่อัตราเงนิ เดอื นขนั้ ต่ําของ 2) ได้ บ.ช. มาแล้วไม่นอ้ ยกว่า 5 ปบี ริบูรณ์ ขอ จ.ม.

ขา้ ราชการพลเรือน ประเภท 3) ได้ จ.ม. มาแล้วไม่นอ้ ยกว่า 5 ปบี ริบรู ณ์ ขอ จ.ช.

วชิ าการ ระดับชาํ นาญการ

ขน้ึ ไป

2) สํานกั เลขาธิการคณะรัฐมนตรีอนุโลมให้ลูกจ้างประจําตามลักษณะงานท้ัง 4
กลุ่มงาน คือ กลุ่มงานบริการพ้ืนฐาน กลุ่มงานสนับสนุน กลุ่มงานช่าง และกลุ่มงานเทคนิคพิเศษ ที่เดิมเคย
ดํารงตําแหน่งในหมวดฝีมือหรือที่มีช่ือและลักษณะเหมือนข้าราชการ (ยกเว้นลูกจ้างประจําหมวดแรงงาน และ
หมวดกง่ึ ฝีมือ ไม่มสี ิทธิขอพระราชทานฯ) เสนอขอพระราชทานเคร่ืองราชอิสริยาภรณ์ ได้ตามเดิม โดยให้หมาย
เหตุด้วยว่าเดิมดํารงตําแหน่งในหมวดใด สําหรับลูกจ้างประจํากรมที่ดินท่ีมีสิทธิขอพระราชทาน
เครื่องราชอิสรยิ าภรณ์ มีดังนี้

- ลูกจ้างประจําหมวดฝีมือ ได้แก่ ตําแหน่งพนักงานพิมพ์ ส 2 ช่างเขียน
แผนท่ี ช 1 พนักงานขับเครื่องจักรกลขนาดเบา ช 1 พนักงานขับรถยนต์ ส 1 พนักงานเขียนโฉนด บ 1
และลา่ มภาษาตา่ งประเทศ ส 1

- ลกู จ้างประจาํ หมวดฝีมือพเิ ศษ (ระดับตน้ ) ได้แก่ ตําแหนง่ พนักงานพิมพ์ ส 3
- ลูกจ้างประจําหมวดฝีมือพิเศษ (ระดับกลาง) ได้แก่ ตําแหน่งพนักงานขับ
เครื่องจกั รกลขนาดหนัก ช 1
- ลูกจ้างประจํา ที่มีช่ือและลักษณะงานเหมือนข้าราชการ ได้แก่ ตําแหน่ง
ช่างเครือ่ งจกั รกล ช 1 และพนกั งานพิมพ์ออฟเซท ส 1

- 12 - ๑๔

(3) พนักงานราชการ

1) กรณีเร่ิมต้นขอพระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์ ผู้ขอฯ ต้องมีระยะเวลา

การปฏิบัติงานติดต่อกันมาแล้วไม่น้อยกว่า 5 ปีบริบูรณ์ นับต้ังแต่วันเริ่มจ้างจนถึงวันก่อนวันพระราชพิธีเฉลิม

พระชนมพรรษาของปที จี่ ะขอพระราชทานไม่น้อยกวา่ 60 วนั โดยมีกาํ หนดเงอ่ื นไขและระยะเวลาการเล่ือนชั้น

ตราในการขอพระราชทานเครือ่ งราชอสิ ริยาภรณ์ ดังตอ่ ไปน้ี

เครอ่ื งราชอิสริยาภรณ์ เงื่อนไข

ลาํ ดับ ตําแหน่ง ทขี่ อพระราชทาน และระยะเวลาการ

เร่มิ ขอ เล่ือนถงึ เลือ่ นช้ันตรา

1 พนกั งานราชการ บ.ม. จ.ช. 1) เริ่มขอพระราชทาน บ.ม.

- กล่มุ งานบริการ 2) ได้ บ.ม. มาแล้วไม่น้อยกวา่ 5 ปีบริบูรณ์ ขอ บ.ช.

- กลมุ่ งานเทคนิค 3) ได้ บ.ช. มาแล้วไมน่ อ้ ยกว่า 5 ปีบริบรู ณ์ ขอ จ.ม.

4) ได้ จ.ม. มาแล้วไมน่ อ้ ยกว่า 5 ปีบรบิ รู ณ์ ขอ จ.ช.

2 พนกั งานราชการ บ.ช. ต.ม. 1) เรมิ่ ขอพระราชทาน บ.ช.

- กลุ่มงานบริหารท่วั ไป 2) ได้ บ.ช. มาแลว้ ไมน่ อ้ ยกว่า 5 ปีบรบิ ูรณ์ ขอ จ.ม.
3) ได้ จ.ม. มาแล้วไม่น้อยกวา่ 5 ปบี ริบูรณ์ ขอ จ.ช.
4) ได้ จ.ช. มาแล้วไม่นอ้ ยกว่า 5 ปีบริบรู ณ์ ขอ ต.ม.

2) ผู้ได้รับการเสนอขอพระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์ ต้องเป็นพนักงาน
ราชการตามสัญญาจ้างของสว่ นราชการ ตามระเบยี บสํานักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยพนักงานราชการ พ.ศ. 2547
และตอ้ งเป็นพนักงานราชการที่มีชื่อและลักษณะงานเป็นพนักงานที่เทียบเท่ากับลูกจ้างประจําหมวดฝีมือขึ้นไป
ตามระเบียบกระทรวงการคลังว่าด้วยลูกจ้างประจําของส่วนราชการ และตามแนวทางที่สํานักเลขาธิการ
คณะรัฐมนตรีกําหนดให้ปฏิบัติแก่ลูกจ้างประจําฯ สําหรับพนักงานราชการกรมท่ีดินที่มีสิทธิขอพระราชทาน
เครือ่ งราชอสิ รยิ าภรณ์ มดี ังน้ี

- พนักงานราชการกลุ่มงานบริหาร ได้แก่ ตําแหน่งพนักงานเขียนแผนท่ี
พนักงานการพมิ พ์ พนกั งานบันทกึ ขอ้ มูล พนักงานการเงนิ และบญั ชี และพนักงานสถติ ิ

- พนกั งานราชการกลมุ่ งานเทคนิค ไดแ้ ก่ ตําแหน่งพนักงานขับเครื่องจักรกล
ขนาดหนกั พนกั งานขบั เคร่อื งจกั รกลขนาดเบา พนกั งานเครื่องคอมพิวเตอร์ และพนกั งานซอ่ มเคร่อื งจกั รกล

- พนักงานราชการกลุ่มงานบริหารท่ัวไป ได้แก่ ตําแหน่งพนักงานวิเคราะห์

นโยบายและแผน

- 13 - ๑๕

3 การดําเนนิ การเสนอขอพระราชทานเครอื่ งราชอสิ รยิ าภรณ์
3.1 ให้ตรวจสอบประวัติการได้รับพระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์ของข้าราชการผู้มี

สิทธิได้รับการพิจารณาเสนอขอพระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์ จากสมุดประวัติหรือ ก.พ. 7 และ
ตรวจสอบคุณสมบัติตามระเบียบสํานักนายกรัฐมนตรี ว่าด้วยการขอพระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์ อัน
เป็นที่เชดิ ชยู ่ิงชา้ งเผอื กและเคร่ืองราชอิสริยาภรณ์อันมีเกียรติยศยิ่งมงกุฎไทย พ.ศ. 2536 และท่ีแก้ไขเพ่ิมเติม
(ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2552 เสร็จแล้วให้พิมพ์รายชื่อลงในแบบบัญชีสรุปรายช่ือผู้ได้รับการเสนอขอพระราชทาน
เครอ่ื งราชอิสริยาภรณข์ องข้าราชการ ลูกจ้างประจําและพนักงานราชการแล้วแต่กรณี โดยแยกบัญชีละหนึ่งช้ัน
ตรา ทงั้ นี้ หากผู้มีสิทธิเสนอขอพระราชทานฯ มีกรณีถูกดําเนินการทางวินัย หรืออาญา ให้พิมพ์ลงในช่องหมาย
เหตุในแบบบัญชีสรุปรายช่ือผู้ได้รับการเสนอขอพระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์ของข้าราชการ
ลูกจา้ งประจาํ และพนกั งานราชการแล้วแต่กรณีดว้ ย

3.2 การเสนอขอพระราชทานเครื่องราชอิสรยิ าภรณ์เป็นกรณีพิเศษ ใหถ้ อื ปฏิบัติดงั น้ี
(1) ให้พิจารณาอย่างเคร่งครัด และด้วยความรอบคอบว่า บุคคลนั้นต้องเป็นผู้มี

คุณสมบัติตามหลักเกณฑ์ของระเบียบสํานักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยการขอพระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์ฯ
พ.ศ. 2536 ขอ้ 11 (3) อย่างแทจ้ รงิ คือ

1) ปฏบิ ตั ิหนา้ ทีฝ่ า่ อันตราย
2) ปฏิบัติงานนอกเหนอื หน้าทเ่ี พม่ิ ข้ึนเปน็ พเิ ศษ ซ่งึ เปน็ งานสาํ คญั ยง่ิ และเปน็

ผลดแี กร่ าชการ หรอื สาธารณชน
3) คิดค้นส่ิงหรือวิธีการอันเป็นประโยชน์อย่างย่ิงแก่ประเทศชาติได้เป็น
ผลสําเร็จ
(2) มิให้ขอพระราชทานเป็นกรณีพิเศษแก่บุคคลในสังกัดที่ขาดระยะเวลาการเลื่อน
ช้นั ตราเกนิ กวา่ 1 ปี (กรณขี อชั้นสายสะพาย)
(3) ในการรายงานความดีความชอบ ขอให้รายงานเฉพาะผลงาน ตามข้อ 11 (3)
โดยสงั เขปอยา่ งชัดเจน และเพ่ือให้การพจิ ารณาความดีความชอบเปน็ ไปอย่างชัดเจนย่ิงข้ึนจึงขอให้สรุปรายงาน
ความดีความชอบในแบบสรปุ ความดีความชอบ
3.3 การเสนอขอพระราชทานเคร่ืองราชอิสริยาภรณ์เป็นกรณีพิเศษให้แก่ผู้ปฏิบัติงานใน
จังหวัดชายแดนใต้ ตามระเบียบสํานักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยบําเหน็จความชอบสําหรับเจ้าหน้าที่ผู้ปฏิบัติงานใน
จังหวัดชายแดนภาคใต้ พ.ศ. 2550 และท่ีแก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2552 ให้ถือปฏิบัติตามหลักเกณฑ์
และวิธีการตามประกาศคณะกรรมการพิจารณาบําเหน็จความชอบสําหรับเจ้าหน้าท่ีผู้ปฏิบัติงานในจังหวัด
ชายแดนภาคใต้ (ก.บ.จ.ต.) ลงวันท่ี 20 มกราคม 2553

- 14 - ๑๖

การเสนอขอพระราชทานเหรยี ญจักรพรรดิมาลาแก่ขา้ ราชการ
(ตามพระราชบญั ญตั เิ หรยี ญจกั รมาลาและเหรยี ญจกั รพรรดิมาลา พ.ศ. 2484 และท่ีแก้ไขเพิ่มเติม)

หลกั เกณฑใ์ นการเสนอขอพระราชทานเหรยี ญจกั รพรรดมิ าลา (ร.จ.พ.) แกข่ ้าราชการ
1. คณุ สมบัติของบคุ คลท่อี ยใู่ นหลกั เกณฑก์ ารเสนอขอพระราชทานเหรียญจกั รพรรดมิ าลา
(1) เป็นข้าราชการและรับราชการเปน็ เวลาไม่น้อยกว่า 25 ปี
(2) เป็นผทู้ ี่รับราชการมาด้วยความเรียบร้อยมาโดยตลอด หมายถึง เฉพาะผู้ที่รับราชการ

มาโดยไม่เคยกระทําความผิดมาก่อน ตั้งแต่เร่ิมรับราชการจนถึงปีที่ขอพระราชทาน ท้ังนี้ เพ่ือให้ได้บุคคลท่ี
ประพฤตติ นสมแก่เกียรติในการได้รับพระราชทาน ดังน้ัน การที่ข้าราชการผู้ใดกระทําความผิดแต่ได้รับการล้าง
มลทินตามพระราชบัญญัติล้างมลทนิ แสดงว่าขา้ ราชการผู้น้ันยงั มคี วามผดิ อยู่เพียงแตใ่ ห้ถือว่าบุคคลน้ันมิได้เคย
ถูกลงโทษมาก่อน จึงไม่ถือว่าเป็นบุคคลท่ีรับราชการมาด้วยความเรียบร้อยซ่ึงเป็นเหตุทําให้ไม่สามารถเสนอขอ
พระราชทานเหรียญจักรพรรดิมาลาได้ และไม่เคยถูกงดเล่ือนเงินเดือนประจําปี ด้วยเหตุท่ีลาหรือมาสายเกิน
จาํ นวนครง้ั ท่ีกําหนด/ปฏบิ ัติหนา้ ท่ไี ม่ไดผ้ ลตามเป้าหมาย/ขาดราชการโดยไมม่ ีเหตผุ ลอันสมควร

(3) การนับเวลาราชการ 25 ปี ให้นับเวลาราชการท้ังหมดของผู้น้ันรวมกันครบ 25 ปี
บรบิ รู ณ์ โดยใหเ้ รม่ิ นบั จากวนั บรรจเุ ขา้ รบั ราชการจนถึงวันที่ 5 ธนั วาคม ของปีทเี่ สนอขอพระราชทานฯ กรณีที่
ลาออกแล้วกลับเข้าปฏิบัติราชการ ให้นับเวลาราชการก่อนลาออกและเวลาที่กลับเข้าปฏิบัติราชการรวมกันให้
ไดค้ รบเวลา 25 ปีบริบรู ณ์

2. การดาํ เนนิ การขอพระราชทานเหรยี ญจกั รพรรดิมาลา
2.1 ให้ข้าราชการผู้มีสิทธิได้รับการพิจารณาเสนอขอพระราชทานเหรียญจักรพรรดิมาลา

จัดทําประวตั ิสาํ หรบั การเสนอขอพระราชทานฯ ของตน โดยพิมพ์รายละเอียด วัน เดือน ปี ที่รับราชการ ต้ังแต่
บรรจุเข้ารับราชการเป็นต้นมา โดยกรอกเฉพาะวันท่ีได้รับการเลื่อนเงินเดือนเรียงลําดับต่อเนื่องติดต่อกันทุกปี
จนถึงปจั จุบนั

หากมีรายละเอียดเพิ่มเติมในปีใด เช่น โอน ลาศึกษาต่อ เป็นต้นให้กรอกไว้ในช่อง
หมายเหตุ แลว้ ให้ลงลายมอื ช่ือด้วยตนเองเป็นเจา้ ของประวัติ ท้ังน้ี การกรอกรายละเอียดของผู้ขอฯ จะต้องเป็น
จริงและถูกต้องตรงกับ ก.พ. 7 หรือสมุดประวัติ มิฉะน้ัน จะถือว่าเป็นการรายงานเท็จต่อผู้บังคับบัญชา หาก
ข้าราชการคนใดที่ไปช่วยราชการ หรือไม่ได้ปฏิบัติหน้าที่ประจําอยู่ที่ต้นสังกัดเดิมให้ยื่นต่อผู้บังคับบัญชาของ
หน่วยงานทป่ี ฏิบัติหน้าท่ใี นปที ี่ขอพระราชทานฯ

2.2 ให้หน่วยงานต่าง ๆ ตรวจสอบคุณสมบัติของข้าราชการให้เป็นไปตามหลักเกณฑ์ฯ
แล้วจัดทําแบบบัญชีสรุปรายชื่อผู้ได้รับการเสนอขอพระราชทานฯ โดยให้กรอกรายละเอียดของผู้ขอ
พระราชทานฯ ทั้งหมดให้ถูกต้อง ครบถ้วน และชัดเจน เสร็จแล้วจัดส่งแบบประวัติสําหรับเสนอขอ
พระราชทานเหรียญจักรพรรดิมาลา และบัญชีสรุปรายช่ือของข้าราชการท่ีสมควรได้รับพระราชทานเหรียญ
จักรพรรดิมาลา จํานวนอย่างละ 1 ชุด ถึงกรมท่ีดิน ภายในระยะเวลาท่ีกําหนด เพ่ือตรวจสอบและดําเนินการ
ได้ทันเวลาต่อไป

2.2 ให้หน่วยงานต่าง ๆ ตรวจสอบคุณสมบัติของข้าราชการให้เป็นไปตามหลักเกณฑ์ฯ
พแลร้วะจรัดาชททําแานบฯบบทัญั้งหชีสมรดุปใหร้าถยูกชต่ือ้อผงู้ไดค้รรับบกถา้วรนเสแนล-อะ1ขช5อัดพเ-จรนะรเาสชรท็จาแนลฯ้วจโัดดยส่ใงหแ้กบรบอปกรระาวยัตลิสะําเหอียรับดขเสอนงอผู้ขขออ
พระราชทานเหรียญจักรพรรดิมาลา และบัญชีสรุปรายช่ือของข้าราชการท่ีสมควรได้รับพระราชทานเหรียญ
จักรพรรดิมาลา จํานวนอย่างละ 1 ชุด ถึงกรมท่ีดิน ภายในระยะเวลาที่กําหนด เพ่ือตรวจสอบและดําเนินการ
ไดท้ ันเวลาต่อไป

๑๗

บทที่ 3
การรบั เรียกคนื และการส่งคนื เคร่ืองราชอสิ รยิ าภรณ์
การรับเคร่ืองราชอิสริยาภรณ์ แบ่งเป็น 2 กรณี คอื
1. การรับเครื่องราชอิสริยาภรณ์ช้ันสายสะพาย ทรงพระกรุณาให้เข้าเฝ้า ฯ รับพระราชทาน
จากผู้แทนพระองค์ ณ ศาลาดุสิดาลัย สวนจิตรลดา ประมาณปลายเดือนมีนาคมถึงต้นเดือนพฤษภาคมของทุกปี
ทัง้ น้ี แลว้ แตท่ างสาํ นักพระราชวงั จะไดป้ ระสานงานมาทางสํานกั เลขาธกิ ารคณะรฐั มนตรี (สลค.) จะทรงพระกรณุ า
ให้เข้าเฝา้ ฯ รับพระราชทานเมอื่ ใด และแจ้งให้กรมที่ดนิ ทราบต่อไป
2. การรับเคร่ืองราชอิสริยาภรณ์ชั้นต่ํากว่าสายสะพาย สํานักเลขาธิการคณะรัฐมนตรีจะ
จดั สรรใหส้ ว่ นราชการนาํ ไปมอบให้แก่ผู้ที่ได้รับพระราชทานหลังจากมีรายช่ือประกาศในราชกิจจานุเบกษาแล้ว
โดยจัดสรรเป็นอัตราส่วน นอกจากเหรียญจักรพรรดิมาลา (ร.จ.พ.) จะได้รับเต็มจํานวน และไม่ต้องส่งคืน โดย
สํานักเลขาธิการคณะรัฐมนตรี (สลค.) จะแจ้งกําหนดวันและเวลาให้ไปรับที่สํานักกษาปณ์ หรือตามสถานท่ีท่ี
สลค. กาํ หนด
การรับใบประกาศกํากับเคร่ืองราชอิสริยาภรณ์ สํานักเลขาธิการคณะรัฐมนตรี (สลค.) จะมี
หนังสือมายังกรมที่ดินเพื่อแจ้งให้ทราบว่า ได้มีการประกาศรายชื่อผู้มีสิทธิได้รับพระราชทาน
เคร่ืองราชอิสริยาภรณ์ช้ันต่าง ๆ ในราชกิจจานุเบกษาเรียบร้อยแล้ว และผู้มีรายชื่อได้รับพระราชทาน
เคร่ืองราชอิสริยาภรณ์ทุกคน จะได้รับใบประกาศกํากับเคร่ืองราชอิสริยาภรณ์ทุกคน และจะทยอยจ่ายให้ เม่ือ
สาํ นกั อาลักษณ์และเคร่ืองราชอิสริยาภรณ์ดําเนินการเสร็จเรยี บร้อยแลว้
การส่งคืนเคร่ืองราชอิสริยาภรณ์ เป็นหน้าที่ของผู้ได้รับพระราชทานฯ จะต้องกระทําตามท่ี
กฎหมายและระเบียบกาํ หนด ซ่งึ มกี รณีท่ีตอ้ งสง่ คืน 4 กรณี คอื
1) คืนเคร่ืองราชอิสริยาภรณ์ช้ันรอง ในกรณีที่ผู้รับพระราชทานเคร่ืองราชอิสริยาภรณ์ได้รับ
พระราชทานเคร่อื งราชฯ ตระกูลเดียวกันสูงขึ้น ผู้มีหน้าท่ีรับผิดชอบเกี่ยวกับเครื่องราชฯ ต้องแจ้งให้ข้าราชการ
ผนู้ ้นั สง่ คนื เคร่อื งราชอสิ รยิ าภรณช์ ั้นรอง แลว้ รวบรวมจดั ทาํ บัญชีรายละเอยี ดของผูท้ ่ีส่งคืน และระบุช้ันตราของ
เครอื่ งราชฯ ตามแบบฟอรม์ ทฐ. 3
2) คืนเครื่องราชอิสริยาภรณ์ทุกชั้นที่ได้รับ เมื่อผู้ได้รับ ถึงแก่กรรม ให้ทายาทเป็นผู้ส่งคืน
โดยไมต่ ้องคนื ใบกาํ กบั เครื่องราชฯ
3) คนื เครือ่ งราชอสิ ริยาภรณท์ กุ ชั้นและทุกประเภทท่ีไดร้ บั เมอ่ื ทรงพระกรณุ าใหเ้ รียกคืน กรณี
เชน่ นี้ตอ้ งคืนใบกํากับเครอ่ื งราชฯ ดว้ ย
4) สําหรับเหรียญจักรพรรดิมาลา (ร.จ.พ.) โดยปกติไม่ต้องส่งคืน เว้นแต่จะทรงพระกรุณา
เรียกคืนตามระเบียบสํานักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยการพระราชทานพระบรมราชานุญาตเรียกคืน พ.ศ. 2548
เครื่องราชอิสริยาภรณ์ ในกรณีที่ไม่อาจหรือไม่สามารถส่งคืนเครื่องราชฯ หรือเหรียญจักรพรรดิมาลาที่ได้รับ
ไปแลว้ ผไู้ ด้รับพระราชทานไป จะต้องชดใช้ราคาตามราคาที่สํานักเลขาธิการคณะรัฐมนตรีได้กําหนดไว้ ซ่ึงจะมี
การปรบั ราคาทุก 3 ปี

- 17 - ๑๘

การส่งคืนเครอื่ งราชอสิ รยิ าภรณ์

เคร่ืองราชอสิ รยิ าภรณเ์ ปน็ เคร่อื งหมายแหง่ เกียรติยศ ซึ่งพระมหากษัตริย์ทรงพระกรุณาโปรดเกล้า ฯ
พระราชทานเพื่อเป็นบําเหน็จความชอบและเคร่ืองหมายเชิดชูเกียรติยศอย่างสูงย่ิงแก่ผู้ได้รับพระราชทาน
ดังน้ัน เม่ือทรงพระกรุณาโปรดเกล้า ฯ พระราชทานเคร่ืองราชอิสริยาภรณ์ให้แก่บุคคลใดแล้ว บุคคลนั้นย่อมมี
หน้าท่ีในการธํารงไว้ซ่ึงคุณงามความดีและคุณค่าแห่งเครื่องราชอิสริยาภรณ์ นอกจากน้ันยังต้องปฏิบัติตาม
บทบัญญัติของกฎหมายที่บัญญัติให้ผู้ได้รับพระราชทานเคร่ืองราชอิสริยาภรณ์ต้องส่งคืนเครื่องราชอิสริยาภรณ์
ในกรณีต่าง ๆ หากไม่สามารถส่งคืนเครื่องราชอิสริยาภรณ์ได้ด้วยประการใด ๆ จะต้องใช้ราคา
เคร่ืองราชอสิ รยิ าภรณต์ ามท่ที างราชการกาํ หนด

1. กรณีที่ต้องสง่ คนื เครอ่ื งราชอิสรยิ าภรณ์ตามกฎหมาย
การส่งคืนเคร่ืองราชอิสริยาภรณ์ตระกูลต่าง ๆ (ยกเว้นเครื่องราชอิสริยาภรณ์อันเป็นมงคล

ยิ่งราชมิตราภรณ์) กฎหมายบัญญัติการที่ต้องส่งคืนไว้ ซึ่งสรุปโดยรวมได้เป็น 3 กรณี คือ กรณีวายชนม์ กรณี
ได้รับพระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์ชั้นสูงขึ้น และกรณีทรงพระกรุณาโปรดเกล้า ฯ ให้เรียกคืน
เครอื่ งราชอิสริยาภรณ์

1.1 กรณีวายชนม์
กฎหมายเครื่องราชอิสริยาภรณ์หลายฉบับ โดยเฉพาะเคร่ืองราชอิสริยาภรณ์

จุลจอมเกล้า เคร่ืองราชอิสริยาภรณ์อันเป็นที่เชิดชูย่ิงช้างเผือก และเคร่ืองราชอิสริยาภรณ์อันมีเกียรติยศย่ิง
มงกุฎไทย ได้บัญญัติว่าเม่ือผู้ได้รับพระราชทานวายชนม์ให้ผู้รับมรดกจะต้องส่งคืนภายใน 30 วัน นับแต่วันท่ีผู้
ได้รับพระราชทานเครอ่ื งราชอิสริยาภรณ์นนั้ วายชนม์

กรณีผู้ได้รับพระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์อันเป็นที่สรรเสริญยิ่งดิเรกคุณาภรณ์
วายชนม์ หากผู้วายชนม์ได้รับพระราชทานชั้นตราเดียว ทายาทของผู้ได้รับพระราชทานไม่ต้องส่งคืน
เครื่องราชอิสริยาภรณ์ดังกล่าว เนื่องจากตามพระราชบัญญัติเครื่องราชอิสริยาภรณ์อันเป็นที่สรรเสริญย่ิงดิเรก
คณุ าภรณ์ พ.ศ. 2534 มไิ ดบ้ ญั ญัติใหต้ อ้ งสง่ คนื

1.2 กรณีได้รับพระราชทานเครื่องราชอสิ รยิ าภรณ์ช้ันสงู ขึ้น
เ ค ร่ื อ ง ร า ช อิ ส ริ ย า ภ ร ณ์ ท่ี มี ก ฎ ห ม า ย บั ญ ญั ติ ใ ห้ ผู้ ไ ด้ รับ พ ร ะ ร า ช ท า น

เครอื่ งราชอสิ รยิ าภรณ์ชน้ั สูงขึน้ ตอ้ งสง่ คนื เคร่ืองราชอสิ รยิ าภรณ์ชนั้ รอง เช่น เคร่ืองราชอสิ ริยาภรณ์จุลจอมเกล้า
เคร่ืองราชอิสริยาภรณ์อันเป็นที่เชิดชูยิ่งช้างเผือก เครื่องราชอิสริยาภรณ์อันมีเกียรติยศย่ิงมงกุฎไทย และ
เครื่องราชอิสริยาภรณ์อันเป็นท่ีสรรเสริญยิ่งดิเรกคุณาภรณ์ หากได้รับพระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์ชั้น
สูงข้ึนในตระกูลใดต้องส่งคืนเครื่องราชอิสริยาภรณ์ช้ันรองในตระกูลนั้น เช่น ผู้ท่ีได้รับพระราชทาน
เคร่ืองราชอิสริยาภรณ์ช้ัน ต.ม. และ ต.ช. ต่อมาได้รับพระราชทานชั้น ท.ม. บุคคลนั้นมีหน้าที่ต้องส่งคืนชั้น
ต.ม. ซงึ่ เป็นชัน้ รองของชั้น ท.ม. และเมื่อได้รบั พระราชทานชน้ั ท.ช. บุคคลนน้ั ตอ้ งสง่ คืนชนั้ ต.ช. ซึ่งเป็นช้ันรอง
ของชน้ั ท.ช.

- 18 - ๑๙

1.3 กรณีทรงพระกรุณาโปรดเกล้า ฯ ให้เรียกคืนเคร่อื งราชอสิ ริยาภรณ์
การเรียกคืนเครื่องราชอิสริยาภรณ์ หมายความว่า การดําเนินการถอนชื่อผู้ได้รับ

พระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์ออกจากรายชื่อผู้ได้รับพระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์ ตามประกาศ
สํานักนายกรัฐมนตรี และเรียกคืนเคร่ืองราชอิสริยาภรณ์ รวมทั้งประกาศนียบัตรกํากับเครื่องราชอิสริยาภรณ์
คนื ด้วย

เมื่อปรากฏเหตุตามข้อ 7 ของระเบียบสํานักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยการขอพระราชทาน
พระบรมราชานุญาตเรียกคืนเครื่องราชอิสริยาภรณ์ พ.ศ. 2548 เป็นหน้าท่ีของส่วนราชการต้นสังกัดหรือส่วน
ราชการท่ีเสนอขอพระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์หรือหน่วยงานท่ีเกี่ยวข้องที่จะต้องดําเนินการรวบรวม
เอกสารหลักฐานและประวตั ิการได้รบั พระราชทานเครอื่ งราชอิสริยาภรณ์ของผูน้ ั้นส่งเร่ืองไปยังสํานักเลขาธิการ
คณะรัฐมนตรีเพ่ือเสนอนายกรัฐมนตรี เมื่อนายกรัฐมนตรีพิจารณาเห็นชอบแล้ว สํานักเลขาธิการคณะรัฐมนตรี
จะส่งเรื่องไปยงั สํานักราชเลขาธิการ เพือ่ นําความกราบบังคมทลู พระกรณุ าขอพระราชทานพระบรมราชานุญาต
เรียกคืนเครื่องราชอิสริยาภรณ์ต่อไป เมื่อทรงพระกรุณาโปรดเกล้า ฯ ให้เรียกคืน และสํานักเลขาธิการ
คณะรัฐมนตรีนําลงประกาศในราชกิจจานุเบกษาแล้ว ให้ส่วนราชการต้นสังกัดของผู้ได้รับพระราชทาน
เครอ่ื งราชอิสริยาภรณ์หรอื หนว่ ยงานท่เี กย่ี วข้องดําเนนิ การเรยี กเครือ่ งราชอสิ รยิ าภรณ์คนื โดยพลัน

2. การสง่ คืนเครอื่ งราชอิสริยาภรณก์ รณีอื่น ๆ
ผู้ได้รับพระราชทานเคร่ืองราชอิสริยาภรณ์ท่ีมีความประสงค์ส่งคืนเครื่องราชอิสริยาภรณ์

โดยไม่ใช่กรณีที่ต้องส่งคืนตามกฎหมาย เช่น กรณีเกษียณอายุราชการ ลาออก หรือพ้นจากตําแหน่ง หรือไม่
ประสงค์จะเก็บไว้เนื่องจากไม่ได้ใช้ประดับแล้ว สามารถส่งคืนเคร่ืองราชอิสริยาภรณ์ได้ ท้ังโดยการส่งคืนผ่าน
หนว่ ยงานตน้ สงั กดั และการส่งคนื โดยตรงทีส่ ํานกั เลขาธิการคณะรฐั มนตรี

3. การตรวจสอบเครอ่ื งราชอสิ ริยาภรณท์ ี่จะรับคนื
สํานักเลขาธิการคณะรัฐมนตรีจะพิจารณารับคืนเฉพาะเคร่ืองราชอิสริยาภรณ์ที่มีสภาพที่

สมบูรณ์เท่านั้น หากเป็นกรณีเครื่องราชอิสริยาภรณ์ชํารุดหรือเสียหายตามสภาพอันเกิดจากการใช้เพียง
เล็กน้อย เช่น ลงยาสีแตกหรือกะเทาะหรือสึกหรอส่วนหน่ึงส่วนใด สํานักเลขาธิการคณะรัฐมนตรีอาจพิจารณา
รับคืนได้ ท้ังนี้ จะไม่รับคืนเคร่ืองราชอิสริยาภรณ์ที่ไม่ครบตามลักษณะหรือองค์ประกอบของ
เครอ่ื งราชอิสริยาภรณท์ ่กี ฎหมายเครือ่ งราชอสิ ริยาภรณ์แตล่ ะตระกลู บัญญตั ิไว้

กรณีเครื่องราชอิสริยาภรณ์ที่จะส่งคืนมีองค์ประกอบไม่ครบถ้วน เนื่องจากบางส่วนของ
เคร่ืองราชอิสริยาภรณ์สูญหาย ผู้ได้รับพระราชทานหรือส่วนราชการต้นสังกัดของผู้นั้นสามารถทําหนังสือถึง
สาํ นักเลขาธิการคณะรัฐมนตรีแจ้งความประสงค์ขอให้พิจารณาดําเนินการซ่อม (จัดสร้างส่วนท่ีสูญหาย) ได้โดย
ให้ระบุด้วยว่าผู้ได้รับพระราชทานจะเป็นผู้ออกค่าใช้จ่าย และเม่ือสํานักเลขาธิการคณะรัฐมนตรีส่งให้สํานัก
กษาปณ์ กรมธนารักษ์ หรือ องค์การสงเคราะห์ทหารผ่านศึก ดําเนินการซ่อมเรียบร้อยแล้วจะแจ้งให้ผู้ที่ได้รับ
พระราชทานไปชําระราคาคา่ ซอ่ มแซมและจะดาํ เนนิ การรับคนื ตอ่ ไป

- 19 - ๒๐

กรณีที่ส่วนราชการรับคืนเครื่องราชอิสริยาภรณ์จากผู้ได้รับพระราชทานหรือทายาทของผู้
ได้รับพระราชทาน ขอให้ตรวจสอบความแท้จริงของเครื่องราชอิสริยาภรณ์ในเบ้ืองต้นว่ามีสัญลักษณ์ของผู้ผลิต
เครื่องราชอิสริยาภรณ์ที่ตัวเครื่องราชอิสริยาภรณ์หรือไม่ ทั้งน้ี ในอดีตสํานักเลขาธิการคณะรัฐมนตรีได้จ้างให้
เอกชนท่ีมีฝีมือในด้านน้ีเป็นผู้สร้าง เช่น ร้าน ท.ประดิษฐ์ ไทยนคร ธีระชัยการช่าง ประเสริฐศิลป์ รัตนกาญจน์
สหศิลป์ สัมพันธ์อาภรณ์ แสงมณี เฮงหลี เป็นต้น นอกจากนี้ให้พิจารณาวัสดุท่ีใช้สร้าง นํ้าหนัก สี และขนาด
ของเคร่ืองราชอิสริยาภรณ์ด้วย ปัจจุบันเคร่ืองราชอิสริยาภรณ์ท่ีสํานักเลขาธิการคณะรัฐมนตรีจัดสร้างจะมี
อกั ษรย่อ “สลค” และเลข พ.ศ. ทผ่ี ลติ อยูท่ ่ีด้านหลงั ของเครื่องราชอิสริยาภรณ์ อย่างไรก็ตาม หากส่วนราชการ
ใดมีข้อสงสัยในเรื่องความแท้จริงของเครื่องราชอิสริยาภรณ์ท่ีจะรับคืน ติดต่อสอบถามได้ที่สํานักอาลักษณ์และ
เคร่ืองราชอิสริยาภรณ์ สํานักเลขาธิการคณะรัฐมนตรี และควรติดชื่อของผู้ได้รับพระราชทานไว้กับ
เครื่องราชอิสริยาภรณ์ท่สี ่งคนื ดว้ ย

4. วธิ ีการสง่ คืนเครื่องราชอิสริยาภรณ์
4.1 การส่งคืนเคร่ืองราชอิสริยาภรณ์หรือชดใช้ราคาแทนเครื่องราชอิสริยาภรณ์โดยผ่าน

สว่ นราชการต้นสงั กัดให้ดําเนนิ การ ดังน้ี
(1) ให้ส่วนราชการต้นสังกัดทําหนังสือถึงสํานักเลขาธิการคณะรัฐมนตรีโดยมีบัญชี

แนบท้ายซ่ึงระบุรายละเอียดเก่ียวกับ คํานําหน้าช่ือ ช่ือตัว และชื่อสกุลของผู้ได้รับพระราชทาน ชั้นตรา
เครื่องราชอิสริยาภรณ์ท่ีส่งคืน หรือในกรณีท่ีชดใช้ราคาให้ระบุช้ันตราเคร่ืองราชอิสริยาภรณ์และจํานวนเงิน
ชดใช้ดว้ ยและนําหนังสอื มาพรอ้ มกับเคร่ืองราชอิสริยาภรณ์ที่จะส่งคืนหรือเงินชดใช้ราคาเคร่ืองราชอิสริยาภรณ์
ไปทีส่ าํ นักอาลักษณแ์ ละเคร่อื งราชอิสรยิ าภรณ์ สํานักเลขาธิการคณะรัฐมนตรี ทาํ เนยี บรฐั บาล

(2) เมื่อเจ้าหน้าท่ีของสํานักอาลักษณ์และเครื่องราชอิสริยาภรณ์ตรวจสอบช้ันตรา
จํานวน และความแท้จริงของเคร่ืองราชอิสริยาภรณ์หรือตรวจสอบจํานวนเงินชดใช้กับราคาชดใช้
เครื่องราชอิสริยาภรณ์ครบถ้วนแล้ว จะออกใบรับคืนเครื่องราชอิสริยาภรณ์หรือใบเสร็จรับเงิน แล้วแต่กรณี
ใหแ้ กส่ ว่ นราชการท่ีส่งคืนเครือ่ งราชอสิ ริยาภรณเ์ พ่อื เก็บไว้เปน็ หลกั ฐานในการส่งคืน

4.2 การสง่ คนื หรอื ชดใชร้ าคาเครื่องราชอิสริยาภรณ์ด้วยตนเองหรือทายาท ให้ดําเนินการ
ดังนี้

(1) ให้ผู้ได้รับพระราชทานหรือทายาททําหนังสือถึงสํานักเลขาธิการคณะรัฐมนตรี
(กรณีไม่ได้ทําหนังสือ สํานักเลขาธิการคณะรัฐมนตรีได้จัดเตรียมเอกสารให้กรอกรายละเอียดในการส่งคืนใน
แบบ ทฐ. พร้อมนําเครื่องราชอิสริยาภรณ์ท่ีจะต้องส่งคืนหรือชดใช้ราคาเครื่องราชอิสริยาภรณ์ไปท่ีสํานัก
อาลกั ษณแ์ ละเคร่ืองราชอสิ ริยาภรณ์ สํานกั เลขาธกิ ารคณะรัฐมนตรี ทําเนียบรฐั บาล

(2) เม่ือเจ้าหน้าที่ของสํานักอาลักษณ์และเคร่ืองราชอิสริยาภรณ์ตรวจสอบช้ันตรา
จํานวน และความแท้จริงของเคร่ืองราชอิสริยาภรณ์หรือตรวจสอบจํานวนเงินชดใช้กับราคาชดใช้
เครื่องราชอิสริยาภรณ์ครบถ้วนแล้ว จะออกใบรับคืนเครื่องราชอิสริยาภรณ์หรือใบเสร็จรับเงิน แล้วแต่กรณี
ให้แกผ่ ู้ได้รบั พระราชทานหรอื ทายาทเพอื่ เก็บไว้เปน็ หลกั ฐานในการสง่ คืน

- 20 -

๒๑

การส่งคืนเครอ่ื งราชอสิ รยิ าภรณ์

เม่ือไดร้ บั พระราชทาน ชัน้ ตราทีต่ ้องส่งคืน

บ.ม. -

บ.ช. -

จ.ม. บ.ม.

จ.ช. บ.ช.

ต.ม. จ.ม.

ต.ช. จ.ช.

ท.ม. ต.ม.

ท.ช. ต.ช.

ช้นั สายสะพาย

ป.ม. ท.ม.

ป.ช. ท.ช.

ม.ว.ม. ป.ม.

ม.ป.ช. ป.ช.

- 21 - ๒๒

หนว่ ยงาน / สถานทร่ี บั คนื เครอื่ งราชอิสริยาภรณ์
1. กลุ่มงานเคร่ืองราชอิสริยาภรณ์ สํานักอาลักษณ์และเครื่องราชอิสริยาภรณ์ สํานักเลขาธิการ
คณะรัฐมนตรใี นทําเนยี บรัฐบาล ถนนนครปฐม เขตดุสิต กรุงเทพมหานคร 10300 (อาคารเดิม) โทร.
0 2280 9000 ตอ่ 424 โทรสาร 0 2280 9072
2. หน่วยงานต้นสังกัดของผู้ได้รับพระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์ โดยเม่ือหน่วยงานได้รับคืน
เครอ่ื งราชอิสริยาภรณ์ จากบุคคลในสังกดั แล้วต้องรวบรวมนาํ ส่งสาํ นักเลขาธิการคณะรฐั มนตรี ตาม ข้อ 1

วิธีการเก็บรักษา
1. เครื่องราชอสิ รยิ าภรณเ์ ปน็ ของสูง ควรเกบ็ รักษาไวใ้ นทสี่ งู เหมาะสมควรแกก่ ารเคารพบูชา เป็นการ
แสดงความจงรกั ภักดี น้อมราํ ลกึ ในพระมหากรณุ าธคิ ุณพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยหู่ วั ผู้พระราชทาน
จะเปน็ มงคลสูงสุด ก่อให้เกิดความสขุ ความเจรญิ แกต่ นเองและครอบครัว
2. ควรเก็บในทป่ี ลอดภัย ป้องกนั การสูญหาย
3. ภายหลังการใช้ประดบั แตล่ ะครงั้ ควรใช้ผ้าสะอาด นุ่ม ทําความสะอาดเบา ๆ และห่อด้วยกระดาษ
แกว้ ให้มิดชิด นาํ ไปใสก่ ลอ่ ง ปิดฝาให้สนิทป้องกันฝุ่นละออง และไมใ่ ห้กระทบกับอากาศ
4. ไม่ควรเกบ็ ในสถานทีท่ ม่ี แี ดดส่องตลอดเวลา หรือมไี ฟรอ้ นแรง และต้องไมอ่ ับช้นื ปกตมิ กั จะเก็บไวใ้ น
อุณหภมู ิห้อง แตถ่ า้ เป็นห้องปรับอากาศจะดที ่สี ุด
5 ดวงตรา ดารา และเหรยี ญราชอิสริยาภรณ์ อาจเส่อื มสภาพไดจ้ ากความไม่บรสิ ุทธข์ิ องอากาศ
ฝนุ่ ละออง ก๊าซเสียชนิดตา่ ง ๆ ถา้ เกบ็ ไวใ้ นตนู้ ิรภยั หรอื ตเู้ หล็ก ควรห่อให้มดิ ชิดตามข้อ 3 เพราะสีท่ใี ช้
พน่ หรือทาตู้เหลก็ จะทาํ ปฏิกริ ิยากับโลหะเงนิ จะทําให้เงินดํา
6. ไมค่ วรใชส้ ารกนั แมลงชนิดต่าง ๆ เน่ืองจากเม่อื สารระเหยออกมา จะทําปฏกิ ริ ิยากับโลหะเงนิ และส่วน
ท่ีกะไหล่ทอง ในเคร่อื งหมายแพรปักดนิ้ เงิน ด้ินทอง ทาํ ใหเ้ ปลีย่ นเป็นสีดาํ ได้
7. สายสะพายและแพรแถบทอด้วยด้ายและใยไหม ควรเกบ็ ในท่ีไมร่ ้อน ไม่อบั ชื้น เพราะความร้อน และ
ความช้นื จะทําให้เนือ้ ผ้า ยดื ขยาย และหดตัวอยูต่ ลอดเวลา จะทาํ ให้เนอื้ ผ้าแห้งแข็งกรอบ ถ้ามี
ความชืน้ ทําใหเ้ นอื้ ผา้ ยุ่ยเป่ีอย อาจเกดิ เช้ือรา และรอยดา่ ง อายุการใช้งาน จะส้ัน
8. แสงสวา่ งเปน็ อนั ตรายตอ่ สขี องผา้ สายสะพายและแพรแถบ แสงจะทาํ ให้สีของเน้ือผ้าซีดเร็วควรเกบ็
ในตู้ทที่ ึบแสง ในหอ้ งปรบั อากาศได้ก็จะดี
9. ผา้ สายสะพายควรเก็บโดยวิธีมว้ นเป็นวงกลม ผา้ จะไดไ้ มย่ บั หรอื เก็บโดยวธิ วี างไวต้ ามยาว การเกบ็ โดย
วิธีพบั ซ้อนกนั จะทาํ ให้เกดิ รอยพบั จะเกดิ รอยดา่ ง สซี ีดตามแนวของรอยพบั น้นั
10. เมื่อเก็บไวโ้ ดยมิได้นาํ มาประดบั เปน็ เวลานาน ควรตรวจสอบบา้ งเปน็ ครั้งคราว

ขอ้ ควรระวังในการประดบั เครือ่ งราชอิสรยิ าภรณ์
1. กอ่ นจบั ต้องเครอื่ งราชอสิ รยิ าภรณ์ ตอ้ งแน่ใจว่ามือของทา่ นสะอาด
2. หลีกเลี่ยงการจับต้องตัวเหรียญโดยตรง เพราะนิ้วมือมีคราบเหง่ือจะทําให้เป็นรอยด่าง เกิดคราบ
สกปรกในเวลาตอ่ มา

- 22 - ๒๓

3. การจบั ตอ้ งเหรยี ญ ดวงตรา ดารา ควรจบั ท่ีขอบนอกของเหรียญให้กระชับและมั่นคงป้องกันการตกหล่น
โดยใช้น้ิวหัวแม่มือ นิ้วชี้ นิ้วกลางและน้ิวนางประคอง หรือจะจับที่บริเวณหูห้อยของแพรแถบเหรียญก็ได้
ถ้าเป็นดวงตรา ดวงดารา ควรจับท่ีขอบนอกดังกล่าวแล้วยกข้ึนวางบนฝ่ามืออีกข้างหนึ่งป้องกันการพลัด
หล่น

4. ถ้าเปน็ ไปไดค้ วรสวมถงุ มอื เพอ่ื ป้องกันคราบเหงอ่ื ทจ่ี ะทําให้เกดิ รอยคราบสกปรก
5. ระวังการกระทบกระแทกกบั ของแข็ง หรือตกหล่น จะทําใหส้ ่วนทล่ี งยากะเทาะ เหรียญจะบุบ ชํารดุ
6. ขณะสวมสายสะพาย ควรระมัดระวังการน่ัง การยืน เพราะดวงตรา ดวงห้อยสายสะพายจะกระทบ

กระแทกกับของแขง็ หรอื เกีย่ วกับสิง่ ของข้างเคยี ง
7. ควรแนใ่ จวา่ สปรงิ ขอเกี่ยวดวงตรายังแขง็ แรงดี จะได้ไมเ่ กดิ ปญั หาขณะใช้ประดับ
8. เม่ือสอดก้านเสียบของดวงดาราเข้ากับตัวหนอนแล้ว ควรตรวจดูว่าได้สอดส่วนปลายของก้านเสียบเข้า

“ขอเกย่ี ว” ให้มั่นคงดแี ลว้
9. เคร่ืองราชอิสริยาภรณ์ช้ันสายสะพาย ควรเย็บตรึงดวงตราห้อยสายสะพายกับสายสะพาย เพ่ือป้องกัน

การชาํ รุด หรอื ตกสญู หาย
10. สายสะพายเคร่ืองราชอิสรยิ าภรณ์ ควรปรบั ความยาวใหไ้ ด้พอเหมาะกับความสูงของแต่ละบคุ คล

วิธที ําความสะอาดเครอ่ื งราชอสิ รยิ าภรณ์
โดยปกติถ้าได้เก็บรักษาอย่างถูกวิธีแล้ว ดวงตรา และเหรียญต่าง ๆ จะคงสภาพอยู่ได้นาน แต่ถ้าเกิด

เป็นรอยด่างดํา ไม่สวยนิยมใช้ผงขัดเงินกับแปรงขนอ่อนนิ่ม ๆ ไม่ควรใช้ผงขัดหรือผงซักฟอก เพราะจะทําให้
เป็นรอยขีดข่วน บนหน้าเหรียญ ผงขัดทองเหลือง ไม่ควรใช้เพราะจะทําให้ลวดลายลบเลือน ไซยาไนด์ ทําให้
เงนิ ขาวดีแตจ่ ะเกิดปฏกิ ริ ิยาแรงเกินไป และเปน็ อันตรายแกผ่ ูใ้ ช้

๒๔

บทที่ 4
การแต่งกายประดบั เครื่องราชอสิ รยิ าภรณ์

1. การแต่งกายประดบั เครือ่ งราชอสิ รยิ าภรณต์ ามหมายกาํ หนดการหรอื กาํ หนดนดั หมาย
ของทางราชการ

ในหมายกําหนดการ หรือกําหนดนัดหมายของทางราชการในพระราชพิธีหรือรัฐพิธีต่าง ๆ
จะมขี ้อความระบรุ ายละเอียดการแต่งกายในแต่ละโอกาส เช่น ใหแ้ ตง่ กายเต็มยศ คร่ึงยศ หรือปกติขาว แล้วแต่
กรณี ผู้แต่งกายต้องตรวจสอบหมายกําหนดการ หรือข้อความท่ีระบุการแต่งกายในกําหนดนัดหมายของทาง
ราชการให้ชัดเจนและแต่งกายและประดับเครื่องราชอิสริยาภรณ์ให้ถูกต้อง ทั้งนี้ การท่ีจะประดับ
เครื่องราชอิสริยาภรณ์ ร่วมกับการแต่งกายดังกล่าวตามท่ีระบุไว้ได้อย่างถูกต้องนั้น มีหลักการสําคัญที่ควร
ทราบ ดังน้ี

1.1 กรณีให้แตง่ กายเตม็ ยศ (เสือ้ ขาว กางเกงหรอื กระโปรงดาํ )
1) ไม่ระบุช่ือสายสะพ ายเครื่องราชอิสริยาภรณ์ ให้สวมสายสะพาย

เครื่องราชอิสริยาภรณ์ช้ันสูงสุดที่ได้รับพระราชทานเพียงสายเดียว โดยให้ประดับดาราของ
เครื่องราชอสิ ริยาภรณ์ชนั้ สูงสุด ทไ่ี ด้รับพระราชทานแต่ละตระกูล ตามลําดับเกียรติ

2) ร ะ บุ ช่ื อ ส า ย ส ะ พ า ย เ ค รื่ อ ง ร า ช อิ ส ริ ย า ภ ร ณ์ ใ ห้ ส ว ม ส า ย ส ะ พ า ย
เครื่องราชอิสริยาภรณ์ตามที่ระบุ ซ่ึงแม้ว่าจะได้รับพระราชทานสายสะพาย ท่ีมีลําดับเกียรติสูงกว่าก็ตาม เช่น
ระบุให้สวมสายสะพายมงกุฎไทย หากได้รับพระราชทานประถมาภรณ์มงกุฎไทย และประถมาภรณ์ช้างเผือก
แลว้ กใ็ ห้สวมสายสะพายประถมาภรณ์มงกุฎไทย แต่ให้ประดับดาราเคร่ืองราชอิสริยาภรณ์ชั้นสูงสุด ของแต่ละ
ตระกูลท่ีได้รับพระราชทาน ตามลําดับเกียรติ แต่หากมิได้รับพระราชทานสายสะพายเครื่องราชอิสริยาภรณ์
ตามที่ระบุช่ือให้สวมสายสะพาย หรือประดับเคร่ืองราชอิสริยาภรณ์ ช้ันสูงสุดที่ได้รับพระราชทาน โดยประดับ
ดาราตามลําดับเกียรติ อาทิหากหมายกําหนดการให้แต่งกายเต็มยศ สวมสายสร้อยจุลจอมเกล้า หรือ ให้แต่ง
กายเต็มยศสวมสายสะพายช้างเผือก ผู้ท่ีได้รับพระราชทานชั้นสูงสุดชั้นประถมาภรณ์มงกุฎไทย โดยยังไม่ได้รับ
พระราชทานช้ันประถมาภรณ์ช้างเผือก หรือ ผู้ได้รับพระราชทานปฐมดิเรกคุณาภรณ์เป็นชั้นสูงสุดให้สวม
สายสะพายประถมาภรณม์ งกฎุ ไทย หรือสายสะพายปฐมดเิ รกคณุ าภรณแ์ ล้วแตก่ รณี

1.2 กรณใี หแ้ ต่งกายครึง่ ยศ (เสือ้ ขาว กางเกงหรอื กระโปรงดาํ )
ให้แต่งกายเช่นเดียวกับเต็มยศ โดยประดับเคร่ืองราชอิสริยาภรณ์ช้ันสูงสุดที่ได้รับ

พระราชทาน เว้นแต่ ผู้ทไี่ ด้รับพระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์ช้ันสายสะพาย เม่ือประดับดาราช้ันสูงสุดท่ี
ได้รับพระราชทานแต่ละตระกูลแล้ว ไม่ต้องสวมสายสะพาย สําหรับผู้ได้รับพระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์
มหาจักรีบรมราชวงศ์ (ฝ่ายใน) เคร่ืองราชอิสริยาภรณ์อันเป็นโบราณมงคลนพรัตนราชวราภรณ์ (ฝ่ายใน)
เครื่องราชอิสริยาภรณ์ปฐมจุลจอมเกล้า และทุติยจุลจอมเกล้าวิเศษ (ฝ่ายใน) ให้นําดวงตรา ห้อยกับแพรแถบ
ผกู เป็นรปู แมลงปอ ประดับท่หี น้าบา่ เสอื้ เบอ้ื งซ้าย โดยไม่ตอ้ งประดับดาราของเครอื่ งราชอสิ รยิ าภรณ์ดงั กลา่ ว

- 24 - ๒๕

1.3 กรณีให้แตง่ กายปกตขิ าว (เส้ือขาว กางเกงหรือกระโปรงขาว)
ให้ประดับแพรแถบย่อของ เคร่ืองราชอิสริยาภรณ์ตามช้ันยศท่ีได้พระราชทาน แต่

หากระบุให้แต่งกายปกติขาวประดับเหรียญ ให้ประดับเฉพาะเหรียญราชอิสริยาภรณ์ท่ีอกเสื้อเบ้ืองซ้าย โดยไม่
ประดับดารา หรอื สายสะพาย อนึง่ ทัง้ สามกรณี หากเปน็ การแตง่ กายในงานศพซ่ึงมีกําหนดการระบุให้แต่งกาย
เตม็ ยศ ครึ่งยศ หรือปกตขิ าวไว้ทุกข์ ใหส้ วมปลอกแขนสดี าํ ที่แขนเส้ือขา้ งซ้าย

1.4 ในโอกาสพิเศษ (บางพิธี) อาจมีหมายกําหนดการระบุ ให้แต่งกายปกติขาวประดับ
เหรียญ เช่น งานเล้ยี งพระและสมโภชราชกกุธภณั ฑ์ หรอื ในการพระราชพิธีฉัตรมงคลก็ให้แต่งกายปกติขาว แต่
ประดับเหรียญราชอิสริยาภรณ์และเหรียญท่ีระลึก โดยไม่ต้องประดับเคร่ืองราชอิสริยาภรณ์ และไม่ต้องสวม
สายสะพายหรือสวมแพรแถบสวมคอแต่อยา่ งใด

ข้อสังเกต เมื่อแต่งกายชุดสากลจะไม่มีการประดับเครื่องราชอิสริยาภรณ์หรือแพรแถบย่อ
ของเคร่อื งราชอิสรยิ าภรณ์เป็นอันขาด เว้นแตจ่ ะประดับดมุ เสื้อเครอื่ งราชอิสรยิ าภรณ์

2. ลําดบั เกียรตขิ องเครื่องราชอสิ ริยาภรณ์
เครื่องราชอิสริยาภรณ์ไทยมีลําดับเกียรติลดหล่ันกัน ซึ่งโดยหลักการใหญ่การประดับ

เคร่ืองราชอิสริยาภรณ์จะต้องเรียงลําดับตามประเภทและในแต่ละประเภทดังกล่าว การเรียงลําดับเกียรติของ
เคร่ืองราชอิสริยาภรณ์และเหรียญแต่ละชนิดไว้ เพ่ือให้ทราบถึงความสําคัญของเครื่องราชอิสริยาภรณ์และ
เหรียญเหล่าน้ัน รวมท้ังเพ่ือให้ผู้ท่ีได้รับพระราชทานเคร่ืองราชอิสริยาภรณ์ หรือเหรียญมากกว่า 1 ชนิด จะได้
ประดับได้อย่างถูกต้อง ซึ่งกําหนดไว้ในประกาศสํานักนายกรัฐมนตรี เรื่อง ลําดับเกียรติของ
เครือ่ งราชอิสรยิ าภรณ์ ดังน้ี

ลําดับ 1. เคร่อื งราชอิสรยิ าภรณ์
ลาํ ดับ 2. เหรยี ญบําเหน็จกลา้ หาญ
ลาํ ดับ 3. เหรียญบําเหน็จในราชการ
ลาํ ดับ 4. เหรยี ญบําเหน็จในพระองค์
ลาํ ดบั 5. เหรยี ญท่ีระลกึ ต่าง ๆ

3. การประดับเครื่องราชอิสริยาภรณ์ ผู้ได้รับพระราชทานจะต้องประดับตามลําดับเกียรติ
ตามประกาศสํานักนายกรัฐมนตรี เรื่อง ลําดับเกียรติเครื่องราชอิสริยาภรณ์ไทยและระเบียบสํานัก
นายกรัฐมนตรีว่าด้วยการประดับเคร่ืองราชอิสริยาภรณ์ พ.ศ. 2541 โดยเคร่งครัดตลอดจนเม่ือนําออกมา
ประดบั แลว้ จะต้องเก็บรักษาและดูแลอย่างดี เน่ืองจากเป็นสิ่งท่ีมีมงคลแก่ผู้ได้รับพระราชทาน และเป็นของสูง
เหมาะสมแก่การเคารพบูชา อีกทั้งยังเป็นการน้อมรําลึกและแสดงความจงรักภักดีต่อพระบาทสมเด็จ
พระเจา้ อยหู่ วั ทีท่ รงพระราชทานใหแ้ กข่ า้ ราชการ ลูกจ้างประจาํ และพนกั งานราชการ

- 25 - ๒๖

การประดับเคร่ืองราชอสิ รยิ าภรณ์

การแต่งเครื่องแบบและการประดับเครื่องราชอิสริยาภรณ์ ต้องเป็นไปตามหมายกําหนดการที่
สํานักพระราชวังระบุ หรือตามกําหนดนัดหมายของทางราชการระบุ โดยพิจารณาความเหมาะสมหลาย
ประการประกอบกัน เช่น ความเหมาะสมด้านสถานท่ี พิธีการ (เป็นการเข้าเฝ้า ฯ ตามปกติหรือวาระพิเศษ)
หรือบคุ คล (เปน็ งานพระราชทานเพลิงศพผูใ้ ด) เปน็ ตน้

การประดับเครือ่ งราชอสิ รยิ าภรณ์ ใหป้ ฏบิ ัติ ดงั น้ี

1. เครื่องราชอิสริยาภรณ์ที่ทรงพระกรุณาโปรดเกล้า ฯ ให้ผู้ได้รับพระราชทานเข้าเฝ้า ฯ
รับพระราชทาน มิให้ประดับเครื่องราชอิสริยาภรณ์ก่อนเวลาท่ีทรงพระกรุณาโปรดเกล้า ฯ ให้เข้าเฝ้า ฯ รับ
พระราชทาน

หากทรงพระกรุณาโปรดเกล้า ฯ ให้เข้าเฝ้า ฯ รับพระราชทานแล้ว แต่ไม่สามารถเข้า
เฝ้า ฯ รับพระราชทานได้ จะประดับเครื่องราชอิสริยาภรณ์นั้นได้ นับตั้งแต่ผ่านพ้นพิธีพระราชทานแล้ว เว้นแต่
ไดร้ บั พระมหากรุณาธิคณุ โปรดเกลา้ ฯ ใหเ้ ข้าเฝ้า ฯ ในโอกาสตอ่ ไป

หากมีความจําเป็นไม่สามารถรับพระราชทานเคร่ืองราชอิสริยาภรณ์ในวันพิธี
พระราชทานได้ในกรณใี ดกต็ าม จะประดับเครอื่ งราชอสิ ริยาภรณ์นัน้ ได้ นับตัง้ แต่สนิ้ สดุ พธิ พี ระราชทาน

2. การประดับเคร่ืองราชอิสริยาภรณ์ชนดิ มสี ายสะพาย (บุรษุ และสตร)ี
กรณีหมายกําหนดการหรือกําหนดนัดหมายของทางราชการ ระบุชนิดของสายสะพาย

ให้สวมสายสะพายตามทก่ี าํ หนดการระบุ โดยประดับดาราของเคร่ืองราชอิสริยาภรณ์ช้ันสูงสุดของแต่ละตระกูล
ท่ีได้รับพระราชทานตามลําดับ ผู้ที่มิได้รับพระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์ตามที่หมายกําหนดการระบุไว้
หรือกําหนดนัดหมายของทางราชการ ให้สวมสายสะพายช้ันสูงสุดหรือเคร่ืองราชอิสริยาภรณ์ชั้นสูงสุดท่ีได้รับ
พระราชทาน

กรณีหมายกําหนดการหรือกําหนดนัดหมายของทางราชการ มิได้ระบุชนิดของ
สายสะพาย ให้สวมสายสะพายท่ลี าํ ดับเกยี รติสูงสุดทไี่ ดร้ บั พระราชทาน โดยมวี ธิ ีปฏบิ ตั ิ ดังน้ี

2.1 มหาปรมาภรณ์ช้างเผอื ก (ม.ป.ช.) – สะพายบ่าซ้ายเฉยี งลงทางขวา
2.2 มหาวชริ มงกุฎ (ม.ว.ม.) – สะพายบ่าซ้ายเฉียงลงทางขวา
2.3 ประถมาภรณช์ า้ งเผือก (ป.ช.) – สะพายบ่าขวาเฉยี งลงทางซา้ ย
2.4 ประถมาภรณ์มงกุฎไทย (ป.ม.) – สะพายบ่าขวาเฉียงลงทางซา้ ย
ทั้งน้ี หากมิได้รับพระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์ชั้นสายสะพาย ให้ประดับ
เคร่ืองราชอิสรยิ าภรณท์ ีม่ ีลําดับเกยี รตสิ ูงสดุ ท่ไี ดร้ บั พระราชทาน
3. การประดับเคร่ืองราชอิสริยาภรณ์ชนิดดวงตราห้อยกับแพรแถบสวมคอ ซึ่งเป็น
เครื่องราชอสิ ริยาภรณ์ท่ีพระราชทานให้แกบ่ ุรษุ ไดแ้ ก่
3.1 ทวีตยิ าภรณ์ช้างเผอื ก (ท.ช.)
3.2 ทวตี ิยาภรณม์ งกุฎไทย (ท.ม.)

เคร่ืองราชอสิ รยิ าภรณท์ ีม่ ลี ําดบั เกียรตสิ ูงสดุ ทไ่ี ดร้ ับพระราชทาน

3. การประดับเคร่ืองราชอิส-ริย2า6ภร-ณ์ชนิดดวงตราห้อยกับแพรแถบสวมคอ ซึ่งเป็น
เครื่องราชอิสรยิ าภรณ์ที่พระราชทานใหแ้ กบ่ ุรษุ ไดแ้ ก่

3.1 ทวตี ยิ าภรณช์ า้ งเผือก (ท.ช.) ๒๗
3.2 ทวตี ยิ าภรณม์ งกฎุ ไทย (ท.ม.)

3.3 ตรติ าภรณ์ชา้ งเผือก (ต.ช.)

3.4 ตริตาภรณ์มงกุฎไทย (ต.ม.)

โดยเคร่ืองราชอิสริยาภรณ์ลําดับที่ 3.1 และ 3.2 มีดาราประกอบ ส่วนลําดับที่ 3.3 และ
3.4 ไม่มดี าราประกอบ มีวธิ ปี ระดับโดยให้คลอ้ งแพรแถบไวใ้ นปกคอเสื้อ ให้ห่วงและแพรแถบห้อยดวงตราลอด
ออกมานอกเสอ้ื ระหวา่ งตะขอตัวลา่ งทข่ี อบคอเส้ือกับดุมเม็ดแรกพองาม และให้ส่วนสูงสุดของดวงตราจรดขอบ
ล่างของคอเส้ือ หากได้รับพระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์ชนิดสวมคอมากกว่า 2 ดวง เพื่อความเหมาะสม
และสวยงามควรประดับเพียง 2 ดวง โดยประดับดวงตราที่มีลําดับเกียรติรองลงมาให้แพรแถบลอดออกมาจาก
รังดุมเม็ดท่ีสอง ให้แพรแถบอยู่ใต้ดุม ส่วนวิธีประดับดาราของเคร่ืองราชอิสริยาภรณ์ชนิดนี้ (เฉพาะ
เครื่องราชอิสริยาภรณ์ทม่ี ดี ารา) ให้ประดับที่อกเสอื้ เบื้องซ้าย

4. การประดับเครื่องราชอิสริยาภรณ์ชนิดดวงตราห้อยกับแพรแถบประดับที่อกเสื้อ ซ่ึง
เปน็ เคร่อื งราชอสิ ริยาภรณ์ทพ่ี ระราชทานให้แก่ บุรษุ ได้แก่

4.1 จัตรุ ถาภรณช์ า้ งเผอื ก (จ.ช.)

4.2 จตั ุรถาภรณ์มงกุฎไทย (จ.ม.)
4.3 เบญจมาภรณช์ ้างเผอื ก (บ.ช.)

4.4 เบญจมาภรณม์ งกฎุ ไทย (บ.ม.)

โดยให้ประดับไว้ที่เหนอื ปกกระเป๋าเสื้อเบื้องซ้ายต่าํ กวา่ แนวรังดมุ เม็ดแรกลงมาใหด้ วงตรา
อยู่ระหว่างขอบบนปกกระเป๋าพองาม และหากประดับต้ังแต่สองดวงข้ึนไป ให้เรียงลําดับเกียรติจากด้านรังดุม

ไปปลายบ่าซา้ ย
5. การประดับเครอ่ื งราชอิสริยาภรณ์ชนดิ ดวงตราห้อยกับแพรแถบประดับท่ีหน้าบ่าเส้ือ

ซ่ึงเปน็ เคร่อื งราชอสิ รยิ าภรณ์ท่พี ระราชทานใหแ้ ก่ สตรี ไดแ้ ก่
5.1 ทวตี ิยาภรณช์ ้างเผือก (ท.ช.)

โดยให้ประดบั ไว้ท่เี หนือปกกระเปา๋ เสอ้ื เบอื้ งซา้ ยต่าํ กว่าแนวรงั ดมุ เมด็ แรกลงมาให้ดวงตรา

อยู่ระหว่างขอบบนปกกระเป๋าพองาม และหากประ-ด2ับ7ต้ัง-แต่สองดวงข้ึนไป ให้เรียงลําดับเกียรติจากด้านรังดุม
ไปปลายบา่ ซ้าย

5. การประดับเครอ่ื งราชอิสรยิ าภรณ์ชนดิ ดวงตราห้อยกับแพรแถบประดับที่หน้าบ่าเส้ือ

ซ่งึ เปน็ เคร่ืองราชอิสริยาภรณท์ พ่ี ระราชทานใหแ้ ก่ สตรี ไดแ้ ก่

5.1 ทวตี ิยาภรณช์ ้างเผอื ก (ท.ช.) ๒๘
5.2 ทวีตยิ าภรณม์ งกฎุ ไทย (ท.ม.)

5.3 ตริตาภรณ์ช้างเผือก (ต.ช.)

5.4 ตริตาภรณ์มงกฎุ ไทย (ต.ม.)

5.5 จตั รุ ถาภรณช์ า้ งเผอื ก (จ.ช.)

5.6 จตั ุรถาภรณม์ งกฎุ ไทย (จ.ม.)

5.7 เบญจมาภรณ์ชา้ งเผือก (บ.ช.)

5.8 เบญจมาภรณ์มงกฎุ ไทย (บ.ม.)

โดยใหป้ ระดบั ที่หนา้ บ่าเส้อื เบอื้ งซ้ายพองาม และหากประดับต้ังแต่สองดวงขึ้นไป ให้ประดับ

ดวงตราท่ีมีลําดับเกียรติรองมาในระดับตํ่ากว่าดวงตราที่มีลําดับเกียรติสูงกว่า โดยเรียงลําดับจากด้านรังดุม

ลดหลั่นไปปลายบ่าซ้าย ส่วนการประดับดารา (เฉพาะเครื่องราชอิสริยาภรณ์ที่มีดารา) ให้ประดับที่อกเสื้อ

เบอื้ งซ้ายพองาม

6. การประดบั เหรยี ญราชอิสรยิ าภรณ์ (เหรยี ญจักรพรรดมิ าลา)

6.1 เหรยี ญราชอสิ รยิ าภรณส์ าํ หรับบรุ ุษ ใหป้ ฏิบตั ติ ามวธิ ีประดบั ตามขอ้ 4

6.2 เหรยี ญราชอิสรยิ าภรณ์สาํ หรบั สตรี ให้ปฏบิ ัติตามวิธีประดบั ตามขอ้ 5

ท้ังน้ี การประดับเครื่องราชอิสริยาภรณ์และเหรียญราชอิสริยาภรณ์จะยึดแนวรังดุมเป็นหลัก
โดยเครื่องราชอิสริยาภรณ์และเหรียญราชอิสริยาภรณ์ที่มีลําดับเกียรติสูงจะเรียงลําดับจากแนวรังดุมออกไป
ปลายบ่าซ้ายตามลําดับ

7. การประดับดาราเครื่องราชอสิ ริยาภรณ์
การประดับดาราของเคร่ืองราชอิสริยาภรณ์ทุกชนิดท่ีมีดารา กับเครื่องแบบเต็มยศ

หรือคร่ึงยศของบุรุษ จะประดับท่ีอกเส้ือเบื้องซ้ายระดับใต้ชายปกกระเป๋า ส่วนเครื่องแบบเต็มยศ หรือคร่ึงยศ
ของสตรี กรณีผู้ได้รับพระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์หลายตระกูลและมีดาราหลายดวง มีวิธีประดับตาม
ความเหมาะสมและสวยงามกับสายสะพายท่ีจะสะพายจากบ่าขวาเฉียงลงทางซ้าย หรือจากบ่าซ้ายเฉียงลง
ทางขวา ได้หลายแบบ ดังนี้

7.1 การประดบั ดารา 2 ดวง
- แบบที่ 1
1) ดาราดวงแรก ประดบั ท่ีอกเสอื้ เบอ้ื งซา้ ยพองาม
2) ดาราดวงท่ีสองที่มีลําดับเกียรติรองลงมา ประดับในระดับตํ่ากว่าดาราดวง

แรกเยือ้ งไปทางซา้ ย

7.1 การประดบั ดารา 2 ดวง
- แบบที่ 1

1) ดาราดวงแรก ปร-ะด2ับ8ทีอ่ -กเสอ้ื เบื้องซา้ ยพองาม

2) ดาราดวงที่สองที่มีลําดับเกียรติรองลงมา ประดับในระดับตํ่ากว่าดาราดวง

แรกเยื้องไปทางซา้ ย

๒๙

- แบบที่ 2
1) ดาราดวงแรก ประดบั ทอี่ กเสื้อเบอื้ งซา้ ยพองาม
2) ดาราดวงที่สองท่ีมีลําดับเกียรติรองลงมา ประดับในแนวเดียวกับดวงดารา

เยื้องไปทางซ้าย

- แบบที่ 3
1) ดาราดวงแรก ประดบั ท่อี กเสอ้ื เบ้อื งซา้ ยพองาม
2) ดาราดวงท่ีสองท่ีมีลําดับเกียรติรองลงมา ประดับในระดับตํ่ากว่าดาราดวง
แรกในแนวดิ่ง (ดาราดวงทสี่ องอยูต่ รงกับดาราดวงแรก)

7.2 การประดับดารา 3 ดวง
- แบบที่ 1

1) ดาราดวงแรกทมี่ ีลาํ ดับเกยี รติสงู สุดประดับที่อกเสอ้ื เบือ้ งซ้ายพองาม

- 29 -

7.2 การประดบั ดารา 3 ดวง
- แบบท่ี 1
1) ดาราดวงแรกทมี่ ีลาํ ดบั เกียรติสงู สดุ ประดบั ท่ีอกเสอื้ เบอ้ื งซ้ายพองาม
2) ดาราดวงท่ีมีลําดับเกียรติสูงเป็นลําดับสอง ประดับในระดับตํ่ากว่าดารา

ดวงแรกในแนวดง่ิ (ดาราดวงทสี่ องอยตู่ รงกับดาราดวงแรก)
3) ดาราดวงท่ีมีลําดับเกียรติสูงเป็นลําดับสาม ประดับในแนวเดียวกับดารา

ดวงที่สองเยอ้ื งไปทางซ้าย

๓๐

- แบบที่ 2
1) ดาราดวงแรกทม่ี ีลําดบั เกียรตสิ งู สุดประดับทอ่ี กเสื้อเบื้องซ้ายพองาม
2) ดาราดวงที่มีลําดับเกียรติสูงเป็นลําดับสอง ประดับในระดับตํ่ากว่าดารา
ดวงแรกเยื้องไปทางซ้าย
3) ดาราดวงท่ีมีลําดับเกียรติสูงเป็นลําดับสาม ประดับในระดับตํ่ากว่าดารา
ดวงทส่ี องเยอ้ื งไปใกล้แนวรังดมุ

ดวงแรกเยือ้ งไปทางซ้าย - แบบที่ 3
1) ดาราดวงแรกที่มีลาํ ดับเกยี รตสิ ูงสดุ ประดบั ทอ่ี กเส้อื เบอ้ื งซ้ายพองาม
2) ดาราดวงที่มีลําดับเกียรติสูงเป็นลําดับสอง ประดับในแนวเดียวกับดารา

3) ดาราดวงที่มีลําดับเกียรติสูงเป็นลําดับสาม ประดับในระดับต่ํากว่าดาราท้ัง

1) ดาราดวงแรกท่มี ีลาํ ดบั เกยี รติสูงสุดประดับที่อกเส้อื เบอื้ งซา้ ยพองาม

ดวงแรกเยือ้ งไปทางซา้ ย 2) ดาราดวงที่มีลํ-าด3ับ0เก-ียรติสูงเป็นลําดับสอง ประดับในแนวเดียวกับดารา

3) ดาราดวงท่ีมีลําดับเกียรติสูงเป็นลําดับสาม ประดับในระดับต่ํากว่าดาราทั้ง

สองดวงข้างต้น โดยให้มีระยะหา่ งจากดาราดวงแรกเทา่ กบั ดาราดวงท่ีสอง

๓๑

ดวงแรกเย้ืองไปทางซ้าย - แบบท่ี 4
ดวงท่ีสองเย้ืองไปทางซา้ ย 1) ดาราดวงแรกทมี่ ีลาํ ดบั เกียรติสงู สดุ ประดบั ท่ีอกเส้ือเบ้อื งซ้ายพองาม
2) ดาราดวงท่ีมีลําดับเกียรติสูงเป็นลําดับสอง ประดับในระดับต่ํากว่าดารา

3) ดาราดวงท่ีมีลําดับเกียรติสูงเป็นลําดับสาม ประดับในระดับต่ํากว่าดารา

นอกจากน้ี ยังสามารถประดบั ไดต้ ามรูปแบบอื่นท่ีเหมาะสมและสวยงามอีก โดยยึดหลักให้
ดาราที่มีลําดับเกียรติสูงสุดอยู่บนสุด กรณีประดับดาราดวงท่ีสองในระดับเดียวกัน ดาราดวงแรกท่ีมีลําดับ
เกยี รตสิ งู สดุ จะตอ้ งอยใู่ กล้แนวรงั ดุม ท้งั น้ี ให้รวมถึงกรณีประดบั ดารามากกวา่ 3 ดวงข้นึ ไปด้วย

- 31 - ๓๒

การประดบั เคร่ืองหมายเข็มพระราชทาน

เคร่ืองหมายเข็มพระราชทาน เป็นเครือ่ งหมายทท่ี รงพระกรุณาโปรดเกล้า ฯ พระราชทานเป็น
เข็มที่ระลึกในโอกาสพระราชพิธีมหามงคลต่าง ๆ ให้แก่ข้าราชการและคณะบุคคลต่าง ๆ เพื่อเป็นการเฉลิม
พระเกียรติและแสดงความจงรักภักดี เชน่

เข็มท่ีระลกึ ตราสัญลักษณ์งานเฉลมิ พระเกียรติ
เน่ืองในโอกาสมหามงคลเฉลมิ พระชนมพรรษา 80 พรรษา 5 ธนั วาคม 2550

เขม็ ที่ระลึกตราสัญลกั ษณง์ านเฉลมิ พระเกียรติพระบาทสมเดจ็ พระเจา้ อยหู่ วั เน่ืองในโอกาส
พระราชพธิ มี หามงคลเฉลมิ พระชนมพรรษา 7 รอบ 5 ธนั วาคม 2554

เข็มทร่ี ะลึกสมเด็จพระเจ้าภคนิ เี ธอ เจ้าฟา้ เพชรรตั นราชสดุ า สริ ิโสภาพณั ณวดี

- 32 - ๓๓

การประดบั เครอื่ งหมายเข็มพระราชทานกับเคร่ืองแบบ มวี ิธีการ ดังนี้
1. เครอ่ื งแบบปฏิบัตริ าชการ (สกี าก)ี
- บุรษุ
ให้ประดับเคร่ืองหมายเข็มพระราชทานที่อกเส้ือเบ้ืองขวาเหนือปากกระเป๋าเส้ือ

(เหนือป้ายชือ่ )
- สตรี
ใหป้ ระดบั เช่นเดยี วกบั บรุ ุษ

2. เครื่องแบบพิธีการ (ปกติขาว ครง่ึ ยศและเต็มยศ)
- บรุ ษุ
ให้ประดบั เคร่ืองหมายเขม็ พระราชทานทีอ่ กเส้ือเบือ้ งขวาเหนือปากกระเป๋าเสอื้
- สตรี
ให้ประดับเครื่องหมายเข็มพระราชทานที่อกเส้ือเบ้ืองขวา โดยอยู่ในระดับ

เทยี บเคยี งกับบรุ ุษ
ทัง้ นี้ ห้ามประดับเคร่ืองหมายเขม็ พระราชทานในงานอวมงคล เช่น งานศพ

- 33 - ๓๔

ช้ันสายสะพาย ประกอบดว้ ย ชน้ั ม.ป.ช., ม.ว.ม., ป.ช., และ ป.ม.
• ม.ป.ช. กบั ม.ว.ม. บุรษุ

เครือ่ งแบบคร่ึงยศ เครอ่ื งแบบเต็มยศ

ดารา ม.ป.ช. ประดับท่อี กเสื้อเบอ้ื งซา้ ยใต้ชายปกกระเป๋า ดวงตรา ม.ป.ช. หอ้ ยกบั สายสะพาย สะพายบ่าซ้ายเฉียงลงทางขวา

ดารา ม.ว.ม. ประดบั ในระดับต่ํากวา่ ดารา ม.ป.ช. เยือ้ งไปทางซ้าย ดารา ม.ป.ช. ประดับท่ีอกเส้ือเบอื้ งซา้ ยใตช้ ายปกกระเปา๋

เหรยี ญราชอสิ รยิ าภรณ์ ประดับที่อกเสื้อเบือ้ งซา้ ยเหนือปกกระเป๋า ดารา ม.ว.ม. ประดบั ในระดับต่าํ กวา่ ดารา ม.ป.ช. เย้อื งไปทางซา้ ย

(ไมส่ วมสายสะพาย) เหรียญราชอสิ ริยาภรณ์ ประดบั ท่อี กเสื้อเบือ้ งซ้ายเหนือปกกระเป๋า

• ม.ป.ช. กบั ม.ว.ม. สตรี

เครือ่ งแบบครงึ่ ยศ เครอ่ื งแบบเต็มยศ
ดารา ม.ป.ช. ประดบั ที่อกเสื้อเบ้ืองซ้าย ดวงตรา ม.ป.ช. ห้อยกบั สายสะพาย สะพายบา่ ซา้ ยเฉยี งลงทางขวา
ดารา ม.ว.ม. ประดับในระดับตํ่ากวา่ ดารา ม.ป.ช. เยื้องไปทางซ้าย ดารา ม.ป.ช. ประดับท่ีอกเสื้อเบ้อื งซ้าย
เหรยี ญราชอิสรยิ าภรณ์ ห้อยกบั แพรแถบผูกเป็นรูปแมลงปอ ดารา ม.ว.ม. ประดบั ในระดบั ต่ํากวา่ ดารา ม.ป.ช. เยือ้ งไปทางซา้ ย
ประดับที่หนา้ บา่ เส้อื เบื้องซ้าย (ไม่สวมสายสะพาย) เหรยี ญราชอสิ ริยาภรณ์ ห้อยกบั แพรแถบผกู เป็นรูปแมลงปอประดับ
ทหี่ นา้ บ่าเสอื้ เบ้ืองซา้ ย

- 34 - ๓๕

• ม.ว.ม. กบั ป.ช. บรุ ษุ

เครือ่ งแบบคร่ึงยศ เครอ่ื งแบบเต็มยศ

ดารา ม.ว.ม. ประดับท่ีอกเส้ือเบือ้ งซา้ ยใตช้ ายปกกระเป๋า ดวงตรา ม.ว.ม. ห้อยกบั สายสะพาย สะพายบา่ ซ้ายเฉยี งลงทางขวา

ดารา ป.ช. ประดบั ในระดบั ตํา่ กว่าดารา ม.ว.ม. เย้ืองไปทางซา้ ย ดารา ม.ว.ม. ประดบั ทอี่ กเสื้อเบอื้ งซา้ ยใต้ชายปกกระเป๋า

เหรยี ญราชอิสรยิ าภรณ์ ประดบั ท่อี กเส้ือเบื้องซ้ายเหนอื ปกกระเปา๋ ดารา ป.ช. ประดบั ในระดบั ต่ํากว่าดารา ม.ป.ช. เย้ืองไปทางซา้ ย

(ไม่สวมสายสะพาย) เหรยี ญราชอสิ รยิ าภรณ์ ประดับทีอ่ กเสื้อเบ้ืองซา้ ยเหนือปกกระเป๋า

• ม.ว.ม. กบั ป.ช. สตรี

เครือ่ งแบบคร่งึ ยศ เครอ่ื งแบบเต็มยศ
ดารา ม.ว.ม. ประดับทีอ่ กเส้ือเบือ้ งซา้ ย ดวงตรา ม.ว.ม. ห้อยกบั สายสะพาย สะพายบ่าซ้ายเฉียงลงทางขวา
ดารา ป.ช. ประดับในระดับตํ่ากว่าดารา ม.ว.ม. เย้ืองไปทางซา้ ย ดารา ม.ว.ม. ประดับท่อี กเส้ือเบื้องซ้าย
เหรยี ญราชอสิ ริยาภรณ์ หอ้ ยกับแพรแถบผูกเป็นรปู แมลงปอ ดารา ป.ช. ประดบั ในระดับตํ่ากวา่ ดารา ม.ว.ม. เยื้องไปทางซ้าย
ประดับทหี่ นา้ บ่าเสอ้ื เบือ้ งซ้าย (ไม่สวมสายสะพาย) เหรยี ญราชอสิ รยิ าภรณ์ หอ้ ยกบั แพรแถบผูกเป็นรูปแมลงปอประดับ
ทหี่ น้าบ่าเสือ้ เบอ้ื งซา้ ย

- 35 - ๓๖

• ป.ช. กบั ป.ม. บรุ ษุ

เคร่ืองแบบคร่งึ ยศ เครอื่ งแบบเต็มยศ
ดารา ป.ช. ประดบั ทอ่ี กเส้ือเบ้ืองซ้ายใต้ชายปกกระเปา๋ ดวงตรา ป.ช. ห้อยกบั สายสะพาย สะพายบา่ ขวาเฉยี งลงทางซ้าย
ดารา ป.ม. ประดบั ในระดบั ต่ํากวา่ ดารา ป.ช. เยอื้ งไปทางซา้ ย ดารา ป.ช. ประดับท่ีอกเส้ือเบอื้ งซ้ายใต้ชายปกกระเป๋า
เหรียญราชอิสริยาภรณ์ ประดับท่อี กเส้ือเบื้องซา้ ยเหนอื ปกกระเปา๋ ดารา ป.ม. ประดบั ในระดับตาํ่ กว่าดารา ป.ช. เย้อื งไปทางซ้าย
เหรียญราชอสิ รยิ าภรณ์ ประดบั ท่ีอกเสื้อเบ้ืองซา้ ยเหนือปกกระเปา๋
(ไมส่ วมสายสะพาย)

• ป.ช. กบั ป.ม. สตรี

เคร่ืองแบบครงึ่ ยศ เคร่อื งแบบเต็มยศ
ดารา ป.ช. ประดับทอี่ กเสื้อเบือ้ งซ้าย ดวงตรา ป.ช. หอ้ ยกับสายสะพาย สะพายบ่าขวาเฉยี งลงทางซา้ ย
ดารา ป.ม. ประดบั ในระดบั ตํา่ กวา่ ดารา ป.ช. เยื้องไปทางซ้าย ดารา ป.ช. ประดบั ท่ีอกเส้ือเบอ้ื งซ้าย
เหรยี ญราชอิสริยาภรณ์ ห้อยกบั แพรแถบผูกเป็นรปู แมลงปอ ดารา ป.ม. ประดบั ในระดับตํ่ากวา่ ดารา ป.ช. เยือ้ งไปทางซา้ ย
ประดบั ที่หน้าบ่าเสอื้ เบอื้ งซ้าย (ไมส่ วมสายสะพาย) เหรยี ญราชอสิ รยิ าภรณ์ ห้อยกับแพรแถบผูกเป็นรปู แมลงปอ
ประดับท่หี น้าบา่ เสอ้ื เบอื้ งซา้ ย

- 36 - ๓๗

• ป.ม. กบั ท.ช. บรุ ษุ

เคร่อื งแบบคร่ึงยศ เครื่องแบบเต็มยศ

ดวงตรา ท.ช. ห้อยกับแพรแถบสวมคอ แพรแถบลอดออกระหว่าง ดวงตรา ป.ม. ห้อยกับสายสะพาย สะพายบา่ ขวาเฉยี งลงทางซ้าย

ตะขอตวั ล่างกับดมุ เม็ดแรก ดวงตรา ท.ช. หอ้ ยกบั แพรแถบสวมคอ แพรแถบลอดออกระหว่าง

ดารา ป.ม. ประดับทอ่ี กเสื้อเบ้อื งซ้ายใต้ชายปกกระเปา๋ ตะขอตวั ลา่ งกับดมุ เมด็ แรก

ดารา ท.ช. ประดับในระดับต่าํ กวาดารา ป.ม. เย้อื งไปทางซา้ ย ดารา ป.ม. ประดบั ที่อกเส้ือเบ้ืองซา้ ยใต้ชายปกกระเปา๋

เหรยี ญราชอสิ ริยาภรณ์ ประดบั ทอี่ กเส้ือเบอ้ื งซ้ายเหนือปกกระเป๋า ดารา ท.ช. ประดบั ในระดับตาํ่ กว่าดารา ป.ม. เย้อื งไปทางซา้ ย

เหรยี ญราชอสิ ริยาภรณ์ ประดบั ทอี่ กเสื้อเบื้องซา้ ยเหนอื ปกกระเป๋า

• ป.ม. กบั ท.ช. สตรี

เคร่อื งแบบครง่ึ ยศ เคร่อื งแบบเต็มยศ
ดวงตรา ท.ช. ห้อยกบั แพรแถบ ผูกเปน็ รูปแมลงปอ ประดับที่หน้า ดวงตรา ป.ม. ห้อยกบั สายสะพาย สะพายบา่ ขวาเฉียงลงทางซ้าย
บา่ เสอื้ เบอื้ งซ้าย ดวงตรา ท.ช. หอ้ ยกบั แพรแถบผูกเป็นรูปแมลงปอ ประดับท่ีหน้า
บ่าเส้อื เบื้องซ้าย
ดารา ป.ม. ประดบั ท่ีอกเส้ือเบื้องซา้ ย
ดารา ท.ช. ประดับในระดับตาํ่ กวา่ ดารา ป.ม. เยอ้ื งไปทางซา้ ย ดารา ป.ม. ประดบั ท่ีอกเส้ือเบอ้ื งซา้ ย
เหรยี ญราชอสิ ริยาภรณ์ ห้อยกบั แพรแถบผูกเป็นรูปแมลงปอ ดารา ท.ช. ประดบั ในระดับตํา่ กวา่ ดารา ป.ม. เย้ืองไปทางซ้าย
ประดบั ในระดับตํ่ากวา่ ดวงตรา ท.ช. เยื้องไปทางซ้าย เหรียญราชอสิ ริยาภรณ์ หอ้ ยกบั แพรแถบผกู เป็นรปู แมลงปอ
ประดบั ในระดับตา่ํ กว่าดวงตรา ท.ช. เยื้องไปทางซา้ ย

- 37 - ๓๘

ชัน้ ตา่ํ กวา่ สายสะพาย ท.ช. กบั ท.ม. บรุ ษุ

• ท.ช. กบั ท.ม. บรุ ษุ

เคร่ืองแบบคร่งึ ยศ เครอ่ื งแบบเต็มยศ

ดวงตรา ท.ช. หอ้ ยกับแพรแถบสวมคอ แพรแถบลอดออกระหว่าง ดวงตรา ท.ช. หอ้ ยกับแพรแถบสวมคอ แพรแถบลอด

ตะขอตวั ลา่ งกบั ดุมเม็ดแรก ออกระหว่างตะขอตวั ลา่ งกับดุมเม็ดแรก

ดวงตรา ท.ม. หอ้ ยกบั แพรแถบสวมคอ แพรแถบลอดจากรังดุม ดวงตรา ท.ม. หอ้ ยกับแพรแถบสวมคอ แพรแถบลอด

เมด็ ท่สี องโดยให้อยใู่ ต้ดมุ ออกจากรังดมุ เม็ดที่สอง โดยใหอ้ ยูใ่ ตด้ ุม

ดารา ท.ช. ประดบั ทอ่ี กเส้ือเบือ้ งซา้ ยใต้ชายปกกระเปา๋ ดารา ท.ช. ประดับทอี่ กเสื้อเบอื้ งซ้ายใตช้ ายปกกระเป๋า

ดารา ท.ม. ประดบั ในระดับตา่ํ กวา่ ดารา ท.ช. เย้ืองไปทางซ้าย ดารา ท.ม. ประดับในระดบั ต่ํากว่าดารา ท.ช. เยื้องไปทางซ้าย

เหรยี ญราชอิสริยาภรณ์ ประดบั ที่อกเสื้อเบือ้ งซ้ายเหนือปกกระเปา๋ เหรียญราชอสิ ริยาภรณ์ ประดบั ทอี่ กเสื้อเบื้องซา้ ยเหนือปกกระเปา๋

(เหมอื นเตม็ ยศ)

• ท.ช. กบั ท.ม. สตรี

เครือ่ งแบบครึง่ ยศ เครอ่ื งแบบเต็มยศ
ดวงตรา ท.ช. หอ้ ยกับแพรแถบ ผกู เปน็ รูปแมลงปอ ประดบั ท่ีหน้า ดวงตรา ท.ช. ห้อยกับแพรแถบผกู เปน็ รปู แมลงปอ ประดับที่หน้า
บา่ เสือ้ เบ้ืองซ้าย บา่ เสอ้ื เบอื้ งซา้ ย

ดวงตรา ท.ม. ห้อยกบั แพรแถบผูกเปน็ รปู แมลงปอ ประดบั ใน ดวงตรา ท.ม. ห้อยกบั แพรแถบผูกเปน็ รปู แมลงปอ ประดับใน
ระดับต่ํากวา่ ดวงตรา ท.ช. เย้ืองไปทางซ้าย ระดบั ตํา่ กว่าดวงตรา ท.ช. เย้ืองไปทางซ้าย

ดารา ท.ช. ประดบั ท่อี กเส้ือเบอ้ื งซา้ ย ดารา ท.ช. ประดบั ท่ีอกเสื้อเบอ้ื งซา้ ย
ดารา ท.ม. ประดบั ในระดับตาํ่ กวา่ ดารา ท.ช. เยอื้ งไปทางซ้าย ดารา ท.ม. ประดับในระดับตํ่ากว่าดารา ท.ช. เย้ืองไปทางซา้ ย
เหรียญราชอิสริยาภรณ์ หอ้ ยกบั แพรแถบผูกเป็นรูปแมลงปอ เหรยี ญราชอสิ ริยาภรณ์ หอ้ ยกับแพรแถบผกู เปน็ รูปแมลงปอ
ประดบั ในระดับตํ่ากว่าดวงตรา ท.ม. เยื้องไปทางซา้ ย ประดบั ในระดับตาํ่ กว่าดวงตรา ท.ม. เยื้องไปทางซา้ ย

(เหมอื นเตม็ ยศ)

- 38 - ๓๙

ลักษณะแถบจําลองเครือ่ งราชอสิ รยิ าภรณ์
เคร่ืองราชอสิ รยิ าภรณอ์ นั เปน็ เชดิ ชยู ง่ิ ชา้ งเผือก
เคร่ืองราชอสิ ริยาภรณอ์ นั มีเกยี รติยศยิ่งมงกุฎไทย

ลําดบั ที่ ช่อื เครื่องราชอิสริยาภรณ์ ลักษณะแถบจําลอง คู่ ลกั ษณะแถบจําลอง เด่ียว
1 เบญจมาภรณ์มงกฏุ ไทย (บ.ม.)

2 เบญจมาภรณ์ชา้ งเผอื ก (บ.ช.)

เบญจมาภรณ์มงกฏุ ไทย (บ.ม.)

3 จตั ุรถาภรณ์มงกฏุ ไทย (จ.ม.)
เบญจมาภรณ์ชา้ งเผือก (บ.ช.)

4 จตั ุรถาภรณ์ชา้ งเผือก (จ.ช.)
จตั ุรถาภรณ์มงกฏุ ไทย (จ.ม.)

5 ตริตาภรณ์มงกฏุ ไทย (ต.ม.)
จตั ุรถาภรณ์ชา้ งเผือก (จ.ช.)

6 ตริตาภรณ์ชา้ งเผือก (ต.ช.)
ตริตาภรณ์มงกฏุ ไทย (ต.ม.)

7 ทวตี ิยาภรณ์มงกฏุ ไทย (ท.ม.)
ตริตาภรณ์ชา้ งเผือก (ต.ช.)

8 ทวีติยาภรณ์ชา้ งเผอื ก (ท.ช.)
ทวตี ิยาภรณ์มงกฏุ ไทย (ท.ม.)

9 ประถมาภรณ์มงกฏุ ไทย (ป.ม.)
ทวีติยาภรณ์ชา้ งเผือก (ท.ช.)

10 ประถมาภรณ์ชา้ งเผอื ก (ป.ช.)
ประถมาภรณ์มงกฏุ ไทย (ป.ม.)

11 มหาวชิรมงกฏุ (ม.ว.ม.)
ประถมาภรณ์ชา้ งเผอื ก (ป.ช.)

12 มหาปรมาภรณ์ชา้ งเผือก (ม.ป.ช.)
มหาวชิรมงกฏุ (ม.ว.ม.)

๔๐

บทท่ี 5
แนวคําวนิ ิจฉยั ของศาลปกครองเก่ียวกบั เครื่องราชอิสริยาภรณ์
เร่ืองท่ีหนงึ่ กรณี มาตรา 72 วรรคหนึ่ง (2) แห่งพระราชบัญญัติจัดต้ังศาลปกครองและวิธีพิจารณา
คดปี กครอง พ.ศ. 2542
คําพิพากษาศาลปกครองสูงสดุ คดีหมายเลขแดงที่ อ. 5/2553 (ยอ่ )
ผู้ฟ้องคดีดํารงตําแหน่งผู้ช่วยศาสตราจารย์ระดับ 8 ได้เสนอผลงานทางวิชาการขอรับการ
ประเมินเพ่ือดาํ รงตําแหน่งรองศาสตราจารย์เม่ือวันที่ 29 มีนาคม 2546 ก่อนที่จะเกษียณอายุราชการในวันท่ี 1
ตลุ าคม 2546 ต่อมา ผูถ้ ูกฟอ้ งคดที ี่ 2 ได้มีมติในการประชุมคร้ังท่ี 25/2546 เม่ือวันท่ี 2 กรกฎาคม 2546
อนุมัติให้แต่งต้ังคณะกรรมการพิจารณาผลงานทางวิชาการของผู้ฟ้องคดี จํานวน 3 คน ผู้ถูกฟ้องคดีที่ 1 จึงมี
คําส่ังที่ 1591/2546 ลงวันที่ 21 กรกฎาคม 2546 แต่งตั้งคณะกรรมการพิจารณาผลงานทางวิชาการ
จํานวน 3 คน และได้รับผลการพิจารณาจากคณะกรรมการท้ัง 3 คน เมื่อวันที่ 7 สิงหาคม 2546 วันที่ 16
กนั ยายน 2546 และวนั ที่ 25 กันยายน 2546 ตามลําดับ โดยกรรมการ 3 คน มีความเห็นแตกต่างกัน ผู้ถูก
ฟ้องคดีที่ 2 ได้พิจารณาเม่ือวันที่ 29 ตุลาคม 2546 แล้วมีมติอนุมัติให้แต่งตั้งกรรมการพิจารณาผลงานทาง
วิชาการของผู้ฟ้องคดีเพิ่มเติมอีก 2 คน ผู้ถูกฟ้องคดีท่ี 1 จึงมีคําสั่งที่ 545/2547 ลงวันที่ 8 มีนาคม 2547
แตง่ ตัง้ กรรมการพิจารณาผลงานทางวิชาการเพ่ิมเติมและได้สง่ ผลงานทางวชิ าการของผ้ฟู ้องคดไี ปยงั กรรมการที่
แต่งตั้งเพิ่มเติมดังกล่าวเมื่อวันที่ 16 กรกฎาคม 2547 ต่อมาผู้ถูกฟ้องคดีที่ 2 ได้มีมติในการประชุมคร้ังที่
50/2547 เมื่อวันท่ี 22 ธันวาคม 2547 อนุมัติแต่งต้ังผู้ฟ้องคดีให้ดํารงตําแหน่งรองศาสตราจารย์และผู้ถูก
ฟ้องคดีที่ 1 ได้มีคําสั่งที่ 3359/2547 ลงวันท่ี 30 ธันวาคม 2547 แต่งตั้งผู้ฟ้องคดีให้ดํารงตําแหน่งรอง
ศาสตราจารย์ ระดับ 8 อัตราเงินเดือน 30,850 บาท โดยให้มีผลย้อนหลังไปต้ังแต่วันที่ 21 เมษายน 2546
ก่อนท่ีผู้ฟ้องคดีจะเกษียณอายุราชการ ซึ่งผู้ฟ้องคดีเห็นว่า ผู้ถูกฟ้องคดีท่ี 1 โดยอนุมัติของผู้ถูกฟ้องคดีที่ 2
จะต้องปรับระดับให้ผู้ฟ้องคดีดํารงตําแหน่งรองศาสตราจารย์ ระดับ 9 เนื่องจากเป็นตําแหน่งท่ีลื่นไหลและผู้
ฟ้องคดีมีอัตราเงินเดือนสูงกว่าอัตราเงินเดือนขั้นต่ําของระดับ 9 ผู้ฟ้องคดีจึงมีหนังสือขอให้ผู้ถูกฟ้องคดีท่ี 3
พิจารณาเสนอเรื่องการปรับระดับตําแหน่งดังกล่าว และ ขอทราบผลการพิจารณา แต่ผู้ถูกฟ้องคดีท้ังส่ีก็มิได้มี
การดําเนนิ การใด ๆ ผฟู้ ้องคดีจงึ นาํ คดมี าฟอ้ งตอ่ ศาลปกครองช้ันต้นเมอ่ื วนั ท่ี 12 กรกฎาคม 2548
คดีมีประเด็นที่จะต้องวินิจฉัยว่า การกระทําของผู้ถูกฟ้องคดีท้ังส่ีเป็นการละเลยต่อหน้าท่ี
ตามที่กฎหมายกาํ หนดให้ตอ้ งปฏิบตั หิ รือไม่
ศาลปกครองสูงสุดพิเคราะห์แล้วเห็นว่า การที่ผู้ถูกฟ้องคดีท้ังส่ีอุทธรณ์ว่า การมีคําสั่งแต่งตั้ง
ให้ผู้ฟ้องคดีดํารงตําแหน่งรองศาสตราจารย์ ระดับ 8 ได้กระทําภายหลังท่ีผู้ฟ้องคดีเกษียณอายุราชการไปแล้ว
และไม่มีสถานภาพเป็นข้าราชการท่ีจะได้รับแต่งตั้งเป็นข้าราชการระดับ 9 และผู้ฟ้องคดีมิได้กรอกแบบ
ประเมินภาระงานเสนอผู้บังคับบัญชาตามลําดับชั้น เพ่ือประกอบการพิจารณาเลอื่ นระดับให้ดํารงตําแหน่งรอง
ศาสตราจารย์ ระดับ 9 น้ัน เห็นว่า สิทธิของผู้ฟ้องคดีที่จะได้รับการแต่งต้ังเป็นรองศาสตราจารย์ ระดับ 9 นั้น
ได้เกิดข้ึนตั้งแต่วันท่ี 22 เมษายน 2546 ถึงวันท่ี 30 กันยายน 2546 ซึ่งเป็นวันเกษียณอายุราชการ โดย
ในช่วงระยะเวลาดังกล่าวผู้ฟ้องคดียังมีสถานภาพเป็นข้าราชการอยู่และเป็นหน้าท่ีของผู้ถูกฟ้องคดีที่ 3 และผู้

- 40 - ๔๑

ถกู ฟ้องคดีท่ี 4 ซง่ึ มหี น้าทีด่ แู ลทะเบียนประวัตหิ รอื ข้อมูลต่าง ๆ ของผ้ฟู อ้ งคดี ย่อมทราบว่าผู้ฟ้องคดีมีเงินเดือน
อยู่ในขน้ั ใดและอนั ดบั ใด และมคี ณุ สมบัติอืน่ ๆ สมควรไดร้ ับการบรรจุและแต่งตั้งเป็นรองศาสตราจารย์ ระดับ
9 ก่อนวันที่ 1 ตุลาคม 2546 หรือไม่ โดยจะต้องเสนอข้อมูลเกี่ยวกับผู้ฟ้องคดีต่อผู้ถูกฟ้องคดีที่ 1 และส่ง
แบบประเมนิ ภาระงานให้แกผ่ ้ฟู ้องคดี เพอ่ื ผู้ฟ้องคดีจะไดก้ รอกข้อมูลเบอ้ื งตน้ ลงในแบบประเมนิ มาประกอบการ
พิจารณา แต่ผู้ถูกฟ้องคดีท่ี 3 และผู้ถูกฟ้องคดีท่ี 4 ก็มิได้ส่งแบบประเมินดังกล่าวให้ผู้ฟ้องคดีแต่อย่างใด
อุทธรณข์ องผ้ถู กู ฟอ้ งคดที ้งั สใ่ี นประเด็นน้ีจึงฟังไมข่ น้ึ

อนึ่ง ตามมาตรา 72 วรรคหนึ่ง แห่งพระราชบัญญัติจัดตั้งศาลปกครองและวิธีพิจารณาคดี
ปกครอง พ.ศ. 2542 กําหนดว่า ในการพิพากษาคดี ศาลปกครองมีอํานาจกําหนดคําบังคับอย่างหน่ึงอย่างใด
โดยอาจสั่งให้หัวหน้าหน่วยงานทางปกครองหรือเจ้าหน้าท่ีของรัฐปฏิบัติตามหน้าท่ีภายในเวลาที่ศาลปกครอง
กําหนด ในกรณีท่ีมีการฟ้องว่าหน่วยงานทางปกครองหรือเจ้าหน้าที่ของรัฐละเลยต่อหน้าท่ีหรือปฏิบัติหน้าที่
ล่าช้าเกินสมควร ดังน้ัน การที่ศาลปกครองชั้นต้นมีคําพิพากษาให้ผู้ถูกฟ้องคดีท่ี 1 มีคําสั่งแต่งต้ังให้ผู้ฟ้องคดี
ดํารงตําแหน่งรองศาสตราจารย์ ระดับ 9 และปรับให้ได้รับเงินเดือนในระดับ 9 โดยให้มีผลตั้งแต่วันที่ 22
เมษายน 2546 และให้ผู้ถูกฟ้องคดีท่ี 1 เสนอเร่ืองขอพระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์ช้ันสายสะพายเป็น
กรณพี ิเศษใหแ้ กผ่ ฟู้ ้องคดตี ามข้ันตอนและวธิ กี ารที่กฎหมายกาํ หนด พร้อมท้งั แจ้งกรมบัญชีกลางให้ปรับบํานาญ
ให้แก่ผู้ฟ้องคดีตามขั้นเงินเดือนสุดท้ายท่ีผู้ฟ้องคดีได้รับ ในวันเกษียณอายุราชการ ท้ังน้ี ภายใน 60 วัน นับแต่
วนั ทค่ี าํ พิพากษาถึงที่สดุ นน้ั ศาลปกครองสูงสดุ เหน็ พอ้ งดว้ ยบางส่วน

พิพากษาแก้คําพิพากษาของศาลปกครองชั้นต้นเป็นให้ผู้ถูกฟ้องคดีท้ังส่ีพิจารณาเพื่อ
ดําเนินการเสนอขอพระราชทานเคร่ืองราชอิสริยาภรณ์ช้ันสายสะพายให้แก่ผู้ฟ้องคดีภายใต้หลักเกณฑ์ วิธีการ
และเง่ือนไขตามระเบียบสํานักนายกรัฐมนตรี ว่าด้วยการขอพระราชทานเคร่ืองราชอิสริยาภรณ์อันเป็นที่เชิดชู
ยิ่งช้างเผือกและเคร่ืองราชอิสริยาภรณ์อันมีเกียรติยศย่ิงมงกุฎไทย พ.ศ. 2536 และพิจารณาดําเนินการ
เกี่ยวกับเงินบํานาญท่ีผู้ฟ้องคดีมีสิทธิพึงมีพึงได้ไปยังหน่วยงานท่ีเก่ียวข้องตามหลักเกณฑ์และวิธีการท่ีกฎหมาย
กาํ หนด นอกจากท่แี กใ้ หเ้ ปน็ ไปตามคาํ พพิ ากษาของศาลปกครองช้นั ตน้

กฎหมายที่เก่ียวข้อง

- พระราชบัญญตั ิจัดตั้งศาลปกครองและวิธีพจิ ารณาคดีปกครอง พ.ศ. 2542
- ระเบยี บสํานักนายกรฐั มนตรี วา่ ด้วยการขอพระราชทานเครือ่ งราชอิสรยิ าภรณอ์ นั เป็นท่เี ชดิ ชูยงิ่

ช้างเผือกและเครื่องราชอสิ รยิ าภรณ์อนั มเี กียรติยศยงิ่ มงกฎุ ไทย พ.ศ. 2536
- พระราชบัญญัตริ ะเบยี บข้าราชการพลเรอื นในมหาวทิ ยาลยั พ.ศ. 2507
- กฎทบวง ฉบบั ท่ี 2 (พ.ศ. 2549) ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดย กฎทบวง ฉบบั ท่ี 7 (พ.ศ. 2535)

- 41 - ๔๒

เรอื่ งท่สี อง กรณีมาตรา 9 วรรคหน่ึง(2) แห่งพระราชบัญญัติจัดตั้งศาลปกครองและวิธีพิจารณาคดี
ปกครอง พ.ศ. 2542 คดีพิพาทเก่ียวกับการที่เจ้าหน้าท่ีของรัฐละเลยต่อหน้าท่ีตามท่ีกฎหมายกําหนดให้
ตอ้ งปฏิบัติ

คําพพิ ากษาศาลปกครองสงู สดุ คดหี มายเลขแดงท่ี อ.680/2556(ย่อ)
ผูฟ้ ้องคดีเป็นขา้ ราชการรฐั สภาสามัญ ไดร้ ับความเดอื ดร้อนหรือเสียหายจากการท่ีผู้ถูกฟ้องคดี
ได้มีมติในการประชุมคร้ังท่ี 14/2549 เม่ือวันที่ 14 กันยายน 2549 สืบเนื่องจากผู้เชี่ยวชาญด้านกฎหมาย
ได้เสนอความเห็นต่อท่ีประชุมว่าผู้ฟ้องคดีได้ฟ้องผู้ถูกฟ้องคดี เป็นคดีต่อศาลปกครองช้ันต้น (ศาลปกครอง
กลาง) จํานวน 4 คดี และเป็นคดีท่ีศาลอาญากรุงเทพใต้อีก 1 คดี สร้างความปั่นป่วนให้แก่องค์กร จึงไม่ควร
เสนอขอพระราชทานเคร่ืองราชอิสริยาภรณ์ให้แก่ผู้ฟ้องคดี ผู้ถูกฟ้องคดีจึงมีมติไม่เสนอขอพระราชทาน
เคร่ืองราชอิสริยาภรณ์ ประจําปี พ.ศ. 2549 ให้แก่ผู้ฟ้องคดี และให้สํานักงานคณะกรรมการสิทธิมนุษยชน
แหง่ ชาตพิ ิจารณาดําเนินการทางวนิ ัยแกผ่ ฟู้ ้องคดี ผฟู้ ้องคดีเห็นว่า มติของผู้ถูกฟ้องคดีไม่ชอบด้วยกฎหมายและ
เป็นการกลั่นแกล้งผู้ฟ้องคดี จึงย่ืนอุทธรณ์ต่อผู้ถูกฟ้องคดี เมื่อวันที่ 14 และวันที่ 15 ธันวาคม 2549
ตามลําดับ แต่ไม่ได้รับแจ้งผลการพิจารณา ผู้ฟ้องคดีจึงนําคดีมาฟ้องต่อศาล ขอให้ศาลมีคําพิพากษาหรือคําส่ัง
ให้ผู้ถูกฟ้องคดีเร่งพิจารณาเสนอขอพระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์ให้แก่ผู้ฟ้องคดีตามกฎหมายภายใน
ระยะเวลาท่ศี าลกาํ หนด
ศาลปกครองชั้นต้นพิจารณาแลว้ เห็นวา่ การเสนอขอพระราชทานเป็นหน้าที่ของหน่วยงานต้น
สังกัดจะต้องพิจารณาเสนอขอพระราชทานเคร่ืองราชอิสริยาภรณ์เป็นบําเหน็จความชอบให้นอกเหนือจาก
บําเหน็จความชอบอ่ืน ๆ เช่น การได้รับเล่ือนตําแหน่งหรือเล่ือนขั้นเงินเดือน จึงเป็นกรณีที่มีกฎหมายกําหนด
อํานาจหน้าท่ีของผู้บังคับบัญชาให้ต้องปฏิบัติ และเป็นสิทธิที่ข้าราชการจะได้รับการเสนอขอพระราชทานฯ
หากมีคุณสมบัติครบถ้วน การเสนอขอหรือไม่เสนอขอพระราชทานเคร่ืองราชอิสริยาภรณ์จึงเป็นการใช้อํานาจ
ตามกฎหมายของเจ้าหน้าท่ีท่ีมีผลกระทบต่อสถานภาพของสิทธิหรือหน้าท่ีของข้าราชการ จงึ เป็นคําสั่งทาง
ปกครอง และต่อมาผู้ถูกฟ้องคดีได้มีมติเสนอขอพระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์ประจําปี พ.ศ. 2550 ชั้น
ทวีติยาภรณ์มงกุฎไทยให้แก่ผู้ฟ้องคดีแล้ว แม้จะเป็นการเสนอขอพระราชทานในปีถัดมาและทําให้สิทธิท่ีจะ
ได้รับการเสนอขอพระราชทานเครอื่ งราชอิสริยาภรณ์ ชัน้ ถัดไปตอ้ งล่าช้ากต็ าม แต่โดยเหตุท่ีผู้ฟ้องคดีฟ้องขอให้
ผูถ้ กู ฟอ้ งคดไี ดเ้ ร่งพจิ ารณาเสนอขอพระราชทานเคร่ืองราชอิสริยาภรณ์ให้แก่ผู้ฟ้องคดีแล้ว ศาลจึงไม่จําเป็นต้อง
กําหนดคาํ บงั คบั ให้ผถู้ กู ฟ้องคดตี ้องปฏิบตั ิตามคําขอของผฟู้ ้องคดีอีกต่อไป
ศาลปกครองชนั้ ต้นพิพากษายกฟอ้ ง
ผู้ฟ้องคดอี ุทธรณ์ โดยขอใหศ้ าลปกครองสูงสุดเพกิ ถอนมติของผถู้ กู ฟอ้ งคดีในการประชุมครั้งท่ี
14/2549 เมื่อวันที่ 14 กันยายน 2549 ที่ไม่เสนอขอพระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์ให้แก่ผู้ฟ้องคดี
และยกคําสั่งศาลปกครองช้ันต้นท่ีสั่งไม่รับคําฟ้องท่ีขอให้เพิกถอนมติของผู้ถูกฟ้องคดีที่ให้ดําเนินการทางวินัย
กบั ผู้ฟอ้ งคดีและใหศ้ าลปกครองชนั้ ต้นพิจารณาประเดน็ น้ีใหม่และมีคําสั่งใหม่ต่อไป
ศาลปกครองสูงสุดพิเคราะห์แล้วเห็นว่า โดยสภาพแล้วมติในการประชุมคร้ังท่ี 14/2549
เมื่อวันที่ 14 กันยายน 2549 ที่ไม่เสนอขอพระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์ ประจําปี พ.ศ.2549 ให้แก่ผู้

- 42 - ๔๓

ฟ้องคดี เป็นเพียงกระบวนการดําเนินการภายในของหน่วยงานทางปกครอง จึงไม่มีผลทางกฎหมายออกสู่
ภายนอกไปกระทบกระเทือนต่อสิทธิ เสรีภาพ หรือประโยชน์อันชอบธรรมอย่างใด ๆ ของผู้ฟ้องคดี หรือก่อ
ความเดือดร้อนหรือเสียหายหรืออาจจะเดือดร้อนหรือเสียหายให้แก่ผู้ฟ้องคดีหรือบุคคลใด ๆ โดยตรงและ
เป็นการเฉพาะตัวแต่อย่างใด คงมีแต่เฉพาะประกาศสํานักนายกรัฐมนตรีท่ีแจ้งรายช่ือผู้ได้รับพระราชทาน
เครื่องราชอิสริยาภรณ์ประจําปี พ.ศ. 2549 ที่ประกาศในราชกิจจานุเบกษาแล้วเท่าน้ัน ที่มีผลกระทบ
กระเทือนต่อสิทธิหรือประโยชน์อันชอบธรรมของบุคคล หรือก่อหรืออาจจะก่อความเดือดร้อนหรือเสียหาย
โดยตรงและเปน็ การเฉพาะตวั แกผ่ ฟู้ อ้ งคดีซึง่ ไมม่ ีรายชอื่ เป็นผู้ได้รับพระราชทานเคร่ืองราชอิสริยาภรณ์ประจําปี
พ.ศ. 2549 การที่ผู้ถูกฟ้องคดีมีมติไม่เสนอขอพระราชทานเคร่ืองราชฯ ประจําปี พ.ศ. 2549 ให้แก่ผู้ฟ้องคดี
จึงมิใช่คําสั่งทางปกครองท่ีกระทบต่อสิทธิหรือหน้าที่หรือก่อความเดือดร้อนหรือเสียหายหรืออาจจะเดือนร้อน
หรือเสียหายแก่ผู้ฟ้องคดี ผู้ฟ้องคดีจึงไม่ใช่ผู้ได้รับความเดือนร้อนหรืออาจจะเดือดร้อนหรือเสียหายโดยมิอาจ
หลีกเล่ียงได้ อันเนื่องจากการกระทําของผู้ถูกฟ้องคดีตามมาตรา 42 วรรคหน่ึง แห่งพระราชบัญญัติจัดต้ังศาล
ปกครองและวิธีพิจารณาคดีปกครอง พ.ศ. 2542 อุทธรณ์ในประเด็นนี้ของผู้ฟ้องคดีฟังไม่ข้ึน ท่ีศาลปกครอง
ช้ันต้นวินิจฉัยว่า มติของผู้ถูกฟ้องคดีที่ไม่เสนอขอพระราชทานเครื่องราชฯ ให้แก่ผู้ฟ้องคดีเป็นคําสั่งทาง
ปกครองท่ีกระทบต่อสิทธิหรือหน้าที่ของผู้ฟ้องคดี ซ่ึงผู้ถูกฟ้องคดีจะต้องแจ้งเหตุผลและให้ผู้ฟ้องคดีมีโอกาสได้
โต้แย้งแสดงพยานหลักฐานของตนตามมาตรา 37 ประกอบมาตรา 30 แห่งพระราชบัญญัติวิธีปฏิบัติราชการ
ทางปกครอง พ.ศ. 2539 น้ัน ศาลปกครองสูงสุดยังไมเ่ หน็ พ้องด้วย แตอ่ ย่างไรกต็ าม เมอื่ ไดว้ นิ ิจฉยั แล้ววา่ คดีนี้
เป็นคดีพิพาทเก่ียวกับการท่ีผู้ถูกฟอ้ งคดีละเลยต่อหน้าท่ีตามที่กฎหมายกําหนดให้ต้องปฏิบัติในการเสนอขอ
พระราชทานเคร่ืองราชอิสริยาภรณ์ให้แก่ผู้ฟ้องคดีหรือไม่ เม่ือปรากฏข้อเท็จจริงต่อมาในระหว่างการพิจารณา
ของศาลปกครองชัน้ ตน้ วา่ ในภายหลังผูถ้ ูกฟอ้ งคดีได้มีมติเสนอขอพระราชทานเคร่ืองราชอิสริยาภรณ์ ประจําปี
พ.ศ. 2550 ช้ันทวีติยาภรณ์มงกุฎไทยให้แก่ผู้ฟ้องคดีในปีถัดมาจึงเป็นกรณีเจ้าหน้าที่ของรัฐได้ปฏิบัติหน้าท่ี
ตามกฎหมายกําหนดให้ต้องปฏิบัติแล้ว เหตุแห่งการฟ้องคดีที่ว่าเจ้าหน้าท่ีของรัฐละเลยต่อหน้าที่ตามท่ี
กฎหมายกําหนดให้ต้องปฏิบัติและขอให้ผู้ถูกฟ้องคดีเร่งพิจารณาเสนอขอพระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์
ให้แก่ผู้ฟ้องคดีจึงหมดส้ินไป จึงต้องจําหน่ายคดีออกจากสารบบความ ที่ศาลปกครองช้ันต้นพิพากษายกฟ้อง
ศาลปกครองสูงสุดไมเ่ ห็นพอ้ งดว้ ย

พิพากษากลับคาํ พิพากษาของศาลปกครองชน้ั ต้น เปน็ ใหจ้ ําหนา่ ยคดีออกจากสารบบความ

กฎหมายที่เก่ยี วข้อง
- พระราชบญั ญัตจิ ดั ตง้ั ศาลปกครองและวิธีพจิ ารณาคดปี กครอง พ.ศ. 2542
- ระเบยี บสาํ นักนายกรัฐมนตรี ว่าด้วยการขอพระราชทานเคร่ืองราชอิสริยาภรณอ์ ันเปน็ ท่ีเชดิ ชูยง่ิ
ช้างเผือกและเครือ่ งราชอสิ รยิ าภรณ์อันมีเกยี รตยิ ศย่งิ มงกฎุ ไทย พ.ศ. 2536
- กฎ ก.ร. ฉบบั ท่ี 22 (พ.ศ. 2541) ออกตามความในพระราชบัญญตั ิระเบียบขา้ ราชการฝา่ ยรฐั สภา
พ.ศ. 2518 วา่ ด้วยการรอ้ งทุกขแ์ ละการพจิ ารณาเร่ืองร้องทุกข์ขอใหแ้ กไ้ ขการปฏบิ ตั ไิ มถ่ ูกต้อง
หรือการไมป่ ฏิบตั ิตามกฎหมาย

- 43 - ๔๔

- พระราชบัญญตั คิ ณะกรรมการสทิ ธมิ นษุ ยชนแหง่ ชาติ พ.ศ. 2542
- พระราชบญั ญัตริ ะเบียบข้าราชการฝ่ายรฐั สภา พ.ศ. 2518


Click to View FlipBook Version